เหตุการณ์ไฟดบั หมายถึง เหตุการณ์ไฟฟ้าดบั ที่เกิดข้ึน ที่ทางฝ่ ายปฏิบตั ิการภาคใต้ ไม่สามารถตอบสนองความตอ้ งการไฟฟ้าได้ จากการเกิดขอ้ ขดั ขอ้ งในระบบส่ง(Forced Outage) ท่ีเป็นสาเหตุ และความรับผดิ ชอบ ของฝ่ ายปฏิบตั ิการภาคใต้ โดยตรวจสอบ ณ จุดจ่ายไฟเหตุการณ์ไฟฟ้าดบั ที่นามาคานวณจะวดั จากกรณีท่ีไฟฟ้าดบั ต้งั แต่ 1 นาทีข้ึนไป
วธิ ีกาหนดค่าเกณฑ์วดั : ประเมินจากความสามารถของอปต. ในการส่งจ่ายไฟฟ้า โดยป้องกนั มิใหเ้ กิดไฟฟ้าดบั ในส่วนที่เป็น Forced Outage โดยพิจารณาจากขอ้ มูลขอ้ ขดั ขอ้ งในส่วนที่เป็นสาเหตุและความรับผิดชอบของอปต. 3 ปี (2553-2555) ใชห้ ลกั เกณฑด์ งั น้ี• กาหนดค่าเป้าหมายท่ีเกณฑว์ ดั “ระดบั 3” จากคา่ เฉลี่ย ยอ้ นหลงั 3 ปี• กาหนดค่าเกณฑว์ ดั “ระดบั 5” จากค่าดีท่ีสุด ยอ้ นหลงั 3 ปี• กาหนดค่าเกณฑว์ ดั “ระดบั 4” จากค่าเฉลี่ยระหวา่ งเกณฑร์ ะดบั 3 กบั เกณฑ์ระดบั 5• คา่ เกณฑว์ ดั “ ระดบั 2” และ เกณฑว์ ดั “ระดบั 1” ปรับค่าเกณฑต์ ามผลต่าง(Interval) ระหวา่ งเกณฑร์ ะดบั 3 กบั เกณฑร์ ะดบั 4 ต่อเกณฑว์ ดั 1 ระดบั ค่าเกณฑน์ ้ีนาไปหาร 2 เพื่อใชป้ ระเมินผลงวด 6 เดือน (มกราคม-มิถุนายน) และงวดสิ้นปี (กรกฎาคม-ธนั วาคม)
การปรับค่าเกณฑ์วดั : โดยกาหนดค่าเป้าหมายเกณฑว์ ดั เป็น 2 งวด งวด 6 เดือนแรก(ประเมนิ ผลช่วงเดือนมกราคม 2556- เดือนมถิ ุนายน 2556)และงวด12 เดือน (ประเมนิ ผลช่วงเดือนกรกฏาคม 2556- เดือนธันวาคม2556) ดงั น้ีตวั ชว้ี ดั ท่ี เกณฑว์ ัด เกณฑว์ ดั เกณฑ์วัด เกณฑว์ ดั เกณฑ์วดัSAIFI หนว่ ยวดั ระดบั 1 ระดบั 2 ระดบั 3 ระดบั 4 ระดบั 5งวด 6 เดอื นแรก ครั้ง/ 0.0221 0.0191 0.0160 0.0130 0.0099และงวด 12 เดอื น จดุ จ่ายไฟ
SAIDI (System Average Interruption Duration Index) คือ ค่าดชั นีสากลท่ีใชใ้ นการประเมินคา่ ความเช่ือถือไดข้ องระบบไฟฟ้า เป็นดชั นีที่แสดงคา่ เฉลี่ยระยะเวลาการเกิดไฟฟ้าดบั ของผใู้ ชไ้ ฟฟ้าเทียบกบั จุดจ่ายไฟท้งั หมด สูตรการคานวณค่าเฉลี่ยของระยะเวลาที่ไฟฟ้าดบั = ผลรวมของระยะเวลาท่ีไฟฟ้าดบั ณ จุดจ่ายไฟ (นาที) จานวนจุดจ่ายไฟท้งั หมด SAIDI เป็นตวั ช้ีวดั ท่ีแสดงถึงความน่าเชื่อถือของระบบไฟฟ้า จากการเกิดขอ้ ขดั ขอ้ ง ในระบบส่ง (Forced Outage) ที่เป็นสาเหตุ และความรับผิดชอบ ของ ฝ่ ายปฏิบตั ิการ ภาคใต้ โดยการวดั ระยะเวลาท่ีไฟฟ้าดบั ต้งั แต่ 1 นาทีข้ึนไปต่อจานวนจุดจ่ายไฟ ท้งั หมด
วธิ ีกาหนดค่าเกณฑ์วดั : ประเมินจากความสามารถของอปต. ในการส่งจ่ายไฟฟ้า โดยป้องกนั มิใหเ้ กิดไฟฟ้าดบั ในส่วนท่ีเป็น Forced Outage โดยพิจารณาจากขอ้ มูลขอ้ ขดั ขอ้ งในส่วนที่เป็นสาเหตุและความรับผิดชอบของอปต. 3 ปี (2553-2555) ใชห้ ลกั เกณฑด์ งั น้ี• กาหนดคา่ เป้าหมายท่ีเกณฑว์ ดั “ระดบั 3” จากค่าเฉล่ีย ยอ้ นหลงั 3 ปี• กาหนดคา่ เกณฑว์ ดั “ระดบั 5” จากคา่ ดีท่ีสุด ยอ้ นหลงั 3 ปี• กาหนดค่าเกณฑว์ ดั “ระดบั 4” จากคา่ เฉล่ียระหวา่ งเกณฑร์ ะดบั 3 กบั เกณฑร์ ะดบั 5• ค่าเกณฑว์ ดั “ ระดบั 2” และ เกณฑว์ ดั “ระดบั 1” ปรับคา่ เกณฑต์ ามผลต่าง (Interval)ระหวา่ งเกณฑร์ ะดบั 3 กบั เกณฑร์ ะดบั 4 ต่อเกณฑว์ ดั 1 ระดบั คา่ เกณฑน์ ้ีนาไปหาร 2 เพื่อใชป้ ระเมินผลงวด 6 เดือน(มกราคม-มิถุนายน)และงวดสิ้นปี (กรกฎาคม-ธนั วาคม)
โดยกาหนดคา่ เป้าหมายเกณฑว์ ดั เป็น 2 งวด งวด 6 เดือนแรก(ประเมนิ ผลช่วงเดือนมกราคม 2556- เดือนมิถุนายน 2556)และงวด 12เดือน (ประเมนิ ผลช่วงเดือนกรกฏาคม 2556- เดือนธันวาคม 2556) ดงั น้ี ตัวชี้วดั ที่ 2.2.3 หน่วยวดั เกณฑว์ ดั เกณฑว์ ดั เกณฑว์ ัด เกณฑ์วัด เกณฑ์วัด SAIDI ระดบั 1 ระดับ 2 ระดบั 3 ระดับ 4 ระดับ 5 นาที/งวด 6 เดอื นแรก จุดจา่ ยไฟ 0.2875 0.2448 0.2021 0.1594 0.1167และงวด 12 เดอื น
System Minutes เป็นดชั นีสากลที่นิยมใชใ้ นการวดั ความมน่ั คงในระบบส่งพลงั ไฟฟ้า โดยวดั จากปริมาณท่ีพลงั ไฟฟ้าดบัต้งั แต่ 1 นาที และระยะเวลาท่ีดบั เม่ือเทียบกบั ความตอ้ งการพลงัไฟฟ้าในระบบสูงสุด มีสูตรการคานวณ ดงั น้ี System Minutes คานวณจาก I ปริมาณพลงั ไฟฟ้าที่หยดุ จ่าย x ระยะเวลาท่ีไฟฟ้าหยดุ จ่าย (MW – Min) ความตอ้ งการพลงั ไฟฟ้าในระบบสูงสุด (Peak Demand) (MW)
• ปริมาณพลงั ไฟฟ้าทหี่ ยุดจ่าย (Total Unsupplied Energy) หมายถึง ปริมาณไฟฟ้าดบัในทุกๆ กรณี ท้งั ในส่วนของการขอดบั ไฟ เพอื่ ปฏิบตั ิงาน (Planned Outage) และการเกิดขอ้ ขดั ขอ้ งในระบบส่ง (Unplanned Outage) โดยวดั จานวนเมกะวตั ตท์ ี่ไฟฟ้าดบัต้งั แต่ 1 นาที ในช่วงเวลาของการประเมินจากเหตุการณ์และสาเหตุที่เป็นความรับผิดชอบของ ฝ่ ายปฏิบตั ิการภาคใต้ โดยไม่รวมเหตุการณ์จากหน่วยงานภายนอกเช่น กฟภ. กฟน. ลูกคา้ ตรง และภยั ธรรมชาติที่รุนแรงเกินมาตรฐานการออกแบบอุปกรณ์ รวมท้งั การก่อวนิ าศกรรม• ความต้องการใช้ไฟฟ้าในระบบสูงสุด (Peak Demand) หมายถึง ความตอ้ งการพลงัไฟฟ้าสูงสุดที่เกิดข้ึน ในช่วงเวลา 1 ปี
การปรับค่าเกณฑ์วดั : งวด 6 เดือนแรก (ม.ค.-มิ.ย) ช่วงการปรับค่าเกณฑว์ ดั เท่ากบั +/- 0.0141 MW-Min/MW ต่อเกณฑว์ ดั 1 ระดบั โดยกาหนดค่าเกณฑว์ ดั แต่ละระดบั เป็นดงั น้ี งวด 6 เดือนหลงั (ก.ค.-ธ.ค.) ช่วงการปรับคา่ เกณฑว์ ดั เท่ากบั +/- 0.0141 MW-Min/MW ต่อเกณฑว์ ดั 1 ระดบั โดยกาหนดคา่ เกณฑว์ ดั แต่ละระดบั เป็นดงั น้ี ตวั ชวี้ ัดที่ 2.2.1 เกณฑว์ ดั เกณฑว์ ัด เกณฑ์วดั เกณฑว์ ดั เกณฑ์วัดSystem Minutes หน่วยวัด ระดบั 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดบั 5งวด 6 เดอื นแรก MW-Min/MW 0.0938 0.0797 0.0656 0.0514 0.0373งวด 6 เดือนหลงั MW-Min/MW 0.0938 0.0797 0.0656 0.0514 0.0373
3. ดา้ นระบบส่งไฟฟา้ สรุปผลการด้าเนนิ งาน ปี 2558ผลการด้าเนนิ งานในดา้ นคุณภาพ ความมนั่ คง และความเช่อื ถอื ไดใ้ นระบบสง่ไฟฟา้ ของ อปต. ใน ปี 2558ช่วงเวลา ค่า SPI เหตุการณร์ ะบบสง่ ท่กี ระทบ PA6 เดอื นแรก Energy not Served = 0.00002 ; PA=5 1. ไฟดบั เนือ่ งจาก Human Error 1 ครั้งปี 2558 SAIFI = 0.0035 ; PA =5 SAIDI = 0.0525 ; PA =5 ไฟดบั 106.5 MW-Min. 30 นาที 2 DP6 เดือนหลงั Energy not Served = 0.000085 ; PA=5 1. ไฟดับเนอื่ งจากสตั ว์ 3 ครง้ัปี 2558 SAIFI = 0.007 ; PA = 4.6596 2. ไฟดบั เนือ่ งจากอุปกรณ์ สฟ. 1 ครั้ง SAIDI = 0.0575 ; PA = 4.8935 ไฟดับ 448.5 MW-Min. 33 นาที 4 DP 60
สรปุ ผลการดา้ เนนิ งานตาม PA งวดสนิ้ ปี 2558ตัวชี้วดั ท่ี อปต. ไม่ไดเ้ กณฑ์ 5 จ้านวน 5 ตัวชีว้ ัด ตัวชีว้ ดั เป้าหมาย 5 ผลการด้าเนินงาน PA SAIFI SAIDI 3 4 4.6596ไฟดับจากอุปกรณ์ สฟ. 31 33 4.8935 ไฟดบั จากสัตว์ 0 1 งบประมาณทา้ การ 1 3 3 90% 99.88% 2 3.03 ผลการดา้ เนนิ งาน อปต. ในงวด 12 เดอื นปี 2558 เทา่ กับ 4.5346 61
เป้าหมาย กลยุทธ์ ปี 2559 ดา้ นปฏิบัตกิ ารระบบสง่ ไฟฟา้ เป้าหมาย 6 เดอื นแรก 6 เดือนหลงั ไฟฟา้ ดบั ไม่เกนิ 2 จุดจ่ายไฟ ไฟฟ้าดับไมเ่ กนิ 3 จดุ จา่ ยไฟ ระยะเวลาไฟดบั ไมเ่ กนิ 30 นาที ระยะเวลาไฟดบั ไมเ่ กิน 31 นาที ปรมิ าณไฟดบั ไม่เกิน 576.16 MW-Min. ปรมิ าณไฟดับไมเ่ กิน 451.15 MW-Min. แผนปฏบิ ตั ิการมุ่งสเู่ ป้าหมาย เป้าหมาย1. แผนรองรับความเสี่ยงระบบไฟฟ้าภาคใต้ ไมเ่ กดิ ไฟฟา้ ดบั เปน็ บริเวณกว้าง2. แผนป้องกนั ข้อขดั ข้องใน สฟ. เนอ่ื งจากสตั ว์ ไฟฟ้าดับเนอ่ื งจากสัตวใ์ น สฟ. ไม่เกิน 1 ครั้ง3. แผนดูแลและบ้ารุงรักษาเชงิ ปอ้ งกนั อปุ กรณ์ สฟ. ที่สา้ คัญ ไม่เกิดไฟฟา้ ดบั เนื่องจากอปุ กรณ์ สฟ.ขดั ข้อง4. แผนรณรงคเ์ พ่ือปอ้ งกนั การเกดิ Human Error5. แผนปอ้ งกนั แก้ไขและฟ้ืนฟู เหตกุ ารณว์ นิ าศกรรมระบบส่งไฟฟ้า ไมเ่ กิด Human Error6. แผนปรับปรุงประสทิ ธิภาพงานบ้ารงุ รกั ษา สฟ. ไมเ่ กดิ ไฟดับจากการวินาศกรรมระบบสง่ ค่าใชจ้ ่ายลดลง 5 %; Service Level เพม่ิ ขนึ้ 2 %7. แผนปรบั ปรงุ ประสทิ ธภิ าพงานบ้ารุงรกั ษาสายสง่ คา่ ใชจ้ า่ ยลดลง 9 %; Service Level เพมิ่ ขนึ้ 4 % 62
กรณียกเว้นไม่นามาคดิ PA ระดบั ฝ่ าย ในสายงาน รวส.• การขอดบั ไฟทางานแทนฝ่ายก่อสร้าง•การขงึ สายสง่ Circuit ท่ีสอง บน Double circuit tower ซง่ึ ใช้งานอย่แู ล้ว 1circuit• การดาเนินการในลกั ษณะเดียวกบั งานก่อสร้าง• การ Terminate สายสง่ ลงที่ สฟ.• งานย้ายระบบควบคมุ ไปยงั Control room ใหม่ (ในการ Renovation สฟ.)• งาน Convert สายสง่ เพ่ือเป็นสายสง่ KV สงู ขนึ ้• งานที่ใช้งบลงทนุ เพ่ือปรับปรุงอปุ กรณ์• การยกระดบั สายสง่ เพื่อแก้ไขปัญหา Line Clearance ของสายสง่• การยกระดบั สายสง่ เน่ืองจากการขยายถนนของ กรมทางหลวง หรือเพื่อให้การไฟฟา้ อ่ืนเดินสายลอดผ่าน• การยกระดบั สายสง่ เพอื่ แก้ปัญหา Line Clearance ระหวา่ งสายสง่ ท่ี Cross กนัระหวา่ ง กฟผ. และ การไฟฟา้ อื่น
•การดาเนินการท่ีต้องปลดอปุ กรณ์ หรือดบั ไฟเน่ืองจากการร้องขอจากบคุ คลภายนอก•การปลดสายสง่ หรือ หม้อแปลง เน่ืองจากความจาเป็น/ต้องการ ของ ระบบ•การปลดสายสง่ ช่วง Light Load เพื่อลด Voltage ของระบบ•การปลดหม้อแปลงที่มี Load น้อยเพ่ือ ลด Core Losses•อปุ กรณ์เสยี หายในกรณีต่อไปนี ้ ซงึ่ พิสจู น์ได้ว่า•เน่ืองจากข้อผิดพลาดจากการติดตงั้ (โดย ฝกส.) ที่ไม่ได้มาตรฐาน•เน่ืองจากอปุ กรณ์ที่ออกแบบไม่เหมาะสมในการใช้งาน หรือจากบริษัทผ้ผู ลิตหมายเหตุ ทงั้ 2 กรณีข้างต้น เฉพาะที่เกิดเหตกุ ารณ์ขนึ ้ ภายใน 1 ปี หลงั จากนาเข้าจ่ายไฟในระบบแล้ว (ทงั้ นีค้ วรพิจารณาวา่ ฝ่ายมีสว่ นร่วมในการตรวจรับมากน้อยเพียงใด)
•เนื่องจาก Manufacturing Defect ของอปุ กรณ์ ซงึ่ มีหลกั ฐานวา่ ผ้ผู ลิตฯได้ยอมรับความบกพร่องนนั้ โดยไมจ่ ากดั ระยะเวลาว่าใช้งานมาตงั้ แตเ่ มื่อใด ทงั้ นีก้ ารยกเว้นจะครอบคลมุ ถงึ การที่ต้องปลดอปุ กรณ์ดงั กลา่ เพ่ือทาการ Modified ด้วย•อปุ กรณ์ Outage สาเหตจุ ากภยั ธรรมชาติ ที่รุนแรง เชน่ ลมพายุ อทุ กภยั นา้ ป่า เป็นต้น กรณีดงั กลา่ วจะมี Outage Time คอ่ นข้างสงู เชน่ เกิดเสาไฟฟ้าล้มหลายต้นนา้ ท่วม Control room เป็นต้น ทงั้ นีก้ รณีของภยั ธรรมชาตติ ้องพิสจู น์ได้วา่ เกินขีดจากดั ของการออกแบบของอปุ กรณ์นนั้ ไมไ่ ด้เกิดจากขาดการดแู ลบารุงรักษา•กรณีพเิ ศษอ่ืนๆ•การสงั่ ปลด Load ของ PEA เนื่องจาก C. Bank ของ PEA ชารุดทาให้หม้อแปลงของ กฟผ. Overload•งานรือ้ ถอน Overhead Ground Wire จากสายสง่ เก่า
นโยบายในการพจิ ารณาของ ชปส. ชปส.ไดใ้ หห้ ลกั การในการพิจารณายกเวน้ ไม่คิดค่า Unavailabilityของอปุ กรณ์ หรือ การขอดบั ไฟ ตามคาร้องของฝ่ายฯว่า ใหถ้ ือเป็นการใหผ้ ลตอบแทน(Incentive) รูปแบบหน่ึง ซ่ึงตอ้ งวินิจฉยั แลว้ ลงความเห็นว่า ฝ่ายนน้ั ๆไดม้ ีความพยายามเป็นอย่างดีแลว้ ในการแกไ้ ขปัญหาเรื่องนนั้ ใหเ้ บาบางลง หรือไดม้ ีการวางแผน และดาเนินงานโดยเหนือ่ ยยาก ถา้ ฝ่ายใดมีงานเร่งด่วน ตอ้ งขอทาการ Outage อปุ กรณ์นอกแผน ใหแ้ จ้งขออนมุ ตั ิการทางานพร้อมเหตผุ ลล่วงหนา้ ต่อ ชปส.(ประธานคณะวินิจฉยั ฯ) เมือ่ชปส.พิจารณาอนมุ ตั ิแลว้ ถือว่าไดร้ บั การยกเวน้ ไม่คิดใน PA โดยอตั โนมตั ิ ในกรณีตอ้ งรีบดาเนินการไปก่อน ใหท้ าคาร้องขอยกเวน้ ตามกระบวนการเดิม
Search