Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

PPE

Published by ptittipatt, 2018-07-31 22:16:42

Description: PPE

Search

Read the Text Version

1 อปุ กรณ์ป้องกนั ความปลอดภัยสว่ น บุคคล Personal Protective Equipment (PPE)

เนอ้ื หา2 1. ความหมายและความสาคัญของอปุ กรณ์ PPE 2. วธิ กี ารเลอื กใชอ้ ุปกรณ์ PPE 3. มาตรฐานเกี่ยวกบั อุปกรณ์ PPE 4. ชนดิ ของอุปกรณ์ PPE 5. การจงู ใจให้ผปู้ ฏบิ ัตงิ านใช้อปุ กรณ์ PPE

1. ความหมายและความสาคัญ3 อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล (Personal Protective Devices (PPD) หรือ Personal Protective Equipment (PPE)) หมายถึง อปุ กรณ์สาหรับผู้ปฏิบัติงานใช้สวมใส่ขณะทางานเพ่ือ ปอ้ งกนั อันตรายอนั อาจเกิดขึ้น เน่อื งจากสภาพและสง่ิ แวดล้อมของการทางาน อุปกรณ์ PPE มีข้อจากัด คือ ไม่สามารถลดอันตรายจากแหล่งกาเนิดของอันตราย แต่เป็นเพียงส่ิง บางๆ กันระหว่างผู้ปฏิบัติงาน ถ้าป้องกันอันตรายส่วนบุคคลเสียสภาพการป้องกัน จะทาให้ ผู้ปฏิบตั งิ านสมั ผสั กับอนั ตรายทันที

2. วิธีการเลอื กใชอ้ ปุ กรณ์ PPE4 วิธกี ารเลอื กใชอ้ ปุ กรณ์ PPE ควรพิจารณาตามเกณฑต์ ่อไปนี้  เลือกอุปกรณ์ PPE ให้ตรงกับอันตรายทีผ่ ปู้ ฏบิ ตั งิ านอาจได้รับสมั ผสั  ตรวจสอบประสิทธิภาพในการปกป้องและมาตรฐานรับรอง เป็นไปตามข้อกาหนดของสถาบันท่ี เชื่อถือได้  เลือกอปุ กรณ์ PPE ทมี่ ีขนาดพอดกี บั ผสู้ วมใส่ เพอื่ ให้เกิดความสบายต่อการสวมใส่  อปุ กรณ์ PPE จะตอ้ งไมเ่ ปน็ อุปสรรคตอ่ การปฏบิ ตั งิ าน  อุปกรณ์ PPE มวี ธิ ีการใช้งานงา่ ย  มีอายุการใชง้ านยาวนาน บารุงรกั ษาง่าย  หาซ้อื ง่ายและราคาถกู

5

3 มาตรฐานเกย่ี วกบั อปุ กรณ์ปอ้ งกันอนั ตรายสว่ นบุคคล6

4. ชนิดของอปุ กรณ์ PPE7 4.1 อุปกรณป์ ้องกันอันตรายท่ีศรี ษะ (Head protection devices) 4.2 อปุ กรณ์ป้องกันอนั ตรายใบหน้าและดวงตา (Eyes and face protection devices) 4.3 อุปกรณป์ ้องกนั อนั ตรายระบบทางเดินหายใจ (Respiratory protection devices) 4.4 อุปกรณ์ปอ้ งกันอนั ตรายระบบการไดย้ นิ (Hearing protection devices) 4.5 อปุ กรณป์ ้องกันอนั ตรายทีม่ อื และผิวหนัง (Hand and skin protection devices) 4.6 อุปกรณป์ อ้ งกนั อันตรายของเท้า (Foot protection devices) 4.7 อุปกรณ์ป้องกนั อนั ตรายจากการตก (Falling protection devices) 4.8 อุปกรณ์พเิ ศษเฉพาะงาน

4.1อปุ กรณป์ อ้ งกันอันตรายท่ศี รี ษะ(Head protection devices)8 หมวกนริ ภัย (Safety Helmet) หมวกท่ีออกแบบมาเพื่อปอ้ งกนั ศรี ษะของผสู้ วมใส่

4.1 อปุ กรณ์ป้องกนั อนั ตรายท่ศี รี ษะ (Head protection devices) (ตอ่ )9  ตวั อย่างมาตรฐานของหมวกนิรภัย • ANSI Z89.1 – 2003 • EN 397 – 1995 • มาตรฐานผลติ ภณั ฑอ์ ตุ สาหกรรม มอก. 368 – 2554  ชนดิ ของหมวกนิรภัย • มอก. 368-2538 ถกู ยกเลกิ (หมวกนิรภัยชนดิ A, B, C, D) • ปจั จบุ นั ไดใ้ ช้ มอก. 368-2554 มีความทันสมยั มากขึน้ โดยแบ่งเป็น 3 ชนดิ ได้แก่

4.1 อปุ กรณ์ปอ้ งกันอันตรายท่ีศีรษะ (Head protection devices) (ต่อ)10 1) หมวกนิรภัยชนิด E (Electrical Helmet) เป็นหมวกนิรภัยที่สามารถลดแรงกระแทกของวัตถุ และสามารถลด อนั ตรายท่เี กดิ จากการสมั ผสั ตวั นาไฟฟ้า สามารถทนแรงดันไฟฟา้ ทดสอบได้ 20,000 โวลต์ 2) หมวกนิรภัยชนิด G (General Helmet) เป็นหมวกนิรภัยที่สามารถลดแรงกระแทกของวัตถุ และสามารถลด อนั ตรายทเี่ กดิ จากการสมั ผัสตวั นาไฟฟ้า สามารถทนแรงดันไฟฟา้ ทดสอบได้ 2,200 โวลต์ 3) หมวกนิรภยั ชนดิ C (Conductive Helmet) เป็นหมวกนิรภัยทส่ี ามารถลดแรงกระแทกของวัตถุเทา่ น้นั

4.1 อปุ กรณ์ปอ้ งกันอนั ตรายทศ่ี รี ษะ (Head protection devices) (ต่อ) 11 สามารถปรบั ได้ตามขนาด มีคณุ สมบตั ิในการกระจาย ศีรษะ เพม่ิ ความกระชับ แรง เพื่อปอ้ งกนั หมวกแตกมคี ณุ สมบตั ใิ นการปอ้ งกัน การกระแทกทกุ ทิศทาง ขณะสวมใส่ เมอื่ สิง่ ของตกใส่ ของศรี ษะป้องกนั อันตรายจากสิง่ ของท่ี สามารถปรบั ไดป้ ้องกันมิ ป้องกันมิให้เหงอื่ ไหลเข้าตา ตกลงมาตรงหน้าของ ใหห้ มวกหล่นขณะสวม ผู้ปฏิบัตงิ านขณะปฏิบัตงิ าน ผู้ปฏบิ ตั ิงาน ใส่

4.1 อุปกรณป์ ้องกันอนั ตรายที่ศีรษะ (Head protection devices) (ตอ่ ) 12 วิธีการใชง้ านหมวกนิรภัย ▪ ก่อนใชง้ านต้องตรวจสอบหมวกนิรภยั ไดม้ าตรฐานตามข้อกาหนดหรอื ไม่ ▪ ตรวจสอบลักษณะทางกายภาพภายนอก ▪ เม่อื สวมใส่ต้องปรับสายรัดศรี ษะและคางให้พอดกี ับผูใ้ ช้งาน ▪ ทาการทดสอบความกระชับของหมวก โดยให้ก้มลงคานับตัวเอง ถ้าหมวกตกแสดงว่าไม่กระชับ ตอ้ งทาการปรบั สายรดั ใหม่ การดแู ลรักษาหมวกนิรภยั ▪ การทาความสะอาดทั้งตัวหมวกและอุปกรณ์ โดยใช้น้า น้าสบู่ หรือน้ายาฆ่าเช้ือโรค อย่างน้อย สปั ดาห์ละ 2 – 3 คร้งั หรือทุกวัน โดยเฉพาะบรเิ วณแถบซบั เหงื่อ ▪ ตรวจสอบการชารดุ ของอุปกรณ์

4.2 อุปกรณป์ ้องกันอันตรายใบหนา้ และดวงตา (Eyes and face protection devices)13  เป็นอปุ กรณ์ PPE ทีส่ ามารถป้องกันอันตรายจากการกระเด็นของวัตถุ หรือสารเคมีท่ีจะกระเด็น เข้าดวงตาหรอื ใบหน้าของผูป้ ฏิบตั ิงาน  นิยมใช้ในการปอ้ งกันอนั ตรายจากการปฏิบัติงานกบั เคร่อื งจกั ร เช่น งานเจียร งานเชือ่ ม งานตัด งานเจาะ รวมท้ังการปฏบิ ตั ิงานกับสารเคมี  ตวั อย่างมาตรฐานของอปุ กรณ์ ▪ ANSI Z87.1 – 2003 ▪ EN 166 - 2001

4.2 อุปกรณป์ อ้ งกนั อนั ตรายใบหนา้ และดวงตา (Eyes and face protection devices) (ต่อ)14  ประเภทของอปุ กรณ์ปอ้ งกนั อันตรายใบหน้าและดวงตา สามารถแบ่งออกเป็น 4 ชนิด 1) แว่นตา (Spectacles or Glasses) ▪ สามารถป้องกนั อนั ตรายกับการทางานทมี่ เี ศษวัสดุกระเด็นเขา้ ตา แบ่งเปน็ 2 ประเภท – แบบไม่มกี ระบังข้าง สามารถปอ้ งกนั การกระเดน็ จากด้านหน้า – แบบมีกระบงั ข้าง สามารถปอ้ งกันการกระเด็นจากด้านหน้าและดา้ นข้าง

4.2 อุปกรณ์ป้องกันอนั ตรายใบหน้าและดวงตา (Eyes and face protection devices) (ตอ่ )15 แว่นกนั แดด ป้องกนั แสงUV เลนสส์ ่วนใหญ่ที่ได้มาตรฐาน ANSI จะมีคณุ สมบตั ิป้องกนั แสงUV ได้ดีแม้จะเป็นเลนสใ์ ส กต็ ามดงั นัน้ จึงไม่จาเป็นต้องเลือกเลนสท์ ่ีมีสีเข้มเพ่ือหวงั จะให้ป้องกนั แสง UV ได้ดีขึน้ พยายามเลือกแว่นที่มีข้อความดงั นี้ Blocks 99 % หรือ100 % UV of rays, UV absorption up to 400 nm, meets ANSI UV requirements เป็ นต้น

4.2 อปุ กรณป์ ้องกนั อันตรายใบหน้าและดวงตา (Eyes and face protection devices) (ต่อ)16 2) แวน่ ครอบตา (Goggles)Goggles ▪ สามารถป้องกนั อนั ตรายจากการกระแทกของวตั ถุ ปอ้ งกนั สารเคมี ▪ และป้องกนั อันตรายจากแสงท่เี กดิ จากการทางานเชอ่ื มโลหะ แต่ตอ้ งมีเลนส์กรองแสงชนิดพเิ ศษ ▪ แวน่ ครอบตามีประสทิ ธิภาพในการป้องกนั อนั ตรายได้ดกี ว่าแวน่ ตา 3) กระบังปอ้ งกนั ใบหน้า (Face Shield) Face Shield ▪ สามารถปอ้ งกนั อนั ตรายตอ่ ใบหน้า ดวงตารวมไปถึงลาคอ ▪ จากการกระเดน็ กระแทกของวตั ถุ หรอื สารเคมี ▪ บางรุน่ สามารถใช้ร่วมกับท่ีครอบหูได้ 4) หน้ากากสาหรบั เช่อื ม (Welding Shields) ▪ ใช้ในงานเชอ่ื ม สามารถป้องกนั อนั ตราย ▪ จากการกระเด็นของเศษโลหะ ความร้อน แสงจา้ และรังสจี ากการเชือ่ ม Welding Shields

4.2 อุปกรณ์ป้องกันอนั ตรายใบหน้าและดวงตา (Eyes and face protection devices) (ต่อ)17

4.2 อปุ กรณป์ ้องกนั อันตรายใบหนา้ และดวงตา (Eyes and face protection devices) (ตอ่ )18  การใชง้ านอปุ กรณ์ป้องกันอนั ตรายใบหน้าและดวงตา ▪ ควรเลอื กใหเ้ หมาะสมตามลกั ษณะการใช้งานหรืออันตรายท่ีอาจจะเกิดข้นึ ▪ ตรวจสอบสภาพโดยทั่วไป เช่น เลนส์ ขาแว่น สายรัด กรอบแว่น กระบังหน้า/กระบังข้าง ต้องอยู่ใน สภาพที่ดี ไมม่ ีรอยรวั่ รอยแตก หรือมกี ารพรา่ มวั ของเลนส์ ▪ ขณะสวมใสต่ ้องมคี วามกระชับ แน่น ไมห่ ลวมหรือหลุดขณะทางาน ▪ ผใู้ ช้งานทม่ี ปี ัญหาสายตาต้องสวมแว่น/คอนแทคเลนสก์ อ่ นใส่อุปกรณ์  การบารงุ รกั ษาอปุ กรณป์ ้องกนั อนั ตรายใบหน้าและดวงตา ▪ ทาความสะอาดทกุ คร้งั หลงั จากการใชง้ าน โดยใช้น้าสบู่เชด็ ทาความสะอาด แลว้ ผงึ่ แดด ▪ ตรวจสอบอุปกรณ์ ถา้ มีการชารุดให้เปลี่ยนอุปกรณ์

4.3 อุปกรณ์ปอ้ งกันอันตรายระบบทางเดนิ หายใจ (Respiratory protection devices)19  เป็นอุปกรณ์ชว่ ยป้องกันอนั ตรายจากมลพษิ /สารพิษก่อนเข้าสู่ร่างกายผ่านการหายใจเข้าสู่ปอด ได้แก่ อนุภาค ฝุ่น ก๊าซ โฟม เส้นใย ไอระเหย และบรรยากาศท่เี ปน็ อนั ตรายต่อชวี ิตและสขุ ภาพอยา่ งฉบั พลัน เชน่ เพลิงไหม้ สารเคมี รั่วไหลรุนแรง หรือทางานในพ้ืนท่ีออกซิเจนไม่เพียงพอ ตา่ กวา่ 19.5%  ตัวอย่างมาตรฐานอุปกรณป์ ้องกันอนั ตรายระบบทางเดินหายใจ ▪ NIOSH respiratory regulation 42 CFR Part 84 ▪ AS/NZS 1716:2012 ▪ EN 137, EN 145 สาหรับ SCBA (Self-contained breathing apparatus) ▪ EN 149 Respiratory protective devices ▪ EN 405, EN 140 สาหรับหนา้ กากแบบครงึ่ หนา้ ▪ EN 141, EN 143, EN 371, EN 372 สาหรับไส้กรองของหน้ากากแบบคร่งึ หน้า ▪ EN 136 สาหรับไสก้ รอง (filters) ของหน้ากากแบบเต็มหนา้

4.3 อปุ กรณ์ป้องกันอนั ตรายระบบทางเดนิ หายใจ (Respiratory protection devices)20  ปจั จุบนั หนา้ กากมีหลายขนาด เชน่ 1) หน้ากากชนดิ 1 ใน 4 (Quarter Mask) 2) หนา้ กากชนิดคร่งึ หน้า (Half Mask) 3) หน้ากากชนิดเตม็ หน้า (Full – face mask)  ประเภทของอุปกรณ์ป้องกันอันตรายระบบทางเดินหายใจ ในงานด้านอาชีวอนามัย แบ่ง ออกเปน็ 3 ชนดิ ไดแ้ ก่ 1) ชนิดกรองอากาศ (Air-purifying) 2) ชนิดสง่ อากาศจากภายนอกเขา้ ไป (Supplied-air) 3) ทงั้ กรองอากาศ และสง่ อากาศจากภายนอกเขา้ ไป (Combination)

4.3 อุปกรณ์ป้องกันอนั ตรายระบบทางเดินหายใจ (Respiratory protection devices) (ตอ่ ) 211) หน้ากากชนิดกรองอากาศ (Air-purifying)

4.3 อปุ กรณ์ปอ้ งกนั อนั ตรายระบบทางเดินหายใจ (Respiratory protection devices) (ต่อ)22 หนา้ กากชนดิ N 95

4.3 อุปกรณ์ป้องกนั อันตรายระบบทางเดินหายใจ (Respiratory protection devices) (ตอ่ )23

4.3 อปุ กรณป์ อ้ งกนั อนั ตรายระบบทางเดินหายใจ (Respiratory protection devices) (ต่อ)24 ไสก้ รอง (Cartridge)

4.3 อุปกรณป์ อ้ งกนั อนั ตรายระบบทางเดนิ หายใจ (Respiratory protection devices) (ตอ่ )25 2) หนา้ กากชนดิ สง่ อากาศจากภายนอกเขา้ ไป (Supplied - air)

4.3 อปุ กรณ์ปอ้ งกนั อันตรายระบบทางเดนิ หายใจ (Respiratory protection devices) (ตอ่ )26  การใช้งานอุปกรณ์ป้องกนั อันตรายระบบทางเดินหายใจ ▪ ควรเลือกให้เหมาะสมตามลักษณะการใชง้ านหรอื อันตรายทีอ่ าจจะเกดิ ขึ้น ▪ ตรวจสอบสภาพโดยทวั่ ไป เชน่ ตัวหนา้ กาก ตลบั กรอง สายรัดศีรษะ ท่อส่งอากาศ สายสง่ อากาศ ▪ หน้ากากชนิดกรองอากาศ ต้องมีการทดสอบความกระชับ โดยใช้ฝ่ามือปิดทางเข้าของอากาศให้สนิทแล้ว หายใจเขา้ ถา้ หนา้ กากยุบหรอื บุม๋ เล็กนอ้ ย หรือไม่สามารถหายใจได้ แสดงวา่ ไมม่ ีรอยรวั่ ▪ หน้ากากชนิดส่งอากาศจากภายนอกเข้าไป ควรตรวจสอบท่อส่งอากาศ และข้อต่อต่างๆ ผู้ใช้งานต้องผ่าน การอบรมวธิ ีการใชง้ านอย่างเคร่งครัด  การบารุงรักษาอปุ กรณ์ป้องกนั อนั ตรายระบบทางเดนิ หายใจ ▪ ทาความสะอาดทุกคร้งั หลังจากการใช้งาน โดยใช้น้าสบู่เช็ดทาความสะอาด ใช้แปรงนิ่มๆ ขัดเบาๆ แล้วผ่ึง แดด ▪ ตรวจสอบอปุ กรณ์ ถ้ามกี ารชารุดใหเ้ ปลีย่ นอุปกรณ์

4.4 อุปกรณป์ อ้ งกันอนั ตรายระบบการไดย้ นิ (Hearing protection devices)27 ประเภทของอุปกรณ์ป้องกันอนั ตรายระบบการได้ยนิ 1) ที่อดุ หลู ดเสียง (Ear plugs) ▪ เปน็ ชนิดทสี่ วมใสเ่ ข้าไปในหู สามารถลดเสยี งท่ีความถ่ตี ่ากว่า 400 เฮิรต์ ไดด้ ี ▪ ทาดว้ ยวัสดตุ ่างๆ เช่น พลาสตกิ ยาง โฟม ซิลโิ คน ฝ้าย ▪ สาลีธรรมดาลดได้ 8 เดซเิ บลเอ ▪ ใยแกว้ 20 เดซเิ บลเอ ▪ ยางซลิ ิคอน 15-30 เดซเิ บลเอ ▪ ยางอ่อน ยางแขง็ 18-25 เดซเิ บลเอ

4.4 อุปกรณป์ อ้ งกันอันตรายระบบการได้ยิน (Hearing protection devices)28  วธิ กี ารสวมใส่ทีอ่ ุดหลู ดเสยี ง (Ear plugs) 1) ใช้มือบบี ทอ่ี ดุ หใู ห้มขี นาดเลก็ ๆแหลมๆ 2) เออ้ื มมือข้ามศรี ษะมาดึงใบหู เพื่อให้หูตรง แล้วจงึ ใสท่ ี่อดุ หู 3) ปลอ่ ยมือเพื่อให้ท่อี ดุ หขู ยายตัว

3. อุปกรณล์ ดเสียง29  ปลัก๊ อดุ หู (Ear plugs) ทง้ั ชนดิ ใชแ้ ลว้ ทงิ้ และชนดิ ทส่ี ามารถนากลับ มาใชใ้ หมไ่ ด้ 2. ท่ีครอบหู (Ear muffs)

4.4 อุปกรณป์ ้องกนั อันตรายระบบการได้ยนิ (Hearing protection devices) (ต่อ)30  ประเภทของอุปกรณป์ ้องกันอนั ตรายระบบการได้ยิน 2) ที่ครอบหูลดเสียง (Ear Muffs) ▪ สามารถลดเสยี งทีค่ วามถี่สูงกวา่ 400 เฮริ ต์ ไดด้ ี ▪ มีชนิดที่สวมศรี ษะและชนดิ ตดิ กบั อุปกรณ์อื่น เช่น หมวกนริ ภัย ▪ ท่ีอดุ หจู ะชว่ ยลดเสียงดังไดป้ ระมาณ 15 – 30 เดซิเบลเอ

4.4 อุปกรณ์ปอ้ งกันอันตรายระบบการไดย้ นิ (Hearing protection devices)31  วิธกี ารสวมใสท่ ่คี รอบหูลดเสยี ง (Ear Muffs) 1) เกบ็ รวบผมให้เรยี บรอ้ ยไมใ่ หป้ ดิ บงั บรเิ วณใบหู 2) กางทค่ี รอบหูออกใหม้ ขี นาดพอเหมาะกับศรี ษะ 3) สวมท่ีครอบหแู ละปรับให้พอดกี บั ใบหู

4.4 อปุ กรณป์ ้องกนั อนั ตรายระบบการได้ยิน (Hearing protection devices) (ตอ่ )32

4.4 อปุ กรณป์ ้องกนั อนั ตรายระบบการได้ยิน (Hearing protection devices) (ตอ่ )33

4.4 อปุ กรณป์ ้องกันอันตรายระบบการไดย้ ิน (Hearing protection devices) (ต่อ)34  การบารงุ รักษาอปุ กรณป์ อ้ งกันอันตรายระบบการได้ยิน ▪ ทาความสะอาดทุกครั้งหลังจากการใชง้ าน โดยใช้นา้ สบเู่ ชด็ ทาความสะอาด แลว้ ผึ่งแดด ▪ ตรวจสอบอปุ กรณ์ ถา้ มกี ารชารดุ ใหเ้ ปลยี่ นอุปกรณ์ ▪ ถ้าเป็นที่อุดหูลดเสยี งชนิดท่ีทาด้วยโฟม หรอื สาลี ควรใช้เพยี งครั้งเดียวแลว้ ทง้ิ

4.5 อปุ กรณป์ ้องกันอันตรายท่มี อื และผวิ หนงั (Hand and skin protection devices)35  4.5.1 ถุงมอื (gloves) ▪ ใช้ปอ้ งกนั อนั ตรายทเี่ กดิ ขน้ึ กบั แขนและมือ มหี ลายประเภท ▪ ตัวอย่างของมาตรฐานของถงุ มอื ทใี่ ชใ้ นปจั จุบนั ไดแ้ ก่

4.5 อปุ กรณป์ ้องกนั อนั ตรายทีม่ ือและผิวหนงั (Hand and skin protection devices) (ตอ่ )36  4.5.1 ถุงมอื (gloves) (ตอ่ ) ▪ ประเภทของถุงมือ ได้แก่ 1) ถุงมือยาง นิยมใช้ป้องกันอันตรายจากสารเคมี และเช้ือโรคด้านชีวภาพ ส่วนใหญ่ทามาจาก ยางหรือการสังเคราะห์ทางโพลิเมอร์ เช่น ยางธรรมชาติ นีโอพรีน พวี ีซี ไวนิล โพลิเมอร์ ไน โตร บิวทลิ เปน็ ต้น 2) ถุงมือหนัง นิยมใช้ป้องกันอันตรายจากของมีคม การขัด เสียดสี การขูดขีดหรือบาด ความ สนั่ สะเทอื น ความร้อน ความเย็น เปน็ ตน้ 3) ถุงมอื ตาข่ายลวด เหมาะสาหรับการป้องกันอันตรายจากของมีคม การตัดหรือการเฉือน เช่น การชาแหละเนอ้ื สัตว์ หรือโรงทาอาหารประเภทต่างๆ

4.5 อปุ กรณป์ ้องกนั อันตรายท่มี ือและผิวหนงั (Hand and skin protection devices) (ตอ่ )37  4.5.1 ถงุ มือ (gloves) (ต่อ) ▪ ประเภทของถุงมอื ไดแ้ ก่ 4) ถุงมือผ้า เหมาะสาหรับการทางานทั่วไป การประกอบชิ้นงานในกระบวนการผลิต ใช้ในงาน เกษตรกรรม หา้ มใช้ กบั เคร่อื งจักรท่ีมกี ารหมุนหรอื สายพาน 5) ถุงมือป้องกันไฟฟ้า มีคุณสมบัติพิเศษ สามารถป้องกันอันตรายจากไฟฟ้าได้ แต่ไม่ทนต่อการขีดข่วน และจะทาให้การต้านไฟฟ้าลดลง ดังนนั้ การใชง้ านต้องสวมถุงมอื หนงั ทับอกี ชนั้ เสมอ 6) ถงุ มือปอ้ งกันอณุ หภมู ิ ปอ้ งกนั อันตรายจากการสัมผัสวัตถุท่ีมีอุณหภูมิร้อนจัดหรือเย็นจัด ดังน้ันวัสดุท่ี ใช้ทาถุงมือมักมสี ่วนประกอบแร่ใยหิน อลมู เิ นยี ม เปน็ ต้น 7) ถุงมือป้องกันรังสี จะเป็นถุงมือประเภทท่ีเคลือบด้วยตะกั่ว เนื่องจากตะก่ัวช่วยป้องกันอันตรายจาก รังสี

4.5 อปุ กรณป์ ้องกันอันตรายท่มี อื และผิวหนัง (Hand and skin protection devices) (ตอ่ )38ถุงมือยาง ถุงมอื หนงั ถงุ มอื ตาข่ายลวด ถุงมือปอ้ งกันไฟฟา้ถงุ มือผ้า ถงุ มือป้องกันอุณหภมู ิ ถุงมือป้องกันรังสี

4.5 อปุ กรณป์ อ้ งกนั อันตรายที่มอื และผวิ หนงั (Hand and skin protection devices) (ต่อ)39  4.5.2 อปุ กรณป์ ้องกนั อันตรายทลี่ าตวั (Body Protection Devices) ชุดปอ้ งกันสารเคมี ▪ สามารถป้องกันอันตรายจากการกระเด็นของวัตถุท่ีอาจจะสัมผัสโดน ผู้ปฏิบัติงาน ได้แก่ การกระเด็นของสารเคมี เศษวัสดุกระเด็น ลูกไฟ รังสี เป็น ต้น ▪ ตวั อยา่ งอปุ กรณ์ป้องกนั ลาตวั ได้แก่ 1) ชุดป้องกันสารเคมี ทามาจากพลาสติก ไวนิล ยางสังเคราะห์ หรือยาง ธรรมชาติ มหี ลากหลายใหเ้ ลอื กตามความต้องการ ตามลักษณะงานแตล่ ะชนิด 2) ชดุ ปอ้ งกนั ความรอ้ น เป็นผ้าท่ที อจากเส้นใยแข็ง (glass fiber fabric) เคลือบ ผิวด้วยอลูมิเนียม/บางชนิดผสมเส้นใยแอสเบสตอส ปัจจุบันงานอุตสาหกรรม ใช้ผา้ ทนไฟ เรียกว่า nomex สามารถกนั ไฟและความรอ้ นไดด้ ี ชุดป้องกนั ความรอ้ น

4.5 อุปกรณ์ป้องกนั อันตรายทมี่ อื และผิวหนงั (Hand and skin protection devices) (ต่อ)40  4.5.2 อุปกรณป์ ้องกนั อนั ตรายทลี่ าตวั (Body Protection Devices) 3) ชุดป้องกันรังสี เป็นชุดท่ีฉาบตะกั่ว หรือเป็นชุดผ้าฝ้ายแล้วเคลือบตะกั่วอีกหน่ึงชั้น สามารถปอ้ งกนั รังสีได้ดี โดยเฉพาะชุดท่ีฉาบตะก่วั ที่มคี วามหนามากๆ 4) ชุดป้องกันการกระเด็นของเศษวัสดุ เช่น เสื้อคลุมหนัง เอ๊ียม ชุดหมี เหมาะสาหรับการ ทางานกบั เครอื่ งจักรทั่วไปชดุ ป้องกนั การกระเด็นของเศษวัสดุ ชุดปอ้ งกันรังสี

4.5 อปุ กรณป์ ้องกันอนั ตรายท่ีมือและผวิ หนัง (Hand and skin protection devices) (ตอ่ )41  การใชง้ านอุปกรณ์ปอ้ งกนั อนั ตรายทีม่ อื และผวิ หนัง ▪ ควรเลือกอุปกรณท์ เี่ หมาะสมกับลกั ษณะงานหรืออันตรายทีอ่ าจจะเกิดขึ้นจากการทางาน ▪ อ่านคมู่ ือและปฏิบัติตามอย่างเคร่งคัด และตรวจสอบสภาพโดยทั่วไป ต้องอยู่ในสภาพดี ไม่ฉีก ขาด แตก หรอื สกปรก ▪ วิธีทดสอบความสามารถในการซมึ ผ่านถุงมือ โดยการกลับถุงมือให้ด้านนอกให้อยู่ด้านใน แล้ว เทสารเคมีลงไป ทิ้งไว้ 10 – 15 นาที ถ้าสารเคมีซึมผ่านได้ แสดงว่าถุงมือไม่เหมาะสมกับ สารเคมีน้ัน  การบารุงรักษาอปุ กรณ์ป้องกันอันตรายทีม่ อื และผวิ หนัง ▪ ทาความสะอาดทุกครั้งหลังจากการใช้งาน โดยใช้น้าสบู่ หรือน้าเปล่า หรือตามวิธีการตามท่ี ผูผ้ ลติ แนะนา ผงึ่ ลมให้แห้ง และเก็บในทีส่ ะอาด ▪ ถา้ อปุ กรณ์ชารุดให้เปลยี่ นอุปกรณ์ใหม่

4.6 อปุ กรณป์ ้องกันอันตรายของเทา้ (Foot protection devices)42  รองเท้านริ ภัย (Lather Safety Footwear/ Safety Shoe) ▪ สามารถป้องกันอันตรายในรูปแบบต่างๆท่ีอาจเกิดข้ึนกับเท้าของผู้ปฏิบัติงาน เช่น วัตถุท่ิมหรือแทง กระแสไฟฟ้า สารเคมี ความร้อน ความเย็น เครอ่ื งจักร รวมถงึ สามารถปอ้ งกันการลืน่ ไถลได้ มาตรฐานของรองเท้านริ ภัย เช่น EN345-1, ANSIZ41.1 – 1991 และมอก. 523 – 2554 ได้กาหนดคุณสมบัตใิ นการป้องกันอนั ตราย ดงั น้ี 1) บัวหัว (Toecap) หรือหัวเหล็ก สามารถป้องกันอันตรายของน้ิวเท้าจากการกระแทกและแรงกดทับได้ไม่น้อยกว่า 15 กโิ ลนวิ ตัน (ประมาณ 3,372.14 ปอนด)์ 2) แผ่นป้องกันการทะลุ (Penetration Resistance insert) อย่ใู นพ้นื รองเท้า ป้องกันการทะลจุ ากของแหลมหรือของมคี ม 3) มีความสามารถในการตา้ นทานไฟฟา้ ตัง้ แต่ 100 กโิ ลโอหม์ ถึง 1,000,000 กิโลโอหม์

4.6 อปุ กรณป์ อ้ งกันอนั ตรายของเทา้ (Foot protection devices) (ตอ่ )43  การใช้งานและการบารุงรักษาอปุ กรณ์ป้องกนั อนั ตรายของเทา้ ▪ การใช้งานสามารถเลือกใช้ได้ในการปฏิบัติงานทุกงานท่ีอาจมีอันตรายเกิดขึ้นกับเท้าของผู้ปฏิบัติ เช่นงาน ก่อสร้าง งานที่อาจมีอุบัติเหตุเก่ียวกับวัสดุหล่นทับ การบาด การทะลุผ่าน งานที่วัสดุท่ิมแทง สารเคมี รวมถึง อันตรายจากกระแสไฟฟ้า และควรสวมใสต่ ลอดการทางาน ▪ การบารงุ รักษาตอ้ งทาความสะอาดดา้ นนอกด้วยน้าธรรมดา/สบู่ เชด็ ให้แห้งแล้ววางใหแ้ ห้ง หรอื ผ่ึงแดดกไ็ ด้ ควร ทาความสะอาดอยา่ งน้อยทกุ สัปดาห์

4.7 อุปกรณ์ป้องกันอันตรายจากการตก (Falling protection devices)44  ในการปฏิบัตงิ านบนท่ีสูงหรืองานท่ีต้องลงไปในพน้ื ทีท่ ต่ี า่ กวา่ ระดบั พ้นื ดนิ เช่น หลมุ ลกึ ๆ ถงั ขนาดใหญ่ บอ่ หอ้ งใต้ดิน อาจจะทาใหผ้ ู้ปฏบิ ตั ิงานได้รบั อนั ตรายจากการตกลง ไปจากท่สี งู จาเป็นตอ้ งมกี ารใชเ้ ขม็ ขดั นิรภัยและชดุ อปุ กรณ์ในการปอ้ งกนั อันตราย ตามมาตรฐานการทางานบนท่สี งู ❑ตง้ั แต่ 2 เมตรขึ้นไป ตอ้ งมกี ารติดน่งั รา้ นขณะทางาน ❑4 เมตรขึน้ ไป จะต้องมีการใชเ้ ขม็ ขดั นิรภัยในการปอ้ งกันอนั ตราย

กฎกระทรวงกำหนดมำตรฐำนในกำรบริหำรและกำรจดั กำรด้ำนควำมปลอดภยั อำชีวอนำมยัและสภำพแวดล้อมในกำรทำงำนเก่ียวกบังำนก่อสร้ ำงพ.ศ. ๒๕๕๑

4.7 อปุ กรณ์ป้องกันอันตรายจากการตก (Falling protection devices) (ตอ่ )46 ชดุ อุปกรณ์ทใี่ ชใ้ นการปฏิบัติงานบนท่ีสงู ประกอบด้วยอปุ กรณ์ตา่ งๆ ดงั นี้ 1) เข็มขัดนิรภัย (Safety Belt) หรือ เข็มขัดนิรภัยชนิดเต็มตัว (Safety Harness) ใช้สาหรับ พยุงลาตัวของผู้ปฏิบัติงานเมื่อตกจากท่ีสูง เพื่อความปลอดภัยในการทางาน ควรเลือกใช้ Safety Harness แทน Safety Belt เพราะเมอื่ เกิดการตก เข็มขัดนิรภัยชนิดเต็มตัวจะ พยุงหลังและลาตัวได้ดีกว่าเขม็ ขัดนริ ภยั ธรรมดา

4.7 อปุ กรณ์ปอ้ งกนั อันตรายจากการตก (Falling protection devices) (ต่อ)47 2) เชือกนิรภัย (Lanyards) จะมีตัวล๊อคด้านหนึ่งยึดติดกับเข็มขัดนิรภัยและอีกด้าน จะเป็นตะขอเพื่อใช้สาหรับเก่ียวกับคานหรือน่ังร้านท่ีมีความมั่นคงแข็งแรง หรือ ใชเ้ กย่ี วลอ๊ คกบั สายช่วยชวี ิต เพอ่ื ปอ้ งกันการตก 3) สายช่วยชีวิต (Life lines) จะใช้ในกรณีที่พืน้ ท่ีนั้นไม่มีจุดแขวนตะขอของเชือก นิรภัยท่ีปลอดภัย เช่น การปฏิบัติงานบนหลังคา การปฏิบัติในลักษณะที่เป็น แนวดิง่ และใชเ้ ปน็ สายป้องกันการตกเปน็ ต้น

4.7 อปุ กรณป์ อ้ งกนั อันตรายจากการตก (Falling protection devices) (ต่อ)48

4.7 อุปกรณ์ปอ้ งกนั อนั ตรายจากการตก (Falling protection devices) (ตอ่ )49  วธิ กี ารใชง้ านเข็มขดั นริ ภยั และอุปกรณ์ ▪ เมื่อทางานที่มีความสูงตั้งแต่ 4 เมตรขึ้นไป ต้องจัดให้มีการใช้เข็มขัดนิรภัยและชุดอุปกรณ์ท่ี สามารถรบั นา้ หนกั ของผ้ปู ฏิบัติงาน ▪ ตอ้ งมกี ารตรวจสอบอปุ กรณ์ ให้มีลักษณะพร้อมใช้งาน จะต้องไม่มีการแตกร้าว ความเสียหายจาก การไหม้ไฟ บดิ เบ้ียว ผดิ รูป เป่อื ย ฉีกขาด เป็นต้น

4.7 อุปกรณป์ อ้ งกนั อันตรายจากการตก (Falling protection devices) (ตอ่ )50▪ ห้ามผกู ยึดหรอื เกย่ี วกับระบบป้องกนั การตกสว่ นบคุ คลกบั สง่ิ ตอ่ ไปนี้ • เสาค้ายันแนวทแยงมมุ • เสาค้ายันแนวดง่ิ • ทอ่ สาธารณูปโภค เช่น ท่อลม ทอ่ น้า ท่อแก๊ส • ระบบป้องกนั อัคคภี ยั • รางไฟ สายไฟ ตลับไฟ ท่อสายไฟ • วาล์วทุกชนิด • โครงสรา้ งท่ีไม่แข็งแรง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook