Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนICSปี 2565 (28มิย 65)

แผนICSปี 2565 (28มิย 65)

Published by sadudee4, 2022-06-27 13:21:18

Description: แผนICS ฉบับ ปรับปรุงปี 2565 (28มิย 65)

Search

Read the Text Version

MASS CASUALTY

ก คํานํา แผนรบั อุบตั เิ หตุหมูโ่ รงพยาบาลตะกัว่ ป่า ประจาปี 2565 จดั ทาข้ึนเพ่ือเป็นคมู่ ือในการเตรยี มความพร้อม ในการรบั อุบัตเิ หตุหมู่ หรือเจ็บปว่ ยฉกุ เฉินท่ีมผี ู้เจ็บป่วยจานวนมาก ซงึ่ เปน็ เหตุการณท์ ีเ่ กดิ ข้ึนโดยไมค่ าดหมาย เช่น การเกดิ อบุ ัตเิ หตุทางจราจร หรือ การเจบ็ ปว่ ยโดยอาการเดียวกนั พรอ้ มกนั เป็นจานวนมาก ตอ้ งใชร้ ะบบการ บริหารจดั การท่ีดีในการรับกบั สถานกรณีที่วุ่นวายในการช่วยเหลอื ผูเ้ จบ็ ปว่ ย แผนรับอุบัตเิ หตุหมู่โรงพยาบาลตะกว่ั ปา่ ประจาปี 2565 ได้พัฒนานาเอาระบบ ICS (ระบบศนู ยบ์ ัญชาการ เหตกุ ารณ)์ ปรบั เขา้ กับบรบิ ทของโรงพยาบาล เพื่อให้เจา้ หน้าทโ่ี รงพยาบาลเข้าใจระบบงาน บทบาท หนา้ ที่ของ ตนเองในการ บริหารจัดการและใหบ้ รกิ ารผู้เจบ็ ปว่ ย สามารถประสานงานขอความสนับสนนุ จากหนว่ ยงานตา่ งๆได้ อยา่ งเป็นระบบ มกี ารบริหารจัดการข้อมูลทดี่ ใี นการประชาสัมพนั ธ์แก่ผู้รบั บริการและหน่วยงานท่ีเกย่ี วข้อง ผู้จัดทาหวังเปน็ อย่างยิ่งว่าแผนอุบัติเหตุหมจู่ ะสามารถนาไปใช้เป็นแนวทางในการบริหารจดั การเม่ือเกดิ สถานการณ์จริงได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ คณะผู้จดั ทา

สารบญั ข 1. วตั ถปุ ระสงค์ 1 2. ขั้นตอนการเตรียมรับสถานการณ์ฉุกเฉินหรืออบุ ัติเหตหุ มู่ 1 3. โครงสรา้ งระบบบัญชาการณเ์ หตุการณ์ 8 4. สว่ นบญั ชาการ (Command Section) 9 5. สว่ นปฏิบตั ิการ (Operation Section) 14 14 i. Prehospital phase 25 ii. Inhospital phase 33 6.กลุม่ ภาระกิจส่ือสารความเสี่ยง (Risk Communication) 35 7.หนว่ ยสนับสนนุ และกลุ่มภาระกิจการสารองวัสดเุ วชภณั ฑ์และส่งกาลังบารุง (Stockpiling and Logistics) 39 8.กลุ่มภาระกจิ การเงนิ และงบประมาณ (Finance & Administration) 9. ภาคผนวก

1 แผนรบั อบุ ตั เิ หตแุ ละอบุ ตั ภิ ัยหมโู่ รงพยาบาลตะกว่ั ปา่ (Revised Mass Casualty Incident Plan) (ฉบบั ปรบั ปรงุ ปี 2565) คาํ จํากดั ความ อุบัติเหตุ หมายถึงเหตกุ ารณ์ทีเ่ กิดข้ึนโดยไม่ได้คาดหมายมากอ่ น อนั ก่อใหเ้ กิดการบาดเจบ็ การสูญเสยี ชีวติ และทรพั ยส์ ิน ตลอดจนทรพั ยากรของชาติ สาเหตุของอุบตั เิ หตมุ าจากการจราจร, การทางานอุบตั ิเหตุ ภายในบ้าน, ในโรงงาน และในท่สี าธารณะ และอุบตั เิ หตุท่ีพบวา่ มอี ัตราการเกิดสงู สดุ คือ อบุ ตั ิเหตุจาก การจราจรทางบก อบุ ตั ิเหตหุ มหู่ รืออุบตั ิเหตุกลุ่มชน (Mass Casualty) หมายถึง การบาดเจ็บจาก อุบตั เิ หตคุ ราวเดียว กันเป็นจานวนมากเกินขีดความสามารถของโรงพยาบาลที่จะใหก้ ารรักษาตามปกตไิ ด้ซึ่งมีสาเหตุมาจากภยั ธรรมชาติ,น้าทว่ ม, พายุ, ไฟไหม้ จากการกระทาของมนษุ ย์ เช่น ตกึ ถลม่ , รถชนกนั , ระเบดิ ฯลฯ วัตถุประสงค์ 1. เพอ่ื ใหม้ ีแนวทางในการเตรียมความพร้อมในการให้บริการผู้ป่วยอุบตั เิ หตุ อุบัติภยั หมู่ได้อยา่ งทวั่ ถึง และมปี ระสิทธภิ าพสูงสุด 2. เพ่ือใหม้ ีความพรอ้ มดา้ นบุคคลากร สถานท่ี เวชภัณฑ์และอปุ กรณ์ในการรักษาผู้ปว่ ย/ผูบ้ าดเจบ็ 3. เพือ่ จัดรูปแบบการประสานงานทงั้ ภายในและภายนอกโรงพยาบาล เพื่อให้การชว่ ยเหลอื ผปู้ ว่ ย/ผู้บาดเจ็บ ขั้นตอนการเตรยี มรบั สถานการณฉ์ ุกเฉินหรอื อุบตั ิเหตหุ มู่ 1. การรบั แจ้งข่าวอุบตั ิเหตุหมู่ สามารถรับทราบขอ้ มลู เพ่ือเตรยี มความพร้อมได้จาก 1.1 จากผนู้ าสง่ 1.2 จากผูป้ ่วยท่มี าคนแรก 1.3 จากเจ้าหนา้ ที่ตารวจ 1.4 จากผพู้ บเห็นเหตุการณ์แจง้ การสอบถามรายละเอียดของสถานการณ์จากผนู้ าส่งหรือผู้แจ้งเหตุมีดังน้ี 1.1 สถานท่ีเกดิ เหตุ จุดสังเกตุที่เหน็ ไดช้ ัด 1.2 สาเหตกุ ารเกิดอุบัติเหตหุ มู่

2 1.3 จานวนผู้บาดเจบ็ โดยประมาณ กรณีทมี่ ี EMR (Emergency Medical Responder) ณ จดุ เกิดเหตสุ ามารถประเมินได้วา่ มีผู้บาดเจบ็ หนักจานวนกร่ี าย 1.4 ความต้องการการช่วยเหลือตา่ งๆ เช่น การกภู้ ัย (ปภ.,ดับเพลิง), การกู้ชพี (หนว่ ยรกั ษาพยาบาล) 1.5 ชื่อผแู้ จ้งและหมายเลขโทรศัพทต์ ิดต่อกลบั หรือช่องทางการติดต่ออน่ื ๆ 1.6 วเิ คราะห์และตรวจสอบความน่าเชอ่ื ถือของข่าว หมายเหตุ : ผู้รับแจง้ ข่าว ได้แก่ ศนู ย์รบั แจง้ เหตุและสั่งการ (1669), แพทย์/พยาบาลห้องฉกุ เฉนิ 2. การรายงานและแจ้งเหตตุ ามลาํ ดับขัน้ ตอน ผ้รู ับแจง้ ขา่ วต้องรายงาน ให้หัวหน้างานอุบัตเิ หตุและฉกุ เฉิน / หัวหน้าพยาบาล (ในเวลาราชการ) หรอื แพทย์เวรห้องฉุกเฉิน/เวรตรวจการ(นอกเวลาราชการ)เพื่อรายงานสถานการณ์แก่ผอู้ านวยการ โรงพยาบาลหรือผู้รักษาการแทนผู้อานวยการทราบโดยดว่ น เพอื่ ตัดสนิ ใจประกาศใช้แผนอบุ ัติเหตหุ มตู่ ่อไป กรณีผู้บาดเจ็บน้อยกว่า 10 คนแต่เป็นบุคคลสาคัญหรือมีช่ือเสยี ง เชน่ เชื้อพระวงศ์, นกั การเมือง, ผนู้ า ศาสนา,ข้าราชการที่มีตาแหน่งสูงใหร้ ายงานผู้อานวยการโรงพยาบาลหรอื ผูร้ ักษาการแทนผู้อานวยการทราบ เช่นกัน 3. การประกาศใช้แผน ผู้อานวยการโรงพยาบาลหรือผู้รกั ษาการแทนผอู้ านวยการจะเป็นผู้ส่ังการประกาศแผนอุบตั ิเหตุหมู่ โดยพยาบาลหวั หนา้ เวรหอ้ งฉุกเฉนิ จะแจ้งไปยงั เจา้ หนา้ ท่ีประชาสัมพันธ์ (ในเวลาราชการ) ให้เปน็ หนว่ ย ประกาศแผนยดึ หลักจานวนผู้บาดเจ็บ ดงั นี้ แผนที่ 1 ใช้รหัส ฉุกเฉนิ .1 ใช้สาหรับอบุ ตั ิเหตหุ มู่ทมี่ ผี บู้ าดเจ็บตัง้ แต่ 10 - 20 คน เกิดข้นึ ระยะเวลาสั้นๆ ไม่ ต่อเน่ือง ใชอ้ ัตรากาลงั ปกติของเจา้ หน้าที่งานอุบัตเิ หตุและฉุกเฉนิ กาลงั สนับสนนุ บุคลากรทางการพยาบาลจาก ตกึ ต่างๆ ภายใต้การบรหิ ารจัดการของหวั หน้าพยาบาล (ในเวลาราชการ) และ เวรตรวจการ(นอกเวลาราชการ) แผนท่ี 2 ใชร้ หัส ฉุกเฉนิ .2 ใช้สาหรบั อุบตั ิเหตหุ มูข่ นาดใหญม่ ผี บู้ าดเจ็บต้ังแต่ 21 – 50 คน หรือมีผู้ปว่ ยท่ตี ้อง ช่วยฟน้ื คนื ชีพ 5 คนขน้ึ ไป เกิดขน้ึ ในระยะสั้นไมต่ ่อเนื่องเกินกาลงั ปฏิบัติงานปกติของเจา้ หนา้ ท่ี งานอุบัตเิ หตุ และฉุกเฉินตอ้ งประกาศใชแ้ ผนรบั อบุ ตั เิ หตุหมู่ เพ่อื ขอความชว่ ยเหลอื จากเจ้าหน้าที่ หน่วยงานอ่นื ๆ ท่ีเกย่ี วข้อง ในโรงพยาบาลตะก่วั ปา่ แผนที่ 3 รหัส ฉุกเฉนิ .3 ใช้สาหรบั อบุ ตั ิเหตุหมขู่ นาดใหญ่มาก มีผ้บู าดเจบ็ 50 คนข้นึ ไป หรอื คาดวา่ จะไมส่ นิ้ สุด

3 มีลกั ษณะต่อเน่อื งจนต้องขอความช่วยเหลอื จากโรงพยาบาลใกล้เคียงโรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลศูนย์ ภายใต้การประสานงานของศูนย์นเรนทรจังหวดั พงั งา แผน จาํ นวนผปู้ ่วย การประกาศแผน การขอความชว่ ยเหลือ ฉุกเฉิน 1 10 - 20 X กาลังปกตภิ ายในหอผ้ปู ว่ ย ฉกุ เฉิน 2 21 - 50  ฉกุ เฉนิ 3 มากกว่า 50  เกนิ กาลังปกติ นอกโรงพยาบาล ***หมายเหตุ*** นอกเวลาราชการให้พิจารณาสถานการณ์ในหอ้ งฉุกเฉินขณะนน้ั รว่ มด้วย โดยแม้ว่ามผี บู้ าดเจบ็ น้อยกวา่ 15 คน แต่ หากมขี ้อใดข้อหนึ่งดังต่อไปน้ีผู้อานวยการโรงพยาบาลหรือผรู้ กั ษาการแทนผ้อู านวยการสามารถสัง่ การ ประกาศ แผนอุบตั เิ หตหุ มู่ได้ 1. ในห้องฉกุ เฉนิ มผี ู้ป่วยประเภท ESI level 1 มากกว่า 3 ราย 2. ในหอ้ งฉกุ เฉินมผี ู้ป่วยประเภท ESI level 1 และ 2 รวมมากกวา่ 5 ราย 4. การปฏบิ ตั ิการเมือ่ ประกาศใช้แผน 4.1 ในเวลาราชการ เจา้ หน้าท่ปี ระชาสัมพันธ์จะใช้เสยี งตามสายประกาศแผน โดยจะประกาศกต็ อ่ เม่อื เปน็ แผน 2 และแผน 3 - ประกาศแผน 2 ใช้รหสั ว่า “ฉุกเฉิน 2 ” ประกาศ 3 ครง้ั (ครง้ั ละ 2 รอบ) - ประกาศแผน 3 ใชร้ หสั วา่ “ฉุกเฉิน 3 ” ประกาศ 3 ครัง้ (คร้งั ละ 2 รอบ) 4.2 นอกเวลาราชการ พยาบาลห้องฉกุ เฉนิ จะเปน็ คนประกาศเสยี งตามสายเพื่อประกาศแผนเช่นเดียวกบั เวลาราชการ และใช้รถพยาบาล 1 คัน วิง่ วนในบรเิ วณบ้านพักเจ้าหนา้ ที่ของโรงพยาบาล 3 รอบพร้อมเปิดไซเรนเปน็ สัญญาณ และใหเ้ จ้าหน้าท่ี 4.3 ฝา่ ยสนบั สนุนปฏิบัติการ ต้องเตรียมความพร้อมหลังได้ยินรหัสประกาศใชแ้ ผน ได้แก่ หอ้ งผา่ ตดั ธนาคารเลือด เอก็ ซเรย์ หอผ้ปู ่วยตา่ งๆ หอ้ งยา ศูนยจ์ ่ายกลาง ฝา่ ยซกั ฟอก ฝา่ ยสนบั สนนุ รถโรงครัว และหนว่ ยงานอนื่ ๆ ท่เี กยี่ วข้อง ต้อง เตรียมพร้อมและรอฟงั คาส่ังจากกองอานวยการในการปฏบิ ัติหน้าทต่ี ่อไปหนว่ ยงานใดที่ต้องรายงานตวั ให้ลงมา

4 รายงานตวั ณ จดุ รายงานตัว (Staging &registration area) ลานโค้งอเนกประสงค์ ขา้ งหน่วยงานอบุ ัตเิ หตุ - ฉกุ เฉิน 4.4 การปฏบิ ัติหน้าที่ เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลตะกวั่ ป่าทุกคนต้องปฏิบัติหน้าทีต่ ามท่ีได้รับ มอบหมายต้งั แตป่ ระกาศแผนจนกวา่ จะมีคาสง่ั ประกาศยตุ ิแผนจากผู้อานวยการโรงพยาบาลหรือผ้รู ักษาการแทน ผู้อานวยการเท่านนั้ 4.5 รายงานผูร้ บั ผิดชอบระดับสงู เชน่ ผวู้ ่าราชการจงั หวดั , สานักงานสาธารณสขุ จังหวัด

5 แผนภูมิการประสานงานในเวลาราชการ อบุ ัติเหตหุ มู่ อบุ ัตภิ ยั หรอื สาธารณภยั ผูป้ ว่ ยมาเอง ญาติมาส่ง หน่วยอื่นแจ้งมาทาง เจ้าหนา้ ท่นี าสง่ รพ คาพดู ./ วิทยุ รบั แจ้งเหตุ หวั หนา้ เวรพยาบาล ER แพทย์เวร / แจ้งหวั หน้างานการพยาบาลอบุ ตั ิเหตุ และ แจง้ แพทย์หัวหนา้ กล่มุ งานเวชศาสตร์ ฉกุ เฉิน ฉุกเฉิน รายงานผ้อู านวยการโรงพยาบาลตะกวั่ ป่า ประกาศใชแ้ ผนอุบตั ภิ ัยหมู่ หมายเหตุ - Operator ประกาศเสียงตามสายและแจ้งรองผู้อานวยการด้านการพยาบาล หัวหน้ากลุ่มงานเวชศาสตรฉุกเฉิน หัวหนา้ กลุม่ งานศลยั กรรม และรองผอู้ านวยการ ฯลฯ - หากระบบประกาศเสยี งตามสายขัดข้อง ให้ใช้โทรโขง่ หรอื โทรศพั ทแ์ จ้งไปยังหอผู้ปว่ ยตา่ ง

6 แผนภูมกิ ารประสานงานนอกเวลาราชการ อุบัตเิ หตหุ มู่ อบุ ตั ิภยั หรือสาธารณภัย ผู้ปว่ ยมาเอง ญาตมิ าส่ง หนว่ ยอน่ื แจง้ มาทาง เจ้าหนา้ ที่นาสง่ รพคาพูด วทิ ยุ . รับแจง้ เหตุ หัวหนา้ เวรพยาบาล ER แพทย์เวร /ER แจ้งเวรตรวจการพยาบาล แจง้ แพทย์หัวหน้ากลุม่ งานเวชศาสตร์ ฉุกเฉิน หรือ ผู้ไดร้ บั มอบหมาย รายงานผูอ้ านวยการโรงพยาบาลตะกั่วป่า ประกาศใชแ้ ผนอบุ ตั ภิ ัยหมู่ หมายเหตุ - กรณีที่ติดต่อผู้อานวยการโรงพยาบาลตะก่ัวป่า ไม่ได้ภายใน 5 นาทีให้แพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉิน ประกาศใช้ แผน อุบัตภิ ัยหมไู่ ดแ้ ละรายงานผ้อู านวยการโรงพยาบาลภายหลัง - หากระบบประกาศเสียงตามสายขดั ข้อง ใหใ้ ช้โทรโขง่ หรอื โทรศพั ทแ์ จ้งไปยงั หอผปู้ ่วยต่าง ๆ - Operator ประกาศเสียงตามสายและแจ้งรองผู้อานวยการด้านพยาบาล หัวหน้ากลุ่มงานการพยาบาลผู้ป่วย อุบัติเหตุและฉกุ เฉิน หวั หนา้ กลุม่ งานเวชศาสตร์ฉกุ เฉิน หวั หนา้ กลุ่มงานศลยั กรรม และรองผ้อู านวยการ ฯลฯ

7 แผนภมู ิแสดงข้นั ตอนการปฏิบตั งิ านตามแผนอุบตั ิเหตหุ มู่ โรงพยาบาลตะกวั่ ป่ า สถานท่ีเกดิ เหตุ ศนู ยก์ ูช้ ีพตะกวั่ ป่ า รายงานหวั หนา้ เวรหอ้ งฉุกเฉิน โรงพยาบาล ตรวจสอบ แพทยเ์ วรหอ้ งฉุกเฉิน/ สง่ั การ ออกปฏิบตั ิการท่ีเกิดเหตุ 2.รายงานผบู้ งั คบั บญั ชา ในเวลา นอกเวลา 3.ประกาศแผน 4.จดั ต้งั กองอานวยการ -หวั หนา้ งานการพยาบาลอุบตั ิเหตแุ ละฉุกเฉิน - หวั หนา้ กลุ่มงานเวชศาสตร์ฉุกเฉินหรือ 5.จดั บคุ ลากรเขา้ ประจาท่ี -หวั หนา้ กลุ่มงานเวชศาสตร์ฉุกเฉิน ผไู้ ดร้ ับมอบหมาย 6.คดั แยกประเภทผบู้ าดเจบ็ หวั หนา้ กลุ่มงานศลั ยศาสตร์ - พยาบาลเวรตรวจการ -รองผอ /กลุ่มภารกิจดา้ นการแพทย.์ - เวรตรวจการบริหาร ดา้ น การพยาบาลดา้ นการ /อานวยการ - ผอผรู้ ักษาการแทน/โรงพยาบาล. ฝ่ายบริหารงานทวั่ ไป / ทกุ หน่วยงานที่เก่ียวขอ้ งรายงาน -ผอาการแทนผรู้ ักษ/โรงพยาบาล. ผบู้ งั คบั บญั ชาของหน่วยงานตนเองทราบ ทกุ หน่วยงานที่เก่ียวขอ้ งรายงาน 6.1 ผบู้ าดเจบ็ 6.2 ผบู้ าดเจบ็ 6.3 ผบู้ าดเจบ็ 6.4 ผบู้ าดเจบ็ กลุ่มสีเขียว กลุ่มสีเหลือง กลุ่มสีแดง กลุ่มสีดา 7.1จาหน่ายกลบั บา้ น 7.2 รับรักษาใน รพ. 7.3 ส่งต่อ 7.4 ส่งหอ้ งศพ 7.5 ส่งนิติเวช 8.ประกาศสิ้นสุดแผน

ผังโครงสร้าง บัญชาการณ์ด้านการแพทย์และสาธารณส Inter-agency Coordination Incident Intra-agency Coordination นพ.สงกรานต์ จัน นางเมธาวี วโิ นทยั (085-8840106) SAT : นพ. กชกร หะรารกั ษ์ (097-2040140) Liaison : น.ส.วาสนา เพช็ รภักด์ิ (085-7930739) Law support & Enforcemen นายมรกต ใจหลัก (089-2888283) PIO/Risk comuication : นางศวิตา แก้วเขยี ว (091-0344911) Operation : พญ.กัญญารัตน์ นวลศรี (095-5491639) POE (ถ้ามี) SRRT : นางราตรี อาจหาญ (087-8899706) นางราตรี อาจหาญ (087-8899706) Environment Team : น.ส. พมิ พช์ นก สังกลน่ิ (093-6010872) Service Branc MCATT Team : พญ.อมรรตั น์ บางพเิ ชษฐ์ (086-5364277) Medical Emergency Team : พญ. นพวรรณ แสงแกว้ (083-1684875) Communicationservice Out hospital นายคมสัน แตส่ กลุ (089-875373 Pre-hospital – ALS/BLS/FR Medical Service Unit Advance medical transport นางมนันท์ บญุ โลง่ (093-369599 In-hospital / Case Management Red Yellow Supplies Patient registration Green Black นางจริ าพร ศรีชมุ พว่ ง (083-3946 Labortory Unit นายวรี ชาติ ผลรอ้ ย (061-479299 การจดั การเตยี งรกั ษา Casualty Care Out patient นางสโรชินี หมาดดา In patient (084-8408689) OR ICU WARD

สุข โรงพยาลบาลตะกั่วปา่ (Incident Command System : ICS) 8 commander นทร์มณุ ี (086-8942185) STAG : นพ. วฒุ ิ วโิ นทยั (081-677820) นพ.ชาญกิจ วฒั นไวฑรู ย์ชยั (081-4345800) Human resources : นพ.ชาญกิจ วัฒนไวฑรู ยช์ ัย (081-4345800) , น.ส.จรรยา กาญจนกุล (092-4498666) Document : วา่ ท่ี ร.ต. ศราวธุ คาอุดม 087-8843699 Medical specialist : นพ.วฒุ ิ วโิ นทัย (081-6778240) Safety : น.ส.ดารารัตน์ ตปิ ะยานนท์ (080-8918519) ,น.ส.ชวลี ณ ตะก่ัวทุ่ง (091-1545396) Logistics & Stockpilling Finance & Administration นายนิยม ภริ มจิตร์ (082-8064570) นางสริ ิพร นวลศรี (086-2715343) ch Support Branch Cost Unit e Unit Transpotation นางวาสนา ชูมาก (081-9589335) 36) นางศวติ า แก้วเขียว (091-0344911) Compensation Unit 92) Food Service Unit นางมโนพร สนธิเศวต (094-5371784) 6669) นางทิพวรรณ เอยี บอวน (095-5815817) Facilities น.ส. ภาวะดี ณ นคร (081-2719940) 95)

9 สว่ นบัญชาการ Command Section : CS 1. ผู้บัญชาการเหตุการณ์ (Incident commander ; IC) ผู้อานวยการโรงพยาบาล/ผู้รกั ษาการแทนผู้อานวยการโรงพยาบาล หน้าท่รี ับผดิ ชอบ 1. รบั แจง้ จากหัวหนา้ งานอบุ ัติเหตุและฉุกเฉิน/หวั หนา้ กลมุ่ งานการพยาบาล (ในเวลาราชการ) หรอื แพทยเ์ วรห้องฉุกเฉนิ / เวรตรวจการ (นอกเวลาราชการ) 2. สั่งการประกาศแผนอบุ ตั เิ หตุหมู่ โดยให้แจง้ ไปยงั เจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธใ์ หป้ ระกาศแผนปฏบิ ตั กิ ารฉุกเฉิน 2, 3 ผา่ น เสยี งตามสาย 3. รายงานตัวและประจาศนู ย์บญั ชาการ (Command post) ณ ห้องศูนย์พึ่งได้ (OSCC) ท่หี นว่ ยงานอุบตั เิ หตุ และฉกุ เฉนิ / หอ้ งประชมุ นารายณ์ (ข้นึ อยู่กับแผนท่ีประกาศใช)้ 4. มอบหมายหน้าท่ีและภาระกจิ ตามโครงสร้าง มอบเสื้อประจาตาแหน่งเพื่อติดแสดงตน 5. รอรับขอ้ มูลรายงานจาก Liaison, SAT, STAG, Operation, Risk Communication, Case Management, POE, Stockpiliing and Logistics, กลมุ่ ภาระกจิ กฎหมาย, กลุ่มภาระกิจกาลังคน และ Finance 6. ประเมนิ สถานการณ์ ความต้องการของทรัพยากร การดาเนนิ งานจัดหาวเิ คราะห์ปญั หาทเี่ กดิ ข้ึน จัดการให้เกิดระบบ ความปลอดภัย อนุมตั ิและรับรองการจัดหางบประมาณเพื่อการดาเนินงานและสัง่ การ ไปยงั ผูใ้ ต้บังคับบัญชาต่างๆ ดังน้ี Liaison, SAT, STAG, Operation, Risk Communication, Case Management, POE, Stockpiliing and Logistics, กล่มุ ภาระกิจกฎหมาย, กลุ่มภาระกิจกาลังคน และ Finance 7. รายงานเหตกุ ารณแ์ กห่ นว่ ยงานระดบั สงู เชน่ ผ้วู า่ ราชการจังหวดั และประสานผู้สอ่ื ข่าวรว่ ม กบั Risk Communication (หวั หน้าประชาสมั พันธ์) 8. ประกาศปิดแผนอบุ ตั เิ หตหุ มู่ โดยแจง้ ไปยังเจ้าหน้าท่ีประชาสัมพันธ์ (ในเวลาราชการ) และ นอกเวลาราชการแจ้ง พยาบาลห้องฉุกเฉินให้ประกาศยุติแผน ปฏบิ ัตกิ ารฉุกเฉนิ 2 หรอื 3 ผา่ นเสียงตามสาย 2. หวั หน้ากลมุ่ ภาระกจิ ยทุ ธศาสตร์และวิชาการ (STAG) : หัวหน้าองคก์ รแพทย์/ หวั หน้ากลมุ่ งานการพยาบาล หนา้ ทร่ี ับผดิ ชอบ 1. รับแจ้งจากประชาสมั พันธ์กรณีประกาศแผนอบุ ตั เิ หตุหมู่ 2. รายงานตัวและประจาศูนย์บัญชาการ (Command post) ณ ห้องศนู ย์พ่ึงได้ (OSCC) 3. เสนอกลยทุ ธ์ มาตรการ เปา้ หมายในการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินแกผ่ ูบ้ ญั ชาการเหตุการณ์

10 4. การจัดทาแผนเผชญิ เหตุ (Incident Action Plan, IAP) 4. สนับสนุนดา้ นวิชาการใหก้ ับผปู้ ฏบิ ัติงานในระบบบัญชาการณเ์ หตุการณ์ 5. ประเมนิ ผลการดาเนินงานตามกลยุทธ์ มาตรการ เป้าหมาย เพื่อปรบั ปรุงกลยทุ ธ์/มาตรการการให้ เหมาะสมตาม สถานการณ์ 6. จดั สรปุ บทเรยี นการดาเนินงาน ( After Action Review, AAR) ในระยะฟน้ื ฟหู ลงั เกิดภาวะฉกุ เฉนิ 3. กลุ่มภาระกจิ ตระหนักรู้และประเมนิ สถานการณ์ (SAT) หน้าท่รี ับผดิ ชอบ 1. ติดตามเฝ้าระวงั ประเมนิ สถานการณ์ อยา่ งใกลช้ ิด 2. ประสานเช่อื มโยงข้อมูลกับหน่วยงานตา่ งๆทเี่ ก่ียวข้อง 3. จดั ทาฐานข้อมลู ให้พร้อมใช้ 4. กาหนดทางเลอื กในการตอบโตภ้ าวะฉุกเฉิน รว่ มกับทีมยุทธศาสตร์ 5. จัดทาสรปุ สถานการณ์ 4. เจ้าหน้าท่ีประสานงาน (Liaison) : หัวหนา้ งานอุบัติเหตุและฉกุ เฉิน หนา้ ท่ีรบั ผิดชอบ 1. รบั แจง้ จากประชาสมั พันธ์กรณปี ระกาศแผนอุบัติเหตุหมู่ 2. รายงานตัวและประจาศูนย์บัญชาการ (Command post) ณ หอ้ งศูนย์พ่งึ ได้ (OSCC) ทีห่ นว่ ยงานอบุ ตั ิเหตุ และฉกุ เฉิน 3. ประสานงานกบั หวั หน้าหน่วยต่างๆ และรวบรวมข้อมูลจากทกุ ฝ่าย เพ่อื รายงานต่อ IC 4. เป็นจุดติดต่อประสานผ้แู ทนหนว่ ยงานทชี่ ว่ ยสนบั สนุนการปฏบิ ตั กิ าร และตอบคาถามจากหน่วยงานสนับสนนุ ภายนอก 5. ระบุขอ้ มลู หนว่ ยปฏิบตั แิ ละหนว่ ยสนับสนุน ดงั ต่อไปน้ี - รายชอื่ ผปู้ ระสานงานของหนว่ ยงาน องค์กร - ความถค่ี ล่นื วิทยุในการส่ือสาร - หมายเลขโทรศัพท์ - ขอ้ ตกลงระหวา่ งหน่วยงาน - ประเภทและจานวนทรัพยากร (อยูใ่ นส่วนวางแผน) - จานวนบคุ ลากรท่เี ขา้ มาปฏิบตั งิ าน (อยู่ในส่วนสนับสนนุ )

11 - รายละเอียดของอุปกรณ์ เวชภัณฑ์และเคร่ืองมือตา่ งๆ (อยู่ในส่วนสนบั สนุน) - ข้อจากดั และขีดความสามารถของหนว่ ยงาน (อยู่ในสว่ นวางแผน) - จานวนทีมสว่ นปฏบิ ัตกิ ารทุกทีม (อยใู่ นสว่ นปฏิบัติการ) 5. กลุ่มภารกจิ กาํ ลงั คน (Human Resources) : หวั หนา้ กล่มุ งานอายุรกรรม และ หวั หน้ากลุ่มการพยาบาล หน้าทรี่ ับผิดชอบ 1. รับแจ้งจากประชาสัมพันธ์กรณปี ระกาศแผนอบุ ตั ิเหตหุ มู่ 2. รายงานตวั และประจาศูนย์บัญชาการ (Command post) ณ หอ้ งศูนย์พ่ึงได้ (OSCC) ทห่ี นว่ ยงานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน 3. จัดทาฐานข้อมลู กาลังคน พรอ้ มระบุสมรรถนะใหเ้ ปน็ ปัจจุบัน 4. จัดหากาลังคนเขา้ ทางานตอบโต้ภาวะฉกุ เฉนิ ตามที่ผ้บู ัญชาการเหตุการณ์กาหนด 5. จดั ทาแผนพัฒนากาลงั คน และมีระบบกากบั ตดิ ตามประเมนิ ผล 6. จดั ทาแผนบริหารความต่อเนื่องของภารกจิ องค์กรดา้ นสารองกาลงั คน 7. จดั ทา พัฒนาและประเมินระบบการสร้างแรงจูงใจ 8. กาหนดตัวช้ีวัดร่วมของแต่ละกล่มุ งานเพื่อใหเ้ กิดการทางานอย่างบูรณาการ 6. กล่มุ ภาระกจิ กฎหมาย หน้าท่รี ับผดิ ชอบ 1. รบั แจง้ จากประชาสัมพันธก์ รณีประกาศแผนอบุ ตั เิ หตุหมู่ 2. รายงานตัวและประจาศูนย์บัญชาการ (Command post) ณ หอ้ งศูนย์พงึ่ ได้ (OSCC) ทห่ี น่วยงานอุบัติเหตุและฉุกเฉนิ 3. ทบทวน รวบรวม วเิ คราะหพ์ รอ้ มจดั ทาฐานข้อมลู เกยี่ วกับกฎหมายท่ีมคี วามเกย่ี วข้องภารกจิ ของกระทรวง สาธารณสขุ เชอ่ื มโยงกบั พระราชบตั ิญตั ิปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. 2550 เพ่ือการปฏิบตั ขิ องศนู ยป์ ฏิบตั ิการ ภาวะฉุกเฉนิ และตอบโต้ภาวะฉุกเฉินอน่ื 4. สื่อสารและถา่ ยทอดกฎหมายทเี่ กยี่ วข้องให้ผ้ปู ฏบิ ัติงานเข้าใจและปฏบิ ัติได้ถูกต้อง 5.ประเมินผลกระทบของกฎหมายทบ่ี ังคับใช้ 6.ชว่ ยจัดทาคาร้องเพอื่ ดาเนนิ การตามกฏหมาย

12 7. กลุ่มภาระกจิ ส่ือสารความเส่ียง (Risk Communication) : หวั หนา้ ประชาสัมพันธ์ หนา้ ท่ีรบั ผดิ ชอบ 1. รับแจ้งจากประชาสัมพันธ์กรณปี ระกาศแผนอบุ ตั เิ หตุหมู่ 2. รายงานตัวและประจาศนู ยบ์ ญั ชาการ (Command post) ณ หอ้ งศูนย์พึ่งได้ (OSCC) ทห่ี น่วยงาน อบุ ตั เิ หตุและฉกุ เฉนิ 3. บรหิ ารจดั การส่ือต่างๆ 4. จัดเตรียมขา่ วสารสาหรบั เผยแพร่ต่อส่ือมวลชนและสาธารณชน 5. รับฟังสรปุ เหตุการณ์และร่วมวางแผนกบั ทมี บรหิ ารสถานการณฉ์ ุกเฉิน 6. จดั ทาสรปุ ข่าวหรือบอร์ดแสดงขา่ วสารเกยี่ วกบั เหตุการณ์เป็นระยะๆ 7. ประสานและขออนมุ ัติจาก IC กอ่ นเผยแพร่ขา่ วสาร 8. ตอ้ นรับ ดูแลอานวยความสะดวกแก่ผู้บรหิ ารระดับสูง หรอื หน่วยงานต่างๆ ท่ีมาตรวจเยี่ยม 8. กลุ่มภาระกิจปฏบิ ัตกิ าร (Operation) : รองผอู้ าํ นวยการฝ่ายการแพทย์ หน้าท่รี ับผิดชอบ 1. รับแจง้ จากประชาสมั พันธ์กรณีประกาศแผนอบุ ัตเิ หตุหมู่ 2. รายงานตวั และประจาศนู ย์บัญชาการ (Command post) ณ หอ้ งศนู ย์พ่ึงได้ (OSCC) ทีห่ นว่ ยงาน อบุ ัติเหตแุ ละฉกุ เฉิน 3. ปฏิบัติการในภารกิจทีไ่ ด้รบั มอบหมายจาก IC ดาเนินงานตาม Incident Action Plan (IAP) 4. ประสานงานและสนบั สนุนการดาเนนิ งานด้านปฏิบตั ิการท้งั นอกและในโรงพยาบาล (Pre-hospital phase, In-hospital phase) รายละเอียดอยู่ใน Operation section 5. ประเมนิ สถานการณ์ความพร้อม และทบทวนแนวทางปฏิบัตกิ าร 6. รายงานสถานการณ์ดา้ นการปฏบิ ตั ิการและเหตุการณ์ต่อทีมผบู้ ริหารสถานการณ์ฉกุ เฉิน 9. หวั หนา้ สว่ นสนบั สนุน (Stockpiliing and Logistics) : รองผู้อํานวยการฝา่ ยบรหิ าร หนา้ ทร่ี บั ผิดชอบ 1. รบั แจง้ จากประชาสัมพนั ธก์ รณีประกาศแผนอุบัติเหตหุ มู่ 2. รายงานตัวและประจาศูนย์บญั ชาการ (Command post) ณ ห้องศนู ย์พึง่ ได้ (OSCC ) ที่หนว่ ยงาน อบุ ตั เิ หตุและฉกุ เฉิน 3. จัดเตรียมและสนับสนนุ การสื่อสารตามแผนปฏบิ ตั ิการของหนว่ ยงาน

13 4. สนับสนนุ อาหารน้าดม่ื แก่ทีมต่างๆท่ปี ฏบิ ัติงาน 5. จดั บริการการแพทย์สาหรบั เจ้าหนา้ ทท่ี ่ีปฏบิ ตั งิ าน 6. จัดเตรียมสถานทที่ ี่จาเป็นในการปฏิบัตกิ าร 7. สนบั สนนุ วสั ดุ อปุ กรณ์ และเวชภณั ฑต์ ่างๆ ให้แก่ทมี ที่ปฏิบัตกิ าร 8. สนบั สนนุ ยานพาหนะในการปฏิบัติงาน 10. หัวหน้ากลุ่มภาระกิจการเงินและงบประมาณ (Finance/administration) : หัวหนา้ ฝา่ ยการเงิน และงบประมาณ หนา้ ทรี่ บั ผดิ ชอบ 1. รบั แจ้งจากประชาสัมพนั ธ์กรณีประกาศแผนอุบตั เิ หตหุ มู่ 2. รายงานตวั และประจาศูนย์บัญชาการ (Command post) ณ หอ้ งศูนย์พง่ึ ได้ (OSCC) ท่หี น่วยงานอุบัตเิ หตุและฉกุ เฉนิ 3. ควบคุมการใช้จา่ ยงบประมาณ แนวทางการเบกิ จ่ายและงานการเงนิ อ่ืนๆ 4. การจดั ซื้อจดั จ้าง 5. การเรียกเก็บคา่ ชดเชยและสินไหมตา่ งๆ 6. การเก็บรักษาและการส่งคืนทรัพย์สมบัติของผ้บู าดเจ็บ

14 กลุม่ ภาระกิจปฏิบตั กิ าร (Operation) ขอบเขตของงานและหนา้ ที่รับผดิ ชอบ 1. ผู้บังคับบญั ชาของกลุ่มภาระกจิ ปฏิบตั กิ าร (Operation) คอื Incident commander 2. ผใู้ ต้บงั คับบญั ชาของหวั หนา้ ส่วนปฏิบตั ิการ (Operation) คอื ทมี ประสานงานการรกั ษาพยาบาล แบง่ เปน็ 2 ส่วน ดงั นี้ - Pre-hospital phase - In-hospital phase 3. การปฏิบตั กิ ารส่วนนอกโรงพยาบาล (Pre-hosital Phase) - ศนู ย์นเรนทร (Narenthorn EMS Center) : - รับแจ้งเหตทุ าง 1669 - วเิ คราะห์วา่ เปน็ Mass Casualty Incident (MCI) - ศนู ย์สง่ั การรายงานสถานการณ์ Mass Casualty Incident (MCI มายังศนู ยว์ ิทยุโรงพยาบาลตะก่วั ป่า - สงั่ การปล่อยรถ ALS 1 (ภายใน 2 นาที) พร้อมอุปกรณ์เตรียมรบั อุบัตเิ หตุหมู่ตามแผนการจดั การอุบตั ิเหตหุ มู่ - รบั รายงาน METHANE จากหน่วย ALS 1 และประสานงานเป็นระยะๆ - ถ้ามจี านวนผ้บู าดเจบ็ ถงึ เกณฑท์ ตี่ ้องใช้ ALS คนั ที่ 2 ให้ปลอ่ ยรถ ALS 2 ตามแผนการ จดั การอบุ ัตเิ หตุหมู่ - ประสานหนว่ ยงานอนื่ ๆ ได้แก่ โรงพยาบาลชุมชนใกล้เคียง โรงพยาบาลเอกชน เป็นตน้ เพอื่ สอบถาม Surge capacity และขอความช่วยเหลอื ออกเหตุร่วม และประสานกบั หนว่ ยงาน ป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั , มลู นธิ ิต่างๆ, ตารวจและหนว่ ยงานดับเพลงิ (ซ่ึงขึน้ อยกู่ ับสถานการณ์ น้ันๆ) - ประสานงานกบั ทีม ALS1, ALS2 และทมี ปฏิบัติการร่วมจากรพช.อ่ืนๆ เพ่ือรายงาน สถานการณ์ และร้องขอ สนับสนนุ ทรพั ยากรเพิ่มตามความเหมาะสม

15 แผนการจัดการอุบตั ิเหตุหมู่ การปฏบิ ัติการส่วนนอกโรงพยาบาล (Pre-hosital Phase) อุบตั ิเหตุ ผู้บาดเจ็บ จาํ นวน 10-20 คน แผนฉุกเฉิน 1 หน่วยรถพยาบาล Ambulance คนั ที่ 1 (ALS 1) : จาํ นวน 10-20 คน บุคคลากร จานวน หน้าท่ี 1. แพทย์ EP / แพทย์เวร ER 1 Field medical commander 2. พยาบาล ER 2 Laison / Treatment 2. เวชกจิ ฉุกเฉนิ ระดบั กลาง (AEMT) 1 Triage/Treatment 3.พนักงานเปล 1 Communication/Loading 4.พนกั งานขับรถ 1 Lift & Move อปุ กรณร์ ักษาพยาบาล (เพมิ่ เตมิ จากอุปกรณ์หลักใน ALS 1) - Mobile BP monitoring 1 เครอ่ื ง อุปกรณ์ MCI 6 เสอ้ื แสดงตาแหน่งหน้าที่ (แจกก่อนออกรถ) 1 - แพทย์ EP / แพทย์เวร ER : Field medical commander 1 - RN 1 : Liaison 1 - RN 2 : Treatment 1 - AEMT : Loading 1 - พนักงานเปล : เส้อื ขาวแดง นเรนทร 1 - พนกั งานขับรถ : เสอื้ ขาวแดง นเรนทร 1 - กลอ่ ง Triage EMS (ผา้ ยาง 4 สี, Triage Tag, หมวก) 3 - วทิ ยสุ อ่ื สาร (Field medical commander, Treatment, Loading)

16 หนา้ ท่ี - ทุกคนต้องมารายงานตวั ณ หอ้ งศูนย์สัง่ การ เพ่ือลงทะเบียนและรับเส้อื พรอ้ มเตรียมอุปกรณ์ เสริมอย่างเร่งดว่ น ภายใน เวลา 2 นาที และ Start time ภายใน 3 นาที บคุ คลากร หนา้ ที่ 1. แพทย์ EP / แพทย์เวร ER - เป็นผู้บัญชาการดา้ นการรกั ษาพยาบาล (Field medical commander) - รายงานตัวกับ Incident commander ณ จดุ เกิดเหตุ - มอบหมายหนา้ ที่ของแต่ละฝ่าย - ดแู ลการปฏบิ ัติงานของแต่ละฝา่ ย และจัดตง้ั จุด Triage (collecting area), Treatment area (Red / Yellow / Green & Black zone), Parking area (EMR ดูแล), Loading area) - สรุปขอ้ มูลสถานการณแ์ ละผู้บาดเจ็บหลงั ทาการ transfer ผูบ้ าดเจ็บครบ ทงั้ หมด - สรปุ รายงานสถานการณ์กับ Incident commander - ตรวจสอบทีมปฏบิ ตั กิ ารและความปลอดภยั ของทมี 2. พยาบาล ER (-RN1) - รายงานตัวกับ Incident commander ณ จดุ เกดิ เหตุ - มอบหมายหนา้ ที่ของแตล่ ะฝ่าย - ดแู ลการปฏิบัติงานของแตล่ ะฝ่าย และจดั ตัง้ จุด Parking (ดาเนินงานโดย EMR), Loading - รายงานสถานการณ์กับศนู ย์สง่ั การตามหลัก (METHANE) และพิจารณาขอความ ช่วยเหลือสนบั สนนุ เพมิ่ เตมิ (อาจจะมอบหมายให้ AEMT รายงานและประสานแทนได้) - สรปุ ข้อมูลสถานการณแ์ ละผู้บาดเจบ็ หลังทาการ transfer ผู้บาดเจบ็ ครบทง้ั หมด - สรุปรายงานสถานการณ์กบั Incident commander - ตรวจสอบทมี ปฏบิ ตั กิ ารและความปลอดภยั ของทมี 3. เวชกิจฉุกเฉินระดับกลาง - คดั แยกผบู้ าดเจ็บ ณ จุดเกดิ เหตุ (Triage sieve) (AEMT) - หลงั Triage sieve เสรจ็ ส้ิน ใหม้ ารายงานข้อมลู แก่ Field medical commander ทราบ และยา้ ยไปประจาจุด treatment สามารถใหก้ ารรักษา พยาบาลผบู้ าดเจบ็ ไดต้ ามศักยภาพท่ีมี - Triage Sort กอ่ น Loading - หากมีปัญหา ณ จุดเกิดเหตุ ให้รายงานกลบั มาที่ Field medical commander

บุคคลากร 17 4. พยาบาล ER (RN2) หน้าที่ 5. พนกั งานเปล - ประจาจดุ Treatment - ประสานศนู ย์ส่งั การเพ่อื ขอกาลงั สนบั สนุนเพ่มิ เติมตามความเหมาะสม 6. พนักงานขับรถ - ทาหน้าที่ Loading : ประสานรถพยาบาลท่เี หมาะสมกับผบู้ าดเจ็บ แตล่ ะประเภท (ตามใบTriage Tag) เพ่ือนาส่งรพ.ท่ีเหมาะสม - ยังคงประจาจุด Treatment & Loading เพ่ือประสานงานตอ่ เนอื่ ง (กรณรี ถ ALS 1 transfer ผู้บาดเจบ็ ไปยงั รพ.) - หากมีปัญหา ณ จดุ เกิดเหตุ ให้รายงานกลบั มาท่ี Field medical commander - ปูผ้ายางแยก Zon (สีแดง เหลอื ง เขียว ดา) ตามคาสัง่ ของ Field medical commander - ประจาจดุ Treatment - ช่วยจัดเตรยี มอุปกรณแ์ ละใหก้ ารช่วยเหลือเบือ้ งตน้ แก่ผบู้ าดเจบ็ เช่น collar, spinal board, อปุ กรณ์ pressure dressing, splint - ช่วยยกเคลอ่ื นย้ายผบู้ าดเจ็บขึน้ รถพยาบาล - จอดรถ ณ. จดุ ทเ่ี หมาะสมและปลอดภัย เพื่อนาทีมลงไปประเมนิ สถานการณ์ (30 ม.) - เคลอ่ื นรถมาจอด ณ. จุด Loading และกลบั รถพยาบาล โดยใหห้ วั รถเตรยี ม เคลือ่ นท่ีออกจากจุดเกิดเหตุ เพ่ือให้สะดวกในการ transfer ผบู้ าดเจ็บไปยังรพ. - ช่วยยกเคลอ่ื นย้ายผู้บาดเจ็บขนึ้ รถพยาบาล - นาสง่ ผูบ้ าดเจ็บไปยงั รพ. - หลัง ALS 1 นาส่งผู้บาดเจบ็ เสร็จสนิ้ ให้รถ ALS 1 กลบั ไปยังจุดเกดิ เหตุ เพื่อรับ EMT-I และพนกั งานเปลกลบั รพ. (กรณที ่ียังคงมีทมี เหลืออยู่ ณ จุดเกดิ เหตุ) ** กรณี Transfer ผูป้ ว่ ย ** - ALS 1 : RN และ AEMT transfer ผบู้ าดเจบ็ กลับรพ. - On scene care : AEMT (ศูนย์สัง่ การ) และ พนักงานเปล (ER) ดแู ลผ้บู าดเจบ็ และรอประสาน ALS/BLS/FR ทมี อ่นื สนบั สนุนตามความเหมาะสม

18 หน่วยรถพยาบาล Ambulance คนั ที่ 2 (ALS 2) บุคคลากร จานวน หน้าที่ 1. แพทยเ์ วร ER (Intern) 1 Treatment 2. พยาบาลเวร Refer Day (ในเวลาราชการ) 2 Treatment / Lift & Move พยาบาลตึกผปู้ ว่ ยใน (นอกเวลาราชการ) **ภายใต้การบริหารจดั การของเวรตรวจการ** 3. พนักงานเปล 1 Lift & Move 4.พนักงานขับรถ 1 Lift & Move อปุ กรณร์ กั ษาพยาบาล (เพิ่มเตมิ ) 1 - Mobile BP monitoring 1 - กระเปา๋ ALS 2 1 - กระเป๋าทาแผล 2 1 - ชุดยา Emergency - อุปกรณ์การดาม - อปุ กรณเ์ คล่ือนย้าย อปุ กรณ์ MCI - ไม่มี หนา้ ท่ี - ทุกคนต้องมารายงานตัว ณ ห้องศนู ยส์ ง่ั การ เพ่ือลงทะเบียนและรับเส้อื พรอ้ มเตรยี มอุปกรณ์ เสรมิ อย่างเร่งดว่ น ภายในเวลา 2 นาที และ Start time ภายใน 3 นาที

19 - Ambulance คนั ที่ 2 (ALS 2) - สนบั สนนุ ALS 1 ทัง้ อุปกรณ์และกาลงั คน - Loading ผู้บาดเจ็บนาสง่ รพ. บุคคลากร หนา้ ที่ 1. แพทยเ์ วร ER - ดูแลรักษาพยาบาลผูบ้ าดเจ็บ 2. พยาบาลเวร Refer Day (ในเวลาราชการ) - นาอปุ กรณ์สนับสนนุ ลงไปใหจ้ ดุ treatment พยาบาลตกึ ผปู้ ว่ ยใน (นอกเวลาราชการ) 3. พนักงานเปล - ประจาจุด treatment เพื่อชว่ ยดูแลผ้ปู ่วย 4. พนักงานขบั รถ - ช่วยจดั เตรยี มอปุ กรณ์และให้การช่วยเหลอื เบ้ืองต้นแกผ่ ู้บาดเจ็บ ระหวา่ ง transfer - ช่วยยกเคล่อื นย้ายผบู้ าดเจบ็ ขน้ึ รถพยาบาล และนาส่งผู้บาดเจบ็ ไป กบั รถ ALS 2 - จอดรถ ณ จุด parking เพ่ือรอจุด Loading (AEMT) ประสานใหม้ า Load ผ้บู าดเจบ็ - ชว่ ยยกเคล่ือนยา้ ยผู้บาดเจ็บขึน้ รถพยาบาล - นาส่งผู้บาดเจ็บไปยงั รพ. ** กรณี Transfer ผูป้ ว่ ย ** - ALS 2 : RN 1 และ พนกั งานเปล transfer ผูบ้ าดเจ็บกลบั รพ. - On scene care : RN 2 ดูแลผู้บาดเจบ็ ณ จดุ เกิดเหตุ

20 อบุ ัตเิ หตหุ มู่ ผบู้ าดเจ็บ จํานวนมากกวา่ 21 คน เปน็ ตน้ ไป ( แผนฉกุ เฉิน 2 และ 3) หน่วยรถพยาบาล Ambulance คันท่ี 1 (ALS 1) : จาํ นวน 7 คน บุคคลากร จานวน หนา้ ที่ 1. แพทย์ EP 1 Field medical commander 2. แพทยเ์ วร ER 1 Treatment 3. พยาบาล ER ; RN1 2 Laison พยาบาล ER ; RN 2 Triage / Treatment 4. เวชกจิ ฉุกเฉินระดบั กลาง (EMT-I) 1 Triage/Loading 5.พนกั งานเปล (เวรเปล /EMT-B ) 1 Lift & Move 6.พนกั งานขบั รถ 1 Lift & Move อปุ กรณ์รักษาพยาบาล (เพม่ิ เติมจากอุปกรณห์ ลักใน ALS 1) - Mobile BP moniotoring 1 เครื่อง - NSS, Set IV 10 set (บรรจุในกระเป๋า/กล่อง) อุปกรณ์ MCI (เพมิ่ เตมิ จากอุปกรณห์ ลักใน ALS 1) เสอ้ื แสดงตาแหน่งหน้าท่ี (แจกก่อนออกรถ) 7 ตัว - แพทย์ : Field medical commander 1 - แพทย์ : Treatment 1 - พยาบาล ER (RN1) : Triage/Communication 1 - พยาบาล ER (RN2) : Treatment 1 - AEMT : Loading 1 - พนักงานเปล (ER) : เสือ้ ขาวแดง นเรนทร 1 - พนกั งานขบั รถ : เสือ้ ขาวแดง นเรนทร 1 กลอ่ ง Triage EMS (ผา้ ยาง 4 สี, Triage Tag, หมวก) 1 วทิ ยสุ อื่ สาร (Field medical commander, communication, Treatment (RN1), Loading)

21 หนา้ ท่ี - ทุกคนต้องมารายงานตัว ณ หอ้ งศนู ยส์ ่งั การ เพื่อลงทะเบียนและรับเสือ้ พรอ้ มเตรียมอุปกรณ์ เสริมอย่างเร่งด่วน ภายใน เวลา 2 นาที และ Start time นอ้ ยกว่าหรือเท่ากับ 3 นาที บุคคลากร หนา้ ที่ 1. แพทย์เวร EP / Intern - เปน็ ผบู้ ัญชาการด้านการรกั ษาพยาบาล (Field medical commander) - รายงานตัวกบั Incident commander ณ จุดเกิดเหตุ 2. แพทย์เวร ER (Intern) - มอบหมายหนา้ ท่ีของแต่ละฝ่าย 2. พยาบาล ER (RN1) - ดแู ลการปฏิบตั งิ านของแต่ละฝา่ ย และจัดต้งั จุด Triage (collecting area), Treatment area (Red / Yellow / Green & Black zone), Parking area (FR ดูแล), Loading area) - สรปุ ข้อมลู สถานการณ์และผ้บู าดเจ็บหลังทาการ transfer ผู้บาดเจ็บครบท้ังหมด - สรปุ รายงานสถานการณ์กับ Incident commander - ตรวจสอบทีมปฏิบตั กิ ารและความปลอดภัยของทีม - ประจาจุด Treatment (Red zone) พร้อมเตรียมอุปกรณ์และให้การรักษาแก่ แก่ผู้บาดเจบ็ - Triage Sort ก่อน Loading และใหพ้ ยาบาลจดุ treatment ประสานจดุ Loading เพอ่ื เตรียมนาผู้บาดเจบ็ สง่ รพ.ตามความเร่งดว่ น - ทาหนา้ ที่เป็น communicator ประจาตาแหนง่ เลขาของ Field medical commander เพื่อทาหน้าที่ประสานงานกบั หน่วยงานอืน่ ๆ - รายงานสถานการณ์กบั ศูนย์สัง่ การตามหลัก (METHANE) - ประสานศนู ย์สง่ั การเพ่ือขอกาลงั สนบั สนนุ เพิ่มเตมิ ตามความเหมาะสม - บันทึกข้อมลู สถานการณแ์ ละรายงานแก่ Incident commander - ใหก้ ารรักษาพยาบาลแก่ผู้บาดเจ็บ Red zone ก่อน ตามลาดบั ความเรง่ ด่วน - หากมปี ญั หา ณ จุดเกิดเหตุ ใหร้ ายงานกลบั มาที่ Field medical commander

22 บคุ คลากร หนา้ ที่ 3. พยาบาล ER (RN2) - ประจาจดุ Treatment (Red zone) พร้อมเตรียมอุปกรณแ์ ละให้การรกั ษาแก่ผบู้ าดเจ็บ - Triage Sort ก่อน Loading และประสานจุด Loadingเพื่อเตรียมนาผู้บาดเจ็บสง่ รพ. - ประสานกับจุด Loading เพ่ือทาการ trasfer ผู้บาดเจบ็ สแี ดงเคสแรก ไปยงั รพ.ตะกว่ั ป่า - นาส่งผู้บาดเจ็บโดยใชร้ ถ ALS 1 (มีพนักงานเปลไปด้วย) 4. เวชกจิ ฉุกเฉินระดับกลาง - คดั แยกผู้บาดเจบ็ ณ จุดเกิดเหตุ (Triage sieve) (EMT-I ) - หลงั Triage sieve เสร็จสิน้ ให้ประจาจดุ Loading เพ่ือประสานรถพยาบาล ทเี่ หมาะสมกบั ผ้บู าดเจ็บแต่ละประเภท (ตามใบ Triage Tag) เพ่ือนาส่งรพ.ท่เี หมาะสม - หากมปี ญั หา ณ จุดเกิดเหตุ ใหร้ ายงานกลบั มาที่ Field medical commander 5. พนกั งานเปล - ปผู ้ายางแยก zone (สีแดง, สเี หลือง, สีเขยี ว, สีดา) ตามคาสง่ั ของ Field medical commander - ประจาจดุ Treatment - ชว่ ยจัดเตรยี มอปุ กรณ์และใหก้ ารช่วยเหลือเบอื้ งตน้ แก่ผู้บาดเจบ็ เชน่ collar, spinal board,อปุ กรณ์ pressure dressing, splint - ชว่ ยยกเคลอื่ นย้ายผูบ้ าดเจ็บข้ึนรถพยาบาล - นาสง่ ผบู้ าดเจบ็ โดยใช้รถ ALS 1 พร้อม RN 2 6. พนักงานขบั รถ - จอดรถ ณ จดุ ที่เหมาะสมและปลอดภัย เพ่ือนาทีมลงไปประเมินสถานการณ์ (30 ม.) - เคลือ่ นรถมาจอด ณ จดุ Parking เพื่อเตรียมมา Loading ผบู้ าดเจบ็ เม่ือมีการ รอ้ งขอรถ ALS - ช่วยยกเคล่อื นย้ายผ้บู าดเจบ็ ขน้ึ รถพยาบาล - นาส่งผู้บาดเจบ็ ไปยังรพ. - หลงั ALS 1 นาส่งผ้บู าดเจ็บเสร็จสิ้น ให้รถ ALS 1 กลบั ไปยงั จุดเกิดเหตุ เพือ่ รบั ผู้บาดเจ็บ ราย ตอ่ ไป หรอื กรณีที่เคล่ือนยา้ ยผู้บาดเจบ็ ส่งรพ.หมดแล้ว ให้ ALS1 กลบั มารับทีมทเี่ หลอื ณ จดุ เกิดเหตุ ** กรณี Transfer ผปู้ ่วย ** - ALS 1 : RN 2 และ พนักงานเปล (ER) transfer ผ้บู าดเจ็บกลับรพ. - On scene care : แพทยป์ ระจาER, RN1, EMT-I และ EMT-B (ER) ดูแลผู้บาดเจ็บและรอประสาน ALS/BLS/FR ทมี อน่ื สนับสนนุ ตามความเหมาะสม

23 หน่วยรถพยาบาล Ambulance คันที่ 2 และ 3 (ALS 2,3) : จํานวน 5 คน บุคคลากร จานวน หน้าท่ี 1. แพทยเ์ วร ER 1 Treatment 2. พยาบาลเวร Refer Day (ในเวลาราชการ) 2 Treatment / Lift & Move พยาบาลตึกผูป้ ่วยใน (นอกเวลาราชการ) **ภายใต้การบริหารจัดการของเวรตรวจการ** 3. พนกั งานเปล (ER) 1 Lift & Move 4.พนักงานขบั รถ 1 Lift & Move อุปกรณ์รักษาพยาบาล (เพิม่ เตมิ จากอปุ กรณ์หลกั ใน ALS 2,3) - กระเปา๋ ALS 2,3 1 - กระเป๋าทาแผล 2,3 1 - กล่องยา CPR Box 1 - ชดุ อุปกรณ์การดาม - ชดุ อปุ กรณเ์ คลื่อนย้าย อุปกรณ์ MCI เสอ้ื แสดงตาแหน่งหนา้ ที่ (แจกก่อนออกรถ) 4 - แพทยเ์ วร ER : Treatment 1 - RN – Refer Day 1/ Refer Day 2/ พยาบาลจากผู้ปว่ ยใน : Treatment 1 - พนกั งานเปล (ER) : เสือ้ ขาวแดง นเรนทร 1 - พนักงานขบั รถ : เสือ้ ขาวแดง นเรนทร 1 วทิ ยุส่ือสาร (แพทยเ์ วร ER) 1 หน้าที่ - ทกุ คนต้องมารายงานตัวท่ี ER เพ่ือลงทะเบยี นและรบั เส้ืออยา่ งเร่งด่วน Starttime (ระยะเวลาท่รี ถ ALS 2 ออกรถจากศนู ยส์ ่ังการ หลังจากวนรถรอบรพ.ครบ 2 รอบ) น้อยกว่าหรอื เทา่ กับ 10 นาที - ALS คันท่ี 2,3 : สนบั สนุน ALS 1 ท้ังอปุ กรณ์และกาลังคน : Loading ผู้บาดเจบ็ นาสง่ รพ.

24 บุคคลากร หนา้ ท่ี 1. พยาบาลเวรส่งต่อ คนั ท่ี 2 - ประจาจุด treatment (Red zone / yellow zone) ซง่ึ มแี พทย์ ER, พยาบาล (RN-Refer Day 1) ในเวลาราชการ RN1 อยู่ก่อนแลว้ ใหแ้ ยกกันดูแลผูบ้ าดเจบ็ / พยาบาลผู้ปว่ ยใน ; นอกเวลา - เม่ือทาการดูแลรกั ษาเสรจ็ สิน้ ให้ Triage sort อีกครงั้ และวทิ ยุส่ือสารประสาน ราชการ **ภายใตก้ ารบริหาร Loading เพอ่ื ขอรถนาผู้บาดเจ็บส่งรพ. จดั การของเวรตรวจการ - กรณดี แู ลผ้บู าดเจบ็ Red zone หมดทกุ คนแลว้ รอคาสงั่ จากแพทย์ EPหรือ แพทย์ เวร ER ให้RN-Refer Day 1 ย้ายไปประจาและดูแล รกั ษาพยาบาลท่ี Yellow zone ตามความเหมาะสม - หากมีปัญหา ณ จดุ เกิดเหตุ ให้รายงานกลบั มาท่ี Field medical commander 2. พยาบาลเวรส่งต่อ คนั ท่ี 3 - ไม่ต้อง ประจาจุด treatment (RN-Refer Day 2) ในเวลาราชการ - รอจุด Loading รอ้ งขอเพื่อทาการ trasfer ผู้บาดเจ็บสแี ดง ไปยังรพ.ตะก่วั ป่า โดย /นอกเวลาราชการ; พยาบาลผูป้ ว่ ย ใช้รถ ALS 2 (ปฏิบัติการพรอ้ มพนกั งานเปล) ใน **ภายใต้การบรหิ ารจัดการของ - กรณี transfer ผู้บาดเจบ็ สแี ดงหมดแล้ว ให้ transfer เคสสเี หลือง เป็นลาดบั ถัดไป เวรตรวจการ 3. พนักงานเปล (ER) - ช่วยนาอปุ กรณ์สนับสนุนลงไป ณ จดุ เกดิ เหตุ - ช่วยยกเคลื่อนยา้ ยผูบ้ าดเจ็บข้นึ รถพยาบาล ALS 2 /3 - นาส่งและดูแลผบู้ าดเจบ็ โดยใช้รถ ALS 2/3 ปฏิบัตกิ ารพร้อม RN-Refer พนักงาน ขับรถ - จอดรถ ณ จดุ Loading เพื่อนาทมี และอปุ กรณ์สนบั สนุนลง จากนนั้ ใหร้ อ Loading ผู้บาดเจ็บสแี ดงเพื่อนาสง่ ผู้บาดเจ็บไปยังรพ. - ชว่ ยยกเคลือ่ นยา้ ยผู้บาดเจบ็ ขึ้นรถพยาบาล - หลัง ALS 2 / 3 นาส่งผู้บาดเจ็บเสร็จสิ้น ใหร้ ถ ALS 2 / 3 กลับไปยงั จุดเกดิ เหตุ ณ จุด parking เพ่อื รอประสานจาก Loading ต่อไป ** กรณี Transfer ผปู้ ว่ ย ** - ALS 2 / 3 : RN-Refer Day / พยาบาลจากผู้ป่วยใน และ พนกั งานเปล (ER) transfer ผู้บาดเจบ็ กลบั รพ. - On scene care : แพทยเ์ วร ER , RN-Refer Day 1 ดูแลผบู้ าดเจบ็

25 4. การปฏบิ ัติการสว่ นในโรงพยาบาล (In-hospital Phase) 4.1จดุ คัดกรอง -สถานที่ : หนา้ ศูนย์เปล ER - ผู้กากบั โซน : หัวหน้างานผปู้ ่วยนอก / พยาบาลวชิ าชีพ ER อุปกรณ์ บุคลากร หน้าท่ี 1. บตั รประจาตวั ในเวลา นอกเวลา - หลังทราบการประกาศแผน ผูป้ ่วย อุบัตเิ หตุหมูใ่ หส้ ง่ ตวั แทนไปรายงาน 2. วทิ ยมุ ือถือ 1 .1แพทย์ Internศัลยกรรม 1.แพทย์ Intern ตวั ณ จุดรายงานตวั 1 คน พรอ้ มรับ เคร่ือง ปา้ ยประจาตาแหน่ง 3. รถนัง่ ,รถนอน 2.แพทย์หวั หน้ากลุ่ม ศลั ยกรรม - รบั วิทยสุ ื่อสาร 1 เคร่อื ง และมอบให้ 4. เครอื่ งวดั ความดนั หัวหนา้ เวรห้องฉกุ เฉิน พกประจาตัวไว้ โลหติ งานเวชกรรมสังคม 2. พยาบาลเวรตรวจการ - กรณมี ี triage tag จากจุดเกิดเหตุ 5. Stethoscope (แพทย์ ENT) 3. พยาบาลคดั กรอง สีแดง : ไม่ตอ้ งคัดกรอง ให้ส่งผ้ปู ว่ ย เขา้ ER ทันที 3.พยาบาลวชิ าชีพ ER 4. เจา้ หนา้ ทเี่ วชระเบยี น สีเหลอื ง : คัดกรองผ้ปู ่วยก่อนเขา้ โซน 4.พยาบาล OPD 5. พนักงานเปล สเี หลืองในห้องฉุกเฉนิ (Triage SORT) ศลั ยกรรม สีเขียว : ไมต่ อ้ งทาการคัดกรอง นาสง่ โซนสเี ขยี วได้ 5.เจา้ หนา้ ที่เวชระเบียน - กรณไี ม่มี triage tag จากจุดเกิดเหตุ : ใหท้ าการ triage SORT ก่อนนาส่ง ER 6. พนักงานเปล - หลังจากทาการคัดกรองผปู้ ่วย เรยี บร้อยแล้วให้ RN (ER) เข้าไปชว่ ยปฏิบัติงานในโซนแดง

26 จุดรักษา ตามประเภทผ้บู าดเจ็บ โดยบ่งความรุนแรงเป็ น 4 ระดับ โดยกาหนดโซนสี ดังนี้ 4.2 Resuscitation area (โซนผปู้ ่วยฉกุ เฉินวิกฤติ / โซนแดง) - สถานที่ : ในห้องฉุกเฉินโซนเเดง Zone C - ผู้กากบั โซน : หวั หนา้ หอผูป้ ว่ ยหนัก / หัวหน้าเวร ER - ผูก้ าํ กับโซนแดง - หลังทราบการประกาศแผนอบุ ตั เิ หตุหมู่ให้ไปรายงานตัว ณ จดุ รายงานตัวพร้อมรับปา้ ยประจาตาแหนง่ - ผู้กากบั โซนแดงรับวทิ ยุส่ือสาร 1 เครื่อง - รบั รายงานและแก้ไขปัญหาตา่ งๆ จากพยาบาลประจาโซน - รายงานปญั หาที่ไม่สามารถแกไ้ ขได้ไปยัง Operation section chief - รอฟงั คาสงั่ จาก Operation section chief เพยี งคนเดยี วเท่านนั้ อุปกรณ์ บคุ ลากร หนา้ ที่ 1. รถ Emergency ในเวลา นอกเวลา - รายงานตวั ณ จุดรายงานตวั (ศาลา 2. อุปกรณใ์ ห้สารนา้ , อเนกประสงค์ขา้ ง ER) พรอ้ มรบั ปา้ ย สารนา้ 1.ศัลยแพทย์ 1.แพทยเ์ วรใน ประจาตาแหน่ง 3.เคร่ืองมือทาหัตถ - รบั ผูป้ ว่ ย ประเมิน คัดแยกผู้ป่วย, ซกั การฉกุ เฉนิ ตา่ งๆ 2.อายุรแพทย์ ศลั ยกรรม / Intern ประวัต,ิ บนั ทึกอาการ, บนั ทึกบาดแผล 4. เคร่อื งวดั ความดัน - ใหก้ ารรักษาพยาบาล โลหิต, หฟู งั ไฟฉาย 3.แพทยศ์ ัลยกรรม ศัลยกรรม - ประเมนิ สภาพผปู้ ว่ ย โดยวดั V/S, N/S 5. ,Detarillator เป็นระยะ ลงบันทึก EKG กระดูก 2.แพทยเ์ วรใน - ประสานงาน หอผปู้ ว่ ย, Admit, OR, 6. อุปกรณ์ให้ ICU, Refer, X-ray, Labs ออกซเิ จน 4.พยาบาล ER อายรุ กรรม / Intern - ประสานงานกับสทิ ธิบัตรกรณตี อ้ ง 7. ยาฉุกเฉนิ ต่าง ๆ ส่งต่อไปนอก รพ. 8. เสอื้ ผา้ ผปู้ ่วย 5.พยาบาลอายุรกรรม อายรุ กรรม - ตรวจสอบบนั ทึกทางการรักษา, พยาบาล 9. ถงุ พลาสติกเก็บ ก่อนการส่งตอ่ ทั้งในและนอก รพ. ทรพั ย์สินผปู้ ่วย 6.วิสัญญพี ยาบาล 3.แพทยเ์ วรศลั ยกรรม - บันทกึ บาดแผล 10. ใบบนั ทึก IS - บันทกึ ใบเฝา้ ระวงั การบาดเจ็บ (IS) 11. กล้องถ่ายรปู 7.พยาบาล OR กระดูก / Intern - เก็บรกั ษาทรัพยส์ ินผปู้ ่วยโดยเจ้าหนา้ ที่ เกบ็ ทรัพย์สิน (ฝ่ายการเงนิ )ประจาโซนแดง 8.พยาบาลศลั ยกรรม ศัลยกรรมกระดูก 9.พยาบาล ICU 4.พยาบาล ER 10.เจา้ หน้าที่ 5.พยาบาลอายรุ กรรม เวชระเบยี น 6.วิสญั ญีพยาบาล 11.เจ้าหน้าที่การเงิน 7.พยาบาล OR 8.พยาบาลศัลยกรรม 9.พยาบาล ICU 10.เจ้าหน้าที่ เวชระเบียน 11.เจ้าหนา้ ท่กี ารเงนิ

27 อปุ กรณ์ บุคลากร หน้าท่ี ในเวลา นอกเวลา - ตรวจสอบบันทกึ การรักษากอ่ นจาหนา่ ย จากห้องฉกุ เฉิน - ให้คาแนะนากอ่ นจาหนา่ ย - ตดิ ตาม ดแู ลขณะเคล่ือนย้าย ผูป้ ว่ ยตามความจาเป็น - รายงานผู้กากบั โซนแดง ในกรณที ีม่ ีปัญหา (ผบู้ ังคบั บัญชาเพยี งคนเดียวเทา่ น้ัน) หมายเหตุ : - พยาบาลหัวหน้าเวร (Inchart) หน้าที่ และหากทมี สนบั สนนุ มีข้อสงสยั ให้แนะนารายละเอยี ด เกี่ยวกับตาแหน่ง สงิ่ ของ การประสานงานแผนกอืน่ ๆ ได้แก่ ห้องผา่ ตดั ห้องเลอื ด หอ้ งตรวจทางห้องปฏิบัติการ หอ้ งเอกซเรย์ หอผ้ปู ว่ ยเป็นต้น เป็น ตน้ (แตท่ ้ังน้ีทมี ท่ีมาปฏิบตั ิการ ณ โซนแดงควรจะทราบ ระบบงานอยู่ก่อนแลว้ เพ่ือความสะดวก รวดเร็วในการปฏบิ ัติหนา้ ทีเ่ พื่อ ตอบสนองตอ่ สถานการณ์อุบัติเหตหุ มู่) 4.3 Urgent area (โซนผู้ป่วยเรง่ ด่วน / โซนเหลอื ง) - สถานที่ : ในห้องฉุกเฉนิ โซนเหลอื ง Zone B - ผรู้ ับผดิ ชอบโซน : หวั หน้าหอผู้ป่วยศัลยกรรม - ผกู้ ํากบั โซนเหลือง - หลังทราบการประกาศแผนอุบตั เิ หตหุ มใู่ ห้ไปรายงานตวั ณ จุดรายงานตวั พร้อมรับป้ายประจาตาแหนง่ - ผกู้ ากับโซนเหลอื งรับวทิ ยสุ ื่อสาร 1 เคร่อื ง - รบั รายงานและแก้ไขปัญหาตา่ งๆ จากพยาบาลประจาโซน - รายงานปญั หาท่ีไมส่ ามารถแกไ้ ขได้ไปยงั Operation section chief - รอฟังคาสัง่ จาก Operation section chiefเพยี งคนเดยี วเทา่ น้นั อปุ กรณ์ บุคลากร หนา้ ที่ 1. รถทาแผล ในเวลา นอกเวลา 1. รบั ผ้ปู ่วย คดั แยกผูป้ ว่ ย 2. ชุดทาแผล ซักประวตั ิ, บันทึกอาการ-บาดแผล 10-20 ชดุ & 1. สตู ิ-นรแี พทย์ .1แพทย์เวรใน สูติ-นรเี วช 2. ให้การรกั ษาพยาบาล อปุ กรณ์ทาแผล 3. บนั ทกึ V/S, N/S 2.แพทย์ Intern สตู ิ/นรีเวช .2แพทย์ Intern สูตินรเี วช/ 3.จติ แพทย์ 3.จติ แพทย์ 4.แพทย์ศัลยกรรมกระดูก 4.แพทย์เวรศลั ยกรรมกระดกู 5. แพทย์ ENT 5. แพทย์เวร ENT

อุปกรณ์ บคุ ลากร 28 ในเวลา นอกเวลา หน้าที่ 3. อปุ กรณ์การดาม 6.ศัลยแพทย์ 6.พยาบาลตกึ พิเศษประชา 4.ให้คาแนะนาผปู้ ่วยและญาติก่อน จาหน่าย 4. นา้ เกลือและ 7.พยาบาลตกึ พเิ ศษประชา 7.พยาบาลสูตกิ รรม 5. บันทึกใบเฝา้ ระวังการบาดเจ็บ (IS) 6.ตดิ ตามดูแลขณะเคล่อื นย้ายไป อุปกรณ์ให้ IV 8.พยาบาลสตู กิ รรม 8.พยาบาลพเิ ศษช้นั 5 หอผปู้ ่วยตามความจาเป็น 5. ใบบนั ทกึ IS 9.พยาบาลพิเศษชน้ั 5 9.เจา้ หนา้ ท่ีเวชระเบยี น 10.เจ้าหน้าทเ่ี วชระเบยี น 4.4 Non- urgent area (โซนผูป้ ว่ ยฉกุ เฉนิ ไม่รนุ แรง/ โซนเขียว) - สถานท่ี : หนา้ หอ้ งทันตกรรม - ผู้กากับโซน : หัวหน้าหอผ้ปู ่วยสูติ-นรีเวชกรรม - ผู้กาํ กับโซนเขียว - หลังทราบการประกาศแผนอุบัตเิ หตุหมู่ให้ไปรายงานตวั ณ จดุ รายงานตัวพร้อมรับปา้ ยประจาตาแหน่ง - ผู้กากับโซนเขียวรับวทิ ยุส่อื สาร 1 เครอื่ ง - รับรายงานและแก้ไขปัญหาต่างๆ จากพยาบาลประจาโซน - รายงานปัญหาท่ีไมส่ ามารถแกไ้ ขได้ไปยัง Operation section chief - รอฟงั คาสั่งจาก Operation section chief เพียงคนเดยี วเท่านนั้ อุปกรณ์ บุคลากร หน้าที่ ในเวลา นอกเวลา 1. รถทาแผล 1. กมุ ารแพทย์ 1.แพทย์เวรใน เด็ก 1. รบั ผูป้ ่วย,คัดแยกผปู้ ว่ ย, ตรวจ 2. ชดุ ทาแผล 2. จักษแุ พทย์ 2.แพทย์ Intern เด็ก ประเมนิ สภาพผู้ป่วย,บันทกึ 10-20 ชดุ 3. ทนั ตแพทย์และ 3. แพทย์เวรในจกั ษุ ประวัตอิ าการบาดแผล 3. อปุ กรณ์การดาม ผู้ช่วยทนั ตแพทย์ 4.พยาบาลตึกเด็ก 2. ใหก้ ารรักษาพยาบาล 4. ใบบนั ทึก IS 4. พยาบาล ER 5.พยาบาลพเิ ศษสงฆ์ 3. ให้คาแนะนาผปู้ ว่ ยก่อนจาหน่าย 5. พยาบาล OPD 6.เจ้าหน้าที่เวชระเบยี น 4. บนั ทกึ ใบเฝา้ ระวงั การบาดเจบ็ (IS) 6. พยาบาล OPD ENT 7. พยาบาลจิตเวช 8.พยาบาลพเิ ศษสงฆ์ 9.พยาบาลตึกเด็ก 10.นักสังคมสงเคราะห์ 11.เจา้ หนา้ ทีเ่ วชระเบยี น - รายงานผกู้ ากบั โซนเขียว (ผู้บงั คับบัญชาเพียงคนเดยี วเท่านน้ั ) ในกรณีทมี่ ปี ญั หา - แยกย้ายกลบั เม่ือประกาศยุตแิ ผนอุบตั ิเหตุหมู่เท่านัน้

29 4.5 Moribund area (โซนผู้ปว่ ยเสียชีวติ ) - สถานที่ : หอ้ งเกบ็ ศพ - ผกู้ ากับโซน : หวั หน้างานเวชกรรมสงั คม - ผูก้ าํ กบั โซนดาํ - หลังทราบการประกาศแผนอบุ ัติเหตุหมใู่ ห้ไปรายงานตวั ณ จดุ รายงานตวั พร้อมรบั ป้ายประจาตาแหนง่ - ผ้กู ากบั โซนดารับวิทยุสื่อสาร 1 เครอ่ื ง - รับรายงานและแก้ไขปัญหาตา่ งๆ จากพยาบาลประจาโซน - รายงานปัญหาท่ไี มส่ ามารถแกไ้ ขได้ไปยงั Operation section chief - รอฟงั คาส่ังจาก Operation section chief เพยี งคนเดียวเท่าน้ัน อปุ กรณ์ บุคลากร หน้าท่ี 1. ถงุ พลาสตกิ สาหรับ ในเวลา นอกเวลา - รับผู้ปว่ ย,คดั แยกผู้ป่วย,ซักประวัติ เก็บทรพั ยส์ ิน บันทกึ บาดแผลอาการตรวจ 2. บัญชเี กบ็ ทรพั ย์สิน 1. แพทยเ์ วรชนั สตู ร 1. แพทย์เวรชันสูตร วดั สัญญาณชีพและระบบประสาท 3. สมดุ บันทกึ คดีและ พรอ้ มลงบันทึก บันทกึ การชนั สูตรศพ 2. พยาบาล ER 2.พยาบาล ER - เก็บรกั ษาทรัพย์สนิ ของผบู้ าดเจ็บ 4. ใบบันทึกเฝ้าระวงั (ผู้ตาย) ชั่วคราว การบาดเจบ็ 3.พยาบาลเวชกรรมสังคม - ติดต่อญาติ, ตารวจ 5. กล้องถา่ ยรปู - ตกแต่งบาดแผลดแู ลความเรียบรอ้ ย 4.พยาบาลจติ เวช ให้ศพ - บันทกึ ใบเฝ้าระวังการบาดเจบ็ (IS) 5.เจ้าหน้าที่เวชระเบยี น - ให้ข้อมูล - รวบรวมข้อมูลผ้ปู ่วย 6.เจา้ หนา้ ท่กี ารเงนิ - ออกใบรับรองการตาย - รายงานผกู้ ากับโซนดา (ผู้บงั คบั บัญชาเพียงคนเดียวเท่าน้ัน) ในกรณีทีม่ ีปัญหา - แยกย้ายกลบั เม่ือประกาศยุติแผนอบุ ตั ิเหตุหมู่เทา่ น้นั

30 การสื่อสารระหว่าง Zone กบั EOC ควรมี 1. วิทยุสอ่ื สาร (เคร่อื งแดง จานวน 5 เคร่อื ง) 2. โทรศัพท์มือถือ 3.โทรศัพทข์ องแต่ละพื้นที่ เบอรโ์ ทรศัพท์ของแต่ละพื้นท่ี - EOC (OSCC) : 1101 - Red zone (ER) : 1669 - Yellow zone (ER) : 1102 - Green zone (หน้าหอ้ งทนั ตกรรม) : - War room (หอ้ ประชมุ จุติ) : - Referral center : 1101

31 การจดั การเตียงรกั ษาพยาบาล - รบั ผดิ ชอบโดย หวั หน้าตึกอายุรกรรม - มีการติดตาม Real time hospital-bed availability ของแตล่ ะหอผปู้ ว่ ย โดย update บน กระดานดาใน หอ้ ง command post เพ่อื ตรวจสอบจานวนเตียง และวางแผนในการโยกยา้ ย ผ้ปู ่วยอย่างเหมาะสม ตารางแสดงจาํ นวนเตยี งของหอผู้ป่วยต่างๆแบบเรยี ลไทม์ Ward ศกั ยภาพปกติ ศกั ยภาพMass O2 Pine line เคร่ืองวัดติดตาม เครื่องช่วยหายใจ สญั ญาณชพี - OR - - 10 6 7 - ICU 8 8 10 9 - - ตึกศัลยกรรม 38 50 10 1 3 3 ตกึ นรีเวช 24 34 4 3 3 หอผู้ป่วยสตู ิกรรม 7 - - - - - อายุรกรรมชาย 29 34 20 3 - - อายุรกรรมหญิง 28 33 23 3 - 16 ตกึ เด็ก 24 32 9+2 1 เปดิ Floor 4 (กลมุ่ การพยาบาล) - เคร่ืองผลิต O2 - 30 - ตกึ พเิ ศษช้ัน 5 12 30 12 1 ตึกพเิ ศษชน้ั 6 12 30 12 - ตึกประชาสามัคคี 20 40 20 3 ตึกพิศษสงฆ์: 16 32 16 2 รวม 218 356 148 32

32 การ Admit เรียงตามลาํ ดบั ดงั นี้ 1. ตกึ ศลั ยกรรม/ กุมารเวชกรรม 2. ตกึ อายุรกรรม 3. ตกึ นรีเวชกรรม 4. ตึกพิเศษสงฆ์ 5. ตึกพเิ ศษประชา 6. ตึกช้ัน 5 7. ตึกช้ัน 6

33 กลมุ่ ภาระกิจส่ือสารความเสย่ี ง (Risk Communication) ขอบเขตของงานและหนา้ ทรี่ ับผิดชอบ 1. ผบู้ งั คบั บญั ชาของหัวหน้ากลุ่มภาระกจิ สือ่ สารความเส่ียง คือ Incident commander 2. ผใู้ ตบ้ งั คับบัญชาของหวั หน้ากล่มุ ภาระกิจสอ่ื สารความเส่ยี ง (Finance & Administration) คอื งานสขุ ศึกษาประชาสมั พนั ธ์ 3. หนา้ ที่รบั ผิดชอบ - รบั แจ้งจากผู้บญั ชาการเหตุการณ์ (ผอู้ านวยการโรงพยาบาล/ผรู้ ักษา การแทนผูอ้ านวยการโรงพยาบาล) เพียง คนเดียวเทา่ นั้น ให้ประกาศ ใช้แผนปฏบิ ตั ิการฉุกเฉนิ 2 หรือ 3 - ประกาศเสยี งตามสาย : ประกาศแผน 3 คร้ัง (คร้งั ละ 2 รอบ) - รถพยาบาลว่งิ วนรอบโรงพยาบาลเปดิ ไซเรน 1 คร้ัง เป็นระยะเวลา 2 นาที - โทรประสานทีมในศูนย์บัญชาการ (Command Post) ตามลาดับ ดังนี้ 1. Incident commander (ผู้อานวยการโรงพยาบาล/ผรู้ ักษาการแทนผู้อานวยการโรงพยาบาล) 2. SAT (หวั หน้ากลมุ่ งานโอโธปิดกิ ซ์) 3. STAG (ประธานองคก์ รแพทย์, หัวหนา้ ฝา่ ยการพยาบาล) 4. Operation section (รองผอู้ านวยการฝา่ ยการแพทย์) 5. Risk Communication (หวั หนา้ งานสขุ ศกึ ษาประชาสมั พนั ธ์) 6. Stockpilling and Logistics (รองผูอ้ านวยการฝา่ ยบริหาร) 7. กลมุ่ ภาระกิจกฎหมาย 8. Financial & Administration (หวั หน้าฝา่ ยการเงิน) 9. กลมุ่ ภาระกจิ กาลังคน 10. Liaison (หวั หน้าหน่วยงานอุบตั ิเหตแุ ละฉุกเฉิน) - ฝา่ ยประชาสมั พนั ธจ์ ะต้อง update และมีความพร้อมของขอ้ มลู ตา่ งๆเช่น รายชือ่ ตาแหน่ง หน้าท่ี เบอร์โทรศัพท์ เพ่ือความสะดวกรวดเรว็ ในการโทรแจง้ และประสานงาน เนอ่ื งจากตาแหน่งดงั กล่าวอาจ มีการ โยกย้ายได้ตามกาลเวลา - จดั เตรยี มช้นั สาหรับใสส่ มดุ รายงานตวั และวทิ ยุสื่อสาร จานวน 9 เครอ่ื ง เพื่อมอบใหก้ ับจุดรายงานตัว - ขอกาลังสนับสนนุ เพิ่มเติมนอกเหนือจากท่ีมารายงานตวั (รบั คาส่งั จาก ผู้อํานวยการ : Incident Command เทา่ นนั้ )

34 - จัดเตรยี มกระดาน Patientʼs Information Board ให้กับหัวหน้าประจาจดุ Waiting & Information area - ประชาสัมพันธเ์ พื่อลดความต่นื ตระหนกของประชาชนและผูป้ ว่ ยเป็นระยะๆ ตามความ เหมาะสม - ประกาศยตุ ิแผน โดยรับคาสงั่ จากผูบ้ ัญชาการเหตุการณ์ (ผอู้ านวยการโรงพยาบาล/ผู้รักษาการแทน ผู้อานวยการโรงพยาบาล) เท่านัน้ “ยุตปิ ฏบิ ตั กิ ารฉุกเฉิน 2 หรือ 3’’ (3 ครั้ง) การประกาศใช้แผนอบุ ตั ภิ ยั ผบู้ ญั ชาการแผน พยาบาล ER Operator ประกาศแผน: ประกาศ/ สงั่ ประกาศใชแ้ ผน...... โทรศพั ทแ์ จง้ Operator แพทย์ พยาบาลและเจา้ หนา้ ที่ทุกท่านโปรดทราบ แผน ตะกว่ั ป่ า 1 / ตะกว่ั ป่ า 2 เร่ิมต้น ณ บดั นีใ้ ห้ เจา้ หนา้ ท่ีท่ี เกี่ยวขอ้ งทุกทา่ นเขา้ รายงานตวั ณ กองอานวยการ หอ้ ง refer ประกาศ 3 คร้ัง เวน้ 2 นาที ประกาศอีก 3 คร้ัง การประกาศสิ้นสุดแผน ผบู้ ญั ชาการแผน พยาบาล ER Operator ประกาศแผน: ประกาศ/ แจง้ ยตุ ิการใชแ้ ผน แจง้ ไปยงั Operator แพทย์ พยาบาลและเจา้ หนา้ ที่ทกุ ท่านโปรดทราบ ขณะน้ี สถานการณ์สงบลงแลว้ ยตุ ิแผนตะกวั่ ป่ า 1 / ตะกว่ั ป่ า 2 ให้ เจา้ หนา้ ที่ท่ีที่ทกุ ท่าน กลบั เขา้ ปฏิบตั ิงานตามหนา้ ท่ีปกติและโปรดตรวจสอบ ความเรียบร้อย ประกาศ 3 คร้ัง เวน้ 2 นาที ประกาศอีก 3 คร้ัง

35 หน่วยสนับสนุน กลุ่มภาระกจิ การสํารองวัสดเุ วชภัณฑ์และสง่ กาํ ลังบาํ รงุ (Stockpiling and Logistics) ขอบเขตของงานและหน้าที่รับผิดชอบ 1. ผบู้ ังคบั บญั ชาของหัวหน้ากลุม่ ภาระกจิ สํารองเวชภัณฑ์และส่งกาํ ลงั บํารงุ คือ Incident commander 2. หวั หนา้ กลมุ่ ภาระกจิ สํารองเวชภัณฑแ์ ละสง่ กําลงั บํารุง (Stockpiling and Logistics) คือ รองผู้อานวยการฝ่ายบรหิ าร 3. ผใู้ ต้บังคับบัญชาของหัวหน้ากลมุ่ ภาระกิจสํารองเวชภัณฑ์และสง่ กาํ ลังบาํ รุง (Stockpiling and Logistics) คอื 3.1 สาขาการบริการ (Services branch) จดุ ผ้รู บั ผิดชอบ สถานท่ี หนา้ ที่ 3.1.1 จุดระดมพล -ฝ่ายบรหิ ารทัว่ ไป ศาลาอเนกประสงค์ - เตรยี มแฟ้มเซ็นชื่อรายงาน ตัว และ จุดรายงานตวั -ฝา่ ยการ (ข้าง ER) - รับรายงานตัว : เซน็ ชือ่ แจกป้ายแสดงตาแหน่ง (Staging & registration area) เจา้ หนา้ ท่ี การปฏบิ ัติงาน -กลุม่ งานบัญชี - แจกจ่ายเจ้าหนา้ ทีเ่ ข้าประจาโซนสี - แยกย้ายกลบั เมื่อประกาศยุตแิ ผนฯ 3.1.2 หน่วยงาน หัวหน้างานเวช หอ้ งบัตรผปู้ ่วยนอก - เม่ือรบั แจง้ เหตุอุบตั ิเหตหุ มู่จากเสยี งตามสายประกาศ เวชระเบียนและ ระเบยี นและสถิติ แผนฉกุ เฉิน 2 หรอื 3 ให้เจ้าหน้าที่ปฏบิ ัตติ ามแผน สถติ ิ / หอ้ งบตั ร และเจ้าหน้าที่ รองรบั กระบวนการใหบ้ ริการงานเวชระเบยี นผู้ป่วย (MRSD) - ทาเวชระเบยี นในผบู้ าดเจบ็ ทีม่ ีแพทยห์ รือพยาบาล ตรวจ รกั ษาเปน็ ลาดับแรก - รหสั เวชระเบียนทอ่ี อกมา จะตอ้ งขึน้ ต้นดว้ ยรหัส 99 แล้วตามด้วยเลข 0000 แลว้ ตามดว้ ยเลขของ Triage tag เชน่ 9900001, 9900002 เป็นตน้ - ถ่ายรูปหน้าผปู้ ่วยไมร่ ู้สึกตวั /ไมท่ ราบช่ือ ติดท่ี OPD Card เพือ่ ระบตุ ัวตน - หากเจา้ หนา้ ทพี่ บปัญหาใหร้ ายงานหวั หน้างานเวช ระเบยี นและสถิติ กรณีหัวหน้างานเวชระเบยี นและสถิติ ไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้ให้รายงานต่อ รองผ้อู านวย การฝ่ายบริหาร (Stockpilling and Logistics) เพ่ือ ประสานงานต่อไป

36 จดุ ผูร้ บั ผดิ ชอบ สถานท่ี หน้าที่ 3.1.3 หน่วยบริการ หวั หน้างานแต่ละ - แยกย้ายกลบั เม่ือประกาศยุติแผนอุบัตเิ หตุหมู่เทา่ น้นั การแพทย์ (Medical แผนก unit) - จัดเจ้าหนา้ ทรี่ ับผิดชอบดูแลการใช้ยาและเวชภัณฑ์ - แบ่งออกเป็น 4 1.หวั หน้างานเภสัช ประจาตกึ ศัลยกรรม, สตู กิ รรม และอายุรกรรม 3 คน หน่วย ดังนี้ กรรม - จัดเภสัชกร 1 คน และเจ้าหน้าท่อี ยเู่ วร 1. ห้องยา เชา้ -บ่าย-ดกึ เวรละ 2 คน (Pharmacy unit) 2. เจ้าหนา้ ท่งี านคลังยาและเวชภณั ฑ์เปิดบรกิ ารคลังยา และเวชภณั ฑต์ ลอดชว่ งทเี่ กดิ อุบตั ภิ ัย จานวน 2 คน 3. หวั หนา้ กลุ่มงานประสานและปฎบิ ตั ิงานท่ี กองอานวยการ 4. กรณีทีย่ าและเวชภณั ฑไ์ ม่มีพอเพยี งใน โรงพยาบาลให้ยึดแนวทางการสนับสนุนยาภายใน จงั หวัดตามกรอบรายการยาและเวชภัณฑข์ องจังหวดั พงั งา 5. ถ้าไม่สามารถดาเนนิ การตามข้อ 4 เภสชั กรรมจะ รายงานปัญหาแก่ หวั หน้าฝา่ ยสนับสนุน ตามผัง EOC ต่อไป 2. ธนาคารเลือด หัวหน้างานโลหิต ตึกพยาธวิ ิทยา - เตรียมพรอ้ มจัดหาเลือด (Uncross match group O) (Blood blank unit) วิทยา > 10unit และ สามารถ นาสง่ เลอื ดตามที่รอ้ งขอมา ยังห้องฉุกเฉินได้ อย่างรวดเรว็ ภายใน 10-15 นาที 3. ห้องเอกซ์เรย์ หวั หนา้ กลุ่มงาน - มเี จา้ หนา้ ท่ี X-ray ประจาที่ห้องเอกซเรย์ 6 คน (ในเวลา (Radiology unit) รังสวี ทิ ยา ราชการ) และ นอกเวลาราชการ 2 คน เม่ือรับผ้ปู ่วย แลว้ ไดท้ าการเอกซเรย์ โดย Key HN ตามเลขพิเศษที่ ออกโดยหอ้ งบตั ร เม่ือ X-ray เสรจ็ แพทย์จะดูภาพ เอกซเรยจ์ าก HN พิเศษ - และให้ส่งผ้ปู ่วย Admit ทุกรายหลังจากเอ็กซเรย์ เสรจ็ แลว้

37 จดุ ผูร้ ับผิดชอบ สถานท่ี หนา้ ที่ 4. ห้องตรวจ หัวหนา้ กลุ่มงาน - ทา Lab เร่งดว่ นในผบู้ าดเจ็บหนกั ทุกราย ปฏิบตั กิ าร พยาธิวิทยา - หากมีผล Lab วกิ ฤตใิ ห้โทรมาแจง้ ที่ห้องฉุกเฉนิ โดย (Laboratory unit) ด่วน - หากเจา้ หนา้ ท่พี บปัญหาใหร้ ายงานหัวหน้างาน 3.1.4 หนว่ ยเปล หัวหนา้ เวรงาน ศูนย์เปล แต่ละแผนกกรณหี ัวหนา้ งานแต่ละแผนกไมส่ ามารถ (Stretcher unit) อบุ ัตเิ หตฉุ ุกเฉนิ แกไ้ ขปญั หาได้ ใหร้ ายงานต่อ รองผู้อํานวยการฝ่าย : พนักงานเปล บรหิ าร (Stockpilling and Logistics) : เจา้ หน้าที่ เพื่อประสานงานต่อไป ฝ่ายชา่ ง / คนงาน - กลบั มาทาหน้าที่ตามปกติเมื่อมปี ระกาศยตุ ิแผน กายภาพ อุบัติเหตุหมู่เทา่ นั้น 3.1.5 ฝา่ ยโภชนาการ หวั หนา้ โรงครวั - เตรยี มเจ้าหน้าทีเ่ วรเปลและเปลให้พรอ้ มและเพยี งพอ ตอ่ ความต้องการในการเคลอ่ื นยา้ ยผู้ป่วย (Food unit) ฝา่ ยโภชนาการ - หากเจา้ หนา้ ที่พบปัญหาให้รายงาน หัวหนา้ เวรงาน อบุ ตั เิ หตฉุ ุกเฉิน กรณหี วั หนา้ กลมุ่ งาน การพยาบาลผปู้ ่วยนอกไมส่ ามารถ แก้ไขปัญหาได้ ให้ รายงานตอ่ รองผู้อํานวยการฝา่ ยบริหาร (Stockpilling and Logistics) เพื่อประสานงานต่อไป - กลับมาทาหนา้ ที่ตามปกตเิ มื่อมีประกาศยตุ ิแผน อบุ ัตเิ หตหุ มู่เทา่ นน้ั - เตรยี มอาหารสาหรบั ผปู้ ว่ ยและเจา้ หน้าท่ี - หากพบปัญหาใหห้ ัวหน้าฝ่ายโภชนาการรายงานตอ่ รองผู้อาํ นวยการฝ่ายบริหาร (Stockpilling and Logistics) เพ่อื ประสานงานต่อไป - กลบั มาทาหนา้ ทต่ี ามปกติเมื่อมปี ระกาศยุติแผน อบุ ัติเหตหุ มเู่ ท่านัน้

38 3.2 สาขาการสนบั สนุน (Support branch) จดุ ผรู้ ับผิดชอบ สถานท่ี หนา้ ท่ี หัวหนา้ ฝ่ายจา่ ยกลาง ห้องจ่ายกลาง 3.2.1 หนว่ ยจ่าย - จดั เตรียมอุปกรณ์การแพทย์ ชดุ ทาแผล ใหเ้ พยี งพอ กลาง (Medical ต่อความต้องการและนามาเพ่ิมเตมิ อย่าง supply unit) อยา่ งรวดเรว็ เมือ่ มกี ารร้องขอ - หากพบปญั หาให้หวั หน้าฝา่ ยจ่ายกลางรายงานต่อ รองผู้อาํ นวยการฝ่ายบริหาร (Stockpilling and Logistics) - กลบั มาทาหนา้ ที่ตามปกตเิ มื่อประกาศยุติ แผนอบุ ัติเหตุหมู่เทา่ น้ัน 3.2.2 หวั หน้าฝ่าย โรงซักฟอก - จดั เตรียมเสือ้ ผา้ ผปู้ ว่ ย และชดุ ผา้ ปูเตยี งให้ หน่วยซักฟอก เพียงพอต่อความตอ้ งการและนาส่งอย่างอยา่ งรวดเรว็ (Washing unit) เม่ือมีการร้องขอ - ดูแลรกั ษาส่ิงของไมม่ ีคา่ ของผ้ปู ว่ ย เช่น เส้ือผ้า เขม็ ขัด รองเทา้ ทเี่ จ้าหนา้ ท่ีเก็บทรัพย์สนิ (ฝ่ายการเงิน) นามา ฝากไว้ โดยข้างถงุ จะ มี HN ของผู้ป่วยแปะหรือ เขยี นไว้ เพื่อรอญาตหิ รือผูป้ ว่ ยมารบั คืน - หากพบปญั หาให้หวั หน้าฝ่ายซกั ฟอกรายงานต่อ รองผู้อาํ นวยการฝา่ ยบรหิ าร (Stockpilling and Logistics) - กลับมาทาหน้าท่ีตามปกตเิ ม่ือประกาศยุติ แผนอุบัตเิ หตหุ มูเ่ ท่านน้ั 3.2.3 หัวหนา้ หน่วยยาน - จดั เตรียมยานพานะสนบั สนนุ เมือ่ มีการร้องขอ หนว่ ยยานพาหนะ พาหนะ - หากพบปัญหาให้ หัวหน้าหนว่ ยยานพาหนะรายงาน (Ground unit) ต่อหวั หน้าฝา่ ยรองผู้อาํ นวยการฝ่ายบริหาร (Stockpilling and Logistics) - กลับมาทาหน้าท่ตี ามปกติเม่ือประกาศยตุ ิ แผนอุบตั ิเหตุหมูเ่ ทา่ น้ัน

39 กลุม่ ภาระกิจการเงนิ และงบประมาณ (Finance & Administration) ขอบเขตของงานและหน้าทร่ี ับผดิ ชอบ 1. ผู้บังคบั บัญชาของหัวหน้าส่วนการเงนิ และบรหิ าร คือ Incident commander 2. ผูใ้ ตบ้ ังคบั บญั ชาของหวั หนา้ ส่วนการเงินและบรหิ าร (Finance & Administration) คือ 2.1 หน่วยการเงนิ (Cost unit) - รวบรวมข้อมลู คา่ ใช้จ่ายท้งั หมด จดั ทาการวเิ คราะหป์ ระสิทธภิ าพความคุ้มคา่ และบรกิ าร ประเมนิ ค่าใช้จ่าย 2.2 หนว่ ยชดเชย/งานประกัน (Compensation/Claims unit) - รบั ผิดชอบในการบรหิ ารจดั การและการใหค้ าแนะนาเร่ืองการจัดหาค่าชดเชยสาหรบั การ บาดเจ็บ ความเสยี หายทางทรัพย์สินของทางราชการ การเรียกเก็บค่าชดเชยใน การปฏิบัตกิ าร 2.3 หนว่ ยเก็บทรพั ยส์ ิน (Storage of patientsʼ belongings) - เจา้ หนา้ ทเ่ี ก็บทรัพย์สินประจาโซนต่างๆ มหี น้าที่เกบ็ ทรัพย์สินให้กบั ผู้ปว่ ยตามโซน น้ันๆ โดยพยาบาลหรอื ผู้ชว่ ยท่หี อ้ งฉกุ เฉินจะเก็บทรัพย์สนิ สิง่ ของมีค่า (เช่น สรอ้ ย กาไล โทรศัพท์ กระเป๋าเงิน) ไว้ 1 ถุง และส่ิงของไม่มคี า่ ไวอ้ ีก 1 ถงุ (เช่น เส้ือผา้ เข็มขดั รองเท้า) พร้อมทงั้ มดั ปากถงุ และแปะหรอื เขียน HN ผู้ป่วยไว้ขา้ งถุงแล้ว ใน ส่วนของทรัพย์สนิ ไมม่ ีคา่ ทาง เจ้าหน้าท่เี ก็บทรัพย์สินฝา่ ยการเงนิ จะนาไปมอบให้ฝา่ ย ซักฟอกชว่ ยดแู ล และจัดให้มรี ะบบในการรับของคนื อย่างถูกต้อง

40 ภาคผนวก

เส้นทาง ทางเดนิ รถ เค ่ลือนย้าย สนามหญ้า ER ทางลาดลงตกึ อบุ ตั ิเหตฉุ กุ เฉิน- Zone สเี หลือง ( หนา้ ER ) Zone สแี ดง (ในER) งานเภสชั กรรมผปู้ ่ว

41 ทางเดินรถ เ ้สนทางเค ่ืลอน ้ยาย ีสเห ืลอง R ทางลาดขนึ้ ตกึ อบุ ตั เิ หตฉุ กุ เฉิน- )ศูนยว์ ิทยุ( วยในและฉกุ เฉิน

42 1. แบบฟอรม์ รายงานอบุ ัตเิ หตุ ศูนย์ปฏบิ ัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณภยั ด้านการแพทย์และสาธารณสขุ จังหวัดพังงา สรุปสถานการณ์ ………………………………………….. ประจาวนั ท.ี ........... เดือน................................ พ.ศ. ....................... เวลา ........................... 1.ประเภทของสาธารณภัย 2.วันเวลาที่เกดิ เหตุ 3.สถานท่ีเกิดเหตุ 4.ลกั ษณะการเกิดเหตุ 5.ความเสียหาย/ผลกระทบ 6.สรุปจานวนผปู้ ่วย (ได้รบั บาดเจบ็ /ราย) ชาย หญิง รวม 6.1 ผูส้ ียชีวติ 6.2 ผู้บาดเจบ็ 6.3 สูญหาย D/C Admit Observe Refer 7.การช่วยเหลอื เบื้องต้น 8.ข้อสง่ั การ ชอ่ื – ตาแหน่ง - หนว่ ยงาน ผูร้ บั ผิดชอบ..........................

43 ศูนยป์ ฏิบัตกิ ารป้องกันและแกไ้ ขปัญหาสาธารณภัย ดา้ นการแพทย์และสาธารณสุข จังหวดั พงั งา ลาํ ดับ ช่อื – สกลุ เพศ อายุ สัญชาติ อาการ ผลการรักษา หมายเหตุ

44 ป้ายคดั แยกผู้ป่วย ณ จุดเกิดเหตุ Triage Tag

45 แบบบนั ทกึ ข้อมูลเฝ้าระวงั การบาดเจบ็ โรงพยาบาล.............. ......จงั หวดั ................... IS 2011_2sd Aug. 2011 HN………………..……ช่ือ..............................สกุล........................................................... ทอ่ี ยู่ปัจจุบนั  1.ในจงั หวดั .....................อาเภอ............................ เพศ  1.ชาย 2.หญงิ อายุ วนั ....... เดือน......... ปี .........ID……………………….…  2. นอกจงั หวดั ...................3นอกประเทศ.................Nไม่ทราบ อาชีพ  00 ไม่มีอาชีพ 01 ขา้ ราชการ02 ตารวจ/ทหาร 03พนกั งานรัฐวสิ าหกิจ 04 พนกั งานบริษทั 05 ผใู้ ชแ้ รงงานระบุ .....................  06 คา้ ขาย  07 เกษตรกรรม  08 นกั เรียน/นกั ศึกษา ร.ร.................................................. อ่ืนๆ ระบ.ุ ..........................................(*) วนั ทเ่ี กดิ เหตุ ......................................................... เวลาทเ่ี กดิ เหตุ..............................น. การบาดเจ็บเกดิ โดย วนั ทมี่ าถงึ รพ................................................... ....เวลาทมี่ าถึงรพ........................... . น. 1. อุบตั ิเหตุ  2.ทาร้ายตนเอง  3. ผอู้ ื่นทาร้าย สถานท่ีเกิดเหตุ จงั หวดั .....................อาเภอ..................ตาบล..................หมู่.................... 4. ปฏิบตั ิการทางกฎหมาย/ สงคราม/ สถานการณ์  N ไม่ทราบ จุดเกิดเหตุ 1. บา้ น/บริเวณบา้ น 1.1บา้ นผูบ้ าดเจ็บ 1.2 บา้ นคูก่ รณี บาดเจ็บเกดิ จากการทางานในอาชีพ š 1.3บา้ นเพื่อนผูบ้ าดเจ็บ 1.4 บา้ นเพอ่ื นคู่กรณี 1.5บา้ นอื่นระบุ…………. 1. ใช่  0. ไม่ใช่ N ไมท่ ราบ 2. หอพกั เรือนจา สถานเล้ียงเด็ก คา่ ยทหาร 3. รพ./รร./วดั ระบุช่ือ........... (*) 4. สนามกีฬาสาธารณะ 5. ถนนหรือทางหลวง ระบุ........................... พฤตกิ รรมเส่ียง 6. สถานท่ีขายสินคา้ และบริการ 7. สถานท่ีก่อสร้าง โรงงานระบุ…………….. 1. แอลกอฮอล์ 1 ใช้ …. mg% 0ไม่ใช้ Nไมท่ ราบ 8. นา ไร่ สวน 9. อื่นๆ ระบุ......................................... 2. ยา 1 ใช้ 0ไมใ่ ช้ N ไมท่ ราบ 3. เขม็ ขดั นิรภยั 1ใช้ 0ไมใ่ ช้ N ไม่ทราบ สาเหตขุ องการบาดเจบ็ (เลือกตอบไดเ้ พยี ง 1 ขอ้ ) 4. หมวกนิรภยั 1ใช้ 0ไม่ใช้ N ไมท่ ราบ 5. โทร.เคล่ือนที่ 1ใช้ 0 ไม่ใช้ N ไมท่ ราบ 1. อุบตั ิเหตุจากการขนส่ง 6. อื่นๆ ระบุ................................................... (*) 1.1 ผบู้ าดเจบ็ เป็น 1 คนเดินเทา้ 2 คนขบั ขี่ 3 คนโดยสาร N ไม่ทราบ การปฐมพยาบาล/การดูแลขณะนาส่ง 1.2 พาหนะของผบู้ าดเจ็บ 01 จกั รยาน/สามลอ้ 02 จกั รยานยนต์ š 03 สามลอ้ เคร่ือง 04 รถเก๋ง05 ปิ กอพั 1 ตอนหนา้ 2 ตอนหลงั š 06 รถบรรทุกหนกั 07 รถพว่ ง 08 รถโดยสารสองแถว 09 รถโดยสารบสั 1. ดูแลการหายใจ š 10 รถตู้ อ่ืนๆ (ระบุ)......................................................................... (*) 1 มี-เหมาะสม 2 มี -ไม่เหมาะสม…….……. š 1.3 การบาดเจ็บเกิดจาก 0 ตกจากพาหนะ  1 พาหนะลม้ คว่า ตก ลม่ จม  3 ไมจ่ าเป็น 0 ไมม่ ี 2. การหา้ มเลือด  ถูกชนหรือชนกบั ...................... อื่นๆ ระบุ ..................... (*) 1 มี-เหมาะสม 2 มี -ไมเ่ หมาะสม…….……. 2. อุบตั ิเหตุหรือบาดเจ็บอื่นๆ (ระบุ).......................................................N ไม่ทราบ  3 ไมจ่ าเป็น 0 ไมม่ ี เหตุการณ์และกิจกรรมขณะเกิดเหตุ 0. กิจกรรมกีฬา 1. กิจกรรมยามวา่ ง 2. ระหวา่ งทางานเพ่ือหา 3. Immobilize C-spine รายได้ 3. ขณะทางานประเภทอื่น 4. ขณะพกั ผอ่ น นอนหลบั รับประทานอาหาร กระทากิจกรรมต่างๆ 1 มี-เหมาะสม 2 มี -ไมเ่ หมาะสม…….……. ในชีวติ สุขอนามยั บุคคล 5. ทากิจกรรมท่ีระบุรายละเอียดอื่น 6. ทากิจกรรมที่ไม่ระบุรายละเอียดอื่น  3 ไม่จาเป็น 0 ไม่มี ผลิตภณั ฑท์ ี่ทาใหบ้ าดเจบ็ ....................................................................................... 4. Splint/Slab อื่นๆ 1 มี-เหมาะสม 2 มี -ไมเ่ หมาะสม…….……. การมาโรงพยาบาลของผู้บาดเจบ็ )ข้อ 1 เลือกตอบได้เพยี ง(  3 ไม่จาเป็น 0 ไม่มี 5. IV Fluid 1. ผู้บาดเจ็บเสียชีวติ ณ จุดเกดิ เหตุ ส่งชันสูตร / 1 มี-เหมาะสม 2 มี -ไมเ่ หมาะสม…….…….  3 ไม่จาเป็น 0 ไม่มี  2. มาจากทเี่ กดิ เหตุโดย ไมม่ ีผนู้ าส่ง  N ไมท่ ราบ ลกั ษณะการบาดเจบ็  1. Blunt  2. Penetrating มีผูน้ าส่ง  2.1 หน่วยบริการการแพทยฉ์ ุกเฉิน ระดบั ..........หน่วย...............  3. Blunt & Penetrating  4. อ่ืนๆ 2.2 องคก์ รอ่ืนท่ีไม่ข้ึนทะเบียน EMS ระบุ .......... 2.3 อื่น ๆ ระบุ........................  3 .มาจากสถานพยาบาลช่ือ ...............................จงั หวดั ..................................... 3 1.มาโดยambulance มีผูด้ ูแลขณะนาส่ง ระบุ................. (*)ไม่มีผดู้ ูแล  ไม่ใช่ ambulance 3 2.มีใบส่งตอ่ ท่ีระบุอาการ และ หรือ/การรักษาก่อนส่งตอ่ มี ไมม่ ี Hx.cons ต้งั แต่เกิดเหตุ vital signs แรกรับที่ ER BP......……mm.Hg P…....../mRR…...../m GCS. = E...……V………..M......…. 1. ไม่สลบ  N ไมท่ ราบ ออกจาก ER.วนั ที่............เวลา........ น. ส่ง 1. Consult …2. Observe ER 3. OR 4. อ่ืนๆ ….............. 2. สลบนาน......ชม.....นาที ผลการรักษาจากER 1.DBA 2.จาหน่าย 3.ส่งต่อ 4.ปฏิเสธการรักษา 5.หนีกลบั 6.ตาย 7.รับไว้ DIAGNOSIS 1-6 (กรณีที่ admit ไมต่ อ้ งกรอกท่ี ER) 1 . ……………………………………BR….…...............AIS…….................4. …………...…...…..……………..... BR..……………….…..AIS…………….… 2. ……………………………………BR….…..............AIS ……….……....5. ……………......…..……......................BR..…………………...AIS………….....… 3. …………………………………….BR….….............AIS……............. ....6. ……………..……....……….…..........BR..…………………...AIS…………….… จาหน่ายจากหอผ้ปู ่ วยวนั ที่ โดย ................. .1ทุเลา.2 ส่งต่อ .3 ปฏิเสธการรักษา  .4 หนีกลบั .5ตาย 6.ยงั ไมจ่ าหน่าย ส่งต่อจงั หวดั .................................................................................สถานพยาบาล....................................................................................................................................... ช่ือผ้บู นั ทกึ 1 ..................................................................................................... .2 ....................................................................................................................................... (*) หมายเหตุ ...ดูรายละเอยี ดในค่มู ือบนั ทกึ เฝ้าระวงั การบาดเจบ็ )รายงานชุดนใี้ ช้เพอื่ การเฝ้าระวงั การบาดเจ็บไม่สามารถนาไปอ้างองิ ทางกฎหมาย(