คู่มอื ปฐมพยาบาล ส�ำหรับประชาชน ฉบบั จิตอาสาเฉพาะกิจด้านการแพทย์
ชื่อหนงั สอื คมู่ อื ปฐมพยาบาลสาํ หรบั ประชาชน พิมพ์ครัง้ ท่ี 1 ฉบับจิตอาสาเฉพาะกจิ ดา้ นการแพทย์ บรรณาธกิ าร ...........เล่ม แพทย์หญิงนฤมล สวรรค์ปัญญาเลิศ ผชู้ ่วยบรรณาธิการ พลอากาศตรีเอกอุ เอย่ี มอรณุ จัดพมิ พ์โดย พันเอกเอนกพงษ์ หริ ัญญลาวัลย์ พมิ พ์ที่ นางเพียงพิมพ์ ตนั ติลีปกิ ร นายยุทธนา สมานมติ ร กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข บริษทั โอ-วิทย์ (ประเทศไทย) จํากัด
คำ� นำ� การปฐมพยาบาลเป็นกิจกรรมที่คาดหวังให้จิตอาสาเฉพะกิจ ด้านการแพทย์ มีความรู้ในเร่ืองการปฐมพยาบาลเบ้ืองต้นและสามารถ ช่วยเหลือผู้ป่วยเพ่ือหลีกเลี่ยงและลดผลความรุนแรงจากภาวะฉุกเฉิน ทง้ั นี้ การปฐมพยาบาลเป็นแนวทางท่งี ่ายและสามารถป้องกนั ได้ คู่มือปฐมพยาบาลน้ีได้รวบรวมความรู้และข้อแนะน�ำในการ ปฐมพยาบาลเบอ้ื งต้น ส�ำหรบั ใช้ประโยชนใ์ นการดูแลรกั ษาผูป้ ่วยทีเ่ จ็บปว่ ย ฉับพลัน ผู้จัดท�ำหวังว่าคู่มือนี้จะเป็นประโยชน์และสามารถน�ำไปใช้ได้ ตามสมควร หากมีข้อคดิ เห็นขอน้อมรบั ดว้ ยความขอบคณุ 3คู่มอื ปฐมพยาบาลส�ำหรับประชาชน ฉบบั จิตอาสาเฉพาะกจิ ดา้ นการแพทย์
สารบญั หนา้ 1 การปฐมพยาบาลเบื้องตน้ 1 หลักการปฐมพยาบาล 1 การชว่ ยเหลือเมอื่ พบผปู้ ่วย 1 การชว่ ยเหลอื เมื่อพบผู้ป่วยไมห่ ายใจและไม่มชี ีพจร 1 การเป็นลม 2 การเปน็ ลมจากการเสียเหงื่อ 2 การเป็นลมจากความร้อน 2 สง่ิ แปลกปลอมเขา้ สรู่ ่างกายผงฝุ่นเขา้ ตา 2 เลอื ดก�ำเดาไหล 3 หกล้มแผลถลอก 3 ข้อเคล็ด ข้อเทา้ แพลง 4 ปฏบิ ัตกิ ารชว่ ยชีวิต 5คู่มอื ปฐมพยาบาลส�ำหรับประชาชน ฉบับจติ อาสาเฉพาะกิจด้านการแพทย์
6 คมู่ ือปฐมพยาบาลส�ำหรับประชาชน ฉบับจิตอาสาเฉพาะกิจดา้ นการแพทย์
การปฐมพยาบาลเบอื้ งต้น การให้การช่วยเหลือเบ้ืองต้นเม่ือพบอุบัติเหตุแก่ผู้บาดเจ็บก่อนน�ำส่ง โรงพยาบาล เพอ่ื ปอ้ งกันไมใ่ หเ้ กดิ การบาดเจบ็ เพิ่มขน้ึ พิการ หรอื เสียชวี ิต วตั ถุประสงค์ 1. เพอื่ ให้ผู้บาดเจบ็ มีชีวิตรอด 2. เพ่ือไม่ใหผ้ บู้ าดเจบ็ ไดร้ ับอันตรายเพิม่ ขึ้น 3. เพอื่ ใหผ้ บู้ าดเจ็บฟื้นกลบั คนื สสู่ ภาพเดมิ โดยเรว็ หลักการปฐมพยาบาล 1. อย่า ต่นื เต้น ตกใจ 2. สังเกตอาการผบู้ าดเจบ็ 3. ใหก้ ารปฐมพยาบาลตามล�ำดบั ความส�ำคญั 4. น�ำส่งโรงพยาบาล 7คู่มอื ปฐมพยาบาลสำ� หรับประชาชน ฉบบั จิตอาสาเฉพาะกจิ ดา้ นการแพทย์
การชว่ ยเหลอื เมอื่ พบผ้ปู ว่ ย 1. เรยี กผู้ปว่ ย 2. ขอความชว่ ยเหลือ 3. พลกิ ตัวผูป้ ว่ ย 4. ตรวจการหายใจ 5. ผ้ปู ่วยหายใจเองไดใ้ หน้ อนท่าทป่ี ลอดภยั คือนอนตะแคงกึ่งควำ�่ 6. น�ำสง่ โรงพยาบาล 8 คู่มือปฐมพยาบาลส�ำหรับประชาชน ฉบับจติ อาสาเฉพาะกจิ ด้านการแพทย์
การชว่ ยเหลอื เมือ่ พบผปู้ ว่ ยไม่หายใจและไม่มีชพี จร 1. เปดิ ทางเดนิ หายใจกดหนา้ ผากยกคาง 2. ถ้ามีสิง่ แปลกปลอมในปากให้ล้วงออก 3. เปา่ ปาก 2 คร้ัง 4. ตรวจพบไม่มีชีพจร ให้นวดหัวใจและเปา่ ปาก 5. เป่าปาก 2 ครง้ั สลับการนวดหวั ใจ 15 คร้ัง ตรวจชพี จรและการ หายใจเป็นระยะๆ 9คมู่ อื ปฐมพยาบาลส�ำหรบั ประชาชน ฉบับจติ อาสาเฉพาะกิจดา้ นการแพทย์
การเป็นลม หมายถึง การหมดความรู้สึกในช่วงสั้นๆ เน่ืองจากเลือดไปเล้ียง สมองไม่เพยี งพอ อาการ ออ่ นเพลยี วิงเวยี นศีรษะ หนา้ ซดี ตัวเย็น ชพี จรเบา การปฐมพยาบาล 1. จดั ใหน้ อนราบ ยกเท้าสงู กว่าล�ำตวั เลก็ น้อย 2. คลายเสอื้ ผา้ ให้หลวม 3. ให้อยูใ่ นทีอ่ ากาศถ่ายเทได้สะดวก 10 คูม่ อื ปฐมพยาบาลส�ำหรบั ประชาชน ฉบับจติ อาสาเฉพาะกจิ ด้านการแพทย์
การเปน็ ลมจากการเสยี เหงื่อ หมายถึง เป็นลมจากการเสียเหงื่อ เป็นภาวการณ์สูญเสียน�้ำและ เกลือแร่ ในร่างกายทางเหง่ือหลังจากการท�ำงานหนักหรือออกก�ำลังกาย อยา่ งหักโหมในวันทอี่ ากาศรอ้ นจัด อาการ ปวดศีรษะ ผิวหนังเย็นซีดและชื้นอาจเป็นตะคริว มีเหงื่อ ออกมาก การปฐมพยาบาล 1. ให้ผูป้ ว่ ยนอนราบ พกั ในทีร่ ่มและเยน็ หรอื ทมี่ ีอากาศถา่ ยเทไดด้ ี 2. ให้ดื่มน้�ำมากๆ (ค่อยๆ จบิ ) หรือใหด้ ืม่ น้�ำผสมเกลือแร่ 3. ถา้ อาการไม่ดีขน้ึ ควรรีบน�ำส่งโรงพยาบาล 11คู่มอื ปฐมพยาบาลสำ� หรบั ประชาชน ฉบับจติ อาสาเฉพาะกจิ ด้านการแพทย์
การเปน็ ลมจากความร้อน สาเหตุ เกิดจากร่างกายไม่สามารถระบายความร้อนออกได้ เน่ืองจากอยู่กลางแจ้งหรือในท่ีร้อนจัดท�ำให้กลไกขับเหง่ือของร่างกาย ไมท่ �ำงาน การปฐมพยาบาล 1. ให้ผู้ป่วยนอนราบในทรี่ ่มและเยน็ 2. เช็ดตัวผูป้ ว่ ยด้วยน้�ำเยน็ เพือ่ ใหค้ วามรอ้ นลดลงใหเ้ ร็วท่ีสดุ 3. ถ้าอาการไม่ดีขนึ้ ควรรบี น�ำส่งโรงพยาบาล 12 คมู่ อื ปฐมพยาบาลสำ� หรบั ประชาชน ฉบบั จติ อาสาเฉพาะกจิ ด้านการแพทย์
ส่งิ แปลกปลอมเข้าสู่รา่ งกายผงฝ่นุ เขา้ ตา การปฐมพยาบาล 1. เปดิ ลกู ตาเพือ่ หาสิง่ แปลกปลอม 2. ให้ลา้ งตาดว้ ยน้�ำสะอาด 3. ถ้าฝุ่น ผง ติดท่ีตาขาว ใช้ปลายผ้าสะอาดหรือปลายไม้พันส�ำลี เขยี่ เศษผงออก 4. ถ้าฝุ่น ผง ตดิ แนน่ หรือตดิ ตมด�ำให้ปดิ ตาดว้ ยผา้ สะอาด 5. รีบน�ำสง่ โรงพยาบาล ข้อหา้ ม 1. ห้ามขยี้ตา เพราะจะทำ� ใหต้ าระคายเคืองเพ่มิ มากขึ้น 2. หา้ มใชข้ องมคี มหรือไม้ เขยี่ เศษผงทเี่ ขา้ ตา 13คู่มือปฐมพยาบาลสำ� หรับประชาชน ฉบบั จติ อาสาเฉพาะกจิ ด้านการแพทย์
เลอื ดก�ำเดาไหล สาเหตุ มาจากการกระทบกระแทก การเป็นหวัด การสั่งน้�ำมูก การติดเชื้อในช่องจมกู หรอื ความหนาวเยน็ ของอากาศ การปฐมพยาบาล 1. ให้ผู้ป่วยน่ังโน้มตัวไปด้านหน้า (ถ้าแหงนหน้าจะท�ำให้เลือดไหล ลงคอ และอาเจยี นได้) 2. ใช้มือบีบปลายจมูก และให้หายใจทางปากโดยบีบปลายจมูกไว้ 10 นาที ใหค้ ลายมอื ออกถ้าเลือดยงั ไหลตอ่ ให้บีบตอ่ อกี 10 นาที ถ้าเลือด ไมห่ ยุดใน 30 นาที ใหร้ ีบนำ� สง่ โรงพยาบาล 3. ถ้ามีเลือดออกมาก ให้เด็กบ้วนเลือดหรือน้�ำลายลงในอ่าง หรือ ภาชนะที่รองรบั 4. เม่ือเลอื ดหยดุ แลว้ ใช้ผา้ อนุ่ เชด็ บริเวณจมูกและปาก ขอ้ ห้าม 1. หา้ มส่ังนำ้� มกู แคะ หรือขยี้จมูก 14 คู่มอื ปฐมพยาบาลส�ำหรบั ประชาชน ฉบับจิตอาสาเฉพาะกจิ ดา้ นการแพทย์
หกลม้ แผลถลอก เมอ่ื หกลม้ อาจมแี ผลถลอกได้ เชน่ ทบ่ี รเิ วณหัวเขา่ ขอ้ ศอก เปน็ ตน้ แผลลักษณะนจี้ ะมผี ิวหนังลอกหลุด มเี ลือดออกเลก็ นอ้ ย อาจมีสง่ิ สกปรกที่ แผล ถา้ ปล่อยท้งิ ไว้อาจเกิดการตดิ เช้อื มีหนองได้ การปฐมพยาบาล 1. ล้างแผลด้วยน�้ำสะอาดและสบู่ เพื่อให้ส่ิงสกปรก เศษดิน หรือ กรวดออกให้หมด 2. ใชผ้ ้าสะอาดกดแผลห้ามเลือดให้หยุดไหล 3. ใส่ยาส�ำหรบั แผลสด 4. ปิดแผลด้วยพลาสเตอร์ หรือผ้าสะอาด ข้อหา้ ม 1. ห้ามสั่งนำ�้ มูก แคะ หรือขยี้จมูก 15ค่มู ือปฐมพยาบาลสำ� หรับประชาชน ฉบับจติ อาสาเฉพาะกิจดา้ นการแพทย์
ข้อเท้าเคล็ด ขอ้ เทา้ แพลง ข้อเท้าเคล็ด ข้อเท้าแพลง เกิดจากการเคลื่อนไหวผิดท่า ท�ำให้เกิด การหมนุ พลิก บิด ของขอ้ เท้า เชน่ เดนิ พลาด ตกหลุม เหยียบก้อนหิน ถกู กระแทก หรอื ของหล่นทบั มกั มีอาการ ปวด บวม เจบ็ เคลื่อนไหวไมถ่ นัด ใน ผ้สู ูงอายุส่วนมากจะมีกระดูกบรเิ วณข้อเทา้ หกั ร่วมดว้ ย การปฐมพยาบาล 1. ใหข้ อ้ เทา้ ที่ไดร้ บั บาดเจบ็ อยู่น่ิงๆ ห้ามเดิน 2. ยกเทา้ ให้สูงเลก็ นอ้ ยเพ่อื หา้ มเลอื ดและลดบวม 3. ประคบดว้ ยความเยน็ ทนั ทีนานอย่างน้อย 20 นาที หา้ มประคบ ด้วยความร้อนใน 24 ชว่ั โมงแรก 4. ยดึ ขอ้ เท้าให้นงิ่ ด้วยผา้ ยืด ถา้ สวมรองเทา้ ผา้ ใบ หรอื รองเท้าทีผ่ กู ดว้ ยเชอื กใหค้ ลายเชอื กผูกรองเท้าแตไ่ มต่ ้องถอดรองเทา้ 5. ถา้ ใหก้ ารปฐมพยาบาลแลว้ อาการไมด่ ีขน้ึ ให้รบี น�ำส่งโรงพยาบาล ขอ้ ควรระวงั ถ้ามีอาการปวด และบวมมากขึ้น เดินไม่ได้ แสดงว่ามีกระดูกหัก รว่ มด้วยใหป้ ฐมพยาบาลเหมอื นขอ้ เท้าหกั แลว้ รบี นำ� สง่ โรงพยาบาล 16 ค่มู ือปฐมพยาบาลสำ� หรับประชาชน ฉบับจิตอาสาเฉพาะกิจด้านการแพทย์
ปฏบิ ตั ิการช่วยชีวติ เวอร์ชั่น 2015 (CPR 2015) สรุปแนวทางปฏิบัติการช่วยชีวิตปี ค.ศ.2015 ตาม guidelines American Heart Association, The Heart Association of Thailand และ Thai Resuscitation Council แนวทางการช่วยฟ้นื คนื ชพี ปี 2015 ได้มีการปรับปรุงระบบการดูแล ผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจหยุดเต้น โดยแบ่งเป็น ผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจหยุดเต้นใน โรงพยาบาล (In-hospital cardiac arrest ; IHCAs) และผู้ป่วยที่มีภาวะ หัวใจหยุดเต้นนอกโรงพยาบาล (Out-of-hospital cardiac arrests ; OHCAs) โดยแบง่ ห่วงโซ่แหง่ การรอดชีวติ เป็น 2 หว่ งโซด่ ังนี้ 17คูม่ อื ปฐมพยาบาลส�ำหรับประชาชน ฉบบั จิตอาสาเฉพาะกจิ ดา้ นการแพทย์
เป็นห่วงโซ่แห่งการรอดชีวิตในโรงพยาบาลโดยจะเน้นที่การเฝ้าระวัง ของบุคลากรทางการแพทย์ก่อนที่ผู้ป่วยจะเกิดภาวะวิกฤต ระบบการดูแล จะข้นึ อยกู่ บั การประสานงานของหนว่ ยงานของหนว่ ยงานในโรงพยาบาล เป็นห่วงโซ่แห่งรอดชีวิตนอกโรงพยาบาล เน้นการพ่ึงพาชุมชนและ ผู้เห็นเหตุการณ์ขณะนั้น ให้เริ่มท�ำการช่วยชีวิต รวมถึงการใช้เคร่ืองช็อก ไฟฟา้ ท่มี ีในสถานทส่ี าธารณะ 18 คู่มือปฐมพยาบาลส�ำหรับประชาชน ฉบบั จิตอาสาเฉพาะกจิ ด้านการแพทย์
ในบทความนี้ขอกล่าวเฉพาะห่วงโซ่แห่งการรอดชีวิตนอกโรงพยาบาล ที่เน้นให้ผู้เห็นเหตุการณ์เร่ิมปฏิบัติการฟื้นคืนชีพให้เร็วที่สุด ก่อนอ่ืนอยากให้ ผู้อา่ นรจู้ กั คำ� ศัพท์เหล่าน้ีกอ่ น Untrained Lay Rescuer คือประชาชนทั่วไปที่ไม่ได้รับการฝึก อบรม CPR Trained Lay Rescuer คอื ประชาชนทีไ่ ดร้ บั การฝึกอบรม CPR Emergency Dispatcher คือหน่วยงานท่ีรับเร่ือง หรือรับแจ้งเหตุ ในประเทศไทยคือสถาบันการแพทย์ฉุกเฉนิ 1669 ทำ� ไมผ้อู ่านต้องรจู้ กั คำ� เหล่านี้ เพราะบุคลากรเหล่าน้ีคอื หวั ใจส�ำคญั ในการชว่ ยชวี ติ ผู้บาดเจบ็ ทีเ่ กิดภาวะหวั ใจหยดุ เต้นนอกโรงพยาบาล ท่านจะ เหน็ ว่า 3 หว่ งโซแ่ รก เป็นหนา้ ท่หี ลกั ของ lay rescuer โดยมี dispatcher เปน็ ผู้ให้คำ� แนะนำ� ทางโทรศพั ทร์ วมท้งั เปน็ ผ้ปู ระสานงานกับศนู ย์ EMS และ แจ้งสถานที่เก็บเครอื่ ง AED รวมถงึ การใชเ้ ครอ่ื งชอ็ กไฟฟา้ การเขา้ ถงึ การใช้ เคร่อื งชอ็ กไฟฟา้ ของ lay rescuer ต้องเรว็ ทีส่ ุด เพราะน่นั หมายถงึ การรอด ชวี ติ ของผบู้ าดเจบ็ จะมสี ูงข้ึนทนั ที เวอร์ช่ัน 2015 เน้นเรื่องคุณภาพการช่วยชีวิตเป็นอย่างมาก (Quality CPR)ด้วย 4 คำ� น้ี คอื Rate : อตั ราการป๊มั หวั ใจ เปล่ยี นจากอย่างน้อย 100 ครง้ั ต่อนาที่ เปล่ยี นเป็นปมั๊ อย่างน้อย 100 แต่ไมค่ วรเกนิ 120 ครงั้ ตอ่ นาที Depth : การป๊ัมในแต่ละครัง้ เปล่ียนจากการป๊มั ให้ลกึ อย่างน้อย 5 ซม. (2 นิ้ว) เป็นปั๊มใหล้ ึกอยา่ งนอ้ ย 5 ซม.แตไ่ ม่ควรลึกเกนิ 6 ซม. (2.4 น้ิว) 19ค่มู อื ปฐมพยาบาลสำ� หรบั ประชาชน ฉบบั จิตอาสาเฉพาะกิจด้านการแพทย์
Recoil : ต้องไม่พักมือหรือปล่อยน้�ำหนักไว้บนหน้าอกผู้บาดเจ็บ กอ่ นการปั๊มในคร้ังต่อไป ต้องปลอ่ ยใหห้ นา้ อกยกตวั ขึน้ สดุ กอ่ นกดในครง้ั ตอ่ ไปนั้นเอง Position : ต�ำแหน่งในการวางมือของการปั๊มต้องวางมือตรงส่วน ลา่ งของกระดูกหนา้ อก (lower half of sternum bone) นอกจากนั้น ต้องหยุดกดหน้าอกให้น้อยท่ีสุด เพื่อเพิ่มจ�ำนวนครั้ง ของการกดหนา้ อกใหไ้ ด้สงู ทส่ี ดุ การรบกวนการกดหน้าอกควรเกิดข้นึ แค่ใน ช่วงของการวิเคราะห์ดูคลื่นไฟฟ้าหัวใจ หรือการช่วยหายใจเท่าน้ัน ค่า Chest compression fraction หรอื สดั ส่วนชว่ งเวลาการกดหน้าอกเทียบ กบั ช่วงเวลาในการท�ำ CPR ทง้ั หมด ควรต้องมคี ่ามากกว่า 60 เวอรช์ ัน 2015 เน้นการเข้าถงึ เครอ่ื ง AED (Automated External Defibrillator)ให้เร็วทส่ี ุด จงึ มีการเปลีย่ นชือ่ จาก AED เปน็ PAD (Public access Defibrillator) เพ่ือสร้างความรู้สึกให้กับประชาชนว่าเคร่ือง ดงั กล่าวสามารถใช้ไดแ้ ม้ประชาชนทไ่ี มเ่ คยไดร้ ับการฝึกการใช้เครอ่ื งมากอ่ น 20 คูม่ ือปฐมพยาบาลสำ� หรบั ประชาชน ฉบับจิตอาสาเฉพาะกจิ ด้านการแพทย์
กระบวนการการชว่ ยชวี ิตของ lay rescuer ค.ศ. 2015 1. ก่อนเข้าช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ ต้องประเมินสถานการณ์ความ ปลอดภัย กอ่ นเสมอ 2. จากนั้นท�ำการประเมินความรู้สึกตัวของผู้บาดเจ็บ หากพบว่า หมดสติ ให้ร้องขอความช่วยเหลือจากบุคคลข้างเคียง หรือ โทรศัพท์ ขอความช่วยเหลือ 1669 หากมีเคร่ือง AED อยู่ใกล้ให้วิ่งไปหยิบมาก่อน หรอื วานให่้บคุ คลใกลเ้ คียงไปหยิบมา 3. ท�ำการเช็คการหายใจและชีพจร ภายในเวลา 10 วินาที หากพบว่าหยุดหายใจ หรือมีภาวะหายใจเฮือก (gasping) ให้เริ่มกระบวน ชว่ ยฟ้ืนคนื ชีพทนั ที 4. โดยเริ่มจากการปั๊มหัวใจ 30 คร้ัง สลับกับการเป่าปาก 2 คร้ัง ตอ่ เน่อื งจนกวา่ จะมีมที ีม EMS หรือเคร่อื งชอ็ กไฟฟ้ามาถงึ 5. หากมเี ครือ่ งชอ็ กไฟฟา้ มาถงึ ให้รบี เปดิ ระบบใช้งานทนั ที 6. ปล่อยให้เครื่องช็อกไฟฟ้าวิเคราะห์คล่ืนหัวใจ หากพบว่า เป็นคล่ืนไฟฟ้าที่สามารถช็อกได้ให้ท�ำการกดช็อกทันที และท�ำการ CPR ต่อจนครบ 2 นาที หยดุ ให้เคร่ืองช็อกไฟฟ้าอีกครง้ั 7. กรณีท่ีเคร่ืองช็อกไฟฟ้าไม่พบคลื่นที่สามารถช็อกได้ ให้ท�ำการ CPR ต่อจนครบ 2 นาทีเช่นกันแล้วจึงหยุดให้เคร่ืองวิเคราะห์คลื่นหัวใจ อกี คร้งั 21คู่มอื ปฐมพยาบาลส�ำหรับประชาชน ฉบบั จิตอาสาเฉพาะกจิ ดา้ นการแพทย์
8. ท�ำการ CPR อย่างต่อเน่ืองจนกว่าทีม EMS จะมาถึงดัง Flow Chart CPR ดา้ นล่าง 22 คมู่ ือปฐมพยาบาลสำ� หรบั ประชาชน ฉบับจิตอาสาเฉพาะกจิ ด้านการแพทย์
Search
Read the Text Version
- 1 - 22
Pages: