วจิ ัยในช้ันเรียน เร่ือง พฤตกิ รรมที่ส่งผลต่อด้านการมีวนิ ัยในตนเอง ผวู้ ิจยั นายอิทธิพทั ธ ปัททะทุม ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2563 แผนกวชิ าไฟฟ้ากาลงั วทิ ยาลยั การอาชีพนวมินทราชินีมุกดาหาร สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
วจิ ยั ในช้ันเรียน เรื่อง พฤตกิ รรมที่ส่งผลต่อด้านการมวี นิ ัยในตนเอง ผวู้ จิ ยั นายอิทธิพทั ธ ปัททะทุม ระดบั ประกาศนียบตั รวิชาชีพ (ปวช.) ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2563 แผนกวชิ าช่างไฟฟ้ากาลงั วทิ ยาลยั การอาชีพนวมินทราชินีมุกดาหาร
ชื่อ : ก ชอ่ื เรื่อง : นายอทิ ธิพัทธ ปทั ทะทุม สาขาวิชา : พฤติกรรมทส่ี ง่ ผลต่อดา้ นการมีวินยั ในตนเอง ระดบั ชั้นประกาศนยี บตั ร ปกี ารศกึ ษา : วิชาชพี (ปวช.2) แผนกวชิ าไฟฟา้ กาลัง วทิ ยาลัยการอาชีพนวมนิ ทราชนิ ีมกุ ดาหาร ช่างไฟฟ้ากาลงั 2563 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้เป็นการหาเจตคติที่ส่งผลต่อด้านการมีวินัยในตนเองของนักเรียน ระดับช้ัน ประกาศนียบัตรวิชาชีพ แผนกวิชาไฟฟ้ากาลัง วิทยาลัยเทคนิคน้าพอง เจตคติที่ส่งผลต่อด้านการมี วินัยในตนเอง โดยใช้วิธีการแจกแบบสอบถามความคิดเห็น จานวน 20 ชุด จากนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีท่ี 2 จานวน 20 คน ตามตารางแสดงจานวนประชากรและกลุ่ม ตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยของเคิร์จซี่และมอร์แกน โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือหาสาเหตุนักเรียนระดับชั้น ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 แผนกวิชาไฟฟ้ากาลัง เจตคติท่ีส่งผลต่อด้านการมีวินัยในตนเอง และประเมินผลที่ได้จากการทาแบบสอบถามคิดเห็นนักเรียน โดยใช้กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียน ระดับชั้นประกาศนยี บตั รวิชาชพี แผนกวชิ าไฟฟา้ กาลงั วิทยาลัยเทคนิคน้าพอง จานวน 20 คน โดย ให้นกั เรียนทาแบบสอบถาม กลุ่มประชากรได้แก่นักเรียน นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ แผนกวิชาไฟฟ้ากาลัง วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น กลุ่มตัวอย่างที่ใช้วิจัย มีจานวนท้ังสิ้น 20 คนโดยวิธีการสุ่มของเคิร์จซี่ และมอร์แกน (Krejcie and Morgan, 1790) เครอ่ื งมือท่ีใช้ในการเก็บข้อมูลคือ แบบสอบถามท่ีผู้วิจัย สร้างข้ึนเป็นแบบแสดงความคิดเห็น โดยข้อมูลที่ได้นามาวิเคราะห์ด้วยสถิติความเชื่อม่ัน, IOC, ความ เหมาะสมและคา่ ความถี่ ผลการวิจัยพบว่านักเรียน นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพแผนกวิชาไฟฟ้ากาลัง วิทยาลัยเทคนิคน้าพอง ส่วนใหญ่ นักเรียนจะพูดกันกับเพื่อนในขณะที่ครูกาลังสอนร้อยละ 86.67 มากท่สี ุด และความคิดเหน็ ตอ่ สาเหตุที่ส่งผลต่อความมีวินัยในตนเองของผู้เรียน อยู่ในระดับปานกลาง ( เฉลย่ี 3.39 )
ค สารบญั หนา้ บทคัดย่อ.................................................................................................................................... ก กติ ติกรรมประกาศ..................................................................................................................... ข สารบญั ……............................................................................................................................... ค สารบัญตาราง............................................................................................................................. ง บทที่ 1 บทนา.................................................................................................................................. 1 ความเปน็ มา................................................................................................................... 1 วตั ถปุ ระสงค.์ ................................................................................................................. 2 ขอบเขตของการวิจยั ...................................................................................................... 2 นิยามศพั ท.์ ..................................................................................................................... 2 ประโยชน์ท่ีไดร้ ับ........................................................................................................... 2 2 เอกสารที่เก่ยี วข้อง............................................................................................................. 3 ความหมายของเจตคติ............................................................................................. 3 ความหมายของวินยั ................................................................................................. 4 3 วธิ ีการดาเนนิ การวจิ ัย................... ................................................................................... 9 ขน้ั ตอนการวจิ ัย............................................................................................................ 9 ประชากรและกลมุ่ ตัวอย่าง......................................................................................... 10 เคร่ืองมอื ที่ใช้ในการดาเนินการวจิ ยั ............................................................................ 10 การเก็บรวบรวมข้อมลู .................................................................................................. 10 การวิเคราะห์ข้อมลู ........................................................................................................ 10 4 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล........................................................................................... ........... 11 ผลการประเมนิ ตามแบบสอบถามความคิดเหน็ ………………….................................. 11 5 สรปุ ผล การดาเนินการวิจยั และข้อเสนอแนะ.................................................................. 14 สรปุ วัตถุประสงคข์ องการวิจยั ................................................................................... 15 ข้อเสนอแนะ.............................................................................................................. 16 บรรณานกุ รม ภาคผนวก
สารบัญตาราง ง ตารางที่ 11 หนา้ 12 13 4.1 จำนวนนักเรียนที่ทำแบบสอบถำม 13 4.2 จำนวนนักเรียนทที่ ำแบบสอบถำมสำเหตทุ ส่ี ง่ ผลตอ่ ควำมมวี ินบั ในตนเอง 4.3 กำรวิเครำะหค์ วำมเชื่อมน่ั 4.4 ตำรำงประเมนิ ข้อคำถำมแตล่ ่ะข้อของผเู้ ช่ียวชำญ
1 บทท่ี 1 บทนำ ควำมเป็นมำและควำมสำคัญของปัญหำ ปจั จุบนั ในสังคมท่ีมีการเจรญิ เตบิ โตและมกี ารพฒั นาในทุก ๆ ดา้ น ทงั้ ในดา้ นเศรษฐกิจ ดา้ น สังคม ดา้ นการเมอื ง การเจริญเติบโตและการพฒั นาเหล่านี้ จาเปน็ ตอ้ งอาศัยปัจจัยหลาย ๆ ประการ เกอื้ หนนุ กัน แต่ปัจจยั หลักของการเจริญเติบโตและการพัฒนา จาเป็นต้องอาศยั ทรัพยากรบคุ คลทีม่ ี คุณภาพ ซง่ึ บคุ คลที่มคี ุณภาพนน้ั จะต้องมีคุณสมบัติทั้งทางดา้ นสมรรถภาพทางร่างกายแขง็ แรงและ จติ ใจที่ดี มสี ตปิ ญั ญา มคี วามรู้ความสามารถ มคี วามอดทน ขยนั ขันแข็ง ไม่ย่อท้อต่อความ ยากลาบาก เผชญิ ปัญหาและอุปสรรคด้วยความมุ่งมัน่ คุณสมบัติเหล่านี้ จาเป็นต้องถูกหล่อหลอม ให้เกิดข้นึ ในตัวบุคคลในรปู ของคาว่า “ วินยั ในตนเอง ” วินยั ในตนเองเป็นวฒั นธรรมของสังคมท่ีทุก คนต้องปฏบิ ตั ิ เพราะจะทาให้บุคคลอยรู่ ่วมกันได้ดว้ ยความสุข วินัยในตนเองนีเ้ ป็นคณุ ธรรม ประการหน่ึงทีท่ กุ คนควรสรา้ งขึน้ สาหรับบงั คบั พฤติกรรมของตนเอง ทาให้คนเราบรรลจุ ดุ มงุ่ หมาย ของชวี ติ ประสบความสุขความเจริญในชีวิต จงึ เป็นวนิ ัยทีค่ รูควรสร้างสรรคใ์ หเ้ กิดแก่เด็กในระดบั เพราะถ้าเด็กมวี นิ ัยในตนเองต้ังแต่ยังเลก็ นัน้ จะทาให้เด็กได้ควบคมุ พฤติกรรมของตนให้เปน็ ไปในทางที่ ดงี ามและประสบความสาเร็จในชวี ิต จึงต้องดาเนินการฝึกใหเ้ กดิ ผลอย่างจริงจัง เดก็ น้ันนับว่าเปน็ ทรพั ยากรมนุษย์ทสี่ าคัญท่สี ดุ ของประเทศ หากไม่ไดเ้ ตรียมพฒั นาเด็กให้เป็นทรัพยากรทดี่ แี ล้ว การ พัฒนาประเทศอาจจะเป็นไปไดไ้ ม่เต็มที่ จะเหน็ ไดว้ ่าความมีวินยั ในตนเองเปน็ ลกั ษณะที่จาเป็นต้อง ปลูกฝังให้กับเยาวชน เม่ือเยาวชนมวี นิ ัยในตนเองเปน็ พน้ื ฐานและมีวนิ ัยต่อสงั คม ผลท่สี ุดกจ็ ะวนิ ัย ตอ่ ประเทศชาติโดยส่วนรวม ซงึ่ จะทาให้ประเทศชาตกิ ้าวหนา้ มากยงิ่ ขน้ึ ผูว้ จิ ยั ได้เหน็ ความสาคัญของจรยิ ธรรม โดยเฉพาะพฤตกิ รรมดา้ นวินยั ในตนเอง โดยเห็นว่า วินัยในตนเองเปน็ คณุ ลกั ษณะในตวั บคุ คลท่ีควบคมุ ตนเองได้ ทั้งในด้านอารมณแ์ ละพฤตกิ รรม ผ้ทู ่ีมี วินยั ในตนเองจะเปน็ บุคคลท่ีรู้จกั กาลเทศะ สนใจและเอาใจใส่ตอ่ สงั คม เป็นผู้ท่ีมรี ะเบียบและปฏบิ ัติ ตามกฎของสงั คม จากการศึกษาความหมายและขอบข่ายและพฤติกรรมของความมวี นิ ยั ในตนเอง ทาให้ผูว้ จิ ยั เลง็ เหน็ ความสาคัญของวินยั ในหอ้ งเรยี น ความขยันอดทนและแรงจงู ใจใฝ่สมั ฤทธ์ิ ผ้วู ิจยั จงึ ศกึ ษา เรื่อง “ พฤติกรรมท่ีส่งผลต่อดา้ นการมีวินัยในตนเอง ” ของนกั เรยี นระดับประกาศนยี บัตรวิชาชพี ( ปวช.3 ) ปกี ารศึกษา 2563
2 จดุ มงุ่ หมำยของกำรศกึ ษำ 1. เพอ่ื ศึกษาพฤตกิ รรมทมี่ ีต่อวินัยในตนเอง 2. เพื่อศึกษาพฤตกิ รรมทมี่ ีต่อความขยนั อดทนทางการเรียน 3. เพ่อื ศึกษาพฤตกิ รรมท่มี ตี ่อแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธ์ทิ างการเรียน ขอบเขตของกำรศกึ ษำค้นควำ้ 1. ประชากร ในการศึกษาค้นคว้าเป็นนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) แผนกวิชา ไฟฟ้ากาลงั ปีการศกึ ษา 2563 2. กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้ เป็นนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ( ปวช.2 ) ปี การศกึ ษา 2563 แผนกวชิ าไฟฟ้ากาลงั วชิ าเครอ่ื งวัดไฟฟ้า จานวน 20 คน 3. ตัวแปรท่ศี กึ ษา 3.1 ตวั แปรอสิ ระ คอื เจตคตทิ ี่มีต่ ่อวนิ ัยในตนเองได้แก่ 3.1.1 วนิ ยั ในตนเองดา้ นวินัยในห้องเรยี น 3.1.2 ความขยนั อดทนทางการเรยี น 3.1.3 แรงจงู ใจใฝส่ มั ฤทธิ์ทางการเรียน 3.2 ตัวแปรตาม คือ พฤตกิ รรมด้านความมีวินยั ในตนเอง นิยำมศัพท์เฉพำะ 1. ความมีวินัยในตนเอง หมายถึง การกระทาของบุคคลในการประพฤติปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ ของสงั คม และไมฝ่ า่ ฝืนกฎเกณฑข์ องสงั คม 2. ความอดทน หมายถึง ความเข็มแข็ง ความหนักแน่นของจิตใจในการควบคุม อารมณ์ จติ ใจ ร่างกาย ใหส้ ามารถเผชญิ เหตุการณต์ า่ ง ๆ ได้ 3. แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธ์ิ หมายถึง ความมุ่งม่ันของนักเรียนที่จะทาพฤติกรรมใด พฤติกรรมหนึ่ง ให้สาเรจ็ ลุล่วงด้วยดี ตามมาตรฐานสงู สดุ หรือเป็นไปตามที่นักเรียนวางไว้ โดยนักเรียนได้ใช้ ความพยายามอยา่ งเตม็ ท่ี เม่อื มีอุปสรรคกค็ ดิ หาทางแก้ไขโดยไม่ย่อท้อ ประโยชนท์ ่คี ำดวำ่ จะไดร้ ับ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อครูผู้สอน ครูแนะแนว ผู้ปกครองในการนาปัจจัยท่ีส่งผลต่อพฤติกรรม ของนักเรียนมาสร้างเสริม พัฒนานักเรียนให้เป็นบุคคลท่ีมีคุณค่ามีคุณประโยชน์ต่อสังคมและ ประเทศชาตสิ บื ไป
3 บทที่ 2 เอกสารและทฤษฎีทเ่ี กี่ยวขอ้ ง ในการศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องกับเจตคติที่มีต่อวินัยในตนเอง ความขยันอดทน และแรงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิท์ างการเรยี น ของนกั เรยี นระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.2) ปีการศึกษา 2563 แผนกวิชาไฟฟา้ กาลัง วชิ าโครงการ จานวน 20 คน ผู้วิจัยไดจ้ ดั ลาดบั ตามสาระ ดังนี้ 1. ความหมายของเจตคติ 2. องค์ประกอบของเจตคติ 3. ความหมายของวินยั 4. ประเภทของวินัย 5. คณุ ลกั ษณะของผู้มวี ินัยในตนเอง 6. การเสริมสร้างความมวี ินยั ในตนเอง 7. ความสาคญั คณุ ค่า และประโยชนข์ องความมีวินัยในตนเอง 8. ลกั ษณะของบคุ คลที่มีวนิ ัยในตนเอง 9. ความอดทน 10. ความสาคัญและความหมายของความอดทน ความหมายของเจตคติ เจตคติเป็นความรู้สึกของบุคคลท่ีมีต่อส่ิงต่างๆ อันเป็นผลเน่ืองมาจากการเรียนรู้ ประสบการณ์ และเป็นตัวกระตุ้นให้บุคคลแสดงพฤติกรรมหรือแนวโน้มที่จะตอบสนองต่อสิ่งเร้านั้นๆ ไปในทิศทางหนึ่ง อาจเป็นไปในทางสนับสนุนหรือคัดค้านก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับขบวนการการอบรมให้ การเรียนรรู้ ะเบยี บวธิ ขี องสงั คม ซึ่งเจตคตินจ่ี ะแสดงออกหรอื ปรากฏให้เห็นชัดในกรณีที่สิ่งเร้าน้ันเป็น สิง่ เร้าทางสังคม องค์ประกอบของเจตคติ องคป์ ระกอบของเจตคตมิ ี 3 ประการ ไดแ้ ก่ 1. ด้านความคิด ( Cognitive Component) หมายถึง การรับรู้และวินิจฉัยข้อมูลต่างๆ ที่ ได้รับ แสดงออกมาในแนวคิดทีว่ ่าอะไรถูก อะไรผิด 2. ด้านความรู้สึก ( Affective Component) หมายถึง ลักษณะทางอารมณ์ของบุคคลท่ี สอดคล้องกับความคิด เช่น ถ้าบุคคลมีความคิดในทางท่ีไม่ดีต่อส่ิงใด ก็จะมีความรู้สึกที่ไม่ดีต่อส่ิงนั้น ดว้ ย จึงแสดงออกมาในรูปของความรูส้ กึ ไม่ชอบหรอื ไม่พอใจ 3. ด้านพฤตกิ รรม ( Behavior Component) หมายถึง ความพร้อมท่ีจะกระทาซึ่งเป็นผลมา จากความคิดและความร้สู ึกและจะออกมาในรูปของการยอมรับหรือปฏิเสธ การปฏบิ ัติหรือไม่ปฏิบตั ิ
4 ความหมายของวนิ ัย คาว่า วินัย หรือ ตรงกับคาศัพท์ภาษาอังกฤษว่า Discipline มีผู้ให้คานิยามไว้หลายลักษณะ อาทิ เช่น พจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน ได้ให้ความหมายของวินัยไว้ ดังน้ี วินัยหมายความว่า ระเบียบสาหรับกากับความประพฤติให้เป็นแบบแผนอันหนึ่งอันเดียวกัน เป็นระเบียบแบบแผน ขอ้ ตกลงทีส่ งั คมกาหนดให้บคุ คลประพฤติปฏิบัตติ ามเพ่ือให้อย่รู ว่ มกนั ในสงั คมได้อย่างสนั ตสิ ุข นอกจากนี้การให้นิยามของวินัย ยังมีลักษณะที่แตกต่างกันตามเงื่อนไขของการใช้คาว่า วินัย ว่ามีความมุ่งหมายเพ่ืออะไร เช่น ในด้านการศึกษา การให้คานิยามของวินัย จะมีความหมายถึง พฤติกรรมของครู ซ่ึงมีเจตนาที่จะสร้างสรรค์และดารงไว้ซึ่งเง่ือนไขที่มีความจาเป็นท่ีสุดในความเป็น ระเบยี บเรียบร้อย ในการเรียนการสอนและพัฒนาความสามารถในการควบคุมตนเองของผู้เรียน ซ่ึง ระเบยี บข้อบงั คับต่าง ๆ ท่ีสถาบันการศึกษาได้กาหนดข้ึนให้ผู้เรียนต้องปฏิบัติตาม ถ้าฝ่าฝืนจะต้องมี การทาโทษตามกฎระเบยี บ ข้อบังคับทีก่ าหนดไว้ ทั้งน้จี ากเอกสารการสอนวชิ าการบรหิ ารงานบุคคลของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชได้สรุป ความหมายของวนิ ยั ไดเ้ ป็น 2 แนวทาง คอื 1. ความหมายในทางรูปธรรม หมายถึง ข้อปฏิบัติ หรือ แบบสาหรับคนในองค์กรในหมู่ ใน เหล่า ในวงการแต่ละแห่ง โดยข้อปฏิบัติหรือแบบท่ีกาหนดไว้สาหรับสมาชิกในองค์กรน้ัน ๆ จะ เรียกว่า วินัย อาทิเช่น วินัยทหาร วินัยข้าราชการพลเรือนสามัญ ความหมายของวินัยในทาง รปู ธรรม สามารถนาไปใช้เปน็ หลกั ในทางปฏบิ ตั ิไดว้ า่ 1.1 วินัยในองค์กรต่าง ๆ อาจมีลักษณะแตกต่างกันออกไป การกระทาอย่างเดียวกันใน องค์กรหน่งึ อาจจะไม่ถอื วา่ การปฏบิ ตั ิดงั กล่าวเป็นความผิด 1.2 ในการพิจารณาวา่ การกระทาใดผิดวินยั หรอื ไม่ ตอ้ งพจิ ารณาว่าเป็นการกระทาท่ีผิดข้อ ปฏิบัติ หรือผิดแบบของสมาชิดในองค์กรน้ันหรือไม่ ถ้าไม่มีการกาหนดไว้ในข้อปฏิบัติ จะไม่ถือว่า เป็นความผดิ หรอื ในกรณกี ลับกันถา้ หากมขี อ้ ปฏบิ ตั ิกาหนดไว้และมีการฝา่ ฝืนก็ถือว่าผิดข้อปฏิบัติ 1.3 ในการกาหนดระดับการลงโทษที่จะลงแก่ผกู้ ระทาผิดวินัย จะต้องพิจารณาการกาหนด ความหนักเบาของโทษ โดยแตกตา่ งกนั ออกไปในแต่ละองค์กร 2. ความหมายในทางนามธรรม หมายถึง ลักษณะเชิงพฤติกรรม ( Behavior ) ท่ีแสดง ออกมาเป็นการควบคมุ ตนเอง การยอมรบั หรอื ปฏิบัตติ ามการนา หรือ การบังคบั บัญชา การมีระเบียบ และการอยู่ในแบบแผน จากความหมายของวินัยในทางนามธรรม จะพบวา่ โดยแท้จรงิ แล้ว วนิ ัยที่ต้องการหาใช่ตัวขอ้ ปฏบิ ัติ หรือตวั แบบแผนไม่ หากแตว่ ินัยท่ีต้องการให้มี คอื การควบคุมตน การปฏิบตั ติ าม ข้อบงั คบั การอยู่ในแบบแผน การปฏิบัตติ ามการนา การปฏิบตั ิตามการบังคบั บัญชา การมี ระเบียบและลักษณะเชิงพฤติกรรมดงั กลา่ วจะแสดงออกมาด้วยสง่ิ ทมี่ าจากพ้นื ฐานทางจิตใจ ดว้ ยเหตุ
5 น้ี การท่ีจะทาให้ทุกคนในองคก์ รมวี นิ ยั จึงจาเป็นอย่างย่งิ ท่ีตอ้ งปรบั พฤติกรรม ต้องพัฒนาจิตใจ ตอ้ ง นาต้องกากบั ด้วย มใิ ชม่ ่งุ แต่จะพัฒนาหาทางกาหนดข้อปฏบิ ตั หิ รือระเบียบให้มีความครอบคลุมรัดกุม แตเ่ พยี งอย่างเดียว หรือมุ่งแตจ่ ะคอยลงโทษเม่ือมีสมาชิกในองค์กรคนใดคนหน่ึงกระทาการฝา่ ฝืน ขอ้ ปฏิบตั ิหรอื ระเบียบขององคก์ ร ประเภทของวินัย หลกั สาคญั ของวนิ ยั มีไว้เพอื่ ควบคมุ พฤตกิ รรมของสมาชิกในสงั คมน้ัน ๆ ใหอ้ ยใู่ นกรอบปฏบิ ตั ิ เดียวกัน ดว้ ยเหตทุ ่แี ตล่ ะคนตา่ งมภี ูมิหลังทีแ่ ตกตา่ งกัน ไม่วา่ จะเปน็ สภาวะแวดล้อม ลกั ษณะการ อบรมเลี้ยงดู ตลอดจนความเชื่อ ค่านิยมตา่ ง ๆ จงึ เป็นสาเหตหุ ลักทสี่ ง่ ผลให้สมาชิกในสังคมแต่ละ บุคคลมคี วามแตกต่างกนั ดงั น้นั การมาอยูร่ วมกนั จึงอาจจะทาใหเ้ กิดการกระทาตามความพึงพอใจ ของตนเอง ฉะน้ันการมแี นวทางปฏิบัตเิ ดียวกันจึงเป็นปัจจัยท่ีสาคัญในการรกั ษาไว้ซ่ึงความสงบ เรยี บรอ้ ยภายในสงั คม จึงได้มีการแบ่งประเภทของวินยั เป็น 4 ประเภท คือ 1. วินยั ในตนเอง 2. วนิ ยั ในห้องเรยี น 3. วนิ ยั ในโรงเรยี น 4. วนิ ยั ทางสงั คม แต่โดยส่วนใหญ่แล้ว การแบง่ ประเภทของวินัยโดยใช้เกณฑ์แหล่งท่ีมาของอานาจท่ีใช้ในการ ควบคมุ พฤตกิ รรม สามารถแบง่ ออกได้เปน็ 2 ประเภท ดงั น้ี 1. วินัยภายนอก หรอื สว่ นรวม หรอื วนิ ัยสาหรบั หม่คู ณะ ( External Authority Discipline ) วนิ ัยท่ีออกมาจากอานาจภายนอก เพ่อื บงั คับให้บคุ คลทุกคนในสงั คมปฏิบัตติ ามเพ่ือ ความเปน็ ระเบียบเรียบร้อย ดงั นัน้ การทีบ่ ุคคลใดประพฤติปฏิบตั ิตามกด็ ว้ ยความเกรงกลวั อานาจหรอื การลงโทษ จงึ เปน็ การปฏบิ ตั ิตามท่ีบคุ คลอย่ใู นภาวะจายอมจากการถกู ควบคุม เพื่อป้องกนั มใิ ห้เกดิ การไม่ปฏิบัติตามวินัยซึ่งถูกกาหนด แตท่ ัง้ นโ้ี ดยสว่ นใหญแ่ ล้ว วินยั ประเภทนจ้ี ะตงั้ กฎเกณฑ์ แนวทางปฏบิ ตั ไิ วเ้ ป็นกลาง ๆ ดงั นน้ั ทุกคนจงึ สามารถประพฤตปิ ฏิบตั ติ ามได้ 2. วนิ ัยในตนเอง ( Self - Discipline ) หมายถึง แนวทางท่ีบุคคลเลือกปฏิบัติเพ่ือบังคับ ตนเองให้ปฏิบัติตาม ท้ังนี้เกิดจากความสมัครใจโดยมิได้ถูกบังคับ ควบคุมจากอานาจภายนอกแต่ อย่างใด และข้อปฏิบัติดังกล่าวจะต้องไม่ขัดต่อกฎระเบียบของสังคม ท้ังน้ีเพื่อเป้าหมายหลักคือ การเกิดความสงบสุขภายในสงั คม วินัยในตนเอง จึงเป็นความสามารถของบุคคลในการควบคุมอารมณ์ และพฤติกรรมให้เป็นไป ตามความต้องการของตน โดยมิได้เกิดจากการถูกบังคับจากอานาจภายนอก หากแต่เกิดจากแรง กระตุ้นภายในของตัวบุคคลน้ัน อันเป็นผลสืบเน่ืองจากการเกิดการเรียนรู้ว่าเป็นค่านิยมที่ดี ซ่ึง สอดคล้องตามกฎเกณฑ์ ระเบียบแบบแผนของสังคม และไม่ก่อให้เกิดความยุ่งยากเดือดร้อนแก่
6 ตนเองและไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น ทั้งน้ี แม้ว่าจะมีส่ิงเร้าจากปัจจัยภายนอกและภายใน ก็ไม่เป็น อปุ สรรคในการท่ีจะแสดงพฤติกรรมอยา่ งทีต่ นหวังไว้ คุณลักษณะของผู้มีวนิ ัยในตนเอง การทบี่ คุ คลมวี ินยั ในตนเอง ยอ่ มหมายถงึ บคุ คลน้ันเปน็ ผู้มคี ณุ ธรรมและจริยธรรม ด้วยเหตุท่ี วินัยในตนเอง คอื ลักษณะทีม่ ีความสาคัญต่อการแสดงออกทางคณุ ธรรมและจรยิ ธรรม จึงสรุปได้ว่า บุคคลที่มีวินัยในตนเองควรมีคุณลักษณะและพฤติกรรมดังนี้ คือ มีความรับผิดชอบ มีความเชื่อมั่น ในตนเอง มคี วามต้งั ใจ มคี วามอดทน มีความเป็นผู้นา มคี วามซ่ือสตั ย์ ตรงต่อเวลา การเสริมสร้างความมีวินยั ในตนเอง หากต้องการที่จะปลูกฝังวินัยในตนเองควรท่ีจะเริ่มต้นในวัยเด็ก เพราะพฤติกรรมในช่วงวัยน้ี จะจัดอยู่ในประเภทพฤติกรรมที่ยังไม่มีทิศทางท่ีแน่นอน ( Doubtful Behavior) ซึ่งการแสดง พฤติกรรมจะข้ึนอยู่กับสถานการณ์และองค์ประกอบท่ีแวดล้อม ดังนั้น จึงง่ายต่อการปลูกฝังความมี วนิ ัย และกระบวนการท่เี หมาะสมและไดผ้ ลดีท่สี ุด คอื การถ่ายทอดทางสังคม การต้องการเสริมสร้างระบบการสร้างวินัยในตนเองท่ีดีไม่ควรมุ่งเน้นที่การลงโทษ อันเป็น วิถีทางท่ีจะส่งผลกระทบในทางลงเสียมากกว่า หากแต่การสร้างวินัยในตนเองท่ีดีควรใช้แนวทางใน การฝึกอบรมหรือให้ความรู้ ความเข้าใจมากกว่า โดยต้องทาความเข้าใจว่า เพราะเหตุใดจึงมีความ ต้องการและความจาเป็นขององค์กรในการท่ีต้องการขอความร่วมมือจากสมาชิกในองค์กร ในส่วน ของความมวี นิ ยั เพ่อื จะไดไ้ ปสู่จุดหมายร่วมกัน โดยการเสริมสร้างความมีวินัยในตนเองมี 4 แนวทาง ดังน้ี 1. เรียนรู้และเข้าใจอย่างถ่องแท้ดึงวินัยขององค์กรท่ีตนเป็นสมาชิกอยู่ว่ามีแนวทางปฏิบัติ หรือห้ามปฏบิ ัติอะไร อย่างไรบา้ ง 2. สานึกในหน้าท่ีวา่ จะต้องปฏิบัติตามแบบอย่างหรอื ตอ้ งรกั ษาวินยั ขององค์กร 3. ตระหนกั ถึงความสาคญั ของวินัยว่า จะสร้างความเจริญ ความดงี ามและความสาคัญ ใหแ้ ก่ทัง้ ตนเองและองค์กร 4. ปฏบิ ัตติ ามขอ้ ปฏบิ ตั ิและละเวน้ การปฏิบตั ิในข้อหา้ มอย่างเคร่งครัด กรมวชิ าการ กระทรวงศึกษาธิการ ไดแ้ นะแนวทางในการสง่ เสรมิ ความมีวนิ ยั ในตนเองไว้ดงั นี้ 1. สรา้ งบรรยากาศที่ผอ่ นคลาย 2. ใหโ้ อกาสเด็กทจ่ี ะริเริ่มทากิจกรรมอยา่ งอิสระ 3. สนบั สนนุ ใหเ้ ดก็ มีโอกาสคิดและตดั สินใจแก้ปัญหาอย่างมเี หตุผล 4. เปิดโอกาสให้เด็กชว่ ยกนั สร้างข้อตกลง 5. แสดงความชน่ื ชมเมื่อเด็กปฏิบตั ติ ามข้อตกลง ใหก้ าลังใจและชว่ ยเหลือเด็กท่ีไมส่ ามารถ ปฏบิ ตั ติ ามข้อตกลงได้
7 6. ทบทวนสงิ่ ที่ได้กระทา โดยการถามหรือกล่าวชมเชย ความสาคญั คุณค่า และประโยชน์ของความมวี นิ ยั ในตนเอง คุณคา่ ของวนิ ัย นน้ั ชว่ ยใหก้ ลุ่มคนหรือสงั คมต่าง ๆ อยู่ร่วมกันได้อยา่ งสงบสุข ซง่ึ วินยั ไม่ได้ หมายถึง กฎเกณฑ์ หรือ ระเบยี บ ขอ้ บงั คบั ในกลมุ่ ชนกลุ่มใดกลมุ่ หน่ึงเท่าน้ัน แต่ยงั หมายถงึ กฎเกณฑห์ รอื ระเบยี บวินยั ในตนเองดว้ ย กล่มุ สงั คมใดที่มีสมาชิกท่มี วี ินัยในตนเองมาก วนิ ัยในสังคม นัน้ ก็อาจไม่จาเปน็ ที่จะต้องสร้างมากนัก เพราะทุกคนในสงั คมจะมคี วามรับผิดชอบสูงและสามารถ ดาเนนิ ชีวิตอยูร่ ว่ มกันไดอ้ ยา่ งสงบสขุ ไม่เบียดเบียนกนั และมีความเจรญิ กา้ วหนา้ ไปอยา่ งดี จุดมงุ่ หมายของวนิ ัยทั้งหลายนน้ั มิใช่การควบคุมพฤตกิ รรมของนักเรียนใหเ้ ป็นแนวทางท่ีผู้ใหญ่ ต้องการ แต่จดุ มงุ่ หมายทีแ่ ท้จริงของวนิ ยั คือ เพื่อใหเ้ ดก็ เกดิ ความต้องการทจ่ี ะกระทาส่งิ ท่ีดแี ละ เป็นประโยชนแ์ ก่สังคมด้วยตนเอง มใิ ช่จากสิง่ ทอี่ ยู่แวดลอ้ มหรือการบังคบั บญั ชา วินยั ทีด่ ีเกดิ ข้นึ จาก แรงผลักดนั ภายในตัวเองมากกว่าแรงบงั คบั จากภายนอก คือ ความมีวินัยในตนเอง ประโยชนค์ วามมีวนิ ยั ในตนเอง - ชว่ ยให้เดก็ มีพฤติกรรมเปน็ ระเบียบเรยี บร้อย - ชว่ ยให้เด็กมคี วามรับผดิ ชอบในหน้าทขี่ องตนเอง - ชว่ ยสรา้ งความสามัคคีปรองดองให้เกดิ ขนึ้ ในหมคู่ ณะ - ชว่ ยเสรมิ สร้างความเจรญิ ก้าวหน้าให้ตนเอง - ชว่ ยใหค้ รูและนักเรยี นอยรู่ ่วมกันอยา่ งมีความสุข และประสบความสาเร็จในการเรียนการ สอน - ช่วยสง่ เสริมหลกั การปกครองระบอบประชาธิปไตย ลักษณะของบคุ คลท่มี ีวินัยในตนเอง วนิ ัยเปน็ สิง่ สาคญั ต่อการพัฒนาเด็กเพราะช่วยต่อเติมความปรารถนาของเด็กให้เตม็ รวมทง้ั ให้ เกดิ การปรบั ตัวทางบคุ ลิกภาพและสงั คมอยา่ งมีสุข บคุ คลท่มี วี นิ ัยในตนเองจะมคี ณุ ลักษณะและ พฤติกรรม ดงั น้ี 1. มีความรบั ผดิ ชอบ 2. เช่ือมนั่ ในตนเอง 3. มีความรู้สกึ ผิดชอบ 4. ไมก่ ังวลใจ 5. มีความตง้ั ใจจริง ใจคอมน่ั คง 6. มลี กั ษณะความเปน็ ผู้นา 7. มคี วามซ่ือสตั ย์ จรงิ ใจ มเี หตุผล 8. กล้าคดิ กล้าพูด กลา้ ทา
8 9. มี่ความเหน็ อกเหน็ ใจผู้อ่ืนและไมเ่ กรงใจโดยปราศจากเหตุผล 10. มีความอดทน ความอดทน ความสาคัญและความหมายของความอดทน ความอดทน คือ ความเข็มแข็ง ความหนักแน่นของจิตใจในการควบคุมอารมณ์ จิตใจ และ ร่างกายใหส้ ามารถเผชญิ กบั เหตกุ ารณ์ต่างๆ ได้ การที่บุคคลจะทางานให้สาเร็จลุล่วงไปได้ต้องอาศัยการฝึกฝน ความเพียรพยายามและท่ี สาคัญต้องมีความอดทนในสิ่งท่ีตนเองรับผิดชอบ เพ่ืองานส่ิงน้ันจะได้สาเร็จลุล่วง การฝึกความ อดทนมหี ลายอย่าง เชน่ อดทนต่อความลาบาก อดทนตอ่ ความทกุ ข์ อดทนต่อความเจ็บใจ อดทน ตอ่ อานาจกิเลส ฯลฯ การท่ีคนเราจะมีระเบียบวนิ ยั ได้ต้องอาศัยความอดทนในตัวเอง จึงนาไปสู่ความเป็นพลเมืองท่ี ดี ความอดทนจึงเป็นปัจจัยส่งเสริมให้บุคคลเกิดวินัยข้ึน เช่น การเข้าแถวซื้ออาหาร อดทนในการ ทางานต่าง ๆ อดทนและทาตามกฎของบ้านเมือง ผู้ที่มีวินัยในตนเองสูง จะมีความรับผิดชอบสูง มี ความวิตกกังวลตา่ มีความอดทน มเี หตผุ ลของตนเอง มคี วามยดื หยนุ่ ในความคิดและพฤติกรรมทาง สงั คม
9 บทที่ 3 วธิ ดี ำเนินกำรศึกษำค้นคว้ำ การศกึ ษาคน้ ควา้ งานวจิ ัยในครงั้ นี้ มจี ดุ ประสงค์เพ่อื ศึกษา “ พฤตกิ รรมทส่ี ่งผลตอ่ ดา้ นการมี วนิ ยั ในตนเอง ” ของนักเรียนระดับประกาศนยี บัตรวชิ าชีพ (ปวช.2) ปีการศกึ ษา 2563 แผนกวิชา ไฟฟา้ กาลัง วิชาหม้อแปลงไฟฟ้า มีวิธีการดาเนินการศึกษางานวิจยั ดงั นี้ 1. ข้ันตอนการดาเนนิ การวิจัย 2. ประชากรและกลมุ่ ตัวอย่าง 3. เครอ่ื งมือท่ีใชใ้ นการวิจยั 4. การเกบ็ รวบรวมข้อมูล 5. การวเิ คราะห์ข้อมูล 1. ขนั้ ตอนกำรดำเนนิ กำรวจิ ยั ผวู้ จิ ยั ได้กาหนดขั้นตอนในการวิจัยไวด้ งั น้ี 1. ศึกษาหลักการ ทฤษฏี แนวความคิดเกี่ยวกับความหมาย ประโยชน์ ลักษณะวินัยใน ตนเองดา้ นวินยั ในหอ้ งเรียน ความขยันอดทนและแรงจูงใจใฝ่สมั ฤทธิ์ทางการเรียน 2. กาหนดกรอบความคดิ ในการวิจยั ผูว้ ิจัยได้กาหนดกรอบความคิด เพ่ือทาการศึกษาสภาพ ความมีวินัยในตนเองของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.2) ปีการศึกษา 2563 วิทยาลัย การอาชีพนวมนิ ทราชินีมกุ ดาหาร แผนกวชิ าไฟฟ้ากาลงั 3. กาหนดวตั ถปุ ระสงค์ 4. กาหนดกลุ่มประชากร สาหรับการวิจัยในครั้งนี้ ได้กาหนดกลุ่มประชากร คือ นักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.2) วิทยาลัยการอาชีพนวมินทราชินีมุกดาหาร แผนกช่างไฟฟ้า กาลัง จานวน 64 คน กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.2/1) ปี การศึกษา 2563 วทิ ยาลัยการอาชีพนวมินทราชนิ ีมุกดาหาร แผนกวิชาไฟฟ้ากาลัง จานวน 20 คน 5. สร้างเคร่ืองมือการวิจัย การสร้างเคร่ืองมือการวิจัย ผู้วิจัยศึกษาจากหลักการ ทฤษฎี แนวคิด วัตถุประสงค์ เพื่อจาแนกว่าควรสร้างเครื่องมือวัดด้านใดบ้าง ให้เหมาะสมกับสภาพของ นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.2) ปีการศึกษา 2563 วิทยาลัยการอาชีพนวมินทราชินี มกุ ดาหาร แผนกวชิ าไฟฟา้ กาลัง ท่ีต้องการศกึ ษา 6. การเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยนาเครื่องมือที่สร้างข้ึน ให้นักเรียนกลุ่มตัวอย่างได้ตอบ แบบสอบถามและเกบ็ ข้อมลู ด้วยตนเอง
10 7. การสรุปผลการวิจัยและนาเสนอผลการวิจัย โดยนาข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ข้อมูลและ เขียนสรปุ ผลการวิเคราะหข์ ้อมูล 2. ประชำกรและกลุม่ ตวั อย่ำง 1. ประชากร กลุ่มประชากร คือ นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.2) แผนกวิชาไฟฟ้ากาลัง จานวน 64 คน 2. กล่มุ ตวั อย่าง กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.2/1 ) แผนกวิชาไฟฟ้ากาลัง วชิ าโครงการ จานวน 20 คน 3. เคร่ืองมือทใี่ ชใ้ นกำรวจิ ยั ในการวิจยั ครงั้ น้ี เคร่ืองมือท่ีใชเ้ ป็นแบบสอบถาม ทีผ่ ู้วจิ ัยสรา้ งขึน้ เพื่อศึกษา พฤตกิ รรมทีม่ ี ต่อวนิ ยั ในตนเองดา้ นวินยั ในห้องเรียน ความขยันอดทนทางการเรียนและแรงจูงใจใฝ่สมั ฤทธิ์ทางการ เรยี น ของนักเรียนระดับประกาศนียบตั รวิชาชพี (ปวช.2) ปีการศึกษา 2563 แผนกวิชาไฟฟา้ กาลัง วิชาหมอ้ แปลงไฟฟ้า จานวน 20 คนโดยดาเนนิ การดังน้ี 3.1 ศึกษาหลักการ ทฤษฏี แนวความคิดเก่ียวกับความหมาย ประโยชน์ ลกั ษณะวนิ ัยในตนเอง ดา้ นวนิ ัยในหอ้ งเรยี น ความขยนั อดทนต่อและแรงจงู ใจใฝ่สัมฤทธทิ์ างการเรียน 3.2 ผูว้ จิ ัยได้กาหนดกรอบความคดิ เพื่อทาการศึกษาสภาพความมีวนิ ัยในตนเองของนักเรยี น ชนั้ ระดบั ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี (ปวช.2) ปีการศึกษา 2563 แผนกวชิ าไฟฟา้ กาลัง วชิ าหมอ้ แปลง ไฟฟ้า จานวน 20 คน การสร้างเครอื่ งมอื สาหรับการวิจยั แบง่ แบบสอบถามออกเปน็ 3 สว่ น คือ 3.2.1 ความมีวินยั ในห้องเรยี น 3.2.2 ความขยันอดทน 3.2.3 แรงจูงใจใฝ่สมั ฤทธิ์ทางการเรียน 4. กำรเก็บรวบรวมขอ้ มูล ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยนาเคร่ืองมือที่สร้างข้ึน ให้นักเรียนกลุ่มตัวอย่างได้ตอบ แบบสอบถามและเก็บขอ้ มูลดว้ ยตนเอง 5. กำรวเิ ครำะหข์ ้อมูล ผวู้ ิจยั ใชค้ ่ารอ้ ยละในการวเิ คราะหข์ ้อมูล
11 บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู ผลการวิจัย เรื่อง พฤติกรรมที่ส่งผลต่อด้านการมีวินัยในตนเอง นักเรียนระดับชั้น ประกาศนียบัตรวิชาชีพ แผนกไฟฟ้ากาลัง วิทยาลัยการอาชีพนวมินทราชินีมุกดาหาร โดยใช้วิธีการ แจกแบบสอบถามความคิดเห็นแกน่ ักเรยี น ดังน้ี 4.1 ผลการประเมินตามแบบสอบถามความคิดเหน็ ของนักเรยี น แผนกไฟฟา้ กาลัง ตารางที่ 4.1 จานวนนักเรยี นทีท่ าแบบสอบถาม เพศ นกั เรยี นทที่ าแบบสอบถาม จานวน รอ้ ยละ ชาย 20 80.00 หญิง 4 20.00 รวม 20 100.00 จากตารางที่ 4.1 พบวา่ นักเรียนที่ทาแบบสอบถามเป็นชายร้อยละ 100 ตารางท่ี 4.2 จานวนนักเรียนที่มีความคดิ เห็น สาเหตทุ สี่ ง่ ผลตอ่ ความมีวนิ ยั ในตนเองของผเู้ รยี น N = 40 ระดบั ลาดบั คณุ ลกั ษณะของครูท่ีพงึ ประสงค์ x S.D. คุณลักษณะ คณุ ลักษณะ 1. ขณะเรียนวิชาหน่ึง นักเรียนมักนางานวชิ าอ่ืน 3.62 0.23 ดี 2 ขนึ้ มาทา 2. นกั เรียนพดู คุยกับเพื่อนในขณะที่ครูกาลงั สอน 4.56 0.12 ดีมาก 1 3. การคบเพ่ือนและเพื่อนตา่ งเพศ 3.42 0.28 ดี 3 4. นักเรยี นแอบนอนหลบั ในช่ัวโมงเรยี น 3.23 0.31 ปานกลาง 4 5. นักเรยี นลอกการบ้านเพ่ือน 3.03 0.39 ปานกลาง 7 6. นกั เรียนหลกี เลยี่ งงานที่คุณครมู อบหมาย 3.15 0.34 ปานกลาง 5
12 7. เม่อื นักเรียนทาผดิ จะพยายามแก้ไขโดยไมท่ ้อแท้ 3.01 0.41 ปานกลาง 8 6 8. เม่ือนกั เรียนทาข้อสอบไม่ได้ นกั เรียนแอบดูข้อสอบ 3.12 0.35 ปานกลาง เพื่อนในห้องสอบ รวม 3.39 0.30 ปานกลาง จากตารางท่ี 4.2 พบว่านักเรียน ระดับช้ันประกาศนียบัตรวิชาชีพ แผนกช่างวิชาไฟฟ้ากาลัง ตอบแบบประเมินความคิดเห็นต่อสาเหตุท่ีส่งผลต่อความมีวินัยในตนเองของผู้เรียน อยู่ในระดับปาน กลาง ( เฉลีย่ 3.39 ) ผู้วิจยั ได้ใช้เกณฑ์ในการแปลความหมายข้อมูลออกเปน็ 5 ระดับ ดงั น้ี ระดบั 4.50 – 5.00 หมายถึง ดีมาก ระดบั 3.50 – 4.49 หมายถงึ ดี ระดบั 2.50 – 3.49 หมายถงึ ปานกลาง ระดับ 1.50 – 2.49 หมายถึง นอ้ ย ระดบั 0 – 1.49 หมายถงึ นอ้ ยทีส่ ุด 4.2 การวเิ คราะห์หาความเช่อื ม่ัน (Reliability) ตาราง 4.3 แสดงผลการวเิ คราะหห์ าความเชื่อมนั่ (Reliability) หวั ข้อวจิ ัย N (คน) S.D. ความพงึ พอใจของนกั เรียนนักศึกษาระดบั ประกาศนยี บตั ร วิชาชีพ แผนกวชิ าไฟฟ้ากาลงั ท่ีมีตอ่ ต่อความมีวนิ ัยใน 40 3.39 0.30 0.753 ตนเองของผเู้ รยี น จากตารางท่ี 4.3 แสดงว่าแบบสอบถามมีความเชื่อมั่น (Reliability) โดยหาสัมประสิทธิ์ อัลฟ่าของครอนบัค (Cronbach‘s alpha coefficient) ได้ค่าความเช่ือม่นั อยทู่ ่ีระดบั = .753 4.3 วิเคราะห์หาความสอดคลอ้ งหรอื ค่า IOC (Index of congruence)โดยผู้เช่ียวชาญจานวน 3 ท่าน ประเมินข้อคาถามแต่ละข้อได้แก่ 1. นายชาญเดชต์ ขุนศรี ตาแหน่ง ครู คศ.3 2. นายณัฐภณ ศรลี าดเลา ตาแหน่ง ครู คศ.2 3. นายปราโมท หลา้ พิมพ์ ตาแหน่ง ครู คศ.1
13 ตารางท่ี 4.4 ตารางประเมนิ ข้อคาถามแต่ละข้อของผู้เชี่ยวชาญ 3 ทา่ น ขอ้ ผู้เชย่ี วชาญคนที่ ΣN IOC 12 3 3 1 1 +1 +1 +1 3 1 2 0.66 2 +1 +1 +1 3 1 2 0.66 3 0 +1 +1 3 1 2 0.66 4 +1 +1 +1 3 1 5 +1 +1 -1 6 +1 +1 +1 7 -1 +1 +1 8 +1 +1 +1 หมายเหตุ - ขอ้ คาถามที่มีค่า IOC ต้ังแต่ 0.5 – 1.00 คดั เลอื กไวใ้ ชไ้ ด้ - ข้อคาถามที่มคี ่า IOC ตา่ กว่า 0.5 ควรพิจารณาปรบั ปรงุ หรือตัดท้งิ จากตาราง 4.4 พบวา่ จากท่ผี เู้ ชยี่ วชาญทาการประเมินขอ้ คาถามแลว้ ปรากฏค่า IOC ดังใน ตารางแสดงว่าค่า IOC มีค่าระหวา่ ง 0.6 – 1 แสดงว่าขอ้ คาถาม 8 ขอ้ สามารถนาไปใชไ้ ด้ สัญลักษณ์ทใ่ี ชใ้ นการนาเสนอผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ผู้วจิ ัยได้ใชส้ ญั ลกั ษณใ์ นการเสนอผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู ดังนี้ X แทน ค่าเฉลย่ี (Mean) S.D. แทน ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) α แทน คา่ ความเช่อื มั่น (Reliability)
14 บทที่ 5 สรปุ อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ การพัฒนานักเรยี นใหเ้ ปน็ บุคคลทม่ี คี ุณภาพ จาเป็นต้องมีการพฒั นาด้านวินยั ในตนเอง ดว้ ย เหตุนผ้ี ู้วิจยั จงึ มคี วามสนใจทจ่ี ะศกึ ษา พฤตกิ รรมที่มีต่อวินัยในตนเองด้านวินยั ในห้องเรียน ความ ขยนั อดทนทางการเรยี นและแรงจูงใจใฝส่ มั ฤทธ์ิทางการเรียน โดยมีจุดมงุ่ หมายในการศึกษาดังน้ี ความมุ่งหมายของการศกึ ษาค้นควา้ 1. เพื่อศึกษาพฤตกิ รรมที่มตี ่อวินัยในตนเองด้านวินัยในหอ้ งเรยี น 2. เพอ่ื ศกึ ษาพฤตกิ รรมท่มี ีต่อวินัยในตนเองด้านความขยันอดทนทางการเรยี น 3. เพอื่ ศกึ ษาพฤตกิ รรมท่ีมตี ่อวนิ ัยในตนเองด้านแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธท์ิ างการเรียน วิธดี าเนินการศึกษาคน้ คว้า ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง ประชากรทใ่ี ชใ้ นการศึกษาวิจัยในครัง้ นไ้ี ด้แก่ นกั เรยี นระดับประกาศนียบตั รวิชาชีพ (ปวช.2) ปกี ารศึกษา 2563 แผนกวชิ าไฟฟ้ากาลงั จานวน 64 คน กลุม่ ตวั อยา่ ง ได้แก่ นกั เรยี นระดับประกาศนียบัตรวิชาชพี (ปวช.2/1) ปกี ารศกึ ษา 2563 แผนกช่างไฟฟา้ กาลัง วิชาหม้อแปลงไฟฟา้ จานวน 20 คน ตัวแปรทศี่ ึกษา ตวั แปรอสิ ระ คือ พฤติกรรมทมี่ ตี่ ่อวนิ ัยในตนเองได้แก่ 1. วนิ ยั ในห้องเรยี น 2. ความขยันอดทนทางการเรียน 3. แรงจงู ใจใฝส่ มั ฤทธิท์ างการเรยี น ตวั แปรตาม คือ - พฤตกิ รรมด้านความมีวนิ ยั ในตนเอง เครื่องมือทใ่ี ชใ้ นการวจิ ัย ในการวจิ ยั ครงั้ นี้ เครื่องมือที่ใช้เปน็ แบบสอบถาม ทผ่ี ้วู จิ ยั สรา้ งข้ึน เพ่ือศกึ ษา พฤตกิ รรม ที่มีต่อวนิ ยั ในตนเองดา้ นวินัยในห้องเรยี น ความขยนั อดทนทางการเรยี นและแรงจงู ใจใฝ่สมั ฤทธิ์ ทางการเรียน ของนักเรยี นระดับช้ันประกาศนียบัตรวชิ าชพี (ปวช.2) ปกี ารศกึ ษา 2563 แผนกวชิ าไฟฟา้ กาลัง วชิ าหมอ้ แปลงไฟฟา้ จานวน 20 คน โดยการสร้างเครอื่ งมอื สาหรับการวิจยั เป็นแบบสอบถาม
15 การเกบ็ รวบรวมข้อมลู ในการเก็บรวบรวมข้อมลู ผวู้ จิ ัยนาเครอื่ งมอื ที่สร้างขึน้ ให้นักเรยี นกลุม่ ตัวอยา่ งไดต้ อบ แบบสอบถามและเกบ็ ข้อมูลด้วยตนเอง การวเิ คราะห์ขอ้ มลู ผวู้ จิ ัยใชค้ า่ ร้อยละในการวิเคราะห์ข้อมลู การอภิปรายผล จากผลการวเิ คราะห์ข้อมูล สามารถนาผลการวจิ ัยมาอภิปรายผล ได้ดังนี้ 1. พฤตกิ รรมที่มตี ่อวินัยในตนเองด้านวินยั ในตนเอง 1.1 ขณะเรียนวิชาหน่ึง นักเรียนมักนางานวิชาอ่ืนขึ้นมาทา มีค่าร้อยละ คิดเป็น 76.27 % แสดงวา่ นักเรียนมีเจตคตทิ ่ดี ีต่อการไม่นาวิชาอืน่ ๆ มาทาขณะที่เรยี นวชิ าหนึ่งอยู่ 1.2 นักเรียนพูดคุยกับเพ่ือนในขณะท่ีครูกาลังสอน มีค่าร้อยละ คิดเป็น 86.67 % นักเรียนมักชอบพูดคุยกันมากขณะท่ีครูสอน เป็นพฤติกรรมที่ต้องปรับปรุง เพื่อให้บรรยากาศการ เรยี นการสอนดีขน้ึ นกั เรียนเกิดการเรียนรู้อยา่ งมคี ุณภาพ 1.3 การคบเพื่อนและเพ่ือนต่างเพศ นักเรียนเลือกท่ีจะคบเพ่ือนไม่ว่าจะเพศเดียวกันหรือ เพศต่างกัน มีค่าร้อยละ คิดเป็น 74.87 % แสดงว่านักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อการท่ีจะเลือกคบเพ่ือน ลกั ษณะตามท่ีต้องการ 1.4 นกั เรยี นแอบนอนหลับในช่ัวโมงเรียน มีค่าร้อยละ คิดเป็น 70.67 % แสดงว่านักเรียน มีเจตคตทิ ด่ี ี ไมป่ ระพฤตติ นแอบนอนหลับในชั่วโมงเรยี น สว่ นนักเรียนทป่ี ฏบิ ัติตนในลกั ษณะดังกล่าว บา้ งและทาประจา คงต้องพิจารณาสาเหตุของการปฏิบตั แิ ละหาแนวทางแก้ไขต่อไป 1.5 นักเรียนลอกการบ้านเพื่อน มีค่าร้อย คิดเป็น 63.02 % แสดงว่ายังคงมีพฤติกรรม การลอก-การบ้านเพื่อนอยู่อีกพอควร จึงต้องมีการหาสาเหตุของพฤติกรรมดังกล่าวของนักเรียนว่า เป็นเพราะสาเหตุใด เช่น เวลาเรียนนักเรียนไม่เข้าใจบทเรียนจึงทาไม่ได้ การบ้านมากจนทาไม่ทัน นกั เรยี นเกยี จครา้ นไมย่ อมทาแต่กลวั ความผดิ จงึ มาลอกการบ้านเพ่ือให้มีส่งครู ฯลฯ 1.6 นักเรียนหลีกเลี่ยงงานที่คุณครูมอบหมาย มีค่าร้อยละ คิดเป็น 68.14 % แสดงว่า นักเรียนยังมีเจตคติเรื่องความรับผิดชอบต่องานท่ีครูมอบหมายดี แต่ต้องพิจารณาพัฒนานักเรียนใน กลุ่มนักเรยี นท่ที าบางครัง้ ให้มีความถ่ีของการหลีกเลี่ยงงานนอ้ ยลงให้มากทส่ี ดุ 1.7 เมื่อนักเรียนทาผิด จะพยายามแก้ไขโดยไม่ท้อแท้ มีค่าร้อยละ คิดเป็น 62.06 % แสดงว่า เมอื่ นกั เรยี นทาผิดแล้ว นักเรียนมีแนวโนม้ ทจี่ ะพยายามแก้ไขตนเองให้ดีข้ึน ส่วนในกลุ่มท่ี ไมเ่ คยทา ไมพ่ ยายามแกไ้ ขขอ้ บกพร่องของตนเองครคู วรอบรมช้ีแจงให้
16 1.8 เมื่อนักเรียนทาขอ้ สอบไม่ได้ นกั เรียนแอบดูข้อสอบเพ่ือนในห้องสอบ มีค่าร้อยละ คิด เปน็ 65.96 % แสดงว่า นักเรยี นมเี จตคตทิ ด่ี มี ากที่จะไมก่ ระทาการแอบดูขอ้ สอบเพือ่ นในห้องสอบ พฤติกรรมที่มีต่อวินัยในตนเอง ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.2) พบว่า สว่ นใหญ่มีแนวโนม้ ทางเจตคตทิ ่ีดี สว่ นนกั เรียนในกลุม่ ที่ยงั มเี จตคติท่ีไม่ดีน้ัน ครูควรต้องอบรมช้ีแจง ให้นักเรียนเหน็ คณุ ค่า คุณประโยชน์ของความอดทนในการทางาน ความรับผิดชอบต่อตนเองในการ ทางานในหนา้ ทแ่ี ละต้องกระทาอย่างเต็มที่ ไม่ย่อท้อต่อความยากลาบาก มีความอดทน อดกล้ันต่อ ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ รวมท้ังช้ีให้เป็นถึงผลที่เกิดจากความสาเร็จในการทางาน ยกตัวอย่าง บุคคลท่ีประสบความสาเร็จในการทางานและความสาเร็จในชีวิตท่ีได้รับความช่ืนชม ยกย่องจากคน รอบข้างและสังคม เพื่อให้นักเรียนในกลุ่มน้ีมีแนวโน้มเจตคติท่ีมีต่อวินัยในตนเองด้านความขยัน อดทนทางการเรียนดขี น้ึ หากพิจารณาในภาพรวมจะเห็นได้ว่า พฤติกรรมที่มีต่อวินัยในตนเองด้านแรงจูงใจใฝ่ สัมฤทธิ์ต่อความพยายามทางการเรียน นักเรียนมีแนวโน้มท่ีจะมีความพยายามทางการเรียนอย่าง เต็มที่ ทาสงิ่ ท่ีดี เหมาะสมอยา่ งท่ตี ้ังใจไว้ พยายามท่ีจะพัฒนาตนเอง ใฝ่หาความรู้ด้วยตนเอง ทั้ง จากตาราเรียน ค้นคว้าในห้องสมดุ รวมทั้งการฝึกทักษะจากบทเรียนที่ยาก การวางแผนการเรียนที่ ดีตั้งแต่ต้นปีการศึกษา ส่วนนักเรียนท่ีไม่เคยทามีจานวนน้อย ซึ่งในนักเรียนกลุ่มน้ีจาเป็นต้องได้รับ การพัฒนาพฤติกรรมที่ให้นักเรียนเห็นเป้าหมาย คุณประโยชน์ คุณค่าของความพยายาม รวมทั้ง การยอมรับของสังคมท่ีมีต่อผู้ที่มีความพยายาม รวมท้ังกระตุ้นนักเรียนท่ีมีผลการเรียนไม่ดี ให้มี ความพยายาม ขยันหม่ันเพียรในด้านการเรียน ให้นักเรียนตระหนักในการวางแผนทางด้านการ เรียน มีความมงุ่ มน่ั มีแรงจูงใจใฝส่ มั ฤทธทิ์ างการเรียน และหากได้ปฏิบัติตนจนเป็นนิสัย ก็จะเป็นผู้ ทมี่ คี วามสาเร็จในชวี ติ ตามท่ีตนได้มงุ่ หวังไวอ้ ยา่ งแนน่ อน ข้อเสนอแนะ ผวู้ ิจยั ขอเสนอแนะแนวทางเพ่ือนาข้อค้นพบในการวิจัยไปใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอน คอื 1. ครูควรศึกษาธรรมชาติของเพศและวัยของนักเรียน ประกอบกับพฤติกรรมของนักเรียน เพื่อพัฒนาเจตคติที่มีต่อวินัยในตนเองด้านวินัยในห้องเรียน ความขยันอดทนทางการเรียนและ แรงจูงใจใฝส่ ัมฤทธิท์ างการเรยี น 2. ครูควรใช้จิตวิทยาในการโน้มน้าวจิตใจให้นักเรียนให้ความร่วมมือในการพัฒนาเจตคติท่ีดี รวมทั้งเหน็ คุณค่าของการปรับเจตคติ ข้อเสนอแนะในการทาวิจัยครง้ั ต่อไป 1. การวิจยั ครงั้ ต่อไป ควรศึกษาเจตคติทีม่ ตี ่อวินยั ในตนเองดา้ นวินัยทางสงั คม 2. การวจิ ัยคร้ังตอ่ ไป ควรศึกษาปัจจยั ทมี่ ผี ลตอ่ การพฒั นาเจตคตทิ ่ีดขี องนักเรยี น
บรรณานุกรม ฉันทนา ภาคบงกชและคณะ.(2539). การสารวจคุณลักษณะทางวนิ ัยท่พี งึ ประสงคใ์ นสงั คมไทย. กรุงเทพฯ สถาบนั วิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ ดวงเดอื น พันธุมนาวนิ . (2524). จิตวิทยาจรยิ ธรรมและจิตวิทยาภาษา. กรงุ เทพฯ. ไทยวัฒนา พานิช สุรพงษ์ ชูเดช. (2542). ผลของการฝึกอบรมตามแนวทางไตรสิกขาท่มี ีต่อการพฒั นาวนิ ัยใน หหหหหห ตนเองของนักเรยี น ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 5. ปรญิ ญานิพนธ์ มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทร- ดดดดดดด วโิ รฒ สถดิ าพร คาสด. (2546). การศกึ ษาพฤติกรรมความมวี นิ ัยในตนเองของนิสติ ระดับปรญิ ญา มหาวทิ ยาลัยศรนี ครินทรวิโรฒ สมพศิ แซ่เฮง. (2546) การศึกษาความสมั พนั ธ์ระหวา่ งปัจจยั บางประการกบั ความมีวินยั ในตนเอง หหหหหห ของนักเรียนสาขาชา่ งอตุ สาหกรรม. โรงเรียนอาชีวศึกษา สงั กัดสานักงานคณะกรรมการ ฟฟฟฟฟฟการศึกษาเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร
Search
Read the Text Version
- 1 - 23
Pages: