Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โรคกระดูกเสื่อม

โรคกระดูกเสื่อม

Published by 945sce00462, 2021-07-13 06:34:18

Description: กระดูกเสื่อม

Search

Read the Text Version

สาเหตุหลกั ป้องกนั ถูกวิธี

โรคกระดูกเสื่อม เป็นโรคท่ีพบได้ในทุกเพศทุกวัย สามารถเกิดได้แม้แต่วัย หนุ่มสาว วัยรุ่น รวมถึงผู้สูงอายุ โดยท่ีระยะเวลาในการเกิดโรคกระดูกเสื่อม น้ัน เราจะไม่ทราบเมื่อเร่ิมมีอาการในระยะแรกๆ จนกระทั่งเกิดการสูญเสีย การทางานของกระดูกหรือข้อต่อต่างๆ แล้ว จึงจะตรวจพบว่าเปน็ โรคกระดูก เสื่อม โรคกระดูกเสือ่ มเกดิ จากอะไร โรคกระดูกเสื่อมทีต่ รวจพบในปัจจุบัน สามารถตรวจพบได้ 4 กลุ่มใหญ่ๆ แบง่ ตามสาเหตุ ดังนี้

1. โรคกระดูกเสือ่ มโดยไมม่ ีสาเหตุ กระดูกเสื่อมโดยไม่มีสาเหตุนั้น ส่วนใหญ่จะพบบ่อยที่ข้อนิ้ว หรือข้อปลายนิ้ว ใน ผู้หญิงชาวเอเชีย โดยข้อจะมีลักษณะเป็นปมๆ ส่วนผู้หญิงชาวยุโรปจะพบกระดูก เสื่อมบ่อยทีข่ ้อสะโพก 2. โรคกระดกู เสื่อมจากการเกิดอบุ ตั ิเหตุ เกิดจากการได้รับอุบัติเหตุอย่างแรงโดยตรงต่อกระดูก เช่น การเกิดอุบัติเหตุ จากการจราจร หรือจากการทางานหนัก เช่น กระดูกข้อสันหลังเสื่อมจากการ ก้มๆ เงยๆ ทางานอย่างต่อเนื่อง การยกของหนัก หรือถือของหนักๆ เป็น เวลานาน หรือเกิดจากการเล่นกีฬา เช่น เอ็นเข่าขาด ลักษณะนี้จะทาให้เข่าไม่มี สมดุล เมื่อเวลาผ่านไปสักระยะหนึ่ง อาจทาให้กระดูกสีกันง่ายขึ้นและเกิดเป็น กระดกู เข่าเสื่อมในทีส่ ดุ

3. โรคกระดูกเสือ่ มจากการเจบ็ ป่วยการตดิ เชื้อ กลุ่มนี้ เกิดได้จากการติดเชื้อทก่ี ระดกู เชน่ วัณโรคกระดูก หรือติดเชื้อแบคทีเรีย ท่ีทาลายกระดูกหรือกล้ามเนื้อ รวมถึงมะเร็ง และโรคท่ีเกิดการการทาลายการ สรา้ งกระดูก 4. การขาดสารอาหารที่จาเปน็ ต่อการสร้างและบารงุ กระดกู ทาให้มีการสร้างเซลล์กระดูกลดลง แต่ทาลายเซลล์กระดูกมากขึ้น ซึ่ง สารอาหารทีจ่ าเปน็ ตอ่ การสร้างกระดูก เช่น แคลเซียม ฟอสฟอรัส เป็นตน้

อาการของโรคกระดกู เสื่อม อาการของโรคกระดูกเสื่อม ส่วนใหญ่จะเร่ิมมีอาการเจ็บและปวดตามแนว กระดูกท่ีเร่ิมเสื่อม การขยับหรือเคลื่อนไหวร่างกายทาได้น้อยลง มีเสียงดัง เมื่อเคลื่อนไหวร่างกาย เมื่อกระดูกเสื่อมรุนแรง ผู้ป่วยจะเร่ิมมีอาการปวด กระดกู กระดูกผิดรปู จนไม่สามารถเคลือ่ นไหวรา่ งกายได้ การรกั ษาโรคกระดูดเสือ่ ม การรักษาส่วนใหญ่ จะตอบสนองต่อการรักษาโดยไม่จาเป็นต้องผ่าตัด คือ การรบั ประทานยา การทากายภาพบาบดั การทาทา่ บรหิ ารที่ถกู ต้อง ปรบั เปลืย่ น พฤติกรรมในการใชช้ วี ิต หรือเล่นกฬี า

การป้องกนั โรคกระดูกเสือ่ ม การป้องกันโรคกระดูกเสื่อม เร่ิมต้นจากการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ทาลายกระดูก ดงั นี้ 1. ปรับท่าทางในชีวิตประจาวันให้ถูกต้อง ต้ังแต่ การนั่ง การยืน การเดินใน ท่าทางที่ถูกต้อง เช่น การนั่งที่ดีต้องนั่งหลังตรงมีพนักพิงหลัง หลีกเลี่ยงการยก ของหนัก หรือถ้าจาเปน็ ต้องยกของหนัก ควรท่จี ะยกขึ้นมาแบบหลังตรง เป็นต้น 2. ปรบั เปลีย่ นอิรยิ าบถบ่อยๆ เพราะการน่ังอยู่กับทีเ่ ป็นเวลานานๆ เช่น น่ังหลัง งอและกม้ คอทางานหน้าจอคอมพิวเตอร์ ติดตอ่ กนั หลายชว่ั โมงก็เปน็ ผลเสียต่อข้อ ต่อบริเวณคอ และกระดูกสันหลังส่วนเอว การนั่งท่ีถูกต้อง คือ การน่ังพิงพนัก เก้าอี้ และไม่ควรกม้ คอนานๆ

3. การควบคุมน้าหนักตัว เพื่อลดภาระของกระดูกในการรับน้าหนัก โดยเฉพาะ น้าหนักตัวที่มากเกินไปจะเป็นภาระกระดูกสันหลังในการรับน้าหนัก โอกาสที่ กระดกู สนั หลังเสือ่ มจะมีมากตามมา 4 . รั บ ป ร ะ ท า น อ า ห า ร ที่ มี ป ร ะ โ ย ช น์ ต่ อ ก ร ะ ดู ก แ ล ะ ข้ อ อ ย่ า ง สม่าเสมอ โดยเฉพาะอาหารท่ีมีแคลเซียมสูง เช่น ปลาเล็กปลาน้อย ท่ีสามารถ รับประทานได้ท้ังก้าง นมและผลิตภัณฑ์จากนม เช่น นมเปร้ียว โยเกิร์ต งา โดยเฉพาะงาดา ผักใบเขียวชนิดต่างๆ ผลิตภัณฑ์จากถ่ัว เช่น นมถั่วเหลือง เต้าหู้ เต้าเจีย้ ว และผลิตภณั ฑ์เสริมแคลเซียม 5. ออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ เพื่อเสริมสร้างกล้ามเนื้อและความแข็งแรง ของกระดูกด้วยการเดิน วิ่ง เพราะกล้ามเนื้อเป็นส่วนสาคัญในการแบ่งเบาภาระ ต่างๆ ของกระดูกด้วย

6. การรบั ประทานอาหารทีม่ ีสารต้านอนมุ ลู อิสระอย่างสมา่ เสมอ เพื่อปอ้ งกัน เซลล์เสื่อม เช่น ผักและผลไม้ท่ีรสไม่หวานมาก รับประทานให้ครบท้ัง 5 สี เช่น ผลไม้ตระกูลเบอร่ี และผักผลไม้ท่ีมีเบต้าแคโรทีนสูงๆ คือ ผัก และผลไม้ท่ีมีสีส้ม เหลืองหรือแดง เช่น แครอท ฟักทอง หน่อไม้ฝร่ัง ข้าวโพดอ่อน แตงโม แคนตา ลูป มะละกอสุก และผักท่ีมีสีเขียว เช่น บรอคโคลี มะระ ผักบุ้ง ต้นหอม ผักคะน้า ผักตาลึง เป็นตน้