Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ติวเข้ม O-Net วิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรร ม.ปลาย

ติวเข้ม O-Net วิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรร ม.ปลาย

Published by sataporn16021983, 2019-12-02 09:12:35

Description: ติวเข้ม O-Net วิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรร ม.ปลาย

Search

Read the Text Version

ดินแดนไทยในสมัยโบราณ 2.1 แวน่ แควน้ โบราณในดนิ แดนประเทศไทย ดนิ แดนประเทศไทยเปน็ สว่ นหนง่ึ ของภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ ใน อดีตมผี ้เู รยี กบริเวณนี้ว่า “สุวรรณภมู ิ” หมายถึง ดนิ แดนแหง่ ทองคำ� ตงั้ อย่รู ะหว่าง 2 แหล่งอารยธรรมทส่ี ำ� คญั ของโลก คือ จีนและอินเดีย ท�ำให้อิทธิพลของทั้งสองมีผลอย่างมากต่อการสร้างสรรค์ผลงานของผู้คนในแถบน้ี รวมท้ังมีสาเหตุอีกหลาย ด้านท่ีท�ำให้แว่นแคว้นโบราณในดินแดนบริเวณนี้มีพัฒนาการอย่างสูง ไม่ว่าจะเป็น ท่ีตั้งทางภูมิศาสตร์ท่ีเหมาะสมกับการท�ำ อาชพี รวมทั้งการเดนิ เรือ มที รัพยากรอุดมสมบูรณ์ สำ� หรับพัฒนาการของแว่นแควน้ โบราณในดินแดนประเทศไทยมอี ยูท่ ่วั ทุกภาคของประเทศไทยในปัจจบุ ัน มีลักษณะท่ี ส�ำคัญ รวมทัง้ ส่ิงทไ่ี ด้ฝากไว้ใหค้ นรุ่นหลงั ได้เรียนรู้ ต่อไปนี้ แว่นแควน้ ลกั ษณะเด่น การปกครอง สังคม เศรษฐกจิ งานสร้างสรรคท์ ่สี ำ� คญั วัฒนธรรม 1. บริเวณภาคกลางและภาคอสี านของประเทศไทยปจั จุบนั ทวารวดี มศี นู ยก์ ลางอยบู่ รเิ วณลุ่ม มหี ัวหน้าปกครอง ใชพ้ ทุ ธศาสนา พระพทุ ธรูป ธรรมจกั รและกวาง แม่น�ำ้ เจา้ พระยา การวาง เถรวาทควบคูก่ บั ฮนิ ดเู ปน็ เคร่อื ง หมอบ พระพุทธบาท รวมทั้งสถปู ผังเมอื งเปน็ รูปวงกลม/วงรี มอื ในการปกครอง มเี ศรษฐกิจแบบ เจดียแ์ ละวัด มกี ารสร้างคเู มอื งลอ้ มรอบ เกษตรกรรมเป็นหลกั เมอื ง มีการชลประทาน อย่างเป็นระบบ ละโว/้ ลพบุรี คลา้ ยกับวัฒนธรรมเขมร ความเชื่อผสมผสานระหว่างพุทธ มกี ารสรา้ งพระปรางค์เปน็ พบมากบริเวณภาคอสี าน เถรวาทกับพราหมณ์ กอ่ นพุทธ ประธาน มบี ารายลอ้ มรอบ และ ตอนล่าง ลักษณะผังเมือง มหายานจะเขา้ มามีอทิ ธิพล มสี ่งิ สรา้ งพระพุทธรปู ปางนาคปก เปน็ รูปสเี่ หลย่ี ม ปลกู สร้างทีเ่ ป็นปราสาทหนิ ตามความเชอื่ พทุ ธมหายาน 2. บรเิ วณภาคใตข้ องประเทศไทยปัจจบุ นั ตามพรลงิ ค์ ตง้ั บนคาบสมุทรมลายู ตอ่ เทวสถานในศาสนาพราหมณ์ มาภายหลงั พัฒนาเป็น เช่น ศิวลึงค์ ฐานโยนี ฯลฯ นครศรีธรรมราชกอ่ นตก เปน็ เมืองขน้ึ ของสโุ ขทยั ศรวี ชิ ยั มีอาณาเขตกว้างขวาง ศรีวิชยั ผกู พนั กบั การคา้ ทางทะเล - พระบรมธาตุไชยา จังหวัด ต้ังแตภ่ าคใต้ของไทยไป ทสี่ �ำคญั มากกวา่ การคา้ ทางบก สุราษฎร์ธานี จนถงึ หมู่เกาะต่างๆ ใน นบั ถือพุทธเถรวาทก่อนจะเปลี่ยน - รปู พระโพธิสัตวป์ าง ประเทศอินโดนีเซยี มี เป็นพทุ ธเถรวาท พร้อมท้ังไดร้ บั อวโลกิเตศวร การปกครองแบบ อทิ ธพิ ลจากศลิ ปะแบบอนิ เดยี สมยั “สมาพนั ธรฐั ” คปุ ตะมาสร้างสรรค์งาน 100 ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya

3. บริเวณภาคเหนอื ของประเทศไทยในปจั จุบนั ศนู ย์กลางอยู่ท่เี มืองลำ� พนู หริภญุ ชัยนับถือพทุ ธศาสนาเป็น - พระธาตุหรภิ ุญชยั จ.ล�ำพูน เริม่ ต้นจากพระนางจาม หลกั มีโบราณสถานประเภทสถปู - วัดจามเทวี เทวเี ป็นกษตั รยิ ์จากเมอื ง เจดยี ์ ทโ่ี ดดเด่น คือ เจดีย์ทรง หริภุญชัย ละโว้ข้ึนมาปกครองและสบื มณฑปหรือทรงปราสาทแบบหริ ตอ่ มาอีกหลายองค์ กอ่ น ภุญชัย ถูกผนวกรวมกบั ล้านนาใน เวลาตอ่ มา 2.2 แนวคิดเรอ่ื งความเป็นมาของชนชาติไทย ในปัจจุบนั ความคิดเกีย่ วกบั ค�ำถามที่ว่า คนไทยมาจากไหน น้ันยงั คงเปน็ ที่ถกเถยี งและหาข้อสรุปท่แี นน่ อนไม่ได้ เพียงแตม่ ีข้อเสนอจากหลกั ฐานต่างๆ เพราะอุปสรรคส�ำคัญของการคน้ คว้าเร่อื งนี้ คือ “ขาดหลักฐาน” โดยเฉพาะหลักฐานท่เี ปน็ ลายลักษณ์ ถา้ เรายอ้ นดวู า่ ทำ� ไมนกั วชิ าการตอ้ งการคน้ หาความเปน็ มาของชนชาตไิ ทย กอ็ าจบอกไดว้ า่ มที ม่ี าชว่ งตน้ รตั นโกสนิ ทร์ โดยเฉพาะในชว่ งปฏริ ูปประเทศให้ทันสมัย เนื่องจากเปน็ ช่วงเวลาท่ีลทั ธิจักรวรรดนิ ยิ มจากตะวันตกเขา้ มาลา่ ดนิ แดนในแถบน้ี ทำ� ใหค้ นไทยพยายามคน้ หารากเหงา้ ของตวั เองเพอื่ จะบอกวา่ คนไทยจรงิ ๆ เปน็ ชาตทิ ม่ี คี วามเปน็ มายาวนานแตอ่ ดตี ไมใ่ ชช่ าติ ท่ไี รอ้ ารยธรรมดังทฝี่ รั่งบอก อีกทั้งยงั เปน็ การปลุกความรกั ชาตวิ ่าชาตไิ ทยวา่ ยิ่งใหญอ่ ีกดว้ ย แนวคิดที่มีนักวชิ าการเสนอมีทง้ั ส้นิ 5 แนวทาง ดังน้ี 1. คนไทยมาจากตะวันตกเฉียงเหนือของจีน/เอเชียกลาง ความคิดน้ีเป็นความคิดแรกสุด โดย ดร.วิลเลียม คลิฟดนั ดออด์ มิชชันนารชี าวอเมริกันท่เี ข้ามาชว่ งรัชกาลท่ี 5 อธิบายว่า คนไทยมาจากมองโกล ก่อนจะถูกจีนรุกรานและถอย ลงมาทางใต้ ซงึ่ มีผลตอ่ ความคิดของนักวชิ าการรุ่นแรกๆ โดยเฉพาะ ขุนวิจิตรมาตรา เขยี นหนงั สอื เร่อื ง “หลักไทย” อธบิ ายวา่ คนไทยอยู่บริเวณเทือกเขาอัลไต ก่อนจะถูกรุกรานและถอยร่นลงมาในดินแดนไทยปัจจุบัน และมีคนน�ำมาขยายเป็นเร่ืองราว ต่างๆ ทีส่ ร้างชาตินยิ มให้เกิดความรูส้ กึ ยิ่งใหญ่ ทุกวนั นีแ้ นวคิดนีไ้ มไ่ ด้รบั การยอมรบั แลว้ เพราะขาดหลักฐานอา้ งองิ ทีเ่ ปน็ ไปได้ ท้ังดา้ นภาษา วัฒนธรรม วิถชี วี ติ ของ คนมองโกลกข็ ดั กับของคนไทยโดยสนิ้ เชิง และมลี ักษณะชาตนิ ยิ ม 2. คนไทยมาจากบรเิ วณภาคกลางของจนี หรอื บรเิ วณมณฑลเสฉวน ตงั้ อาณาจกั รชอ่ื วา่ ตา้ มงุ บรเิ วณลมุ่ แมน่ ำ�้ แยงซี ก่อนอพยพไปสร้างอาณาจักรน่านเจ้าในมณฑลยูนนาน ซึ่งมีผู้สนับสนุนแนวคิดนี้ เช่น พระยาอนุมานราชธน พระยา บรหิ ารเทพธานี เป็นตน้ ปจั จุบนั แนวคิดนีไ้ ม่ได้รบั การยอมรับเพราะขาดหลกั ฐานอา้ งอิงทช่ี ัดเจนและหลักฐานที่น�ำมาเสนอก็มี นอ้ ยมาก 3. คนไทยมาจากบริเวณตอนใต้ของจีน/ตอนเหนือของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แนวคิดน้ีเป็นแนวคิดท่ี นักประวัติศาสตร์ปัจจุบันยอมรับมากท่ีสุด เพราะวิเคราะห์จากหลักฐานหลายด้าน ท้ังสภาพดินฟ้าอากาศไม่แตกต่างจาก ประเทศไทยมากนกั ประชากรมอี าชพี เพาะปลกู โดยเฉพาะขา้ วเหมอื นคนไทย ซงึ่ มคี นทพี่ ดู ภาษาไทยและถอื วฒั นธรรมแบบชาว ไทยอยดู่ ว้ ย ซงึ่ มกี ารใชข้ อ้ มลู ทางภาษาศาสตรเ์ ปรยี บเทยี บความเหมอื นระหวา่ งภาษาไทยกบั ภาษาในพน้ื ทดี่ งั กลา่ ว นกั วชิ าการ ท่ีเหน็ ด้วยกับแนวคดิ น้ี ไดแ้ ก่ ศ.วลิ เลียม เกดนีย์ หลฟี ้งก้วย ศ.ประเสรฐิ ณ นคร และกรมพระยาดำ� รงราชานุภาพ เป็นต้น 4. คนไทยอยู่ในเขตประเทศไทยปัจจุบัน ข้อเสนอน้ีใช้หลักฐานทางโบราณคดีเป็นหลักท้ังเคร่ืองมือเคร่ืองใช้ โครงกระดกู ทขี่ ดุ พบในประเทศไทยพบวา่ มอี ายเุ กา่ แก่ คนไทยจงึ นา่ จะอยใู่ นดนิ แดนนเ้ี ปน็ เวลานานแลว้ ไมไ่ ดอ้ พยพมาจากไหน ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 101

ผู้เห็นด้วย ไดแ้ ก่ ศ.สดุ แสงวเิ ชยี ร ศ.ชิน อยู่ดี แตข่ ้อเสนอน้กี ็โดนโต้แยง้ ว่า หลักฐานท่ขี ุดพบไม่มีอะไรระบุว่าเป็นคนไทยอาจ เป็นชาตอิ ่นื 5. คนไทยมาจากหมเู่ กาะในประเทศอนิ โดนเี ซยี ปจั จบุ นั หรอื คาบสมทุ รมลายู โดยใชห้ ลกั ฐานทางภาษาทภ่ี าษา อนิ โดนเี ซยี มรี ากศพั ทร์ ว่ มกบั ภาษาไทยจำ� นวนมาก พรอ้ มกบั มกี ารยกเรอื่ ง ยนี และหมเู่ ลอื ดมาสนบั สนนุ วา่ คนไทยคลา้ ยคลงึ กบั เพ่อื นบา้ นทางใต้ ซ่งึ ไมไ่ ดร้ บั การยอมรบั โดยทัว่ ไป เพราะไม่มหี ลักฐานสนบั สนนุ ดา้ นภาษาศาสตร์ รวมทง้ั ขดั กับการอพยพโดย ทว่ั ไปท่ีตอ้ งอพยพจากเหนอื ลงใต้ ไมใ่ ช่ใตข้ ้ึนไปข้างบน 2.3 การสถาปนาอาณาจกั รของคนไทย 1.อาณาจกั รสโุ ขทยั บรเิ วณทรี่ าบลมุ่ แมน่ ำ้� ยมและนา่ นคนไทยตง้ั อาณาจกั รสโุ ขทยั ไดเ้ มอื่ พอ่ ขนุ บางกลางหาวและ พอ่ ขนุ ผาเมอื งขบั ไลข่ อมออกไปจากดนิ แดนนี้ กอ่ นจะสถาปนาเปน็ อาณาจกั รสโุ ขทยั พ.ศ. 1792 พอ่ ขนุ ผาเมอื งเปน็ ปฐมกษตั รยิ ์ แห่งราชวงศ์พระร่วง ทรงพระนามว่า พ่อขุนศรอี ินทราทติ ย์ สโุ ขทยั เจรญิ สงู สดุ สมยั พอ่ ขนุ รามคำ� แหงมหาราชมเี มอื งประเทศราชจำ� นวนมากและสมยั พระมหาธรรมราชาที่๑ (ลิไทย) สุโขทัยเป็นศูนย์กลางพุทธศาสนาที่ส�ำคัญ อาณาจักรสุโขทัยถูกผนวกรวมกับอาณาจักรอยุธยาในปี พ.ศ. 2006 สมัย พระบรมไตรโลกนาถ 2.อาณาจกั รลา้ นนาเปน็ ดนิ แดนของคนไทยบรเิ วณภาคเหนอื กษตั รยิ พ์ ระองคส์ ำ� คญั คอื พอ่ ขนุ มงั รายอาณาจกั ร ลา้ นนานมคี วามรุ่งเรืองต่อมาก่อนจะตกเปน็ ประเทศราชของพม่า และเปน็ ประเทศราชของสยาม กอ่ นทีร่ ัชกาลท่ี 5 จะผนวก รวมเป็นสว่ นหน่ึงของไทย 3. อาณาจกั รอยธุ ยา เปน็ อาณาจกั รบรเิ วณภาคกลางตอนลา่ ง มีแม่น้�ำส�ำคัญไหลผา่ น คอื ลพบุรี ป่าสัก และ เจา้ พระยา เกดิ จากการรวมแควน้ ลพบรุ แี ละสพุ รรณภมู ิ โดยพระเจา้ อทู่ อง พ.ศ. 1893 เจรญิ รงุ่ เรอื งตอ่ มาเปน็ เวลา 417 ปี และ ล่มสลายลงในปี 2310 3. พัฒนาการดา้ นการเมือง การปกครองและสงั คมไทย ในหัวข้อนเี้ ราจะมารจู้ ักประวตั ศิ าสตรไ์ ทยในแงม่ ุมของการเมือง การปกครองและสงั คมไทย โดยจะเร่มิ ตัง้ แต่ช่วงการ ปฏิรปู ประเทศให้ทันสมัย สมยั รชั กาลที่ 4 เปน็ ตน้ มา มกี ารเปลย่ี นแปลงการปกครอง และสมัยประชาธปิ ไตย โดยเน้ือหาชว่ ง เวลาก่อนหนา้ นั้น เราเรยี นไปแล้วในสมัยมธั ยมต้นนั่นเอง 3.1 การเมอื ง การปกครองและสังคมไทยสมยั ปฏิรปู ประเทศให้ทันสมยั เราตอ้ งเข้าใจกอ่ นว่า “ทันสมยั ” คอื การท�ำ ประเทศให้เป็นตะวันตกหรือเปน็ ฝร่งั เรมิ่ ตัง้ แตส่ มัยรชั กาลที่ 4 เปน็ ต้นมา และโดดเดน่ อยา่ งมากสมยั รัชกาลท่ี 5 สาเหตสุ ำ� คัญ ท่ีท�ำให้ไทยต้องเปลี่ยนแปลงตัวเองให้ทันสมัย คือ ช่วงเวลาดังกล่าวเป็นช่วงเวลาของลัทธิจักรวรรดินิยม ชาวตะวันตกต่าง พยายามมาลา่ อาณานคิ มนอกยุโรป โดยชาวตะวนั ตกมคี วามคดิ ว่าเปน็ ภาระหนา้ ทีข่ องคนผิวขาว (White Man’s Burden) ทีจ่ ะ เขา้ ไปพฒั นาใหค้ นพืน้ เมืองแตล่ ะทใี่ ห้เจริญ/ศวิ ิไลซ์ (Civilize) ดงั น้นั ชนช้ันน�ำสยามจ�ำเปน็ ต้องปรบั ปรงุ ประเทศเพือ่ ให้ตัวเอง ดศู วิ ิไลซ์ ป้องกันการเข้ามาของฝรั่ง พระมหากษัตรยิ ์ พระราชวงศ์และชนชัน้ น�ำไทยให้ความสนใจกับวิทยาการสมยั ใหม่แบบ ตะวนั ตก ยอมรบั ความกา้ วหนา้ ตา่ งๆ ไดร้ บั การศกึ ษาแบบตะวนั ตก มองเหน็ วา่ ภาษาองั กฤษจะเปน็ กญุ แจสำ� คญั ไปสคู่ วามรเู้ พอื่ ให้สยามศิวไิ ลซน์ ัน่ เอง 1. การรเิ รมิ่ เปลี่ยนแปลงประเทศใหท้ นั สมัยสมัยรชั กาลท่ี 4 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจา้ อยู่หัว รชั กาล ท่ี 4 พระองคท์ รงเปน็ กษตั รยิ ์ทยี่ อมรบั และสนใจวิทยาการตะวันตกอย่างมาก ทรงมีความร้ภู าษาองั กฤษอยา่ งดี รวมทั้งขณะที่ ทรงผนวชก่อนเปน็ กษัตริยก์ ็ไดเ้ สด็จไปตามทีต่ า่ งๆ ของสยาม ท�ำให้รู้ปัญหาของประชาชนเป็นอย่างดี ดังนน้ั เมอ่ื พระองค์ทรง เป็นกษัตริยจ์ งึ นำ� มาสกู่ ารเปลี่ยนแปลงประเพณบี างอย่างใหท้ นั สมัยมากขน้ึ ดังน้ี ทรงยกเลิกกฎเกณฑ์ท่ีล้าสมัยให้ประชาชนสามารถใกล้ชิดพระมหากษัตริย์ได้มากข้ึน ก่อนหน้า ประชาชนไม่สามารถรอรับเสด็จพระมหากษัตริย์ได้ระหว่างทางเสด็จพระราชด�ำเนิน รวมทั้งปรับปรุงการถวายฎีกาให้กษัตริย์ แตเ่ ดมิ ตอ้ งถกู เฆย่ี นก่อนจะถวายฎกี าได้ 102 ตวิ เข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

ทรงมปี ระกาศใหส้ ทิ ธิ เสรภี าพและความเสมอภาคแกป่ ระชาชน เชน่ ใหเ้ สรภี าพในการนบั ถอื ศาสนา นางใน สามารถลาออกไปแตง่ งานได้ ห้ามบงั คบั สตรีแต่งงานหากไมเ่ ต็มใจ ฯลฯ ทรงรเิ ริ่มร่วมดมื่ นำ�้ พระพพิ ัฒนส์ ัตยากบั เจา้ นาย ขนุ นาง และข้าราชการ ซงึ่ แตเ่ ดมิ พระมหากษตั รยิ จ์ ะไม่ ทรงดื่มน้�ำพระพิพัฒน์ เนื่องจากพิธีนี้จะเป็นพิธีที่เจ้านายและขุนนางจะแสดงความจงรักภักดีต่อกษัตริย์ แต่พระองค์ทรงร่วมดื่มน�้ำพระพิพัฒน์สัตยาด้วยแสดงถึงความตั้งใจจริงที่จะซ่ือตรงในความยุติธรรมต่อผู้ใต้ปกครอง เช่นเดยี วกัน ทรงสนใจความรู้และวิทยาการตะวันตก ซึ่งพระองค์จ้างชาวต่างชาติมาเป็นครูสอนภาษาอังกฤษให้กับ พระโอรสและธิดา และความรู้แบบใหม่ต่างๆที่ต่อมาจะเป็นรากฐานต่อการพัฒนาด้านการศึกษาแผนใหม่สมัย รัชกาลท่ี 5 2.การปฏริ ปู แบบพลกิ แผน่ ดนิ สมยั รชั กาลท่ี5ในรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ถอื เปน็ ชว่ งเวลา แห่งการปฏิรูปบ้านเมืองคร้ังใหญ่ จนถือว่าเป็นการปฏิรูปแบบพลิกแผ่นดิน เน่ืองจากทรงปรับเปลี่ยนประเทศในแทบทุกด้าน ทรงยกเลกิ แนวทางเดิมทใ่ี ชม้ าตงั้ แตอ่ ยุธยาและนำ� รปู แบบการบรหิ ารราชการแบบใหม่เข้ามาแทนท่ี ดังต่อไปน้ี ทรงยกเลกิ ประเพณที ลี่ า้ สมยั เชน่ ใหผ้ มู้ าขอเขา้ เฝา้ ยนื และถวายคำ� นบั แทนการหมอบคลานดงั เชน่ ในอดตี เปน็ ต้น ทรงยกเลิกระบบไพร่ ระบบไพร่ คือ การเกณฑ์แรงงานประชาชนไปท�ำงานใหแ้ กม่ ูลนาย/ราชการโดยไม่ได้ รับค่าจ้าง (ฟรี) สาเหตุส�ำคัญที่ยกเลิกระบบไพร่เพ่ือรวมอำ� นาจสู่กษัตริย์ ลดอ�ำนาจขุนนาง อีกทั้งยังมีจุดประสงค์จะต้ังกอง ทหารแบบตะวนั ตกแทนการเกณฑไ์ พรม่ าออกรบ ประชาชนสามารถทำ� งานได้เสรี ทำ� ให้เกดิ แรงงานอิสระ วธิ ีการส�ำคญั ของ รชั กาลที่ 5 คอื การประนปี ระนอมคอ่ ยเปน็ คอ่ ยไปโดยจดั ตง้ั กองทหารหนา้ เพอ่ื รบั สมคั รไพรเ่ ขา้ เปน็ ทหารโดยสมคั รใจ จนสดุ ทา้ ย ทรงออก พ.ร.บ.ลักษณะการเกณฑ์ทหาร พ.ศ. 2448 ให้ชายไทยต้องเกณฑ์ทหารแทนการเกณฑแ์ รงงานแบบระบบไพรน่ น่ั เอง ทรงเลิกทาสแบบค่อยเป็นค่อยไป ซึ่งใช้เวลายาวนานกว่า 31 ปี จึงส�ำเร็จท้ังประเทศโดยไม่เกิดสงคราม ขนาดใหญ่ ซง่ึ ถอื เป็นการปฏวิ ัตสิ ังคมไทยคร้งั ใหญ่ให้ชาวไทยไดร้ ับอิสรภาพ เสรภี าพและความเสมอภาคเท่าเทียมกนั ทรงจัดตั้งโรงเรียนและการศึกษาแบบตะวันตก ทรงจัดต้ังโรงเรียนหลวงขึ้นช่ือ โรงเรียนพระต�ำหนัก สวนกุหลาบ ต่อมาจงึ ขยายเปน็ โรงเรยี นส�ำหรบั ราษฎรทวั่ ไป และโรงเรียนแห่งแรก คือ วดั มหรรณพาราม และจัดตั้งกระทรวง ธรรมการ (= ศกึ ษาธิการ) ดแู ลการศึกษาทัว่ ประเทศ การปฏิรูปการปกครองสมัยรชั กาลที่ 5 สามารถแบ่งเป็น 2 ชว่ ง คอื ชว่ งแรกเปน็ ช่วงต้นรชั กาล ทพ่ี ระองค์ ยังไมบ่ รรลุนติ ิภาวะและขนุ นางร่นุ เกา่ ยงั มอี ิทธพิ ลอยู่มาก ส่วนช่วงท่สี องเป็นช่วงท่พี ระองคม์ ีอำ� นาจในการบริหารประเทศได้ อย่างเต็มท่ี ไปในแนวทางของชาติตะวันตก ซ่ึงจุดประสงค์ส�ำคัญของการปฏิรูปแบบพลิกแผ่นดิน คือ การรวมอ�ำนาจเข้าสู่ ศนู ย์กลาง = กรงุ เทพฯ และพระมหากษตั ริย์ อย่างแท้จรงิ อกี ทง้ั ยังเป็นการปฏิรปู เพ่ือใหส้ ยามทนั สมัยตามแบบตะวันตกดว้ ย ในช่วงแรกท่ีพระองคข์ ึน้ ครองราชย์ เป็นการเนน้ การวางรากฐานอำ� นาจใหแ้ กก่ ษตั ริยเ์ จ้านายและขนุ นางแบ่งเปน็ 2 ความคดิ คือ หวั ใหม่ กบั หัวเกา่ ซ่ึงพวกกลุ่มหัวใหมพ่ ยายามจะพฒั นาประเทศไปแบบตะวันตก ขณะท่ีอีกฝา่ ยจะพยายามรกั ษาสิ่งเดิมๆ รัชกาลที่ 5 ทรงพยายามประนปี ระนอมโดยจัดต้งั สภา 2 สภา คือ สภาที่ปรึกษาราชการแผน่ ดนิ (Council of State) ให้อ�ำนาจ กบั ขนุ นางรนุ่ เกา่ ขณะทขี่ นุ นางรนุ่ ใหม่ รนุ่ ราวคราวเดยี วกบั รชั กาลท่ี 5 จะนงั่ อยใู่ นสภาองคมนตรี (Privy Council) เปน็ ทปี่ รกึ ษา สว่ นพระองค์ และปฏบิ ัตงิ านตามพระราชประสงคอยา่ งไรก็ดี การท�ำงานของพระองค์ยังไมป่ ระสบผลส�ำเร็จเทา่ ท่ีควรนัก ในชว่ งทสี่ อง เปน็ การปฏริ ูปการปกครองเพ่อื รวมอ�ำนาจเขา้ สกู่ ษตั ริยแ์ ทบทกุ ดา้ นและมรี ะบบการบรหิ าร ราชการแผน่ ดินแบบใหม่แทนแบบเดมิ ท่ใี ชก้ ันมาต้งั แตอ่ ยุธยา ได้แก่ • ระบบบรหิ ารราชการส่วนกลาง ยกเลิกจตสุ ดมภ์ และนำ� ระบบ “กระทรวง” มาใชแ้ ทน โดยแตล่ ะกระทรวง มเี สนาบดเี ปน็ ผบู้ รหิ ารสงู สดุ และจะมกี ารประชมุ เสนาบดสี ภารว่ มกนั เชน่ เดยี วกบั การประชมุ คณะรฐั มนตรใี นปจั จบุ นั โดยแรก เริม่ มี 12 กระทรวง เชน่ 1) มหาดไทย ดแู ลหวั เมอื งเหนือและเมอื งลาว 2) กลาโหม ดแู ลหวั เมืองใต้ หวั เมอื งตะวนั ออก และ เมอื งมลายา 3) ธรรมการ ดแู ลเรอ่ื งการศกึ ษา สาธารณสขุ และสงฆ์ 4) มรุ ธาธกิ าร ดแู ลรกั ษาแผน่ ดนิ และงานระเบยี บสารบรรณ ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 103

ฯลฯ • ระบบบริหารราชการส่วนภูมิภาค ทรงยกเลกิ ระบบเมอื งตามแบบเกา่ และจดั รูปแบบใหมโ่ ดยรวมหวั เมอื ง ต่างๆ เป็น “มณฑล” มีข้าหลวงเทศาภิบาล/สมุหเทศาภิบาลเป็นผู้ปกครองมณฑลขึ้นตรงต่อส่วนกลาง แต่ ข้าหลวงก็ส่งมาจากส่วนกลาง มิใช่เป็นเจ้าเมืองท้องถ่ินแบบเดิม เพื่อให้รัฐบาลส่วนกลางสามารถดูแลและด�ำเนินนโยบายได้ อยา่ งเตม็ ท่ี มีทงั้ สน้ิ 18 มณฑล เช่น มณฑพายพั มณฑลอีสาน มณฑลนครราชสีมา มณฑลภูเกต็ มณฑลเขมร เป็นต้น ซ่งึ การ ยกเลิกระบบหัวเมืองและใช้ระบบมณฑลแทน ท�ำให้ส่วนกลางคือ กรุงเทพฯและกษัตริย์มีอ�ำนาจมาก และเจ้าเมืองเดิม เสยี อำ� นาจ น�ำมาสู่การก่อกบฏและตอ่ ต้านจากเจ้าเมืองต่างๆ ด้วย • ระบบบรหิ ารราชการส่วนทอ้ งถน่ิ ทรงจัดรูปแบบการปกครองทเ่ี รียกวา่ “สขุ าภิบาล” เพื่อใหป้ ระชาชนรจู้ กั พงึ่ พาและช่วยเหลือตนเอง ถอื วา่ เป็นการวางรากฐานประชาธิปไตยในระดับทอ้ งถน่ิ สว่ นกลาง ยกเลิกจตุสดมภ์ ตง้ั กระทรวง ถือเป็นการรวม ส่วนกลาง ส่วนภูมภิ าค ยกเลกิ หัวเมือง ต้งั มณฑล อำ� นาจเข้าสู่ (กษัตริย์/กรุงเทพฯ) ส่วนท้องถิ่น ตั้งสุขาภิบาล ศนู ยก์ ลาง การปฏิรูปการศาลและกฎหมาย ทรงจัดให้มีการปรับปรุงศาลไทยให้เป็นที่ยอมรับในสายตา ชาวตะวันตก เน่ืองจากแต่เดิมตะวันตกไม่เช่ือถือในระบบศาลแบบเดิม ไม่ยอมข้ึนศาลไทย อีกท้ังยังมีการออกกฎหมายตาม ลักษณะสากล 3. กอ่ นประชาธิปไตยจะมาถึง สมยั รัชกาลท่ี 6 และรัชกาลท่ี 7 ในสมยั รัชกาลที่ 6 - 7 น้นั เป็นช่วงเวลาท่มี กี ารตอ่ ยอดจากสมัยรัชกาลท่ี 5 โดยท้ังสองพระองคท์ รงสำ� เรจ็ การศึกษาจากประเทศอังกฤษ ท้ังสองพระองค์ทรงมีพระบรมราโชบายในการปกครองตามแบบตะวันตก เพ่ือพัฒนาสยาม ให้ทนั สมยั ดังน้ี สมัยรัชกาลที่ 6 ทรงยุบรวมกระทรวงทีท่ บั ซ้อนกันตัง้ กระทรวงใหม่ รวมทง้ั ยุบระบบมณฑลและจัดต้ัง ‘ภาค’ ขึ้นมาใช้ บริหารราชการแผ่นดินแทน รวมทั้งทรงยกระดับการศึกษา คือ ตราพระราชบัญญัติประถมศึกษา2464 ให้คนไทยทุกคนต้อง ผา่ นการศกึ ษาภาคบงั คบั และขยายการศึกษาในระดบั อดุ มศึกษา โดยจัดตง้ั จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ขึ้นสมยั รชั กาลท่ี 7 ทรง จดั ตง้ั อภริ ฐั มนตรสี ภา เปน็ ทปี่ รกึ ษาในพระองคแ์ ละราชการแผน่ ดนิ โดยเปน็ เจา้ นายชน้ั สงู ในพระราชวงศเ์ พม่ิ เตมิ จาก องคมนตรี สภา ทจ่ี ะดแู ลเร่ืองส่วนพระองค์ และเสนาบดีสภา ดูแลกระทรวงต่างๆ ทงั้ นี้ ทรงมพี ระราชด�ำรจิ ะพระราชทานรัฐธรรมนูญให้ แก่ประชาชนสยามในวนั ที่ 6 เม.ย. 2475 เพอ่ื เฉลมิ ฉลองครบรอบ 150 ปกี รุงรตั นโกสนิ ทร์ แตถ่ ูกคัดค้านจากเจา้ นายผู้ใหญ่ และอีกไม่กเี่ ดอื นต่อมากเ็ กิดการเปล่ยี นแปลงการปกครองโดยคณะราษฎร การเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 และประชาธิปไตยในชว่ งแรกเร่ิม 1. การเรียกร้องประชาธปิ ไตยก่อนการเปล่ียนแปลงการปกครอง เราอาจคิดวา่ การเปลี่ยนแปลงการปกครองคอื จดุ เปลีย่ นในประวัตศิ าสตร์ แตเ่ อาเข้าจริงในช่วงกอ่ นปี 2475 ได้มีกลุ่มคนต่างๆ พยายามจะเรียกร้องให้ประเทศมีรัฐธรรมนูญในการปกครองประเทศตามแบบตะวันตกที่มีผลต่อกลุ่ม ผู้กอ่ การในปี 2475 เหตุการณ์สำ� คญั คอื 104 ตวิ เข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

คำ� กราบบงั คมทูล ร.ศ. 103 มเี จ้านายและขนุ นาง ณ ลอนดอน และปารสี ถวายหนังสอื คำ� กราบบังคมทลู แด่ รัชกาลท่ี 5 มีจุดประสงค์เพื่อให้ทรงเปล่ียนแปลงการปกครองของประเทศสยาม จากสมบูรณาญาสิทธิราชย์เป็น “คอนสติติวชั่นแนล โมนากี” (Constitutional Monarchy) หรือกษัตริย์ใต้รัฐธรรมนูญ หากแต่รัชกาลที่ 5 ทรงไม่เห็นด้วย เน่ืองจาก ประชาชนสยามยังไม่พร้อม ต้องวางรากฐานและปฏิรูปประเทศเสียก่อนเป็นอันดับแรก ค�ำกราบบังคมทูล ดงั กล่าวจึงตกไป แต่กถ็ ือเป็นจุดเรมิ่ ต้นของการเรียกรอ้ งประชาธปิ ไตย กบฏ ร.ศ. 130 สมยั รชั กาลท่ี 6 ทมี่ จี ดุ มงุ่ หมายลม้ เลกิ ระบอบกษตั รยิ แ์ ละเปลยี่ นเปน็ สาธารณรฐั ( = ไมม่ กี ษตั รยิ ์ มปี ระธานาธิบดี) ซึ่งกบฏกลุ่มดังกล่าวกโ็ ดนปราบปราม แต่กส็ รา้ งความวติ กใหก้ ับรฐั บาลไมน่ ้อย 2. การเปล่ียนแปลงการปกครอง 2475 ในเชา้ วนั ท ่ี 24 มถิ นุ ายน 2475 คณะผกู้ อ่ การทชี่ อ่ื วา่ “คณะราษฎร” ทป่ี ระกอบดว้ ยฝา่ ยทหารและฝา่ ยพลเรอื น ไดท้ ำ� การยดึ อำ� นาจเปลีย่ นแปลงการปกครองไดส้ ำ� เรจ็ และได้สง่ ค�ำกราบบงั คมทลู ไปถึงรัชกาลที่ 7 ให้ทรงยอมรบั การกอ่ การ ครง้ั น้ี ซง่ึ ผลปรากฏวา่ รชั กาลที่ 7 ทรงไมต่ อ้ งการใหเ้ กดิ การตอ่ สกู้ ลางเมอื ง อกี ทง้ั ทรงมพี ระราชดำ� รจิ ะพระราชทานรฐั ธรรมนญู ให้ประชาชนสยามอยู่เดมิ แล้ว ดังน้นั การเปลยี่ นแปลงการปกครองครั้งนจี้ งึ เป็นไปโดยไมเ่ สยี เลือดเนอื้ โดยท่รี ชั กาลที่ 7 ทรง ลงพระปรมาภไิ ธยในรฐั ธรรมนญู ฉบบั ชว่ั คราว วนั ท่ี 27 มิถนุ ายน 2475 ถอื เป็นรัฐธรรมนูญฉบับแรกของไทย บคุ คลทเ่ี ปน็ ผเู้ ขา้ รว่ มกอ่ การนน้ั สว่ นใหญเ่ ปน็ นกั เรยี นนอกทไี่ ปศกึ ษาอยตู่ า่ งแดนและตา่ งตอ้ งการนำ� ความรทู้ ตี่ วั เองได้ เรียนกลับมาพัฒนาสยามให้เป็นอารยะ ในคณะราษฎรประกอบด้วยฝ่ายทหาร มีพลเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา เป็นหัวหน้า และมีนายทหารหนุ่ม เช่น พระยาทรงสุรเดช พระยาฤทธิอัคเนย์ หลวงพิบูลสงคราม (แปลก ขีตตะสังคะ) เป็นตน้ และดา้ นฝ่ายพลเรอื น มีหลวงประดิษฐ์มนูธรรม (ปรีดี พนมยงค์) เป็นหวั หน้า สาเหตสุ ำ� คัญที่นำ� มาสูก่ ารเปล่ียนแปลงการปกครองมีดว้ ยกนั หลายข้อด้วยกนั ดังน้ี การศึกษาสมัยใหม่ ที่ได้รับการวางรากฐานมาตั้งแต่สมัยรัชกาลท่ี 5 เป็นต้นมา ท�ำให้เกิดชนช้ันน�ำท่ีมี การศกึ ษาสงู และมีโอกาสไดไ้ ปเล่าเรยี นทีต่ า่ งประเทศ เราคงได้สงั เกตว่า สมาชิกในคณะราษฎรตา่ งเป็นนกั เรยี นนอกเสียสว่ น ใหญ่ เชน่ ปรดี ี พนมยงค์ หลวงพบิ ลู สงคราม เปน็ ตน้ ซง่ึ ผลกค็ อื คนเหลา่ นต้ี อ้ งการนำ� ความรแู้ บบใหมม่ าพฒั นาชาตไิ ทยนน่ั เอง การแพรอ่ ารยธรรมแบบตะวนั ตกเขา้ สไู่ ทย ซงึ่ ความคดิ ดา้ นการเมอื งการปกครองแบบประชาธปิ ไตยกเ็ ปน็ ส่วนหนงึ่ ที่เข้ามากับวิทยาการต่างๆ ต้งั แตส่ มยั ปฏิรูปประเทศเป็นต้นมา การปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองในต่างแดน ช่วงเวลาดังกล่าวในหลายประเทศมีการปฏิวัติเปล่ียน การปกครอง เชน่ ในจนี เกดิ การลม้ ราชวงศแ์ ละระบอบจักรพรรดิ สถาปนาสาธารณรฐั แทน ในตุรกมี กี ารโคน่ ล้มระบอบสุลต่าน รสั เซยี ลม้ ระบอบกษัตริย์ ฯลฯ ซึ่งเป็นแรงกระตุน้ ให้น�ำมาส่กู ารเปลย่ี นแปลงการปกครองของชาวไทยด้วย สภาวะเศรษฐกจิ ตกตำ�่ อยา่ งรนุ แรงท่วั โลก หลังสงครามโลกคร้ังท่ี 1 เหตุการณ์ดังกล่าวส่งผลต่อ สยามดว้ ย แตร่ ฐั บาลสมยั รชั กาลที่ 7 ไมส่ ามารถแกไ้ ขปญั หาได้ นำ� มาสกู่ าร “ดลุ ” ขา้ ราชการออกจากงานเพอ่ื ลดรายจา่ ย สรา้ ง ความไม่พอใจในวงกว้าง ความบกพรอ่ งของระบอบสมบูรณาญาสทิ ธิราชย์ เนื่องจากในเวลาดังกลา่ วระบอบการปกครองแบบเดิม ไม่เหมาะสมกับสถานการณ์โลกท่ีเปลี่ยนแปลงไป สิทธิ เสรีภาพและความเสมอภาคกลายเป็นประเด็นใหญ่ในสังคมโลก รวม ทงั้ ระบอบดงั กลา่ วกไ็ มส่ ามารถแกไ้ ขปญั หาความเดอื ดรอ้ นแกร่ าษฎรไดท้ นั ทว่ งที ตวั อยา่ งทสี่ ำ� คญั คอื การแกไ้ ขปญั หาเศรษฐกจิ ตกตำ่� น่นั เอง ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครองได้จัดตงั้ ระบอบรฐั ธรรมนูญและสภาผ้แู ทนราษฎรข้นึ มีพระยามโนปกรณ์นิตธิ าดา เปน็ ประธานคณะกรรมการราษฎรคนแรก ตอ่ มาเปลย่ี นชอื่ ตำ� แหนง่ เปน็ นายกรฐั มนตรี ทใี่ ชม้ าจนถงึ ปจั จบุ นั โดยทคี่ ณะราษฎร มีแนวทางในการบริหารประเทศตาม “หลัก 6 ประการ” ของคณะราษฎร คือ 1) เอกราช 2) ความปลอดภัย 3) เศรษฐกิจ 4) สิทธิเสมอภาค 5) เสรีภาพ 6) การศกึ ษา ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya 105

3. ประชาธปิ ไตยในชว่ งแรกเร่มิ (2475 - 2500) สมยั พระยามโนปกรณน์ ติ ธิ าดา (2475 - 2476) สมยั นายกรฐั มนตรคี นแรกนนั้ เปน็ ชว่ งเวลาทม่ี คี วามขดั แยง้ ระหวา่ งคณะรัฐมนตรี และคณะราษฎรเรอ่ื งนโยบายทางเศรษฐกจิ สง่ ผลใหพ้ ระยาพหลพลหยหุ เสนา หวั หนา้ คณะราษฎรจงึ ท�ำการรัฐประหารในวันท่ี 20 มิ.ย. 2476 และขน้ึ ด�ำรงตำ� แหนง่ นายกรฐั มนตรีต่อแทน ชนวนขัดแย้งส�ำคัญที่น�ำมาสู่การรัฐประหารภายในช่วงเวลาเพียงปีเดียวหลังการเปล่ียนแปลงการปกครองมาจาก “เคา้ โครงเศรษฐกจิ ของหลวงประดษิ ฐม์ นธู รรม” หรอื เรยี กวา่ “สมดุ ปกเหลอื ง” ทห่ี ลวงประดษิ ฐม์ นธู รรม (ปรดี ี พนมยงค)์ เสนอ เป็นหลักการในการพัฒนาประเทศ น�ำมาสู่ความแตกแยกเป็น 2 ฝ่าย กลุ่มที่ไม่เห็นด้วยเกรงว่าหลักการดังการมีลักษณะเข้า ขา่ ยเปน็ คอมมวิ นสิ ต์ ขณะทฝี่ า่ ยเหน็ ดว้ ยตา่ งอา้ งถงึ ความจำ� เปน็ ทต่ี อ้ งแกไ้ ขปญั หาความยากจนของประชาชน ซง่ึ ความขดั แยง้ ดังกล่าวลุกลามใหญ่โตจนนายกรัฐมนตรีต้องประกาศปิดประชุมสภาและงดใช้รัฐธรรมนูญบางมาตรา ก่อนจะน�ำมาสู่การ รฐั ประหารในเดือนมถิ ุนายน 2476 สมยั พระยาพหลพลพยหุ เสนา (2476 - 2481) รฐั บาลชดุ ใหมข่ องพระยาพหลหลพยหุ เสนาประกอบดว้ ยสมาชกิ คณะราษฎร แนวทางในการบริหารประเทศเป็นที่ไม่พอใจกับเจ้านายและข้าราชการรุ่นเก่า กลุ่มท่ีเสียผลประโยชน์มีความ พยายามจะกลา่ วหาพระยาพหลฯนำ� ลทั ธคิ อมมวิ นสิ ตม์ าใชใ้ นประเทศไทยและตอ้ งการทำ� ลายระบอบกษตั รยิ ์ นำ� มาสเู่ หตกุ ารณ์ ส�ำคัญ คือ “กบฏบวรเดช” (2476) กบฏบวรเดช มีจุดประสงค์มุ่งต่อต้านอ�ำนาจของคณะราษฎรโดยตรง ผู้น�ำคือ พระองค์เจ้าบวรเดช อดีตเสนาบดี กระทรวงกลาโหม ร่วมกบั นายทหารจ�ำนวนหนง่ึ ยกก�ำลังจากสระบุรี อยธุ ยาและนครราชสมี าเพ่อื ยึดกรงุ เทพ ในเดอื นตลุ าคม 2476 โดยเรยี กคณะของตนเองว่า “คณะกู้บ้านเมือง” รฐั บาลไดม้ อบหมายให้หลวงพบิ ลู สงครามปราบปรามคณะดงั กลา่ วโดย เดด็ ขาด และฝ่ายคณะกูบ้ า้ นเมืองแพ้ รฐั บาลได้จบั กุมผู้เกยี่ วขอ้ งจ�ำนวนมากมาลงโทษ ตามมาดว้ ยการกวาดล้างผูต้ ้องสงสยั ดว้ ย ผลของการกบฏดงั กลา่ วมผี ลกระเทอื นอยา่ งมากตอ่ รชั กาลท่ี 7 กลา่ วคอื ทำ� ใหค้ ณะราษฎรหวาดระแวงพระองคว์ า่ มสี ว่ น รู้เห็นในการก่อกบฏ ความสมั พนั ธ์ระหว่างรชั กาลที่ 7 กับคณะราษฎรแย่ลงอย่างมาก การกบฏดังกล่าวน�ำมาสู่ความตึงเครียด จนกระท่ังในที่สุดรัชกาลที่ 7 ทรงมีพระราชหัตถเลขาสละราชสมบัติ ขณะ ประทบั อยปู่ ระเทศองั กฤษ เมอื่ วนั ที่ 2 มนี าคม 2477 กอ่ นทสี่ ภาผแู้ ทนราษฎรจะอญั เชญิ พระเจา้ วรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ อานนั ท มหิดล เปน็ กษัตริยร์ ชั กาลท่ี 8 ภายหลงั เหตกุ ารณก์ บฏรฐั บาลพระยาพหลพลพยหุ เสนากม็ คี วามมน่ั คงมากยง่ิ ขนึ้ และบรหิ ารประเทศตอ่ เนอื่ งมาจนถงึ ปี 2481 สมยั จอมพล ป.พบิ ูลสงคราม (2481 - 2487) หลวงพิบลู สงคราม ถอื ว่ามีบทบาทโดดเด่นอยา่ งมากจาก การปราบกบฏบวรเดช จนในปี 2481 ไดร้ บั เลอื กใหด้ ำ� รงตำ� แหนง่ นายกรฐั มนตรี ซง่ึ รฐั บาลในชว่ งเวลานบี้ รหิ ารประเทศทา่ มกลาง เหตุการณ์สงครามโลกคร้ังท่ี 2 นายกรัฐมนตรีคนน้ีได้น�ำรูปแบบการปกครองแบบ ‘ผู้น�ำทางการทหาร’ แบบเยอรมนี ญ่ีปุ่น อิตาลมี าใช้ เราคงเคยได้ยินกนั ว่า “เช่ือผนู้ �ำ ชาตพิ ้นภยั ” น้แี หละคือยุคของจอมพล ป. พิบลู สงคราม ในช่วงรัฐบาลพิบูลสงครามมีลักษณะเด่นของการกระตุ้นกระแสชาตินิยมอย่างสูง รวมท้ังมีการประกาศ “รัฐนิยม” วางแนวทางการด�ำเนนิ ชีวติ เพือ่ ใหป้ ระเทศไทยมีอารยะน่ันเอง ซงึ่ แนวทางดังกล่าวสามารถสรุปได้ดงั นี้ • ประกาศรัฐนิยม 12 ฉบบั เพ่ือใหป้ ระชาชนปฏิบตั ติ าม เช่น ต้องสวมหมวกเมื่อออกจากบา้ น เลิกกนิ หมาก เปลี่ยนช่อื ประเทศจากสยามเป็นไทย ประกาศให้วันท่ี 1 มกราคม เป็นวนั ปใี หม่ ปรบั ปรงุ การเขยี นให้เขยี นง่ายๆ ตดั พยัญชนะ บางตวั ออก ใชค้ �ำพดู “สวสั ด”ี เมอ่ื เจอกัน ฯลฯ • ม กี ารเขยี นตำ� ราประวตั ศิ าสตรใ์ นแนวทางชาตนิ ยิ มเพอื่ เชดิ ชคู วามกลา้ หาญของบรรพบรุ ษุ โดยมหี ลวงวจิ ติ รวาท การเปน็ ผู้ผลักดัน • มนี โยบายตอ่ ต้านชาวจนี 106 ตวิ เข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

• ตง้ั กรมโฆษณาการ (= กรมประชาสัมพนั ธ)์ เพื่อท�ำหนา้ ท่ีปลุกกระแสชาตนิ ยิ ม • ปลกุ ใจประชาชนใหส้ นบั สนนุ รฐั บาลในการทำ� สงครามกบั ฝรง่ั เศส เพอื่ ยดึ ดนิ แดนกมั พชู าและลาวคนื มาจาก ฝรงั่ เศส และสามารถทำ� ไดส้ ำ� เรจ็ ในปี 2484 เหตกุ ารณน์ หี้ ลวงพบิ ลู สงครามจงึ ไดร้ บั ยศ “จอมพล” ตามทเ่ี ราคนุ้ เคย คอื จอมพล ป.พิบลู สงคราม รัฐบาลจอมพล ป.พบิ ลู สงคราม ได้ประกาศเข้าร่วมสงครามรว่ มกบั ฝ่ายอักษะ เนื่องจากในช่วงปลายปี 2484 กองทัพ ญป่ี นุ่ ไดย้ กพลขนึ้ บกทช่ี ายฝง่ั ทางภาคตะวนั ออกและภาคใตข้ องไทย จงึ จำ� เปน็ ตอ้ งรว่ มมอื กบั ญปี่ นุ่ หากแตเ่ กดิ ฝา่ ยทไ่ี มเ่ หน็ ดว้ ย กับการตัดสนิ ใจของรัฐบาลจึงท�ำใหเ้ กดิ กลุม่ ท่ชี ่อื วา่ “ขบวนการเสรไี ทย” ขบวนการเสรีไทยเป็นขบวนการท่ีไม่เห็นด้วยกับการเข้าร่วมกับญ่ีปุ่น มีท้ังขบวนการเสรีไทยในไทยและในต่างประเทศ สำ� หรับกล่มุ ขบวนการเสรีไทยในประเทศไทยมีนายปรดี ี พนมยงค์ เป็นแกนนำ� ขบวนการเสรีไทยในสหรฐั อเมรกิ ามี ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช เป็นหวั หน้า และขบวนการเสรีไทยในองั กฤษมี ม.จ.ศุภสวัสดวิ์ งศ์สนทิ สวสั ดิวัฒน์ เปน็ หัวหนา้ ซงึ่ การดำ� เนนิ งานของ เสรไี ทยเปน็ ไปอย่างลำ� บากแตก่ ็ประสบความสำ� เร็จ ในช่วงปี 2487 เปน็ ต้นไป ญี่ปุ่นเริ่มเพล่ียงพลำ้� ในสงคราม รัฐบาลไทยจงึ มีแผนการจะย้ายเมืองหลวงไปอยเู่ พชรบรู ณ์ พรอ้ มกับจะมกี ารเปลี่ยนรฐั บาลเพอ่ื สะดวกต่อการเจรจา เม่ือไทยกลายเปน็ ประเทศแพ้สงคราม หากแตค่ วามคดิ ดงั กลา่ วต้อง ตกไป และจอมพล ป.พิบูลสงครามจำ� ตอ้ งลาออกจากต�ำแหน่งนายกรฐั มนตรใี นเดอื นกรกฎาคม 2487 สมยั รฐั บาลพลเรอื น (2487-2490) ภายหลงั จอมพล ป.พบิ ลู สงครามลาออก นายควง อภยั วงศ์ เขา้ รบั ตำ� แหนง่ นายกรัฐมนตรีแทน แต่ในช่วงแรกยังไม่สามารถบริหารประเทศได้เต็มท่ีเน่ืองจากอยู่ใต้อ�ำนาจของญ่ีปุ่น จนกระทั่งวันที่ 14 สิงหาคม 2488 ญ่ีปุ่นประกาศยอมแพ้สงคราม ฝา่ ยไทยโดยนายปรดี ี พนมยงค์ ในฐานะผสู้ �ำเร็จราชการแทนพระองคร์ ัชกาลท่ี 8 มปี ระกาศว่า สถานการณ์สงครามระหว่างไทยกบั ฝ่ายสัมพนั ธมิตรเป็นโมฆะ โดยอ้างเหตุผลว่า ประชาชนชาวไทยไมเ่ หน็ ด้วย กบั รฐั บาล และยกเรื่องขบวนการเสรีไทยมายืนยนั เหตุผลดังกล่าว นายควง อภัยวงศ์ ได้ลาออกจากต�ำแหน่งเพ่ือเปิดช่องให้ ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช ในฐานะหัวหน้าเสรีไทยในสหรัฐฯ กลับมาด�ำรงต�ำแหน่งนายกรัฐมนตรี จัดตั้งรัฐบาลและเป็นผู้น�ำในการเจรจากับฝ่ายสัมพันธมิตร ซึ่งผลออกมา ไทยสามารถ เจรจาไดส้ �ำเรจ็ ไม่ถูกมหาอ�ำนาจยึดครองแต่ต้องคืนดนิ แดนที่ยึดไปจากฝรั่งเศสและองั กฤษคืน เมอ่ื เหตกุ ารณต์ ่างๆ พ้นไปแลว้ ในเดือนมกราคม 2489 ไดม้ ีการเลอื กตั้งส.ส.คร้งั ใหม่ มีนายควง อภยั วงศ์ เปน็ นายก รฐั มนตรี หากแตป่ ระสบปัญหาเศรษฐกจิ ตกตำ่� กอ่ นจะมีการเปลย่ี นนายกรัฐมนตรเี ป็น นายปรีดี พนมยงค์ ในเดือนมนี าคม ในช่วงเวลาดังกล่าวถือว่าการเมืองไทยเดินหน้าไปด้วยดี มีการจัดตั้งพรรคการเมืองต่างๆ เพ่ือแข่งขันทางการเมือง เช่น พรรคประชาธปิ ัตย์ ของนายควง อภยั วงศ์ พรรคสหชีพ ของนายปรีดี พนมยงค์ ฯลฯ หากแตใ่ นวันท่ี 9 มถิ ุนายน 2489 รชั กาลที่ 8 เสดจ็ สวรรคตอยา่ งกะทันหัน นำ� มาสูค่ วามยุ่งยากต่อรัฐบาลของนายปรดี ี พนมยงค์ อย่างมาก กล่าวคือ รัฐบาลไม่ สามารถสรปุ สาเหตแุ หง่ การสวรรคตของพระเจา้ อยหู่ วั ได้ เกดิ การวพิ ากษว์ จิ ารณอ์ ยา่ งกวา้ งขวาง รวมทง้ั มกี ารใสร่ า้ ยนายปรดี ี โดยการส่งคนไปตะโกนในสถานท่ีสาธารณะด้วยว่า “ปรีดีฆ่าในหลวง” เหตุการณ์ต่างๆ น้ีเองจึงกดดันให้นายปรีดี พนมยงค์ ลาออกจากต�ำแหน่ง และหลวงธำ� รงนาวาสวสั ด์ิ เข้าด�ำรงต�ำแหน่งแทนในเดือนสงิ หาคม 2489 สมัยแห่งการปฏิวัติรัฐประหาร (2490-2500) จากกรณีสวรรคตของรัชกาลที่ 8 ที่ท�ำให้เกิดความยุ่งยาก ทางการเมอื ง รวมทัง้ ภาวะหลงั สงครามท่ีเศรษฐกิจตกต่�ำ ฝ่ายทหารนำ� โดยพลโทผนิ ชณุ หะวัน ได้กอ่ การรัฐประหารรัฐบาลใน เดอื นพฤศจกิ ายน 2490 และฝ่ายทหารไดเ้ ชญิ จอมพล ป.พิบลู สงคราม มาด�ำรงตำ� แหน่งนายกรัฐมนตรอี กี ครั้งหน่งึ ในปี 2491 ทงั้ น้ี ในช่วงท่ีจอมพล ป.พิบลู สงครามสมัยที่ 2 นเี้ ตม็ ไปดว้ ยความขัดแย้งของกลมุ่ การเมืองตา่ งๆ ท่ีนำ� ไปสู่การกอ่ กบฏหลาย ต่อหลายครงั้ ตวั อย่างเชน่ • กบฏเสนาธิการ 2491 นายทหารระดบั เสนาธิการตอ้ งการจะลม้ รฐั บาล แตไ่ มส่ �ำเร็จ • กบฏวงั หลวง 2492 ฝา่ ยกบฏยดึ วงั หลวงเป็นที่บญั ชาการแต่ถกู รัฐบาลปราบรนุ แรง ตวิ เข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 107

• กบฏแมนฮัตตัน 2494 นายกรัฐมนตรีถูกทหารเรือจับบนเรือแมนฮัตตัน ขณะท�ำพิธีรับมอบเรือ ล�ำนี้จากสหรัฐฯ รัฐบาลปราบปรามอยา่ งรุนแรงอีกเช่นกนั • ขบวนการเสรีภาพ 2494 นักคิดนักเขียนนักหนังสือพิมพ์ต่างออกมาเรียกร้องให้รัฐบาลให้ เสรภี าพและมงุ่ เปน็ ประชาธิปไตย หากแต่กถ็ กู ปราบปรามเช่นกัน รัฐบาลจอมพล ป.พิบลู สงครามสามารถบรหิ ารประเทศไดเ้ ป็นเวลานาน แมว้ ่าจะมีการตอ่ ต้านหลายคร้งั จนกระทงั่ ใน ปี 2500 รัฐบาลประกาศใหม้ ีการเลอื กต้งั ทัว่ ไป หากแตผ่ ลปรากฏวา่ มีการโกงกนั อย่างเห็นได้ชดั จงึ น�ำมาสกู่ ารประท้วงของ ประชาชนและการรฐั ประหารในปีเดียวกันน้นั 4. การเมอื งไทยภายใตอ้ ำ� นาจเผดจ็ การทหาร (2500 - 2516) การรฐั ประหารในปี 2500 นำ� โดยจอมพลสฤษด์ิ ธนะรชั ต์ ถือเป็นการเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าการเมืองการปกครองไทยครั้งใหม่ ที่ยกเลิกระบอบรัฐธรรมนูญและน�ำไปสู่ระบอบเผด็จการ ทหารเต็มรูปแบบยาวนานกวา่ 16 ปีจนถงึ เหตกุ ารณ์ 14 ตลุ าคม 2516 สมยั จอมพลสฤษดิ์ ธนะรชั ต์ (2501 - 2506) การปกครองในสมยั จอมพลสฤษดเ์ิ ปน็ ไปอยา่ งราบรน่ื เนอ่ื งจาก มกี ารกวาดลา้ งกลมุ่ ตอ่ ตา้ นตา่ งๆ พรรคการเมอื งถกู ยกเลกิ ไมม่ ฝี า่ ยคา้ น ถอื เปน็ ลกั ษณะเผดจ็ การเตม็ รปู แบบ โดยมธี รรมนญู การปกครองราชอาณาจกั รเปน็ กฎหมายทใ่ี หอ้ ำ� นาจสงู สดุ กบั นายกรฐั มนตรี โดยเฉพาะมาตรา 17 ระบใุ หน้ ายกรฐั มนตรมี อี ำ� นาจ สั่งการใดๆ ถ้าเป็นเร่อื งความมัน่ คงของประเทศ โดยไม่ตอ้ งใหศ้ าลตัดสิน นอกจากนน้ี ายกรัฐมนตรียงั สามารถส่ังประหารชีวติ ผูก้ ระท�ำผิดในข้อหาเกยี่ วกบั การเป็นคอมมวิ นสิ ต์ได้ ในสมยั จอมพลสฤษดิ์มกี าร “พัฒนา” อยา่ งขนานใหญ่ เนน้ ไปท่ีโครงสร้างพ้นื ฐานทง้ั ไฟฟา้ ประปา ถนนหนทางเพื่อ ส่งเสริมการลงทุนจากต่างชาติ โดยเฉพาะจากสหรัฐอเมริกา มีการวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติตามค�ำแนะน�ำจาก สหรัฐอเมริกาดว้ ย จอมพลสฤษด์ิ ธนะรัชต์ ถงึ แกอ่ สญั กรรมขณะที่ดำ� รงตำ� แหน่งนายกรัฐมนตรีในปี 2506 และมีจอมพลถนอม กิตตขิ จร ด�ำรงตำ� แหน่งสบื ต่อมา สมยั จอมพลถนอม กิตตขิ จร (2506 - 2516) จอมพลถนอมได้บรหิ ารประเทศตามแนวทางเผดจ็ การตอ่ จาก จอมพลสฤษดิ์ แต่ผ่อนคลายความเข้มงวดลง หากแต่ประเทศไทยตกอยู่ภายใต้ระบบเผด็จการเป็นเวลานาน จึงก่อให้เกิด กระแสการเรียกร้องประชาธปิ ไตย โดยเฉพาะจากกลมุ่ ชนชน้ั กลาง ดังน้ัน ในปี 2511 จอมพลถนอมไดป้ ระกาศใชร้ ัฐธรรมนูญ ฉบบั ใหม่ และปี 2512 มกี ารเลอื กตงั้ คร้ังใหม่ อย่างไรก็ตาม พรรคของจอมพลถนอมไดเ้ ปน็ เสยี งข้างมากในสภา จงึ ได้ด�ำรงตำ� แหนง่ นายกรฐั มนตรอี ีกครงั้ หากแต่ การบรหิ ารงานในระบบรฐั สภานน้ั สรา้ งความยงุ่ ยากใหแ้ กร่ ฐั บาลจอมพลถนอม จนนำ� มาสกู่ ารรฐั ประหารรฐั บาลตวั เอง ปี 2514 เพอื่ ลม้ เลกิ ระบอบประชาธปิ ไตยและนำ� ประเทศเขา้ สเู่ ผดจ็ การอกี ครง้ั หนงึ่ ซง่ึ การรฐั ประหารครงั้ นนี้ ำ� มาสคู่ วามไมพ่ อใจในหมู่ ประชาชนเป็นวงกวา้ งจนนำ� มาส่เู หตุการณว์ นั ท่ี 14 ตุลาคม 2516 4. ขบวนการประชาธิปไตยของประชาชน 1. เหตกุ ารณ์ 14 ตลุ าคม 2516 เปน็ การออกมาชมุ นมุ เรยี กรอ้ งใหม้ กี ารปกครองโดยใชร้ ฐั ธรรมนญู เปน็ แมบ่ ท กฎหมายทมี่ ผี รู้ ว่ มชมุ นมุ มหาศาลออกมาเรยี กรอ้ งจนเกดิ การปะทะกบั กำ� ลงั ทหารและตำ� รวจจนเกดิ ความสญู เสยี ครงั้ ใหญ่ นบั เป็นคร้งั แรกในประวตั ิศาสตร์ไทยทีม่ ีประชาชนจ�ำนวนมากเชน่ นอี้ อกมาเรยี กร้องประชาธิปไตย สาเหตุ ไดแ้ ก่ • การปกครองแบบเผดจ็ การเปน็ เวลายาวนาน • การทุจรติ คอร์รปั ชั่นในวงราชการอยา่ งต่อเนื่อง • ก ารขยายตวั ของปญั ญาชนชนชน้ั กลางนสิ ติ นกั ศกึ ษาอนั เปน็ ผลตอ่ เนอ่ื งมาจากการพฒั นาทางเศรษฐกจิ ซ่งึ คนกลุ่มนี้ตอ้ งการการปกครองแบบประชาธิปไตยอยา่ งแทจ้ ริง 108 ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya

• มหี ลายเหตกุ ารณม์ ากระตนุ้ ความไมพ่ อใจแกผ่ คู้ นมากขน้ึ เชน่ เหตกุ ารณเ์ ฮลคิ อปเตอรข์ องนายทหาร กลุ่มหนง่ึ ตกในขณะท่ีเขา้ ไปล่าสัตว์ป่าเขตอนรุ ักษ์ การพยายามรกั ษาอำ� นาจของนายกรัฐมนตรี ฯลฯ • ก ลมุ่ นสิ ติ นกั ศกึ ษาและปญั ญาชนจำ� นวนหนงึ่ แจกใบปลวิ เรยี กรอ้ งรฐั ธรรมนญู ตอ่ มาคนกลมุ่ นถ้ี กู จบั กลมุ่ และตง้ั ขอ้ หากบฏ ท�ำให้เกิดเปน็ ชนวนที่นำ� มาสู่การชมุ นุมใหญใ่ นมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตรใ์ ห้ปล่อยตวั ขบวนการนิสิตนักศึกษา นิสิตนักศึกษาถือเป็นแกนน�ำหลักในการขับเคล่ือนขบวนการเรียกร้อง รัฐธรรมนูญในคร้ังน้ี ถือว่าเป็นส่ิงใหม่ในสังคมไทย เป็นผลผลิตของระบบการศึกษาที่ขยายตัว รวมท้ังการขยายตัวของระบบ เศรษฐกิจแบบทุนนิยม ท�ำให้ชนช้ันกลางในเมืองขยายตัว คนกลุ่มนี้มีความคิดแบบประชาธิปไตยและต้องการให้ประเทศเป็น ประชาธิปไตยอย่างแท้จริง เหตุการณ์ 14 ตุลาและผลที่ตามมา วันที่ 13 ตุลาคม ศูนย์กลางนิสิตนักศึกษาฯ ได้เคลื่อนขบวนจาก มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตรอ์ อกไปสอู่ นสุ าวรยี ์ประชาธิปไตยกบั ผู้ร่วมชุมนมุ กวา่ 500,000 คน การชมุ นมุ ดูเหมอื นจะไปดว้ ยดีและ ผชู้ ุมนมุ ก�ำลงั จะเดินทางกลับ หากแตใ่ นเชา้ ตรูว่ นั ท่ี 14 ตลุ าคม ผูร้ ่วมชมุ นุมจำ� นวนหน่งึ เกิดการปะทะกับต�ำรวจ จนเหตกุ ารณ์ ลกุ ลามกลายเปน็ จลาจล มกี ารเผาสถานทร่ี าชการ และประชาชนถูกยงิ เสียชวี ิตจ�ำนวนมาก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัวทรง ออกประกาศทางโทรทศั นใ์ หย้ ตุ คิ วามรนุ แรง และตอ่ มาไดม้ ปี ระกาศวา่ จอมพลถนอม กติ ตขิ จร ไดอ้ อกจากตำ� แหนง่ นายกรฐั มนตรี แลว้ พร้อมกบั คนสนิทไดล้ ี้ภัยออกนอกประเทศ เหตุการณจ์ งึ เร่ิมคลค่ี ลายและกลับเข้าสภู่ าวะปกติ ภายหลงั เหตกุ ารณน์ ี้ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงโปรดเกลา้ ฯ แตง่ ตงั้ นายสญั ญา ธรรมศกั ด์ิ อธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์เป็นนายกรัฐมนตรีซ่ึงการบริหารประเทศในภาวะเช่นน้ีก็มีปัญหาหลายประการ หากแต่สามารถท่ีจะประกาศใช้ รฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2517 มสี าระส�ำคัญวา่ เป็นประชาธิปไตยมากกวา่ ฉบบั อ่ืนๆ ทเ่ี คยประกาศใชม้ าในอดตี เหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 นั้นถือว่าเป็นการเรม่ิ ต้นของช่วงเวลาที่ “ประชาธิปไตยแบ่งบาน” และมีการต้ังวันนี้เปน็ “วันประชาธปิ ไตย” โดยทมี่ ีการเรียกวันน้อี อกไปในหลายช่ือทั้ง “วันมหาวปิ โยค” หรือ “วนั มหาปตี ิ” ดว้ ย 2. เหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 ภายหลังเหตกุ ารณ์ 14 ตุลาคม 2516 ในสังคมไทยเกดิ ความแตกแยกทางความคิด มี การเรยี กรอ้ งสิทธหิ ลายกลมุ่ ซงึ่ มีการแบ่งเป็น “ฝา่ ยขวา” คอื กล่มุ อนรุ ักษ์นิยมทต่ี ้องการรกั ษาแบบแผนแบบเดมิ ไว้ ส่วน “ฝ่าย ซา้ ย” คอื กลมุ่ หวั กา้ วหนา้ ตอ้ งการเรยี กรอ้ งประชาธปิ ไตยเพอ่ื มวลชน ซง่ึ กลมุ่ ฝา่ ยซา้ ยนม้ี ผี กู้ ลา่ วหาวา่ เปน็ คอมมวิ นสิ ต์ ประกอบ ดว้ ยนสิ ติ นักศึกษา ปญั ญาชนตา่ งๆ จนฝ่ายขวาหวาดกลัวว่าจะทำ� การล้มลา้ งชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์และนำ� ประเทศเป็น คอมมวิ นิสต์ ในช่วงเวลาดังกล่าวจอมพลถนอม กิตติขจรได้กลับเข้ามาในประเทศ มีกลุ่มนิสิตนักศึกษาจ�ำนวนมากออกมาประท้วง หากแตถ่ กู ปราบปรามอยา่ งรนุ แรงบรเิ วณมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตรใ์ นวนั ท่ี 6 ตลุ าคม 2519 เหตกุ ารณน์ ที้ ำ� ใหน้ สิ ติ นกั ศกึ ษาสว่ น หนึ่ง หลบหนีเข้าป่าเพอ่ื เขา้ รว่ มกบั พรรคคอมมวิ นิสตแ์ หง่ ประเทศไทยเพอื่ ต่อสู้อำ� นาจรัฐดว้ ย 3. การเมืองไทยหลงั 6 ตลุ า 19 ถึงพฤษภาทมิฬ 2535 หลงั เหตกุ ารณ์ 6 ตุลาคม 2519 มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญ ฉบับปี 2519 มมี าตรา 21 ให้อ�ำนาจเด็ดขาดแก่นายกรัฐมนตรี และในทศวรรษ 2520 การเมอื งไทยเต็มไปดว้ ยเร่ืองของ “การ ปราบปรามภัยคอมมิวนิสต”์ ซ่ึงจะเหน็ ได้ว่ารัฐบาลนายธานินทร์ กรยั วิเชยี ร (2519 - 2520) มนี โยบายตอ่ ต้านคอมมวิ นสิ ตอ์ ย่าง สดุ ขวั้ ตอ่ มารฐั บาลพลเอกเกรยี งศกั ดิ์ ชมะนนั ทน์ (2520 - 2523) มนี โนบายการเมอื งนำ� การทหารในการปราบปรามคอมมวิ นสิ ต์ ดว้ ย กระท่งั ในสมยั พลเอกเปรม ตณิ สูลานนท์ (2523 - 2531) ได้มีการประกาศส�ำนกั นายกรัฐมนตรีฉบบั ท่ี 66/2523 เปลี่ยน นโยบายตอ่ คอมมิวนสิ ต์ คือ ไมเ่ อาโทษผู้ก่อการทกี่ ลับใจ เรียกผ้กู ลบั ใจว่า ผ้รู ่วมพฒั นาชาตไิ ทย ซ่ึงในเวลาตอ่ มาปัญหาเร่ือง คอมมิวนสิ ตก์ ไ็ ด้คลค่ี ลายและยตุ บิ ทบาทไปในทีส่ ุด ในช่วงตั้งแต่รัฐบาลเปรม ติณสูลานนท์เป็นต้นมาประเทศไทยได้มีนโยบายเร่งพัฒนาเศรษฐกิจ ในสมัยน้ีมีการพัฒนา ชายฝ่งั ตะวนั ออก (Eastern Seaboard) จนในสมยั รฐั บาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวนั (2531 - 2534) เปน็ รัฐบาลท่เี ปน็ นกั ธุรกจิ และนักวิชาการ ชนช้ันกลางมีบทบาททางการเมืองอย่างมากข้ึน ในรัฐบาลชุดนี้เป็นช่วงเวลาที่เศรษฐกิจพัฒนาและขยายตัว ติวเขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya 109

รวดเร็ว เพ่ือนำ� ประเทศไปสู่ประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มกี ารใชน้ โยบายส�ำคญั คือ “เปลี่ยนสนามรบเปน็ สนามการคา้ ” หากแต่ รฐั บาลของพลเอกชาตชิ ายถกู วจิ ารณว์ า่ มกี ารคอรร์ ปั ชน่ั อยา่ งมากและมคี วามขดั แยง้ กบั กองทพั จนกระทง่ั ในวนั ท่ี 23 กมุ ภาพนั ธ์ 2534 คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (รสช.) น�ำโดยพลเอกสจุ ินดา คราประยรู ได้ท�ำรัฐประหาร รา่ งรฐั ธรรมนูญใหม่ แต่งตัง้ ให้ นายอานันท์ ปันยารชุน เปน็ นายกรัฐมนตรี หากแต่ภายหลังการรฐั ประหารคณะรสช. มที ่าทีที่จะยดึ อ�ำนาจไว้ ทส่ี ำ� คญั คือ พลเอก สุจนิ ดาในตอนแรกไดก้ ล่าวไว้ว่า จะไม่รับต�ำแหน่งนายกรัฐมนตรี หากแต่ภายหลังการเลือกตั้งใหม่พลเอกสุจินดากลับได้รับการสนับสนุนให้เป็นนายกรัฐมนตรี จนเกิดความไม่พอใจในหมู่ประชาชน น�ำไปสู่การประท้วงท่ีสนามหลวง ซึ่งถือว่าเป็นการประท้วงของชนช้ันกลางจ�ำนวนมาก ในเดือนพฤษภาคม 2535 มีการใช้ก�ำลังทหารและต�ำรวจเข้าปราบปราม ประชาชนเสียชีวิต บาดเจ็บจ�ำนวนมาก จนในที่สุด พลเอกสุจินดายอมลาออกจากตำ� แหน่ง มกี ารโปรดเกลา้ ฯ ใหน้ ายอานันท์ ปนั ยารชนุ เปน็ นายกรัฐมนตรแี ทนอกี สมัยหนึง่ 4. ภายหลังพฤษภาทมิฬ 2535 ถงึ รัฐประหาร 2549 ภายหลังพฤษภาทมฬิ บทบาทของทหารในทางการเมอื งเรมิ่ ลด น้อยลง รัฐบาลต่างๆ ก็มาจากฝ่ายพลเรือน และมีความพยายามจะสร้างประชาธิปไตยให้กลับมา โดยมีการร่างรัฐธรรมนูญ ฉบับปี 2540 ท่เี ป็นประชาธิปไตยอยา่ งสูงมาจากประชาชนหลายภาคส่วนมสี ่วนร่วมในการรา่ ง มรี ฐั บาลพลเรอื นท่ีมาจากการ เลอื กต้ังผลดั เปล่ยี นมาบริหารประเทศ โดยมเี หตกุ ารณ์ทสี่ �ำคญั คือ เหตกุ ารณว์ กิ ฤตเศรษฐกจิ 2540 หรอื วกิ ฤตต้มย�้ำกงุ้ เกดิ ขน้ึ ในสมยั รฐั บาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ ทร่ี ัฐบาล ประกาศลอยตัวค่าเงินบาทเนื่องจากปัญหาเศรษฐกิจท่ีรุมเร้าอย่างหนัก จนกระทั่งท�ำให้สถาบันการเงินหลายแห่งล้มละลาย มีการเลิกจ้างงานจ�ำนวนมาก ประชาชนเดือดร้อนอย่างหนัก จนต้องกู้ยืมเงินจากกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (I.M.F) เพอื่ แกป้ ัญหาดังกลา่ ว รัฐบาลพ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร (2543 - 2549) ถือว่าเป็นรัฐบาลที่ได้รับการเลือกต้ังจากประชาชน จำ� นวนมากจนมที น่ี ง่ั เกนิ ครง่ึ หนง่ึ ของส.ส.ทง้ั หมด จนฝา่ ยคา้ นไมส่ ามารถอภปิ รายไมไ่ วว้ างใจได้ และมกี ารออกนโยบายประชา นยิ มจำ� นวนมาก ทท่ี ำ� ใหร้ ฐั บาลไดฐ้ านเสยี งจากประชาชนกลมุ่ ใหญจ่ นสามารถบรหิ ารประเทศไดค้ รบ 4 ปี และชนะการเลอื กตงั้ อีกครัง้ ในสมยั ที่สองเมือ่ เดอื นกุมภาพนั ธ์ 2548 แต่รฐั บาลชดุ นีไ้ ดถ้ กู วิจารณอ์ ยา่ งหนักเรื่องการทจุ รติ อย่างกวา้ งขวาง จนน�ำ ไปสกู่ ารชมุ นมุ ประทว้ งของกลมุ่ พนั ธมติ รประชาชนหรอื “เสอ้ื เหลอื ง” ทอี่ อกมาขบั ไลร่ ฐั บาลจนนำ� ไปสคู่ วามขดั แยง้ อยา่ งรนุ แรง ในสงั คมที่มผี ลสบื เน่ืองมาจนถึงปัจจบุ ัน รฐั ประหาร 19 กนั ยายน 2549 นำ� โดยพลเอกสนธิ บญุ ยรตั กลนิ ไดท้ ำ� การรฐั ประหารในขณะทนี่ ายกรฐั มนตรี ไปประชุมท่ตี า่ งประเทศ เรียกคณะว่า “คณะปฏริ ปู การปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมขุ ” และสัญญาว่าจะคืนอ�ำนาจแก่ประชาชนโดยเร็ว โดยโปรดเกล้าให้พลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ ด�ำรงต�ำแหน่งนายกรัฐมนตรี ซ่ึง รฐั บาลชดุ ดงั กลา่ วไดป้ ระสบปญั หาเศรษฐกจิ ของประเทศตกตำ่� จนถกู วพิ ากษว์ จิ ารณอ์ ยา่ งมากเรอ่ื งการแกไ้ ขปญั หารวมทง้ั การ บริหารประเทศลา่ ช้า การท�ำประชามติรัฐธรรมนูญฉบับปี 2550 รัฐบาลได้มีการเปิดโอกาสให้ประชาชนได้ออกเสียงแสดง ประชามติท่ัวประเทศเพื่อจะยอมรับรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ผลปรากฏว่าประชาชนส่วนใหญ่ยอมรับรัฐธรรมนูญ จึงมีการเรียก รัฐธรรมนูญฉบับน้ีว่า “รัฐธรรมนญู ฉบบั ประชามติ” 110 ตวิ เข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

สรุปภาพรวมประวัติศาสตรก์ ารเมอื งไทยในชว่ งหลงั เปล่ยี นแปลงการปกครอง ยุคเชื่อผนู้ ำ� ชาติพน้ ภยั + รัฐ สมยั รัฐประหาร รัฐประหาร 2549 นยิ ม + ปฏริ ูปวัฒนธรรม และการกอ่ กบฏ สมยั จอมพล ป. 1 สมยั จอมพล ป. 2 สมยั เผด็จการเตม็ รูป สมยั ปราบคอมมวิ นสิ ต์ เศรษฐกิจเฟอื่ งฟู (2481-2488) (2491-2500) (2500-2516) ทศวรรษ2520 ทศวรรษ 2530 2475 2480 2490 2500 2510 2520 2530 2540 2550 รัชกาลท่ี 7 สละราชย์ จอมพลสฤษด์ิท�ำ 6 ตุลา 2519 วิกฤตเศรษฐกจิ (2477) รฐั ประหาร 2500 14 ตุลา 2516 พฤษภาทมฬิ รฐั ประหารคร้งั แรก 2535 และกบฏบวรเดช (2476) รฐั ประหารครงั้ แรก และกบฏบวรเดช 5. พัฒนาการทางดา้ นเศรษฐกจิ ไทย 5.1 เศรษฐกจิ ไทยแบบยังชพี เศรษฐกจิ ไทยในอดตี ต้ังแตส่ โุ ขทยั เป็นต้นมาจนกระทั่งถึงชว่ งรัตนโกสนิ ทร์ตอนต้นเปน็ ไป แบบ “ยงั ชพี ” ทีข่ น้ึ อยกู่ บั การเกษตรกรรมเปน็ หลกั หมายถึง ระบบเศรษฐกิจทเี่ น้นการผลติ เพอ่ื บริโภคเองเป็นหลัก สว่ นเหลือ จงึ น�ำไปค้าขาย เปน็ การแลกเปล่ยี นสินคา้ ทใี่ ช้ของกับของมาก กวา่ การใชเ้ งินตราอย่างสมัยหลัง ส�ำหรับในชน้ั ม.ปลายจะเนน้ ท่ชี ่วงรตั นโกสนิ ทรเ์ ปน็ ตน้ มาถงึ ปัจจุบัน ในช่วงรัตนโกสนิ ทรต์ อนต้น (รชั กาลท่ี 1 - 3) ระบบเศรษฐกจิ ยงั เป็นแบบยังชัพ มีลกั ษณะคล้ายกบั สมัยอยุธยา รายได้ หลกั ของอาณาจกั รมาจากการเก็บภาษอี ากร ซึง่ มีดว้ ยกัน 4 ประเภท คอื 1) จังกอบ = ภาษีผา่ นดา่ น 2) ฤชา = คา่ ธรรมเนียม ตดิ ต่อราชการ 3) อากร = ผ้ทู ่ีท�ำงานตอ้ งเสยี เงินใหร้ ัฐ และ 4) สว่ ย = เงนิ ที่จา่ ยแทนการเกณฑแ์ รงงาน อย่างไรก็ดรี ชั กาลท่ี 1 - 2 ยังคงใชว้ ธิ ีการจัดเกบ็ ภาษีอากรแบบอยธุ ยา แตพ่ บปัญหาการเกบ็ เงนิ ไม่ไดเ้ ต็มเม็ดเตม็ หน่วย สมัยรชั กาลที่ 3 จงึ เกิด ระบบการเก็บภาษีทีเ่ รยี กว่า “ระบบเจา้ ภาษีนายอากร” คอื การเปดิ ใหเ้ อกชนเข้ามาประมลู เพอ่ื ช่วยรฐั เก็บภาษี และเอกชนท่ไี ด้ รับสมั ปทานคอื ชาวจนี นน่ั เอง วิธีการนที้ ำ� ให้รัฐไดเ้ งินเตม็ เม็ดเต็มหน่วยมากขึ้นและใชเ้ ร่ือยมาจนถึงรัชกาลที่ 5 ติวเขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya 111

สำ� หรบั ในเรอ่ื งการค้า ยงั คงมีระบบการผูกขาดสนิ ค้าโดยพระคลังสนิ คา้ เชน่ เดมิ หมายถึง การท�ำการคา้ กับตา่ งแดน ตอ้ งผา่ นทางพระคลงั ของหลวงเทา่ นน้ั ไมไ่ ดเ้ ปน็ การคา้ เสรี รฐั มอี ำ� นาจในการกำ� หนดราคาและนำ� เงนิ เขา้ มามหาศาล นอกจาก นจี้ ุดเด่นอกี ประการหนงึ่ ของช่วงเวลานี้ คอื การค้าร่งุ เรืองมาก โดยเฉพาะการคา้ ส�ำเภากับจีนในสมัยรชั กาลที่ 3 สินคา้ ส่งออก ส�ำคญั ของช่วงนี้ คอื นำ�้ ตาล 5.2 เศรษฐกิจแบบทุนนิยมในสมัยปฏิรูปบ้านเมอื ง การท�ำสนธิสัญญาเบาว์ริง่ กับองั กฤษในปี 2398 สมัยรชั กาลท่ี 4 ถอื เปน็ จดุ เปลยี่ นสำ� คญั ทนี่ ำ� เศรษฐกจิ ไทยจากแบบพอยงั ชพี เปลยี่ นไปเปน็ เศรษฐกจิ แบบทนุ นยิ ม กลา่ วคอื สนธสิ ญั ญาบอกใหไ้ ทย ตอ้ งยกเลิกการผกู ขาดการคา้ ผา่ นทางพระคลงั สนิ คา้ กลายเป็นการคา้ แบบเสรี เกบ็ ภาษรี อ้ ยละ 3 ของราคาสนิ คา้ แลว้ ยกเลกิ การเกบ็ ภาษแี บบเดมิ นอกจากนยี้ งั มปี ระเดน็ อน่ื ๆ หากแตส่ ำ� หรบั ในดา้ นเศรษฐกจิ สนธสิ ญั ญาฉบบั นถ้ี อื เปน็ จดุ กำ� เนดิ ของระบบ เศรษฐกิจแบบทุนนิยมที่ท�ำให้เกิดการค้าเสรี โดยเฉพาะการค้าข้าว เศรษฐกิจเป็นไปเพ่ือการส่งออกโดยตรงแทนแบบยังชีพ มกี ารใช้เงนิ ตรากนั อยา่ งแพร่หลายในการแลกเปลี่ยน และเศรษฐกจิ ของไทยไปผูกโยงกับเศรษฐกิจของโลกดว้ ย การเปลย่ี นแปลงทางดา้ นเศรษฐกจิ แบบใหมน่ ี้ ในแตล่ ะสมยั กม็ กี ารพฒั นาเกย่ี วกบั การเงนิ การคา้ การคลงั อยเู่ สมอมา ดังนน้ั สมยั รัชกาลที่ 5 ถอื ช่วงเวลาท่มี ีการเปลยี่ นแปลงอยา่ งมากในหลายดา้ น ดา้ นเศรษฐกจิ ก็เช่นกนั กล่าวคอื ทรงให้มกี าร ปฏริ ปู การจดั เกบ็ ภาษที ม่ี มี าแตเ่ ดมิ โดยรฐั บาลกลางเปน็ ผเู้ กบ็ ภาษผี า่ นหนว่ ยงานทเี่ รยี กวา่ “หอรษั ฎากรพพิ ฒั น”์ และแยกพระ คลงั ออกจากกนั คอื พระคลงั มหาสมบตั ิ = เงนิ ของแผน่ ดิน และพระคลงั ข้างท่ี = เงนิ ของกษัตรยิ ์ ท้ังนี้ มกี ารจดั ตั้งกระทรวง พระคลังมหาสมบัติดูแลกิจการต่างๆด้านการคลังโดยเฉพาะ นอกจากนี้ยังทรงริเริ่มให้มีการจัดท�ำงบประมาณแผ่นดินเพ่ือ วางแผนรายได้รายจ่ายต่างๆ มีระบบเงินเดือนจ่ายส�ำหรับข้าราชการแทนเบี้ยหวัด พร้อมกันนี้ยังมีการเปลี่ยนแปลงด้านการ เงนิ ท้ังการออกธนบตั รเพ่อื เป็นเงนิ ในการแลกเปลีย่ น ใชเ้ งินตราสกุล บาทและสตางค์ ในสมัยรัชกาลที่ 6 – 7 สยามเร่มิ ประสบปัญหาดา้ นเศรษฐกิจตกตำ่� เน่ืองจากหลายสาเหตุ ไมว่ า่ จะเปน็ ฝนแลง้ ทงิ้ ชว่ ง เป็นเวลานาน ปัญหานำ้� ทว่ ม และในชว่ งปลายรชั กาลที่ 6 ทรงประสบปญั หาเศรษฐกิจจากสงครามโลก จนเมือ่ รัชกาลท่ี 7 ขน้ึ ครองราชยป์ ญั หาดา้ นเศรษฐกจิ ทส่ี งั่ สมมากไ็ ดบ้ านปลาย รฐั บาลไมส่ ามารถแกไ้ ขไดท้ ำ� ใหเ้ กดิ การดลุ = ปลดขา้ ราชการออก ตดั งบประมาณแผ่นดินของพระมหากษัตริย์ออก ความตกต�่ำทางเศรษฐกิจในสมัยนี้เองท่ีน�ำไปสู่การเปล่ียนแปลงการปกครอง 2475 5.3 เศรษฐกจิ ทุนนยิ มไทยในช่วงเร่ิมแรกประชาธิปไตย ประเด็นด้านเศรษฐกิจถอื เปน็ ประเด็นใหญท่ ่คี ณะราษฎรเป็น หลักในการดำ� เนนิ การบริหารประเทศ หากแต่ “เคา้ โครงเศรษฐกจิ ” ของปรีดี พนมยงค์ ได้กลายเป็นปัญหาและน�ำไปส่คู วาม ขัดแย้งรุนแรงดังท่ีกล่าวไปแล้ว อย่างไรก็ดี รัฐบาลของคณะราษฎรก็ได้พยายามปฏิรูปการปรับโครงสร้างภาษีอากรให้เกิด ความเสมอภาคแกร่ าษฎรด้วย รัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงคราม (2481 - 2488) ได้ใช้นโยบาย “ทุนนิยมโดยรัฐ” หรือนโยบาย เศรษฐกจิ แบบชาตนิ ยิ ม ในลักษณะไทยทำ� ไทยใช้ ไทยเจรญิ ทร่ี ัฐบาลจะเป็นผูป้ ระกอบกิจการอุตสาหกรรมสำ� คญั ๆ ผา่ นองค์กร ทเ่ี รยี กว่า “รัฐวสิ าหกจิ ” นั่นเอง 5.4 เศรษฐกจิ ทุนนยิ มเสรี ในสมยั จอมพลสฤษด์ิ ธนะรชั ต์ เปน็ ต้นมา (2501) ไทยได้ดำ� เนินนโยบายแบบทุนนิยมเสรี คอื ใหภ้ าคเอกชนมาลงทนุ และทำ� การคา้ โดยทร่ี ฐั บาลไมไ่ ดเ้ ขา้ ไปแทรกแซง/ผกู ขาดดงั เชน่ ในอดตี เนอ่ื งจากการดำ� เนนิ นโยบาย เศรษฐกิจเดิมท�ำให้เกิดภาวะขาดทุนอย่างมากที่รัฐต้องเข้าไปจัดการ โดยเฉพาะรัฐวิสาหกิจท่ีรัฐต้องเข้าไปอุ้มแม้ว่าจะขาดทุน แคไ่ หนก็ตาม แนวนโยบายดังกลา่ วน�ำไปสู่ “การพฒั นา” ประเทศในหลายทางท้งั สาธารณูปโภคขัน้ พ้ืนฐาน อย่างไฟฟา้ ประปา การคมนาคมถกู ขยายอยา่ งรวดเรว็ การสง่ เสรมิ การลงทนุ จากภายนอก การขยายการศกึ ษาใหเ้ พมิ่ มากขนึ้ ทงั้ หมดเพอื่ ใหร้ องรบั กบั การพฒั นาทางเศรษฐกิจนัน่ เอง สงิ่ สำ� คญั คอื แมร้ ฐั บาลจะไมไ่ ดเ้ ขา้ ไปผกู ขาดการคา้ ดงั ในอดตี แตก่ ม็ แี มแ่ บบหรอื กรอบการบรหิ ารเศรษฐกจิ ผา่ น “แผน พฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาต”ิ ซง่ึ เกดิ ขนึ้ สมยั จอมพลสฤษด์ิ ฉบบั แรกเมอื่ ปี 2504 ในชว่ งแรกเนน้ หนกั ไปทางดา้ นเศรษฐกจิ หากแต่ในฉบับต่อๆ มามีการเพิ่มประเด็นทางการพัฒนาสังคมเพ่ิมเข้าไปด้วย ปัจจุบันใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ ฉบับที่ 11 (2555-2559) เป็นแม่บทในการพัฒนาประเทศ 112 ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya

5.5 การเตบิ โตทางเศรษฐกจิ และวกิ ฤตเศรษฐกิจ 2540 ในช่วงประมาณทศวรรษ 2520 เปน็ ตน้ มาเศรษฐกจิ ไทยเตบิ โต จากอุตสาหกรรมอย่างมาก จนเฟื่องฟูอย่างมากในช่วงทศวรรษ 2530 โดยเฉพาะสมัยพลเอกชาติชาย ชุณะวัณเป็นนายก รฐั มนตรี จนไทยมีความหวังว่าจะเปน็ หนึ่งในประเทศอุตสาหกรรมใหมใ่ นเอเชีย เรียกวา่ เป็นช่วงเวลา “เศรษฐกิจแบบฟองสบู”่ ราวพ.ศ. 2534-2539 อย่างไรกด็ ี สภาวะฟองสบ่ดู ังกลา่ วได้นำ� มาสูว่ กิ ฤตเศรษฐกจิ ครั้งสำ� คญั ในปี 2540 เมื่อเศรษฐกิจไทยเรม่ิ ทรดุ ตัวลง คา่ เงินบาทตกต่�ำ จนในทส่ี ุดรัฐบาลไมส่ ามารถพยงุ คา่ เงินบาท และปล่อยใหค้ า่ เงนิ บาทลอยตวั เป็นสองเท่าตัว นำ� มาสวู่ กิ ฤตทางเศรษฐกจิ อยา่ งรนุ แรง คนเปน็ หนเี้ พม่ิ ขนึ้ จำ� นวนมาก ภาวะตกงานจำ� นวนมาก จนรฐั บาลตอ้ งกยู้ มื เงนิ จากกองทนุ การเงนิ ระหวา่ งประเทศ (IMF) มาใช้ วกิ ฤตเศรษฐกจิ ดงั กลา่ วเรม่ิ คลคี่ ลายตวั ราว พ.ศ. 2542 เปน็ ตน้ มา สรปุ ภาพรวมประวตั ิศาสตร์เศรษฐกจิ ไทยสมัยรตั นโกสินทร์ สมยั รตั นโกสนิ ทรต์ อนตน้ สมยั ปรงั ปรงุ ประเทศให้ทนั สมัย สมัยประชาธปิ ไตย การค้าระบบผกู ขาด สนธสิ ญั ญาเบาว์ริง่ ทุนนยิ มโดยรัฐ-ระบบ ผา่ นพระคลงั สนิ ค้า เปน็ จุดเปลี่ยนสำ� คญั รฐั วสิ าหกจิ สมัยจอมพล ป. “ระบบเจา้ ภาษนี ายอากร” หอรษั ฎากรพพิ ัฒน์ ทนุ นิยมเสรี-แผนพัฒนาฯ สมัยร.3 สมัยรชั กาลท่ี 5 สมัยจอมพลสฤษด์ิ ลกั ษณะเศรษฐกิจ ถอื เป็นการเร่ิมระบบ เศรษฐกจิ เฟ่อื งฟู-ฟองสบ-ู่ แบบยงั ชีพ เศรษฐกจิ ทุนนิยม ฟองสบู่แตก 2530-2540 6. พฒั นาการด้านความสัมพนั ธก์ ับตา่ งประเทศ 6.1 ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งประเทศสมัยยุคจักรวรรดนิ ิยม ถือเปน็ ชว่ งเวลาท่มี คี วามส�ำคญั ทางประวตั ิศาสตร์ที่ไทยตอ้ ง เผชิญหน้ากับชาติตะวันตกที่ต้องการยึดครองดินแดนต่างๆ การต่างประเทศในช่วงเวลาน้ีถือเป็นส่วนส�ำคัญในการท่ีสยามไม่ ตกเปน็ อาณานคิ มของตะวันตก โดยคคู่ วามสมั พนั ธ์ทส่ี ำ� คญั คอื อังกฤษ และฝรั่งเศส ทเี่ ขา้ มาขยายอทิ ธิพลในดินแดนแถบน้ี อยา่ งมาก 1. ความสมั พนั ธก์ บั องั กฤษ องั กฤษไดพ้ ยายามสง่ ทตู มาเจรจากบั สยามตง้ั แตส่ มยั รชั กาลท่ี 2 ซง่ึ ชว่ งเวลาสำ� คญั ของอังกฤษในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ตรงกับรัชกาลที่ 3 และ 4 ท่ีอังกฤษได้ยึดครองพม่าและมลายูได้ส�ำเร็จ ทั้งนี้ อังกฤษได้พยายามส่งทูตมาเจรจาทำ� สัญญาต่างๆ กับสยามหลายคร้ัง ท่ีส�ำคัญคือ สมัยรัชกาลที่ 3 อังกฤษส่งร้อยเอกเฮนรี เบอรน์ ยี ม์ าเจรจา เกดิ สนธสิ ญั ญาเบอรน์ ยี ข์ นึ้ ถอื เปน็ สญั ญากบั ตะวนั ตกฉบบั แรก กอ่ นจะมกี ารสง่ ทตู มาแกไ้ ขสญั ญาสมยั รชั กาล ที่ 4 ท่ีรจู้ กั กนั ดวี ่า “สนธิสัญญาเบาว์รง่ิ ” การทำ� สนธสิ ญั ญาเบาวร์ งิ่ ถอื เปน็ การผอ่ นปรนกบั องั กฤษทสี่ ยามตระหนกั ถงึ ภยั ของจกั รวรรดนิ ยิ มทเ่ี ขา้ มาแมจ้ ะรวู้ า่ เป็นสัญญาเสียเปรียบแต่หากไม่ยอมก็อาจน�ำไปสู่การเสียเอกราชได้ สาระส�ำคัญของสัญญาเบาว์ริ่งได้พูดไปบ้างแล้วในหัวข้อ เร่ืองเศรษฐกจิ แตย่ งั มปี ระเดน็ สำ� คญั ทีเ่ กยี่ วกับการต่างประเทศโดยตรง คือ การเสียสทิ ธิสภาพนอกอาณาเขต หมายถึง คนใน ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya 113

บังคับขององั กฤษ หากท�ำความผดิ ในสยาม ไม่ตอ้ งขนึ้ ศาลของสยามแตใ่ นขนึ้ ศาลของอังกฤษ ถือเป็นการเสียเอกราชทางการ ศาล อีกท้ังสัญญาดังกล่าวยงั ไมก่ �ำหนดระยะเวลาหมดสญั ญาด้วย องั กฤษไดพ้ ยายามยดึ ครองพมา่ และหวั เมอื งมลายูซง่ึ ปรากฏวา่ สามารถยดึ ครองไดส้ ำ� เรจ็ กอ่ นจะนำ� มาสกู่ ารขยาย อาณาเขตในบรเิ วณใกลเ้ คยี งที่ส่งผลกระทบกับไทยในเวลาต่อมา 2. ความสมั พนั ธก์ บั ฝรงั่ เศส ฝรง่ั เศสไดข้ ยายอทิ ธพิ ลและพยายามยดึ ครองญวนหรอื เวยี ดนามในปจั จบุ นั และ ทำ� ได้สำ� เร็จ ก่อนจะขยายอิทธพิ ลตอ่ มาสกู่ ัมพูชาซ่งึ เป็นดนิ แดนประเทศราชของไทยอนั นำ� มาสู่ปมขดั แยง้ จนกระทง่ั เสียเขมร สว่ นนอก หมายถึงกัมพชู าแทบทั้งหมด ยกเวน้ พระตะบองและเสยี มราฐ ให้แก่ฝรัง่ เศสสมยั รชั กาลท่ี 4 3. การเสยี ดนิ แดนสมยั รชั กาลท ่ี 5 ภายหลงั ฝรงั่ เศสสามารถยดึ ดนิ แดนเวยี ดนามและกมั พชู าไดท้ งั้ หมด ฝรงั่ เศส ก็ได้พยายามจะขยายอ�ำนาจตอ่ มายงั ดนิ แดนลาว จนนำ� ไปสู่ “วกิ ฤตการณ์ ร.ศ. 112” คือ เหตุการณท์ ฝ่ี รง่ั เศสอา้ งสิทธเิ หนือ ดนิ แดนลาวหรือฝ่ังซา้ ยของแมน่ �้ำโขง แต่ไทยปฏิเสธ ฝรงั่ เศสไดส้ ง่ เรอื รบมาปดิ ปากน้�ำเจา้ พระยา เหตุการณด์ ังกล่าวไดส้ ง่ ผล ให้ไทยต้องยนิ ยอมยกดนิ แดนฝง่ั ซ้ายแม่นำ้� โขงทงั้ หมดในแกฝ่ รัง่ เศส รวมท้งั บีบให้ไทยยกพระตะบอง เสียมราฐ ศรีโสภณหรือ เขมรส่วนในให้ฝรั่งเศสด้วย อยา่ งไรก็ดี เหตุการณน์ ก้ี ท็ ำ� ให้ไทยไดเ้ อกราชทางการศาลกลบั มาบางส่วน 6.2 ความสัมพันธ์ระหวา่ งประเทศสมัยสงครามโลกครง้ั ที่ 1 ตรงกบั สมยั รัชกาลท่ี 6 ซึง่ ชว่ งแรก สยามไมไ่ ด้เขา้ กบั ฝ่าย ไหน หากแตใ่ นภายหลงั เมอ่ื เรม่ิ เหน็ ชดั เจนแลว้ วา่ ฝา่ ยใดจะเปน็ ฝา่ ยชนะ รชั กาลที่ 6 ทรงเขา้ รว่ มกบั ฝา่ ยสมั พนั ธมติ ร คอื องั กฤษ ฝรั่งเศสและรสั เซยี และเม่ือฝา่ ยสัมพันธมิตรชนะสงคราม ทำ� ใหไ้ ทยอยใู่ นฝา่ ยชนะสงคราม น�ำมาสกู่ ารแกไ้ ขสนธสิ ญั ญาท่ไี ม่ เปน็ ธรรมกบั ประเทศตา่ งๆ เรมิ่ จากประเทศสหรฐั อเมรกิ า และคอ่ ยๆ ทยอยแกไ้ ขจากประเทศตา่ งๆ ผมู้ บี ทบาทสำ� คญั คอื พระยา กัลยาณไมตรี (ดร.ฟรานซิส บ.ี แซร)์ ชาวอเมริกนั ทีช่ ่วยเหลอื สยามเปน็ อยา่ งดีในการเจรจาตา่ งๆ 6.3 ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งประเทศสมยั ประชาธปิ ไตย ประเดน็ ทส่ี ำ� คญั อกี ประการหนงึ่ ของการเปลย่ี นแปลงการปกครอง คือ “เอกราชอย่างสมบรู ณ์” ท่ฝี า่ ยคณะราษฎรต้องการใหเ้ กดิ เอกราชทีแ่ ทจ้ รงิ โดยการแก้ไขสัญญาทไ่ี ม่เปน็ ธรรมตา่ งๆ ผ่าน การเปดิ เจรจากบั นานาประเทศ 1. สมัยจอมพล ป.พบิ ลู สงครามกบั สงครามโลกคร้ังที่ 2 ในช่วงแรกของสงครามไทยวางตัวเปน็ กลาง มกี รณี ความขัดแยง้ กบั ฝรัง่ เศส จนเกิดเป็นสงครามอนิ โดจนี (2483) เรอ่ื งปญั หาพรมแดน สงครามครงั้ น้ไี ทยชนะได้ดนิ แดนบางสว่ น กลับมา หากแตภ่ ายหลงั ญี่ปุ่นได้ยกพลขน้ึ บกทภ่ี าคใตข้ องไทยนำ� ไปสู่การตัดสินเขา้ ร่วมฝา่ ยอกั ษะ คือ เขา้ รว่ มกบั ญี่ปุ่น และมี ขบวนการเสรไี ทยขนึ้ มาต่อต้านตามมา แม้ว่าจะกลายเป็นฝ่ายชนะสงคราม หากแตไ่ ทยก็จำ� ตอ้ งเสียค่าชดเชยจำ� นวนมาก 2. สมยั สงครามเยน็ ภายหลงั สงครามโลกสน้ิ สดุ กน็ ำ� มาสสู่ งครามเยน็ ทเ่ี ปน็ สงครามในเชงิ อดุ มการณร์ ะหวา่ ง เสรปี ระชาธปิ ไตยกบั คอมมวิ นสิ ต์ สำ� หรบั ไทยไดเ้ ขา้ กบั ฝา่ ยสหรฐั อเมรกิ าผนู้ ำ� ของฝา่ ยเสรปี ระชาธปิ ไตย จะเหน็ ไดช้ ดั วา่ นโยบาย การตา่ งประเทศของไทยองิ กบั สหรฐั เปน็ อยา่ งมากในชว่ งสมยั จอมพลสฤษด์ิ ทเี่ ดน่ ชดั คอื การจดั ตงั้ องคก์ ารสนธสิ ญั ญาปอ้ งกนั ร่วมกนั ของเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้ (ส.ป.อ./ SEATO) เพ่อื ปอ้ งกนั ภยั คอมมิวนิสตใ์ นภูมิภาค รวมทั้งไทยส่งทหารเข้ารว่ มรบใน สงครามเวยี ดนาม และอนุญาตใหท้ หารอเมรกิ าเขา้ มาตั้งฐานทพั ในไทยไดอ้ ีกด้วย ในชว่ งเวลาสงครามเยน็ เปน็ ชว่ งเวลาทเี่ ตม็ ไปดว้ ยความหวาดกลวั คอมมวิ นสิ ตม์ องวา่ เปน็ ภยั อยา่ งหนงึ่ ทจ่ี ะแพรก่ ระจาย แบบโดมิโน เนื่องจากในประเทศแถบนี้ก็คล้ายเป็นคอมมิวนิสต์ไปหลายประเทศทั้งเวียดนาม กัมพูชา ลาว สหรัฐจึงเข้ามามี บทบาทในไทยอยา่ งมาก ท�ำใหใ้ นประเทศไทยเองมนี โยบายปราบคอมมิวนิสตร์ นุ แรง และไมค่ บคา้ กบั ประเทศคอมมวิ นสิ ต์ จน ภายหลังสหรัฐเปลยี่ นนโยบายการต่างประเทศช่วง 2515 ไปจบั มือกบั จนี ไทยกค็ อ่ ยๆ เรม่ิ เปดิ ความสมั พันธ์กับจนี อกี ครัง้ หน่งึ ด้วย 3. การต่างประเทศของไทยในปัจจุบัน เมื่อสถานการณ์โลกเร่ิมเปลี่ยนแปลงไป ไทยจึงปรับเปลี่ยนนโยบาย การต่างประเทศเป็นอิสระ ไม่อิงสหรัฐดังเช่นในอดีตตั้งแต่ปี 2518 และสถาปนาความสัมพันธ์กับมิตรประเทศท้ังจีน รวมท้ัง ประเทศในกลุ่มอาเซียนท่ีไทยมีนโยบายการค้าน�ำ ดังเช่น “แปลงสนามรบเป็นสนามการค้า” สมัยพลเอกชาติชาย ชุณหะวัน ทั้งน้ี จะพบว่าการตา่ งประเทศในปัจจบุ ันเป็นไปในความรว่ มมือ/รว่ มกลุ่มประเทศ มจี ดุ มงุ่ หมายทางเศรษฐกิจค่อนข้างมาก อกี 114 ตวิ เข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

ท้ังเพื่อต่อรองผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจในเวทีโลกอีกด้วย องค์การท่ีส�ำคัญคือ “สมาคมอาเซียน” (ASEAN) ก่อต้ังเม่ือ ปี 2510 ปจั จบุ ันมีประเทศสมาชกิ 10 ประเทศ มบี ทบาทอย่างมากในการเมอื ง เศรษฐกิจ ความม่ันคงและสงั คมวัฒนธรรม ที่ จะรวมเปน็ ประชาคมเดยี วกันในพ.ศ. 2558 แนวข้อสอบ 1. ขอ้ ใดกลา่ วไดถ้ กู ต้องเกี่ยวกบั การเปลีย่ นแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 ก. การมแี นวคดิ เรื่องสทิ ธิ เสรภี าพ และความเสมอภาคของคณะราษฎร ข. ความรว่ มมอื ของราษฎรสว่ นใหญท่ �ำใหไ้ มเ่ กดิ เหตุการณร์ นุ แรง ค. การเรียกร้องประชาธิปไตยและรฐั ธรรมนญู ของพลเมอื ง ง. ความพร้อมของประชาชนทม่ี ใี นการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย 2. กฎหมายตราสามดวงเกดิ จากการตรวจช�ำระและรวบรวมกฎหมายข้นึ ใหมใ่ นรัชกาลใด ก. สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ข. สมเดจ็ พระนารายณ์มหาราช ค. พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จุฬาโลก ง. พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจา้ อยู่หวั 3. การเปลีย่ นแปลงการปกครองใน พ.ศ. 2475 กอ่ ใหเ้ กิดการเปลี่ยนแปลงหลายประการ ยกเว้น ข้อใด ก. รูปแบบของรฐั ข. ผบู้ ริหารประเทศ ค. ระบอบการปกครอง ง. เจ้าของอ�ำนาจอธิปไตย 4. กิจกรรมในขอ้ ใดเป็นการผสานภมู ปิ ัญญาไทยกับสถานการณ์ปัจจุบนั ก. การประกวดนักออกแบบผ้าไทยรว่ มสมยั ข. การจดั นิทรรศการภมู ิปัญญาด้านการด�ำรงชีวิตของทอ้ งถน่ิ ค. การสง่ เสริมการใชส้ มนุ ไพรในการปอ้ งกันและรกั ษาโรค ง. การศึกษาค้นควา้ ด้านนาฏศิลป์ไทยสมัยรตั นโกสนิ ทร์ 5. “...ถา้ เราขาดสโุ ขทัยอยุธยา และกรุงเทพฯ แลว้ ประเทศไทยกค็ งไมม่ ีความหมาย...” พระราชดำ� รัสดังกลา่ วสง่ เสรมิ แนวคิด ในเรอ่ื งใด ก. ความเป็นมาอนั ยาวนานของประวัติศาสตรไ์ ทย ข. การมจี ติ สำ� นึกรกั ชาติจากการศึกษาประวตั ศิ าสตร์ ค. ความสำ� คญั ของประวตั ศิ าสตรแ์ ละวัฒนธรรมกบั ความเป็นชาติ ง. การมีพัฒนาการอยา่ งตอ่ เนื่องของรัฐไทยตั้งแตอ่ ดีตจนถึงปจั จุบนั ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya 115

6. สมัยประวตั ศิ าสตร์ของโลกตะวันตกเร่มิ ทแี่ หล่งอารยธรรมใด ก. อารยธรรมกรีก ข. อารยธรรมโรมนั ค. อารยธรรมลุม่ แม่น�้ำสินธ ุ ง. อารยธรรมลมุ่ แม่น�ำ้ ไทกริส-ยูเฟรทีส 7. เร่มิ สมัยอาณาจกั รอยุธยา พ.ศ. 1893 ตรงกบั การเกดิ เหตกุ ารณ์ใดในยุโรป ก. การส�ำรวจทางทะเล ข. การฟนื้ ฟูศลิ ปวทิ ยาการ ค. โคลัมบสั คน้ พบทวปี อเมรกิ า ง. การสิน้ สดุ จกั รวรรดิโรมนั ตะวนั ตก 8. ข้อใดคือประโยชน์ทีไ่ ดจ้ ากวธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์ ก. ไดอ้ งค์ความร้ใู หม่ท่นี า่ เชอ่ื ถอื กว่าเดิม ข. ได้องค์ความรใู้ หมท่ ่ีโดดเดน่ ไมเ่ หมอื นคนอน่ื ค. ประเมนิ ความรคู้ วามเขา้ ใจของผู้ศกึ ษาประวตั ิศาสตร์ ง. ประเมนิ คุณคา่ ของขอ้ มูลเดมิ ว่าถกู ตอ้ งนา่ เชอื่ ถอื หรือไม่ 9. ข้อจำ� กัดสำ� คัญในการศกึ ษาประวัติศาสตรส์ ากลคืออะไร ก. มีหลักฐานจ�ำนวนมาก ข. หลักฐานอยู่ทตี่ ่างประเทศ ค. ขาดเพื่อนรว่ มศกึ ษาด้วยกนั ง. ศึกษายากเพราะมีความรนู้ ้อย 10. เพราะเหตุใดจงึ ถือวา่ ประมวลกฎหมายของพระเจ้าฮมั มูราบีเปน็ มรดกทางอารยธรรมชนิ้ ส�ำคญั ของโลก ก. เปน็ ประมวลกฎหมายฉบบั แรกของโลก ข. มีบทลงโทษที่รุนแรงซ่งึ ชว่ ยลดจำ� นวนผเู้ ปน็ ภัยต่อสงั คม ค. เปน็ เคร่อื งแสดงวา่ อ�ำนาจรฐั เข้มแข็งพอทจ่ี ะบงั คบั พลเมอื งไดแ้ ล้ว ง. เปน็ แบบอย่างของความพยายามทจ่ี ะให้เกิดความยุติธรรมในการปกครอง 11. สาเหตุส�ำคัญทที่ ำ� ใหอ้ ารยธรรมอียปิ ตพ์ ัฒนาอยา่ งมเี อกภาพคอื ข้อใด ก. มกี ารนับถือเทพเจา้ องค์เดียว ข. ยดึ ถอื อารยธรรมเดิมตามบรรพบุรษุ ค. ไม่มีชนชาติอ่ืนมาปะปนในอาณาจกั ร ง. มสี ภาพภูมศิ าสตรท์ ี่ปอ้ งกนั การรุกรานจากภายนอก 12. สิง่ ก่อสร้างของอารยธรรมโรมันให้ความส�ำคญั ตอ่ เร่อื งใด ก. ความสวยงาม ข. ประโยชน์ใช้สอย ค. ความเช่ือทางศาสนา ง. ใช้วัสดทุ ่ปี ระหยัดคา่ ใช้จา่ ย 116 ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya

13. การปฏิวัติอตุ สาหกรรมในเรอื่ งใดสง่ ผลใหเ้ กิดโลกาภวิ ตั นใ์ นปจั จบุ ัน ก. การสอ่ื สาร ข. การผลิตสนิ ค้า ค. การคมนาคม ง. การบรโิ ภคสนิ ค้า 14. แมว้ ่าความขัดแย้งจะก่อใหเ้ กิดการสูญเสยี มากมายแต่มีประโยชน์ในเร่ืองใด ก. ช่วยลดประชากรโลก ข. กระตุ้นให้เกดิ การพฒั นาวทิ ยาการ ค. ทำ� ลายอารยธรรมเกา่ ๆ ทีล่ ้าสมยั ง. เศรษฐกจิ เจรญิ เติบโตอยา่ งรวดเรว็ 15. เหตุการณ์ 11 กันยายน เปน็ ตัวอย่างหนงึ่ ของการก่อการร้ายที่มจี ดุ ประสงค์ใด ก. เรยี กค่าคมุ้ ครองจากสหรฐั อเมริกา ข. ตอ่ ตา้ นการใชอ้ ำ� นาจของสหรัฐอเมรกิ า ค. ตอ้ งการทำ� สงครามศาสนากบั สหรฐั อเมริกา ง. ตอบโตท้ ี่สหรฐั อเมริกาปราบปรามกล่มุ กอ่ การร้าย เฉลยแนวข้อสอบ เฉลยแนวขอ้ สอบ 1. ตอบ ก. การมีแนวคดิ เรอ่ื งสทิ ธเิ สรภี าพ และความเสมอภาคของคณะราษฎรกลุ่มต่างๆ ทีไ่ ด้รับการศึกษาหรอื รับรู้จาก ชาตติ ะวนั ตกตา่ งๆ ทำ� ให้เกดิ การร่วมมือกันในการวางแผนและด�ำเนินการเปลยี่ นแปลงการปกครองโดยท่ี ประชาชนสว่ นใหญไ่ ม่ไดม้ สี ว่ นร่วมหรอื เรยี กร้องใหก้ อ่ การ เนื่องดว้ ยยังขาดความรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั การ ปกครองในระบอบใหม่ 2. ตอบ ค. กฎหมายตราสามดวงเป็นประมวลกฎหมายตามแบบแผนประเพณขี องไทยท่ีได้รบั อทิ ธพิ ลจากกฎหมายอนิ เดีย พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชโปรดเกลา้ ฯ ใหช้ ำ� ระใน พ.ศ. 2347 ทรงให้อาลกั ษณป์ ระทับ ตรา 3 ดวง คือ ตราราชสหี ์ คชสหี ์ และบัวแกว้ กฎหมายตราสามดวงใชเ้ ปน็ หลักส�ำคัญในการปกครองบา้ นเมอื ง จัดระเบยี บสังคมและตดั สินคดีความต่างๆ จนกระทัง่ รัชสมยั พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอยู่หวั จงึ มกี าร ร่างกฎหมายตามแบบชาติตะวนั ตกขนึ้ มาใชแ้ ทน 3. ตอบ ก. การเปลย่ี นแปลงการปกครองในพ.ศ. 2475 สง่ ผลให้เกดิ การเปล่ยี นแปลงระบอบการปกครองจากระบอบ สมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีการเปล่ียนแปลงผู้ บริหารประเทศ และอ�ำนาจอธิปไตยเป็นของประชาชน แต่รูปแบบของรัฐของไทยยังคงเป็นรัฐเดียวคือรัฐท่ีมี ศนู ย์กลางทางการเมืองและการปกครองอันเปน็ อันหน่ึงอนั เดยี วกนั มเี อกภาพไมไ่ ดแ้ ยกออกจากกนั และมีการใช ้ อ�ำนาจสงู สดุ ท้งั ภายในและภายนอก โดยองค์กรเดียวกันทวั่ ดินแดนของรัฐ 4. ตอบ ก. การประกวดนักออกแบบผา้ ไทยรว่ มสมัย จัดเป็นกิจกรรมทผ่ี สมผสานภมู ปิ ญั ญาไทยดา้ นผ้าไทยกบั ความนิยม ของผู้บริโภคในปัจจุบัน เป็นแนวทางหนึ่งในการสืบสานและปรับปรุงให้ภูมิปัญญาซึ่งอาจไม่เหมาะกับสภาพสังคม ปจั จบุ นั ใหด้ ำ� รงอยูไ่ ด้ ติวเขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya 117

5. ตอบ ค. ความสำ� คญั ของประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมกบั ความเป็นชาติ เปน็ แนวคิดสำ� คัญในพระราชดำ� รัสดังกลา่ ว เนื่องด้วยหลักฐานที่แสดงถึงประวัตคิ วามเปน็ มาและวัฒนธรรม เป็นสง่ิ สำ� คญั ทบี่ ่งบอกถึงความเป็นรฐั ชาติ ชาว ไทยจงึ ควรตระหนักถึงคุณค่าและมีสว่ นร่วมในการอนุรกั ษห์ ลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร์และวัฒนธรรมอยา่ งจรงิ จงั 6. ตอบ ง. อารยธรรมลุ่มแม่นำ�้ ไทกรสิ -ยเู ฟรทีส หรอื อายธรรมเมโสโปเตเมยี เปน็ แหล่งอารยธรรมแรกๆ ของโลกตะวนั ตก และการที่ชาวซเู มเรียประดิษฐ์ตวั อกั ษรไดก้ ็ทำ� ให้เขา้ ส่สู มัยประวัติศาสตร์สากล 7. ตอบ ข. พ.ศ. 1893 หากเทียบเปน็ ค.ศ. จะตรงกบั ค.ศ. 1350 ซง่ึ เปน็ ช่วงเวลาทีเ่ กดิ การฟืน้ ฟูศลิ ปวทิ ยาการ 8. ตอบ ก. วธิ ีการทางประวตั ิศาสตรจ์ ะกอ่ ใหเ้ กดิ องคค์ วามรู้ใหมท่ นี่ ่าเช่ือถือกว่าเดิมจากการศึกษาหลักฐานและการ วเิ คราะห์ สงั เคราะห์อยา่ งมีเหตุผล 9. ตอบ ข. การศึกษาประวตั ศิ าสตร์สากลต้องใชห้ ลักฐานประวตั ศิ าสตร์สากล ซึ่งส่วนใหญ่อย่ใู นต่างประเทศ ท�ำใหม้ ขี อ้ จำ� กัดในการเขา้ ถงึ แหลง่ ข้อมลู 10. ตอบ ง. หลักของประมวลกฎหมายฮัมมูราบีแสดงแนวคิดที่จะให้ความยุติธรรมแก่ผู้คนในสังคม หลักดังกล่าว คือ ตาต่อตา ฟันต่อฟัน ในการลงโทษผู้กระท�ำความผิด โดยผู้ใดท�ำความผิดอย่างไร ก็จะได้รับโทษอย่างน้ัน ซ่ึง แนวคิดท่ีจะให้ความยุติธรรมแก่ผู้คนในสังคมน้ีได้เป็นรากฐานของเจตนารมณ์ของกฎหมายในประเทศต่างๆ ในปัจจบุ ัน 11. ตอบ ง. จากทำ� เลท่ีตงั้ ของอยี ิปตท์ ่ีมีทะเลทรายห้อมล้อมท้งั ทิศตะวนั ตก ทศิ ตะวันออกและทิศใต้ จงึ เสมือนมีปราการ ธรรมชาตใิ นการปอ้ งกนั การรกุ รานจากขา้ ศกึ ศัตรู ทำ� ใหช้ าวอียิปต์มคี วามรสู้ ึกม่นั คง ปลอดภัย สง่ ผลใหช้ าว อียิปต์สามารถสร้างอารยธรรมของตนได้อย่างมีเอกภาพ และมีความเจริญติดต่อกันมาอย่างไม่มีการ เปลย่ี นแปลงเปน็ ระยะเวลายาวนาน 12. ตอบ ข. ชาวโรมนั สรา้ งสง่ิ ก่อสร้างโดยใหค้ วามส�ำคัญตอ่ ประโยชน์ใช้สอยทส่ี ามารถตอบสนองความตอ้ งการของคน จำ� นวนมาก 13. ตอบ ก. การพฒั นาด้านการสอ่ื สารในสมัยปฏวิ ัตอิ ตุ สาหกรรมเปน็ ตน้ แบบในการพัฒนาการสอ่ื สารอย่างต่อเนอ่ื ง จน โลกเข้าสสู่ มยั แหง่ การสอ่ื สารไรพ้ รมแดนหรือโลกาภวิ ตั น์ 14. ตอบ ข. ความขดั แยง้ นำ� ไปสกู่ ารต่อสแู้ ขง่ ขนั ซง่ึ ผู้ท่ีแขง่ ขันกันย่อมตอ้ งพฒั นาวิทยาการของตนเองเพอ่ื เอาชนะคู่แขง่ 15. ตอบ ข. ความไม่พอใจในการใช้อ�ำนาจของสหรัฐอเมริกาในการเข้าไปมีอ�ำนาจในดินแดนต่างๆ ท�ำให้กลุ่มท่ีไม่พอใจใช้ วธิ กี ารก่อการร้ายตอบโตส้ หรฐั อเมรกิ า นอ้ งๆ สามารถศกึ ษาเพิม่ เตมิ ได้ที่ Tag : สอนศาสตร์ สังคมศึกษา ประวัตศิ าสตรไ์ ทย สังคมไทย การสถาปนาอาณาจกั รไทย ความเปน็ มาชาติไทย • 10 : กวา่ จะมาเปน็ ไทยในวันนี้ http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-social/ch7-1 • 17: แงะขอ้ สอบประวตั ศิ าสตร์ http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-social/ch7-2 118 ติวเขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya

• การเปล่ยี นแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-social/ch7-3 • ปจั จัยท่มี ีผลต่อการสถาปนาอาณาจักรไทย http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-social/ch7-4 • ปัแนวคดิ เกยี่ วกับความเป็นมาของชนชาตไิ ทย http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-social/ch7-5 • บทบาทของสถาบนั พระมหากษตั ริย์ในการพฒั นาชาติไทย http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-social/ch7-6 • การเลิกทาสและเลกิ ไพร่ http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-social/ch7-7 ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya 119

บทที่ 5 สาระ: ภูมศิ าสตร์ ภมู ศิ าสตร์ สาระภมู ศิ าสตรใ์ นระดบั ชน้ั ม.ปลาย จะตา่ งไปจากตอน ม.ตน้ ทเี่ ราเรยี นกนั มา เนอื้ หาสว่ นใหญจ่ ะเนน้ เรอื่ งทางกายภาพ โลก จ�ำพวกการเกดิ แมน่ ำ้� ล�ำธาร ภูเขา แผน่ ดนิ ไหว และการรกั ษ์โลก เนน้ สถานการณ์ธรรมชาตใิ นปัจจบุ ัน พวกพิธสี ารหรือ สนธิสญั ญาต่างๆ ซ่งึ ส่งิ เหล่านี้เป็นสงิ่ ทข่ี ้อสอบชอบถามบ่อยมาก เรียกได้เวลาข้อสอบ O-net สาระภมู ิศาสตร์ในระยะหลงั นี่ มกั เปน็ คำ� ถามรกั ษโ์ ลก ถามเชงิ การแกป้ ญั หา การจดั การเกยี่ วกบั สงิ่ แวดลอ้ มเปน็ สว่ นใหญ่ จงึ อยากใหเ้ ราพยายามเกบ็ คะแนน จากสาระนีใ้ ห้มากๆ เพราะมันไมใ่ ชเ่ รือ่ งยากจนเกินความสามารถเรา ขอแคเ่ พียงเราตั้งใจ ใส่ใจ และจดจ�ำรายละเอยี ดตรงที่พี่ เน้น หรือเปน็ เรอื่ งสำ� คัญ เชอื่ ไดว้ า่ เราจะเก็บคะแนนจากจดุ นไี้ ปได้เยอะเลยทีเดยี ว แผนที่ แผนท่ี คอื เครอ่ื งมอื ทางภมู ศิ าสตรท์ ถี่ า่ ยทอดขอ้ มลู ของโลก ลงบนพน้ื ราบดว้ ยการยอ่ สว่ นใหเ้ ลก็ ลงตามขนาดทต่ี อ้ งการ และใชส้ ี เสน้ สญั ลกั ษณ์ ทิศทาง และมาตราส่วนแทน แผนทีท่ ่ีเราใช้กันอยสู่ ามารถแบง่ ได้เปน็ 2 กลมุ่ คอื 1. แผนทีภ่ ูมิประเทศ : เป็นแผนทท่ี ี่มปี ระโยชนม์ าก ใช้ศกึ ษาลกั ษณะภมู ปิ ระเทศทว่ั โลกเลย 2. แผนทเี่ ฉพาะเร่อื ง : เปน็ แผนท่ที ีแ่ สดงรายละเอียดเฉพาะเปน็ เร่ืองๆ เชน่ แผนทแ่ี สดงชนดิ ของปา่ ไม้ แผนทแ่ี สดง ชนดิ ของดิน เป็นตน้ แต่ถ้าเราเอาแผนที่หลายๆ อันมารวมๆ กนั แลว้ เย็บเลม่ เราจะเรยี กว่า “แผนทีเ่ ล่ม (ATLAS)” ตอ่ ไปเรามาดูกนั ดีกวา่ ว่าภายในแผนท่มี ีส่วนประกอบอะไรบ้าง ชือ่ แผนท่ี มาตราสว่ น ทิศ ละติจดู สัญลกั ษณ์ ลองจิจดู 120 ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya พกิ ดั ภมู ศิ าสตร์

แอบกระซบิ บอกว่าสว่ นทีช่ อบออกขอ้ สอบมากท่ีสดุ ก็คอื เร่อื งมาตราสว่ น และพกิ ดั ภมู ิศาสตร์ ถ้าอย่างนน้ั พวกเราต้องอา่ นตรงน้ีแบบเน้นๆ เลย เสน้ ละตจิ ูด-เส้นลองจิจดู พกิ ดั ภมู ศิ าสตร์ เปน็ การแสดงตำ� แหนง่ ทต่ี งั้ ตา่ งๆบนผวิ โลก โดยเกดิ จากการตดั กนั ของเสน้ ละตจิ ดู และลองจจิ ดู ซง่ึ เปน็ เสน้ ท่ีเราสมมตขิ น้ึ • เส้นละตจิ ูด : เปน็ เสน้ สมมติทีล่ ากในแนวนอน มีท้ังหมด 180 เสน้ (ไมร่ วมเส้นศนู ยส์ ตู ร) เสน้ ทีส่ �ำคัญแบง่ โลกออก เป็น ซีกโลกเหนอื และซีกโลกใต้ คอื เส้นศูนย์สูตร เสน้ ละตจิ ดู จะบอกถึงเขตลกั ษณะภมู ิอากาศแตล่ ะทอ้ งที่ (คอื พอพดู ถึงเสน้ ละตจิ ูดปุ๊บ ต้องนึกถงึ เรอ่ื งเขตอากาศป๊ับ) • เสน้ ลองจิจูด (เสน้ เมอริเดยี น) : เป็นเส้นสมมตเิ หมือนกนั แต่ลากในแนวตั้ง ใช้แบ่งเขตเวลา และยงั แบ่งโลกออกเป็น ซกี โลกตะวันออกและซกี โลกตะวันตก โดยมีเสน้ เมอรเิ ดยี นแรกท่ีลากผา่ นตำ� บลกรีนิช กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ เปน็ ตวั แบง่ แตย่ งั มอี กี เสน้ ทสี่ ำ� คญั เหมอื นกนั กค็ อื เสน้ วนั ท่ี (International date line) ซงึ่ หลกั การพขี่ อสรปุ เปน็ แผนภาพละ่ กนั ซกี โลกตะวนั ตก เสน้ เขตวัน (180 ํ) นอกจากน้ีเราสามารถใชค้ วามรเู้ รอื่ งเสน้ ลองจิจดู ในการ ลดลงหนง่ึ วนั เพิ่มขน้ึ 1 วัน คำ� นวณหาเวลาของแตล่ ะประเทศไดด้ ว้ ย โดยเราต้องจำ� ใหไ้ ด้กอ่ น วา่ ถ้าห่างกัน 1 ํ เวลาตา่ งกนั 4 นาที สว่ นหลักการคำ� นวณก็ไมย่ ากใช้ ซกี โลกตะวนั ออก การเทยี บบัญญตั ไิ ตรยางศ์ ตวั อย่างเช่น Ex. ประเทศไทยใชเ้ สน้ ละติจดู 105 ํ ตะวันออกเป็นเส้นเวลามาตรฐาน ของไทย ดงั น้นั ถ้าขณะท่ปี ระเทศไทยเวลา 11.00 น. ทป่ี ระเทศอังกฤษ จะเป็นเวลาเทา่ ไร วธิ กี ารท�ำ เราต้องร้กู อ่ นวา่ เส้นที่ 105 ํ ห่างจากเส้นเมอรเิ ดียนแรก (เวลาปานกลางกรีนชิ G.M.T.) ก่ชี ่วั โมง โดยเทียบบญั ญตั ไิ ตรยางศ์เลย ถ้าหา่ งกนั 1 ํ เวลาจะตา่ งกนั 4 นาที 1 ถ้าห่างกนั 105 ํ เวลาจะต่างกัน 4 × 105 = 420 นาที หรือ 7 ชวั่ โมง แต่หา่ งจาก G.M.T. มาทางตะวนั ออกแสดงวา่ เวลาจะเรว็ กว่าเวลาที่ G.M.T. ดังนัน้ ถา้ ประเทศไทยเวลา 11.00 น. ท่ปี ระเทศ อังกฤษจะเป็นเวลา 11.00 - 7.00 = 04.00น. ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya 121

สรุป - เสน้ ลองจจิ ดู หา่ งกนั 1 ํ เวลาต่างกนั 4 นาที - ถ้าหา่ งจาก G.M.T. ไปทางตะวนั ออก เวลาจะเร็วขน้ึ - ถ้าหา่ งจาก G.M.T. ไปทางตะวันตก เวลาจะชา้ ลง - ประเทศไทยใช้เสน้ ละตจิ ูด 105 ํ ตะวันออกเปน็ เส้นเวลามาตรฐานของไทย ทำ� ใหป้ ระเทศไทยมเี วลามาตรฐานเร็วกวา่ ท่ี G.M.T. 7 ชั่วโมง มาตราสว่ นบนแผนที่ มาตราส่วนท่ใี ช้กนั ในแผนท่ีสว่ นใหญม่ ักเปน็ มาตราสว่ นตวั เลขหรือมาตราสว่ นเศษส่วน ซงึ่ ก็ชอบออกขอ้ สอบด้วย เชน่ 1 : 250,000 ระยะทางจริง ระยะทางในแผนท่ี ***ทั้งหมดมหี นว่ ยเปน็ เซนตเิ มตร เราลองมาดโู จทย์ที่เขาถามกนั ดกี วา่ วา่ ประมาณไหน EX. หมบู่ ้าน 2 แหง่ อยหู่ า่ งกนั 8 กโิ ลเมตร ใหห้ าระยะทางระหวา่ งหม่บู า้ นดงั กล่าวในแผนทม่ี าตราสว่ น 1:25,000 วธิ กี ารท�ำ อันดับแรกอยากให้เราจำ� และเขยี นโนต้ ไวก้ อ่ นวา่ 100,000 เซนตเิ มตร = 1 กิโลเมตร (ทอ่ งไว้ใหข้ ้นึ ใจเลย) หลงั จากนนั้ เรากม็ าดวู า่ ทงั้ 2 หมบู่ า้ นหา่ งกนั 8 กโิ ลเมตร เรากแ็ ปลงเปน็ เซนตเิ มตร = 800,000 เซนตเิ มตร ------> ระยะทางจรงิ ตอ่ ไปก็มาเทยี บกับอตั ราสว่ นในแผนท่ี (มาตราสว่ น 1:25,000) โดยใชก้ ารเทียบบัญญตั ิไตรยางศ์ คอื ถา้ ระยะทางจรงิ 25,000 เซนตเิ มตร = ระยะทางในแผนท่ี 1 เซนตเิ มตร ถา้ ระยะทางจริง 800,000 เซนติเมตร = ระยะทางในแผนท ี่ 1 × 800,000 = 32 25,000 ดังนน้ั ระยะทางระหว่างหมบู่ า้ นดงั กล่าวในแผนที่มาตราสว่ น 1:25,000 = 32 เซนติเมตร สรปุ - 100,000 เซนติเมตร = 1 กิโลเมตร - ระยะทางในแผนทแี่ ละระยะทางจรงิ ในมาตราส่วนมีหน่วยเปน็ เซนตเิ มตรทงั้ คู่ - มาตราสว่ นขนาดเลก็ (น้อยกวา่ 1:1,000,000) ใชแ้ สดงบริเวณกวา้ ง เช่น โลก ทวปี - มาตราสว่ นขนาดกลาง (1:250,000 – 1:50,000) ใช้แสดงบริเวณแคบลง เช่น ประเทศ จงั หวดั - มาตราส่วนขนาดใหญ่ (มากกว่า 1:50,000) ใชแ้ สดงบริเวณที่แคบมากขน้ึ เช่น อำ� เภอ ตำ� บล - ข้อแตกต่างระหว่างแผนทแี่ ละลูกโลก คอื แผนทส่ี ามารถลงรายละเอียดไดม้ ากและสะดวกใน การนำ� ไปใช้มากกว่า แตล่ กู โลกจะใหข้ ้อมลู หรือรายละเอยี ดของพน้ื ผิวโลกไดเ้ หมือนจรงิ มากกวา่ แผนที่ 122 ตวิ เข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

เครอ่ื งมอื ทางภูมิศาสตร์ นอกจากแผนที่แล้วเราใช้มเี ครอ่ื งมืออืน่ ๆอีกมากมายที่ใช้ในการศึกษาทางภูมศิ าสตร์ เช่น การสำ� รวจข้อมูลระยะไกลหรือรโี มตเซนซิง (Remote Sensing – RS) ข้อมลู ท่ีไดจ้ ะมอี ยู่ 2 ลักษณะ คือ ภาพถ่ายทางอากาศ และภาพถา่ ยดาวเทยี ม • ภาพถ่ายทางอากาศ : เปน็ ภาพทถี่ ่ายจากท่ีสูงโดยการตดิ ตง้ั กล้องถา่ ยภาพบนเครื่องบินหรือบอลลูน แล้วบนิ เหนอื บรเิ วณท่ตี ้องการถ่าย ข้อมูลแปลความหมายงา่ ย • ภาพถ่ายดาวเทียม : เปน็ การถา่ ยภาพและบนั ทกึ ขอ้ มลู จากดาวเทยี มโดยใชห้ ลกั การสะท้อนกลบั แล้วสง่ ข้อมูลให้ สถานภี าคพนื้ ดนิ ขอ้ มลู ทไ่ี ดจ้ ะมบี รเิ วณกวา้ งกวา่ ภาพถา่ ยทางอากาศแตก่ ารแปลความหมายตอ้ งอาศยั ผเู้ ชยี่ วชาญในการตคี วาม แต่ในปจั จุบันไดม้ กี ารพฒั นาใหภ้ าพถ่ายดาวเทียมมคี วามละเอยี ดและชัดเจนเท่ากับภาพถา่ ยทางอากาศแลว้ การกำ� หนดต�ำแหนง่ บนพื้นโลก (GPS) ใช้บอกต�ำแหน่งของส่ิงตา่ งๆบนพ้ืนโลก คล้ายๆกับเรา Check in ใน Facebook ระบบสารสนเทศภมู ิศาสตร์ (GIS) ช่วยในการจดั เกบ็ จดั ทำ� วิเคราะห์ ท�ำแบบจ�ำลองและการแสดงขอ้ มูลเชงิ พน้ื ท่ดี ว้ ยระบบคอมพิวเตอร์ ดังนน้ั GIS จึง ประกอบไปดว้ ย ฮาร์ดแวร์ ซอฟแวร์ ข้อมลู เชงิ ภูมิศาสตร์ กระบวนการวเิ คราะหแ์ ละบคุ ลากร ขอ้ มูลท่ไี ดจ้ าก GIS เราจะนำ� ไป ใชป้ ระโยชน์ด้านการวางแผนและวิเคราะหง์ านด้านต่างๆ เช่น การวางแผนการปลูกปา่ พยากรณ์อากาศ เครื่องมอื วดั ลกั ษณะอากาศ • บารอมเิ ตอร์ : วัดความกดอากาศ • เทอรโ์ มมิเตอร์ : วัดอณุ หภูมิ • ไซโครมิเตอร์ : วดั ความช้ืนสมั พทั ธ์และจุดน�ำ้ คา้ ง • ไฮโกรมเิ ตอร์ : วัดความชนื้ ของอากาศ (ใชเ้ ส้นผมของคนเป็นอุปกรณด์ ว้ ย) • เครอ่ื งมอื วัดน้�ำฝน (Rain gauge) : วดั ปรมิ าณนำ้� ฝน • แอนนิโมมิเตอร์ : วดั ความเร็วลม • ศรลม (Wind vane) ; วัดทิศทางลม ดาวปลอม (ดาวเทียม) ดาวเทยี มทีส่ �ำคญั ทีเ่ ราควรรไู้ ว้มดี งั น้ี ดาวเทียม NOAA : ใช้พยากรณอ์ ากาศ ไทยคม : ใช้ในการสื่อสารดวงแรกของไทย เครอื่ งมือทางภูมิศาสตร์ บทนี้จะพาพวกเราทุกคนไปดูลักษณะภูมิประเทศท่ัวโลกเลยว่ามีอะไรบ้าง มันเกิดข้ึนมาได้อย่างไร และมันส่งผล อยา่ งไร เร่อื งนี้ขอ้ สอบกแ็ วะเวียนเอาไปออกบา้ ง ถ้าอย่างน้นั เราไปดกู นั เลยดีกวา่ Next station World Tour .... 1. ภเู ขา : พ้นื ทท่ี ่มี ีความสงู ต้งั แต่ 600 เมตรข้นึ ไป (ถา้ ภูเขาทอดตวั ยาว ----> เทือกเขา) เกิดจาก... ภูเขาโกง่ ตัวจากการคดโค้ง/ชนกันของเปลอื กโลก : จะมีลกั ษณะเปน็ ทิวเขาแนวยาว การเคลอ่ื นตัว/ยกตวั ของเปลือกโลก : มลี กั ษณะหน้าผาสูงชัน + ยอดตัด (Block) เกิดจากการประทุของหินหนดื แกส๊ จากใต้พ้นื โลก ----> ภูเขาไฟ ซ่ึงในโลกของเราตอนนี้กม็ ที ้งั ภเู ขาไฟทด่ี บั สนิทสิ้น พลัง (ไมร่ ะเบิดแล้ว) และภเู ขาไฟทม่ี ีพลัง (พร้อมระเบิด) ท่อี าจท�ำใหเ้ กดิ แผน่ ดนิ ไหวและคลื่นสนึ ามไิ ด้ตลอดเวลา ตวิ เข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 123

1 23 No. ชนดิ ของภูเขา ลกั ษณะท่เี หน็ โดดเดน่ มาแตร่ ะยะไกล 1 ภเู ขาหนิ แกรนิต มียอดโคง้ มน คล้ายรูปโดมลาดนูน ไม่หยกั แหลมขรขุ ระ แขง็ แกร่งสกึ กรอ่ นยาก 2 ภูเขาหินปูน มยี อดแหลมหลายยอด มโี พรงหรอื ถ้ำ� หินงอกหนิ ยอ้ ยอย่ภู ายใน 3 ภเู ขาหนิ ทราย งา่ ยๆ ส้นั ๆ ค�ำเดยี ว “มียอดปา้ น” 2. ทร่ี าบสงู : ท่ีราบที่มคี วามสงู เกนิ 300 เมตร แตไ่ มเ่ กนิ 600 เมตร แบง่ ได้ 3 แบบดังนี้ ที่ราบสงู ระหวา่ งภูเขา ท่ีราบสูงเชิงเขา ท่ีราบสูงรูปโต๊ะ Ex. ท่รี าบสูงทิเบต ทร่ี าบสงู เมก็ ซิโก Ex. แคนเทอรเ์ บอร่ี ปาตา-โกเนยี Ex. ที่ราบสงู เดดคาน ท่รี าบสงู อาหรบั 3. ที่ราบ : เปน็ ทีร่ าบเรยี บ เหมาะแก่การเพาะปลูก ต้งั ถ่นิ ฐาน มีความสงู ไม่เกิน 150 เมตร แบง่ ได้เป็น I. ทีร่ าบทเ่ี กดิ จากโครงสร้างของเปลอื กโลก : มกั เป็นที่ราบขนาดใหญ่ เชน่ ทรี่ าบชายฝัง่ ,ท่ีราบภายในทวปี เปน็ ต้น II. ที่ราบทเี่ กิดจากการทบั ถม : ตัวการในการกระทำ� คอื แมน่ ำ้� ลม ท่พี ัดพาเอาดนิ ตะกอนมาทับถม เชน่ ทรี่ าบลุ่มแม่นำ�้ ทรี่ าบดินเลสิ ต์ (ลมหอบ) ความสงู (เมตร) ภูเขา ทร่ี าบสงู 600 500 ทรี่ าบ 400 300 200 100 ภาพสรุปเรียงตามลำ� ดบั ไหล่ (ความสูง) 124 ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya

4. ชายฝง่ั ทะเล : มดี ้วยกัน 2 ลักษณะ คอื I. ชายฝงั่ ท่ีเกิดจากการยุบตวั : ประมาณว่าเดนิ ไปไมก่ ี่ก้าวก็ลึกเลย II. ชายฝั่งท่เี กดิ จากการยกตัว : อนั น้จี ะค่อยๆ ลึกลงเรอ่ื ยๆ ดงั น้นั จะมที ่รี าบกว้าง นำ�้ ตนื้ มสี ันดอน นอกจากนพี้ วกเรารู้หรือไมว่ ่ายงั มลี ักษณะภูมปิ ระเทศบางอย่างทเ่ี กิดจากการกระทำ� ของแม่น�้ำ สายลม และธาร น้�ำแข็งด้วย 5. ทะเลสาบรปู แอก (Oxbow lake) เกิดจากการไหลของแม่น้�ำทไ่ี หลคดไปคดมา เหมือนกับคนทแ่ี บกของหนกั ๆ เวลาเดนิ จะเซไปมา แตส่ ิ่งทแ่ี มน่ �้ำหอบ หว้ิ มาด้วยไมใ่ ช่อะไรนัน่ กค็ อื ตะกอนดนิ นน่ั เอง มีการทับถมมาตามรายทาง+การกดั เซาะบ้าง กท็ ำ� ใหม้ ีทะเลสาบรูปแอก เกิดข้นึ ดรู ปู ประกอบกัน 12 3 6. ทรี่ าบดินดอนสามเหล่ียมปากแมน่ ำ�้ เมื่อแม่น�ำ้ ไหลมาเรอื่ ยๆ จนมาถึงปากอา่ ว กอ่ นที่จะไหลลงสู่ทะเลทา่ นพ่ตี ะกอนทั้งหลายท่เี กาะแม่น�้ำมาก็จะพากนั เกลือกกลงิ้ อยปู่ ากแมน่ ำ้� พอผา่ นไปนานตะกอนก็ทบั ถมกันเรอื่ ยๆ มากขน้ึ ๆ จนกลายเปน็ ดนิ ดอนปากแม่น�ำ้ ทเ่ี ราเหน็ กนั นัน่ เอง 7. โขดหินรูปเหด็ 8. สันทราย 9. เขาโดดในทะเลทราย 78 9 โขดหินรปู เหด็ สนั ทราย เขาโดดในทะเลทราย 10. ฟยอร์ด : เกดิ จากการกระท�ำของธารน�ำ้ แข็งท่ีมาจากยอดเขาสูง ไถลลงมาด้วยความเร็วแล้วกต็ ู้ม!!! กลายเป็นโกโกค้ รน้ั เอ๊ย! ไม่ใช่ๆ ฟยอรด์ นนั่ เอง ฟยอรด์ มปี ระโยชน์ในการท�ำท่าเรอื ได้นะจะบอกให้ ติวเขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya 125

ภูมอิ ากาศรอบโลก เราได้รูแ้ ลว้ ว่าแตล่ ะทใี่ นโลกนม้ี ลี กั ษณะภมู ิประเทศอะไรกนั บา้ ง และนอกจากนี้แตล่ ะที่ก็มีสภาพอากาศทแี่ ตกตา่ งกันออก ไปขน้ึ อยกู่ บั สาเหตทุ ี่จะบอก ต่อไปน้ี 1. ทีต่ งั้ ตามแนวละติจูด แนวละตจิ ูดทสี่ �ำคัญของโลกนั้นมีด้วยกันทั้งหมด 5 แนวเสน้ ด้วยกนั ทำ� ให้โลกเราถูกแบ่งเขตอากาศออกเปน็ เขตใหญ่ 3 เขต คือ E = เขตอากาศขั้วโลก 60 อาร์กติกเซอรเ์ คลิ D = เขตอากาศหนาว 30 ทรอปิก ออฟ แคนเซอร์ C = เขตอากาศอบอ่นุ 0 เสน้ ศูนย์สตู ร B = แหง้ แลง้ A = เขตอากาศร้อน A = เขตอากาศรอ้ น B = แห้งแล้ง 60 30 ทรอปิก ออฟ แคปริคอร์น C = เขตอากาศอบอุ่น แอนตาร์กติกเซอร์เคิล D = เขตอากาศหนาว E = เขตอากาศขั้วโลก ดงั นน้ั ในเขตรอ้ นจะอยบู่ รเิ วณใกลเ้ สน้ ศนู ยส์ ตู ร บรเิ วณนจี้ ะรอ้ นมาก (ตบั แลบเลย) ถดั มากจ็ ะเปน็ เขตอบอนุ่ อนั นสี้ ำ� หรบั คนไทยอยา่ งเราๆ อาจจะวา่ หนาวก็เปน็ ได้ แตค่ นฝร่ังทั่วไปเขาเยน็ สบาย สดุ ทา้ ยเขตหนาว อนั นี้ขอบอกไวก้ ่อนเลยว่าหนาวน้ี คือหนาวแบบเป็นนำ�้ แขง็ ขว้ั โลกเลย 2. ความใกล้ไกลทะเล ในทะเลมีความชืน้ อยู่ ดงั นนั้ พน้ื ทท่ี ่อี ยู่ใกลท้ ะเลจะไดร้ ับความชุ่มชน้ื มากกวา่ บริเวณท่ีอยู่หา่ งไกลกว่า ตวั อย่างเชน่ ชลบุรี อยู่ตดิ ทะเลมากกว่าเชยี งใหม่ ดังนน้ั จงึ มอี ากาศเยน็ สบายกว่า รวมถงึ อากาศในฤดรู ้อนหรือฤดหู นาวจะไม่แตกต่างกนั มากนัก แต่ถา้ เป็นทีเ่ ชียงใหม่ฤดูร้อน รอ้ นมาก ฤดหู นาวหนาวมากเช่นกัน 3. ความสงู ของพืน้ ท่ี ยิง่ สูงกย็ งิ่ หนาว ดงั นั้นพ้นื ท่ีทอ่ี ยสู่ ูงอย่างภูเขาท่ีสูงมากๆ จะมหี มิ ะปกคลุมอยู่ 4. การวางตัวของเทือกเขา ภเู ขาที่มกี ารวางตวั ขวางลม หรือวางตัวแนวเหนือ-ใต้ จะท�ำใหค้ วามช่มุ ช้ืนท่มี าจากทะเลหรอื มหาสมทุ รเดินทางเขาไป ในแผน่ ดนิ ได้น้อยลง ทำ� ใหฝ้ นตกแคบ่ รเิ วณด้านหน้าเขาสว่ นหลงั เขาจะแห้งแล้งเพราะฝนตกน้อย ส่วนภูเขาท่วี างตัวลูล่ มหรือ วางตัวในแนวขนานตะวันตก-ตะวันออกน้ัน ความชุ่มชื้นจะเดินทางเข้าไปในแผ่นดินได้ดีกว่า เพราะไม่มีอะไรมาขวางทางลม นั่นเอง 5. การเคล่อื นไหวของลม ลมทีพ่ ดั จากทะเล -----> แผน่ ดิน -----> จะน�ำความชนื้ มาให้ (ฝน) ลมท่ีพัดจากแผน่ ดิน -----> ทะเล -----> จะนำ� ความแห้งแล้งหรอื ลมหนาวมาให้ 126 ตวิ เข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

6. กระแสน้ำ� : โลกมกี ระแสนำ้� อยู่ 2 ประเภท คือ กระแสนำ�้ อนุ่ (Warm Currents) : เปน็ กระแสนำ�้ ทไี่ หลออกจากเสน้ ศนู ยส์ ตู ร (ตรงเสน้ ศนู ยส์ ตู รรอ้ น นำ้� เลยอนุ่ ๆ) ถ้ากระแสนำ�้ อุน่ ไหลผ่านจะนำ� ความชมุ่ ช้นื ไปใหด้ ้วย เพราะฝนจะตก กระแสนำ�้ เยน็ (Cool Currents) : เปน็ กระแสนำ�้ ทไี่ หลออกจากขวั้ โลก (ขว้ั โลกมนี ำ้� แขง็ นำ�้ เลยเยน็ ๆ) ถา้ กระแสนำ�้ เยน็ ไหลผ่านจะมีแตค่ วามแหง้ คอื อากาสมนั จะแหง้ ความชื้นนอ้ ย มักทำ� ให้เกดิ ทะเลทรายได้ นกึ ถงึ ตอนหน้าหนาวอากาศแห้ง เราปากแตก ผิวแห้ง ประมาณนั้น แตเ่ มื่อกระแสนำ้� เย็นและกระแสน้�ำอนุ่ ไหลมาเจอกนั จะท�ำใหเ้ กิดแหลง่ ปลามาชมุ นมุ กันอย่างชกุ ชุม เพราะมีแหล่งอาหาร ที่อดุ มสมบูรณ์ โดยในโลกนีจ้ ะมแี หล่งปลาชุกชุมทีต่ ดิ อันดบั ต้นอยู่ 3 แหลง่ คือ แกรนดแ์ บงก์ ดอกเกอร์แบงก์ ครู ิลแบงก์ ทมี่ า : http://www.sciforums.com/threads/the-gulf-stream-slows.96493/ ดังนั้นเขตภมู อิ ากาศของโลกจะใชเ้ กณฑ์อณุ หภมู ิและปริมาณนำ้� ฝน เป็นเกณฑ์ในการแบง่ วธิ ีน้ขี อแอบกระซิบบอกวา่ คนตน้ คดิ ก็คอื ดร.วลาดเิ มียร์ เคิปเปิน สญั ลกั ษณ์ ประเภทภมู ิอากาศ ลกั ษณะ พชื พรรณทพี่ บ Af แบบป่าดิบช้ืน Am ฝนตกมากกว่า 60 มม. ทุกเดอื น มีอุณหภมู ิสงู ตลอดปี ปา่ ดิบรกทึบ ต้นไมม้ ี แบบมรสุมเขตรอ้ น ขนาดใหญ่ หนาแน่น Aw อากาศร้อนชนื้ พบบริเวณเสน้ ศนู ยส์ ูตร Bs คล้ายกับปา่ ดิบช้ืนแต่บางเดือนฝนก็ตกน้อยกว่า 60 มม. ป่าผลัดใบหรอื ป่า และในฤดูร้อนฝนตกหนกั เบญจพรรณ ทุ่งหญ้า มีฝนตกในฤดูร้อน ฤดหู นาวแห้งแล้ง ทงุ่ หญา้ เมืองรอ้ นหรอื สะวนั นา อุณหภูมติ ลอดปแี ตกตา่ งกนั มาก ทุ่งหญ้าสลับปา่ ไม้ ก่ึงทะเลทราย มีฝนตกบา้ ง (มากกวา่ เขตทะเลทราย) อากาศอบอุน่ ร้อน ทุ่งหญา้ สเตปป์ อยชู่ าย (ทุ่งหญ้าสเตปป์) ขอบทะเลทราย ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya 127

Bw ทะเลทราย ฝนตกนอ้ ยมาก หรือไม่ตกเลย อณุ หภูมิใน พชื ทะเลทราย เชน่ Cs หน่งึ วันแตกตา่ งกันมาก ตะบองเพชร อินทผลัม เมดเิ ตอร์ ฝนตกในฤดูหนาว ฤดูรอ้ นแหง้ แลง้ Ca เรเนยี น ไม้พุ่มเต้ยี และผลไม้ที่ Cb อากาศอบอนุ่ แต่มีฝนตกตลอดปี มรี สเปรี้ยว เชน่ องุ่น Da,Db อบอุน่ ชื้น มะกอก ภาคพ้ืนสมทุ ร Dc,Dd ไมผ้ ลัดใบ ทุง่ หญ้าแพร์รี่ ET ช้นื ภาค EF พน้ื ทวีป อากาศอบอนุ่ ฝนตกชุกตลอดปี ไมผ้ ลดั ใบเขตอบอนุ่ เชน่ H เมเปิล กึง่ อารก์ ตกิ (ไทกา้ ) ฝนตกปานกลาง ฤดรู ้อนอบอนุ่ ฤดหู นาวคอ่ นขา้ งหนาว ปา่ ผสมเขตอบอุ่น (ปา่ ทุนดรา เพราะไดร้ ับอิทธิพลจากกระแสน้�ำเยน็ และอย่ใู กล้ข้ัว สน + ปา่ ผลดั ใบ + ท่งุ โลก หญา้ แพรร์ )่ี ทงุ่ นำ้� แขง็ ฤดหู นาวหนาวจดั มีฤดูรอ้ นระยะสน้ั แตก่ ห็ นาวอย่ดู ี ป่าสน ที่สูง อุณหภูมเิ ฉลย่ี 10 ํ C อากาศหนาวจัดตลอดปี ฤดหู นาวประมาณ 9 เดอื น ฤดู มอส สาหรา่ ย ไลเคน ร้อน 3 เดือน ตะไครน่ ้�ำ อณุ หภมู ิเฉลยี่ ตำ�่ กว่าจดุ เยอื กแข็ง มีน้�ำแข็งปกคลมุ ไมม่ พี ืชชนิดใดเจริญ ตลอดปี เตบิ โตได้ มีอุณหภมู แิ ละพชื พรรณต่างไปตามระดบั ความสูง สรุปไดว้ า่ พืชพรรณทพ่ี บตามละตจิ ดู ตา่ งๆ สามารถเรียงลำ� ดบั ได้ ดังน้ี ละตจิ ูดต�่ำ (เส้นศนู ย์สตู ร) -----> ละติจดู สงู (ขั้วโลก) ป่าดงดิบ -----> ปา่ มรสมุ (ปา่ โปร่ง) เร่ิมผลดั ใบ -----> ทงุ่ หญา้ สะวันนา -----> ทุ่งหญ้าสเตปป์ -----> ป่าเขตอบอุ่น -----> ป่าสน -----> เขตทนุ ดรา (ไมม่ อี ะไรเลย) มีฝนตกก็ต้องมีพายุ มพี ายุกต็ ้องมีลม ดังน้ันลมฟา้ อากาศในโลกน้ีเราสามารถแบ่งได้ ดงั นี้ ลมประจำ� ปี (เกิดทุกปี) ได้แก่ ลมคา้ ลมตะวนั ตก ลมขัว้ โลก ลมประจ�ำเวลา (อนั นเ้ี กิดเปน็ เวลา) ไดแ้ ก่ ลมบก ลมทะเล ลมประจ�ำถิน่ ไดแ้ ก่ ลมว่าว (พดั หน้าหนาว) ลมตะเภา (พดั หนา้ ร้อน) ลมแปรปรวน (ลมพายุ) : ลมประเภทนี้เราเรียกอกี อยา่ งว่า “พาย”ุ ซง่ึ มี 3 ชนิดเรียงตามลำ� ดับความเรว็ ได้ ดังนี้ 128 ตวิ เข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

63 km/hr. 118 km/hr. ดีเปรสชั่น พายโุ ซนร้อน พายไุ ตฝ้ ุน่ พายุมีประโยชนท์ �ำใหเ้ กิดฝนตก ดตี ่อการท�ำเกษตรกรรม แต่ถา้ มากไปกท็ ำ� ใหเ้ กิดอทุ กภัย วาตภัย หรือโรคระบาดได้ และ ท่ีส�ำคญั พายไุ ต้ฝุน่ เวลาไปเกิดในแต่ละท่ี เราจะเรียกช่อื ไม่เหมอื นกัน เราจะเรียกตา่ งกนั ออกไป ดังน้ี ขอบอกนิดนงึ ว่า ถา้ พายคุ วามเร็ว ระดบั ไตฝ้ นุ่ ไปเกดิ แถวออสเตรเลยี เราจะเรยี กวา่ “ วลิ ล–ี่ วลิ ล”่ี สว่ นใน อา่ วเบงกอลจะเรียกว่า “ไซโคลน” กไ็ ด้ดว้ ย ทม่ี า : http://www.learnnc.org/lp/media/uploads/2009/12/cyclone_map_large.gif ทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรธรรมชาติทสี่ ำ� คัญๆ เป็นอนั ดบั ต้นและเป็นเรอ่ื งท่ีพวกเราทุกคนรจู้ กั กันเป็นอยา่ งดี น่ันก็คอื น�ำ้ และป่าไม้ น้�ำ.... นำ�้ สว่ นใหญใ่ นโลกเป็นน�้ำเคม็ มนี ้�ำจืด 3% ของปรมิ าณน�ำ้ ทั้งหมด แต่กอ็ ย่ใู นรูปธารน�้ำแข็งบ้าง และท่เี ราใช้ๆ กันอยู่ ทกุ วันก็ คอื แมน่ ำ้� ล�ำธาร และทะเลสาบ ความสมบรู ณข์ องแหลง่ นำ้� ขึน้ อยกู่ ับความอดุ มสมบรู ณ์ของแหล่งต้นนำ้� ลำ� ธารดว้ ย น่นั กค็ อื ป่าไม้ ปา่ ไม.้ ... ปา่ ไม้ในโลกนีเ้ ราสามารถแบง่ ออกไดเ้ ป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คอื ปา่ ผลัดใบ ป่าไม่ผลัดใบ ปา่ โปร่งที่ผลัดใบชว่ งหน้ารอ้ น เปน็ ป่าท่เี ขยี วชอ่มุ ตลอดปี มคี วามชื้นสงู มีฝนตกมาก แดง เตง็ รงั เบญจพรรณ ดิบชน้ื ดบิ แลง้ ดบิ เขา สนเขา พร ุ ชายเลน ชายหาด ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 129

ภูมิศาสตรป์ ระเทศไทย ตอ่ จากน้พี ี่จะพาพวกเราไปตะลอนทัวร์ทว่ั ไทยแบบ non stop บต่ ้องพักกันเลย แมว้ า่ ประเทศไทยจะเป็นประเทศบา้ น เกิดเมอื งนอน แต่เราลองถามตัวเองดูวา่ เรารจู้ ักประเทศไทยดีกันรยึ งั ? ถ้ายงั หรือรแู้ ล้วแต่ยังไม่ลึก ก็ขอเชญิ ไปรว่ มทัวร์กนั เลย พร้อมแลว้ ก็ Let’s go to Thailand.... อันดบั แรกพวกเราต้องรสู้ ภาพท่ตี ง้ั พรมแดน อาณาเขตติดต่อกนั ก่อน สจู ิบตั รประเทศไทย.... 1. ชื่อ-นามสกุล ประเทศไทย 2. ท่อี ยู่ (ทตี่ ั้ง) จดุ เหนือสุด : อ.แม่สาย จ.เชยี งราย จุดใตส้ ดุ : อ.เบตง จ.ยะลา จดุ ตะวนั ออกสดุ : ผาชนะได อ.โขงเจียม จ.อบุ ลราชธานี จุดตะวันตกสุด : อ.แมส่ ะเรยี ง จ.แม่ฮ่องสอน 3. ขนาดพ้นื ท ่ี 513,115.06 ตารางกิโลเมตร 4. รปู ร่าง - แคบที่สดุ ของประเทศ : ต.คลองวาฬ อ.เมอื ง จ.ประจวบคีรขี ันธ์ - แคบที่สุดในคาบสมทุ ร : คอคอดกระ บริเวณ จ.ระนองและชมุ พร - กวา้ งที่สุดของประเทศ : ด่านเจดีย์ 3 องค์ จ.กาญจนบุรี ถึง ชอ่ งเมก็ จ.อบุ ลราชธานี 5. เขตรั้วบา้ น (พรมแดนติดต่อ) 5.1 แนวพรมแดนทางบก - พรมแดนธรรมชาติ : อาศยั สนั ปันนำ�้ ของภูเขา+ร่องนำ้� ลกึ ของแมน่ ำ้� ในการแบง่ - พรมแดนเราขาคณติ : ใช้เส้นสมมติ พกิ ดั ภูมิศาสตร์ ทม่ี นุษยส์ รา้ งขึน้ ในการแบง่ 5.2 แนวพรมแดนทางน้�ำ จะยึดแนวทะเลอาณาเขตในการแบง่ โดยวัดจากชายฝง่ั ทะเลออกไป 12 ไมล์ทะเล ดงั นนั้ ประเทศไทยจะมี น่านน้�ำอาณาเขตทั้งด้านอนั ดามันและอา่ วไทย แผ่นดนิ (1ท2ะเลไอมาณลท์าเขะตเ)ล 200 ไมล์ เขตเศรษฐกิจจ�ำเพาะ 6. รอบร้ัวบ้าน (อาณาเขตติดต่อ) 6.1. ไทย-พมา่ มีแนวพรมแดน คอื เทือกเขาแดนลาว เทอื กเขาตะนาวศรี เทอื กเขาถนนธงชยั แมน่ ้ำ� รวก แม่นำ�้ สาย แม่น้�ำสาละวิน แม่น�้ำเมย แม่น้�ำปากจนั่ 6.2. ไทย-ลาว มีแนวพรมแดน คือ เทือกเขาหลวงพระบาง แมน่ ำ�้ โขง แม่นำ้� เหือง 6.3. ไทย-กัมพชู า มีแนวพรมแดน คอื เทอื กเขาบรรทดั เทือกเขาพนมดงรกั 6.4. ไทย-มาเลเซีย มแี นวพรมแดน คอื เทอื กเขาสนั กาลาคีรี แม่น้�ำโกลก 130 ตวิ เข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

ติวเขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya 131

7. ลักษณะภูมิประเทศทั่วไทย ลกั ษณะพน้ื ที่ ระบบแมน่ ำ�้ ภาค เหนือ เปน็ ทิวเขาหนิ แกรนิต ทอดตวั ยาวในแนว เปน็ ตน้ น�ำ้ + แม่นำ้� สายส้นั ๆ ตะวนั ตก เหนือ-ใต ้ มเี ทอื กเขาสูงสลับกบั ทร่ี าบหบุ เขาที่ กล่มุ แมน่ ้ำ� โขง : รวก กก อิง เปน็ แอ่งที่ราบกว้าง กล่มุ เจ้าพระยา : ปิง วงั ยม น่าน ใต้ กลมุ่ แม่น�ำ้ สาละวิน: ปาย ยวม เมย เปน็ เทอื กเขาสลบั กบั ทรี่ าบหบุ เขาแคบๆ มี แมน่ ำ้� สายสน้ั แตไ่ หลเชี่ยว : แมน่ ำ�้ ทีร่ าบชายฝง่ั ทางตอนใต้ แควนอ้ ย + แควใหญ่ = แม่กลอง ไหลลงอ่าวไทยทีส่ มุทรสงคราม เปน็ ทิวเขาวางตัวเปน็ แกนกลางค่อนไปทาง เป็นแมน่ ้�ำสายสั้น เช่น แมน่ �ำ้ ปากจัน่ ตะวนั ตก ท�ำให้ตะวนั ออกของภาคมที ร่ี าบ แม่นำ้� ตรัง แม่น�ำ้ ชมุ พร แม่น�ำ้ ตาปี มากกวา่ ดา้ นตะวันตก ตดิ กบั ทะเลทั้ง 2 ด้าน คือ (ยาวสดุ ในภาค) แมน่ ้�ำครี รี ัฐ แม่น้ำ� ปตั ตานี แม่น�้ำโกลก ดา้ นอา่ วไทย : ชายฝ่ังยกตวั น�้ำตนื้ กวา้ งขวาง มสี นั ดอนย่นื ออกไปในทะเล ด้านอันดามนั : ชายฝัง่ ยบุ ตวั เว้าแหวง่ ขรขุ ระ เปน็ ทอ้ งทะเลลึก เกาะเยอะมาก ตะวนั ออก เปน็ ทีร่ าบสงู และบริเวณขอบของภาคทางซ้าย แม่นำ้� ทุกสายไหลลงแม่น�้ำโขง เฉยี งเหนือ และดา้ นลา่ งเปน็ แนวภเู ขายกตัว ท�ำให้แยกออก แม่น้�ำชี : ยาวสุดในภาค จากภาคเหนือและภาคกลางอย่างชดั เจน ท่ี แม่นำ�้ มูล : สำ� คัญสุดในภาค กลาง สำ� คญั ตอนกลางของภาคเปน็ แอ่งกระทะ 2 แอง่ แอง่ โคราช และแอง่ สกลนคร เป็นแม่น้�ำสายใหญ่ ได้แก่ ตะวันออก - แมน่ �้ำเจา้ พระยา = ปงิ + วัง + ยม เปน็ ท่รี าบทลี่ าดเอียงจากเหนอื ลงใต้ ทำ� ให้ภาค + นา่ น + สะแกกรงั + ป่าสัก (ไหลลง กลางตอนบนมีลักษณะเป็นท่รี าบลูกฟูกสงู กวา่ ส่อู ่าวไทยที่ จ.สมุทรปราการ) ทร่ี าบภาคกลางตอนลา่ งทีเ่ ปน็ ทรี่ าบน�ำ้ ท่วมถงึ - แมน่ ้�ำทา่ จีน : สาขาหน่ึงของแมน่ ้�ำ ทเี่ กดิ จากการทบั ถมของตะกอนบรเิ วณปากแมน่ ำ�้ เจา้ พระยา ตอนลา่ งติดกับทะเลอา่ วไทยกลายเปน็ ทีร่ าบ เป็นแม่น้�ำสายส้นั ท่ีส�ำคัญทส่ี ุด ชายฝัง่ ส่วนตอนบนเป็นท่รี าบลุ่มแม่นำ�้ เรียกว่า “แม่น้ำ� บางประกง” ไหลลงอ่าวไทยท่ี “ทร่ี าบฉนวนไทย” จ.ฉะเชิงเทรา 132 ตวิ เข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

8. ภมู อิ ากาศทัว่ ไทย เขตทุ่งหญ้าสะวนั นา (Aw) เขตมรสมุ เขตร้อน (Am) ถา้ หากใช้เกณฑข์ องแคปเปนิ ในการแบง่ สภาพ ภูมิอากาศของประเทศไทยจะสามารถแบง่ ได้ออกเป็น 2 เขตอากาศ คอื เขตทุ่งหญา้ สะวนั นา (Aw) ทเ่ี ปน็ พ้ืนท่ี สว่ นใหญข่ องประเทศ และ เขตมรสมุ เขตรอ้ น (Am) ใน บริเวณภาคใตแ้ ละบรเิ วณจังหวดั จนั ทบุรแี ละตราดใน ภาคตะวนั ออก สว่ นเรื่องฤดูกาลในประเทศไทยเรากค็ งจะพอทราบกนั อย่แู ลว้ ว่า ประเทศไทยมที ้ังหมด 3 ฤดกู าล คอื ฤดรู ้อน ฤดู ฝน และฤดูหนาว แต่ในบริเวณเขตอากาศ Am อยา่ งภาคใต้และบริเวณจงั หวดั จันทบุรีและตราดจะมีปรมิ าณนำ้� ฝนมากกว่า บรเิ วณอ่ืนทำ� ให้ไม่ค่อยมลี ักษณะของฤดูหนาวอยา่ งชัดเจนนัก และอีกสาเหตุหน่ึงในการเกิดฤดกู าลของประเทศไทยก็คอื ลม มรสมุ ที่พดั ผ่านในแตล่ ะชว่ งเวลา ดังนี้ ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ : เปน็ ลมทีพ่ ัดมาจากทะเลแสดงวา่ ต้องพดั พาเอาความช่มุ ช้ืนมาด้วย นั่นแสดงวา่ ต้องมี ฝนตกเกดิ ขน้ึ ดังนั้นในช่วงเดือน พ.ค. – ต.ค. เป็นชว่ งท่ลี มมรสุมนพ้ี ดั ผา่ นจงึ ท�ำให้ช่วงนี้เป็น ‘ฤดฝู น’ ลมมรสมุ ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื : เปน็ ลมมรสมุ ทพี่ ดั มาจากทางจนี แผน่ ดนิ ใหญ่ แสดงวา่ จะตอ้ งนำ� พาเอาอากาศหนาว มาอยา่ งแนน่ อน จงึ ท�ำใหช้ ่วงเวลาท่ลี มมรสุมน้พี ัดผ่าน (พ.ย. - ม.ค.) เป็นชว่ งฤดหู นาว แต่จากรปู ดา้ นบนเราจะเห็นลกู ศรเส้นประสีน้�ำเงนิ อันนน้ั จะเป็นลมพายุท่ีพัดเขา้ มาสมทบในชว่ งเวลาตา่ งๆ แตก่ ็จะอยู่ ในชว่ งหนา้ ฝนนแ่ี หละ เพราะพายเุ หลา่ นกี้ พ็ ดั มาจากทะเลกย็ อ่ มนำ� ฝนมาตกใหช้ มุ่ ฉำ่� เปน็ ธรรมดา แตถ่ า้ เจอหนกั ๆ หลายลกู ตดิ กันก็ไมไ่ หวนะ อาจเกดิ น�้ำท่วมได้ และน้องๆ เห็นเส้นที่เขยี นว่า ‘รอ่ งความกดอากาศต่ำ� ’ ในภาพข้างบนหรอื เปลา่ ติวเขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya 133

ร่องความกดอากาศตำ่� หรือเราเรยี กอีกชอ่ื หนึ่งว่า ‘รอ่ งมรสมุ ’ น้นั จะเป็นบริเวณทม่ี ีเมฆมากและฝนตกอยา่ งหนาแนน่ ฉะนั้นเมื่อร่องน้ีประจำ� อยู่ที่ใดหรือผ่านที่ใดก็ขอให้พวกเราทุกคนรู้ไว้เลยว่าจะทำ� ให้ท่ีนั้นฝนตกอย่างหนาแน่นได้ ดังนั้นในช่วง ก่อนทจี่ ะเข้าหน้าฝนในช่วงเดอื น พ.ค. เราจะได้ยนิ ข่าวรอ่ งนก้ี ับการต่อท้ายวา่ จะมีฝนตกเป็นประจำ� เลย ทมี่ า: www.phrae.go.th แพะเมอื งผี ท่มี า : www.manager.co.th เกิดจากแรงน้ำ� ไหลแรง+ความออ่ น ทม่ี า : http://burirambta.wordpress.com/ ตัวของชน้ั ดนิ ตะกอนเลยท�ำให้มีเสาหินหรือ แทง่ ดนิ กระจายเยอะแยะเต็มไปหมดเลย พบท่ี ที่มา: http://www.siamensis.org/article/34925 จ.แพร่ เสาดิน อ.นานอ้ ย จ.นา่ น โป่งยุบ จ.ราชบุรี 134 ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya เสาเฉลยี ง เกิดจากการเปล่ียนแปลงของอณุ หภูมิ ในอากาศทำ� ให้หินเกดิ รอยแตก รวมกบั กระบวนการ กัดเซาะและกดั กรอ่ นดว้ ยอทิ ธิพลของน้�ำและ ลม พบท่ี อ.โขงเจียม จ.อุบลราชธานี ภูผาเทบิ จ.มกุ ดาหาร เขากระโดง เกดิ จากการระเบิดของภูเขาไฟท่ใี น ปจั จุบนั สิน้ พลังแล้ว ทำ� ใหบ้ ริเวณปากปลอ่ งยบุ ตัว ลง+มีนำ้� ขงั ทำ� ใหก้ ลายเปน็ ทะเลสาบขนาดยอ่ มอยู่ บนปากปลอ่ ง พบท่ี เขาพนมรุ้ง จ.บรุ รี มั ย์ เขาหลวง จ.สโุ ขทยั นำ้� ค้างแข็ง เปน็ ปรากฏการณท์ างภมู ศิ าสตร์ทีเ่ กีย่ ว ข้องกับการเปลี่ยนแปลงของบรรยากาศ มกั จะ พบมากในชว่ งฤดูหนาวบนยอดดอยในภาคเหนอื และภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ภาษาถนิ่ เหนอื เรยี กนำ้� คา้ งแข็งวา่ ‘เหมยขาบ’ สว่ นภาคตะวัน ออกเฉยี งเหนือเรยี กวา่ ‘แมค่ ะนง้ิ ’

วกิ ฤตส่งิ แวดลอ้ มทวั่ ไทยและระดับโลก อันนีข้ อรวบรวมเหตกุ ารณ์ฮิต ประเดน็ ร้อน มาสรปุ ให้พวกเราฟังเอาแบบเนน้ ๆ ที่ชอบออกขอ้ สอบเลย เรม่ิ จาก 1. ปรากฏการณ์เรอื นกระจก (Greenhouse effect) เกิดจาก กา๊ ซเรอื นกระจกเพิ่มขนึ้ • คาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) : การเผาไหม้ทีไ่ ม่สมบูรณ์ • คารบ์ อนไดออกไซด์ (CO2) : การเผาไหม้เชอ้ื เพลงิ • คลอโรฟลูออคาร์บอน (CFC) : กระป๋องสเปรย์ • มเี ทน (CH4) : การท�ำนาปลูกขา้ ว • ไนตรัสออกไซด์ (N2O) : ปยุ๋ ไนโตรเจน ดดู ซบั ความรอ้ นจากดวงอาทติ ยม์ ากขน้ึ ชั้นบรรยากาศมี (เข้าเทา่ เดิมแต่ออกได้น้อยลง) อณุ หภมู สิ งู ขน้ึ (มาก) ธารน�้ำแข็งทวั่ โลกละลาย ภาวะโลกรอ้ น อย่างรวดเรว็ + ต่อเนื่อง ที่ดนิ การเกษตรและชมุ ชนชายฝ่งั ทะเลได้รับความเสยี หาย ระดบั น�้ำทะเลสูงขน้ึ (อาจท�ำใหเ้ กิดนำ�้ ท่วม) ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 135

2. เอลนิญโญ ปรากฏการณ์นี้เกิดจากลมสินค้าที่จะพัดไปออสเตรเลียเกิดหมดแรง (มีก�ำลังอ่อนตัวลง) ท�ำให้กระแสน�้ำอุ่นไหลย้อน กลบั มาทเี่ ดมิ ผลทเ่ี กดิ ขนึ้ คอื บรเิ วณประเทศเปรแู ละเอกวาดอรฝ์ นตกหนกั มา รวมถงึ บรเิ วณชายฝง่ั ดงั กลา่ วยงั ขาดสารอาหาร ท�ำใหป้ ลาลดลง ชาวประมงจับปลาไม่ได้ เลยร้องตะโกนว่า “....เอลนญิ โญ.... เอลนิญโญ.....” เปน็ ภาษาสเปนแปลว่า พระบตุ ร เพราะเหตกุ ารณ์น้เี กดิ ในชว่ งเทศกาลคริสต์มาส 3. ลานญิ ญา (La Nina) ลานญิ ญา เป็นปรากฏการณ์ทีเ่ กดิ ขึน้ หลงั จากเกิดเอลนญิ โญแล้ว และมีลักษณะตรงข้ามกับเอลนญิ โญอย่างสิ้นเชิง โดย เกิดจากอุณหภูมิของผิวน�้ำมหาสมุทรแปซิฟิกเย็นข้ึนกว่าปกติ ท�ำให้ลมสินค้ามีก�ำลังวังชาขึ้น (ก�ำลังแรงขึ้น) ผลที่ตามมาคือ พ้ืนท่ีท่ีฝนตกอยู่แล้วก็ตกหนักมากขึ้น หรือพ้ืนท่ีท่ีแห้งแล้งก็แห้งแล้งมากขึ้น ซ่ึงต่างจากเอลนิญโญที่เหตุการณ์จะพลิกผัน ประมาณวา่ จากหน้ามอื เปน็ หลงั มือกันเลยทีเดียว 4. วิกฤตสิ่งแวดล้อมในประเทศไทย 4.1 ปญั หาการชะล้างพงั ทลายหนา้ ดนิ : มกั พบบอ่ ยบริเวณทสี่ งู + ตอนฝนตกหนกั 4.2 ดินพรุ : เป็นดินท่ีมีความเปน็ กรดสูง มักพบบริเวณทลี่ มุ่ ต่ำ� ทางภาคใตฝ้ ง่ั ตะวันออก 4.3 ดนิ เค็ม : ชน้ั ดินมีหินเกลือแทรกอยู่ มกั พบในภาคอสี าน ส่งผลต่อการทำ� การเพาะปลกู 4.4 ปัญหาแรธ่ าตุ : การขุดแร่ขาดประสิทธิภาพ + มกี ารปนเป้อื นลงสู่แม่น�้ำลำ� คลอง + หนา้ ดนิ พังทลาย + เกิดปัญหา กับชุมชน 4.5 ปัญหาการขาดแคลนน�ำ้ : การขาดแคลนแหลง่ น�้ำทด่ี ี + ฝนแลง้ + ใช้น้�ำมากไป 4.6 ปญั หาน�ำ้ เสีย : เกดิ จากการปล่อยนำ้� เสียลงสู่แหล่งน้ำ� ธรรมชาตขิ องภาคการเกษตร ครัวเรอื น และอุตสาหกรรม โดยไมผ่ า่ นการบำ� บัดกอ่ น ผลคือ สตั ว์นำ้� ตายเพราะขาดออกซิเจน 4.7 ปญั หาสตั ว์ปา่ : สัตว์ป่ามจี �ำนวนลดลงจึงมกี ารออกกฎหมายคุ้มครอง คอื พระราชบญั ญัตสิ งวนและค้มุ ครองสัตว์ ปา่ พ.ศ. 2535 4.8 ปัญหาปา่ ไม้ : จำ� นวนป่าไม้ลดลงอยา่ งมากท�ำใหม้ ีการออกกฎหมายหรอื มาตรการคุ้มครองต่างๆมากมาย เช่น พระราชบัญญัตปิ า่ ไม ้ พระราชบญั ญัตปิ ่าสงวนแหง่ ชาติ นโยบายป่าไมแ้ หง่ ชาติ การประกาศเขตพนื้ ท่ีป่าสงวน เปน็ ตน้ 4.9 ปัญหามลพิษทางอากาศ : เน่ืองจากในอากาศมีปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ฝุ่นละออง และสารตะกั่วเป็น จ�ำนวนมาก ทำ� ใหเ้ ปน็ โรคเกย่ี วกบั ระบบทางเดินหายใจได้ สาเหตสุ ว่ นใหญก่ ็มาจาก ปญั หาการจราจรท่ีเพิม่ ข้ึนทกุ วัน 4.10 ปญั หาขยะมลู ฝอย : เกดิ จากการเพมิ่ ขนึ้ ของจ�ำนวนประชากร และการจดั การขยะทไี่ ม่มีประสทิ ธิภาพ ทิง้ ยะไม่ เลือกที่ ดังนน้ั เราทุกคนต้องทง้ิ ขยะใหถ้ กู ที่ ดังน้ี ขยะเปยี ก ขยะแหง้ ขยะอนั ตราย ขยะยอ่ ยสลายงา่ ย (ขยะเน่าเสยี ได)้ ขยะย่อยสลายยาก (ขยะรีไซเคลิ ) ขยะอันตราย (ขยะท่ีมีสารพิษ) - พชื - กระปอ๋ งสีสเปรย์ ทนิ เนอร์ - ผัก - พลาสตกิ - ไม้ - ขวดใสส่ ารเคมี - ผลไม้ - แบตเตอรรี่ ถ่านไฟฉาย - เศษอาหารต่างๆ - ยาง - ผ้า - หลอดไฟฟ้า - แก้ว - โลหะต่างๆ - กระดาษ หมักปุ๋ย ขายและน�ำไปใช้ใหม่ ฝงั กลบตามวิธีท่เี หมาะสม 136 ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

หลกั 7R ในการรักษาสงิ่ แวดลอ้ ม การใชห้ ลัก 7R ก่อนท่จี ะทงิ้ ขยะ จะสามารถลดปรมิ าณขยะและสามารถน�ำขยะเหลา่ นัน้ กลบั มาใช้ประโยชน์ใหม่ได้ Reject : ปฏเิ สธการใช้ของทีส่ ร้างมลพษิ Reuse : การน�ำของทใี่ ชแ้ ล้วน�ำกลบั มาใช้ใหม่ Reduce : ลดการใชล้ ง และใช้อยา่ งทะนุถนอม Repair : รจู้ กั ซ่อมแซม Recycle : นำ� กลบั มาใช้ใหม่ แตต่ ้องผา่ นเครือ่ งจกั รในการแปรสภาพแลว้ Recovery : พกั ฟ้ืนก่อนแลว้ ค่อยใช้ประโยชน์ Renewal : ต่อเติมเสรมิ แตง่ ให้ใชป้ ระโยชนไ์ ดม้ ากขึ้น กฎหมายเกีย่ วกบั สิ่งแวดลอ้ มระหว่างประเทศ หัวข้อนเี้ ป็นหวั ขอ้ สดุ ทา้ ยของสาระภมู ศิ าสตร์แลว้ แม้จะมาเป็นเรือ่ งสุดทา้ ยแตก่ ารเอาไปออกข้อสอบก็ใชย่ อ่ ย เพราะ เหน็ ออกขอ้ สอบบ่อยมากเรียกไดว้ า่ ถา้ จ�ำได้และตงั้ ใจก็ได้คะแนนกันไมอ่ ยากเลย ถา้ อย่างนั้นเราไปเร่ิมดูกันเลย กฎหมายสง่ิ แวดลอ้ ม วตั ถุประสงค์ Agenda 21 แผนปฏิบตั ิการ 21 เป็นผลทไี่ ด้จากการประชุมดา้ นสง่ิ แวดล้อมทเี่ มือง อนสุ ญั ญาเวียนนาและ รโิ อเดอจาเนโร ประเทศบราซลิ เป็นการก�ำหนดแนวทางการพฒั นาโลกใน พธิ สี ารมอนทรีออล อนาคตอย่างย่ังยืน พธิ สี ารเกียวโต จดั ท�ำขน้ึ เพอ่ื ลดและยกเลกิ การใชส้ าร CFC สาร Halon และสารอน่ื ๆ อนุสญั ญาสหประชาชาตวิ า่ ท่มี ีผลทำ� ให้ชัน้ โอโซนเบาบางลง ดว้ ยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิ อากาศ (UNFCCC) ให้ประเทศทพี่ ัฒนาแล้วลดการปลอ่ ยก๊าซเรือนกระจก และเป็นกฎหมาย อนสุ ญั ญาวา่ ดว้ ยการอนุรกั ษ์ ระหว่างประเทศฉบบั เดยี วในปจั จบุ ัน ทไ่ี ด้รับการยอมรบั ใหเ้ ป็นหลักปฏิบัติ พน้ื ทชี่ ่มุ น้�ำ:อนุสัญญาแรมซาร ์ สากล เพือ่ แกป้ ัญหาภาวะโลกรอ้ น พิธสี าร เกยี วโต จะสิน้ สดุ ลงปี พ.ศ. 2563 ลดปรมิ าณการปล่อยก๊าซเรอื นกระจกจากกิจกรรมตา่ งๆของ มนุษย์ เพอื่ ให้ ระบบนิเวศสามารถปรับตัว และผลักดันใหม้ ีการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างย่งั ยืน อนุสัญญานเ้ี ป็นทมี่ าของ พิธีสารเกียวโต ด้วย อนรุ ักษ์พ้นื ท่ลี มุ่ น้�ำ ซึ่งมคี วามส�ำคญั ในฐานะแหลง่ ระบบนิเวศที่อุดมสมบูรณ์ ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya 137

กฎหมายส่งิ แวดล้อม วัตถุประสงค์ อนสุ ญั ญาวา่ ด้วยการเคลือ่ นย้าย ควบคมุ การส่งสารเคมีขา้ มพรมแดน และป้องกนั การถ่ายเทกากของเสีย และการก�ำจดั ของเสียอันตราย อันตรายจากประเทศอตุ สาหกรรมที่พัฒนาแล้วไปยังประเทศก�ำลังพัฒนา ข้ามแดน : อนุสญั ญาบาเซลิ อนรุ กั ษ์ความหลากหลายของชวี ภาพ เพ่ือปอ้ งกนั การสูญพันธ์แุ ละความ อนุสญั ญาว่าด้วยความหลาก เสยี หายในระบบนิเวศของโลก หลายทางชวี ภาพ (CBD) เรยี กอีกชอ่ื วา่ อนุสญั ญาวอชงิ ตนั คอยควบคุมการคา้ สตั ว์ปา่ และพรรณ อนุสญั ญาว่าดว้ ยการคา้ ระหว่าง พืชทหี่ ายากหรือใกล้สูญพันธ์ุ เพอื่ ไมใ่ ห้สตั ว์ปา่ และพรรณพืชสญู พนั ธ์ไป ประเทศซ่งึ ชนดิ สตั วป์ า่ และพื้นที่ จากโลก ใกล้สูญพนั ธุ์ : อนุสัญญาไซเตส Update!!! การประชุมอนุสญั ญาไซเตส ครงั้ ท่ี 16 ระหว่างวนั ที่ 3 - 14 มี.ค. 2556 ณ ศูนย์การประชุมแหง่ ชาติสิรกิ ิติ ์ โดยประเทศไทยเปน็ เจ้าภาพน้นั มี ประเด็นน่าสนใจดังนี้ ประเทศไทยเสนอให้ทกุ วันท่ี 3 มนี าคมของทกุ ปีเปน็ “วนั อนรุ กั ษส์ ัตวป์ ่า โลก” เพือ่ หวงั กระตนุ้ การอนรุ ักษ์สัตว์ปา่ โลกทน่ี บั วันจะลดน้อยลง ขึ้นบัญชีไม้พะยูงใหอ้ ย่ใู นล�ำดบั ที่ 2 เพอื่ ป้องปรามและเอาผดิ กบั ขบวนการลักลอบตัดไม้พะยงู เพราะอนญุ าตใหค้ า้ ขายได้แตต่ ้องอยใู่ นการ ควบคุม หลังจบการประชมุ ไทยถกู กดดนั ใหแ้ กไ้ ขปัญหาเร่อื งแกไ้ ขกฎหมายการ ลักลอบค้างาช้างให้เรว็ ที่สุด มีการขน้ึ บัญชฉี ลามของกลุ่มประเทศละตนิ อเมริกา ทงั้ ฉลามขาว ฉลาม หัวคอ้ นและหวั ค้อนสน้ั กระเบน เพอ่ื ช่วยอนุรักษ์ฉลามทตี่ ายปลี ะ 100 ลา้ นตวั การประชมุ อนสุ ญั ญาไซเตส คร้งั ท่ี17 จะมีข้ึนปีพ.ศ.2559 โดยประเทศ แอฟริกาใต้เป็นเจ้าภาพในการจดั งาน 138 ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

แนวข้อสอบ 1. ขอ้ ใดคอื วธิ ีแก้ไขปัญหาโลกรอ้ นทีม่ ีประสิทธภิ าพท่ีสุด ก. รว่ มกันปลกู ต้นไม้สร้างความร่มรนื่ ข. ใชท้ รพั ยากรต่างๆ อยา่ งประหยัดและคุ้มค่า ค. ตดิ ต้งั กระจกเพือ่ สะท้อนแสงอาทติ ย์กลับไป ง. เปิดเครื่องทำ� ความเย็นเพอ่ื คลายความร้อนให้โลก 2. ขอ้ ใดคือการจำ� แนกประเภทของเครอื่ งมอื ทางภูมศิ าสตร์ตามหนา้ ท่กี ารใช้งานที่ถูกต้อง ก. รวบรวมข้อมลู ใหข้ อ้ มูล ข. ให้ข้อมูล วิเคราะหข์ อ้ มูล ค. วิเคราะห์ขอ้ มูล สงั เคราะห์ขอ้ มลู ง. สังเคราะห์ขอ้ มลู รวบรวมข้อมูล 3. บคุ คลในข้อใดนา่ จะเป็นผใู้ ชแ้ ผนท่ไี ดอ้ ย่างชำ� นาญท่ีสดุ ก. โป้งมคี วามรเู้ รื่องแผนทีเ่ ปน็ อย่างดี ข. กลางรวบรวมแผนท่เี ฉพาะเรอื่ งไว้อยา่ งหลากหลาย ค. นางสอบไดค้ ะแนนสงู สดุ ในเรอื่ งแผนที่และเคร่อื งมอื ทางภมู ศิ าสตร์ ง. กอ้ ยใชแ้ ผนทใี่ นการดำ� เนนิ ชีวิตและการศกึ ษาขอ้ มูลตา่ งๆ เพอ่ื ประโยชนใ์ นการเรยี นรูอ้ ย่เู สมอ 4. ปัจจยั ส�ำคญั ทท่ี �ำใหน้ ิยมใช้รปู ถา่ ยทางอากาศแนวดิ่งมาจัดท�ำแผนท่คี อื อะไร ก. ความชัดเจน ข. ความสวยงาม ค. มาตราส่วนคงท่ ี ง. สแี ละรปู ร่างตา่ งๆ 5. การส�ำรวจข้อมูลของภมู ิสารสนเทศศาสตรช์ นิดใดแตกตา่ งจากขอ้ อ่นื ก. ภาพจากดาวเทียม ข. การรบั รู้จากระยะไกล ค. ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ์ ง. ระบบก�ำหนดตำ� แหนง่ บนพ้ืนโลก 6. ข้อใดกล่าวได้ถกู ตอ้ งเกย่ี วกับองค์ประกอบของระบบสารสนเทศภมู ิศาสตร์ ก. ข้อมลู เป็นเชิงตวั เลขและการเปล่ียนแปลงทางสถิติ ข. วเิ คราะห์ข้อมลู จากฐานข้อมลู เพยี งช้ันเดียวหรอื หลายช้นั ค. บุคลากรเป็นผวู้ ิเคราะห์ขอ้ มูลด้วยสายตาและการคำ� นวณทางสถติ ิ ง. สว่ นเครอื่ ง คือ เคร่อื งรับระบบกำ� หนดต�ำแหน่งบนพนื้ โลกและภาพจากดาวเทียม 7. ขอ้ มูลท่ีใช้ในการพยากรณ์อากาศของพ้ืนที่หน่งึ ๆ มาจากหลักการทำ� งานของดาวเทียมในข้อใด ก. ดาวเทยี มคงที่ ข. ดาวเทยี มพลังงานธรรมชาติ ค. ดาวเทยี มพลงั งานคลนื่ แม่เหลก็ ไฟฟ้า ง. ดาวเทียมโคจรรอบโลกในแนวเหนือ-ใต้ ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya 139

8. ระบบก�ำหนดต�ำแหนง่ บนพื้นโลกเกิดจากกิจการดา้ นใด ก. การทหาร ข. การส�ำรวจทศิ ทาง ค. การป้องกันภยั พบิ ตั ิ ง. การชว่ ยเหลอื ผู้ประสบภยั 9. ระยะเวลากลางวันและกลางคืนที่เท่ากนั ของพืน้ ทใ่ี นซกี โลกเหนือและซกี โลกใตจ้ ะเกิดข้ึนในวันใด ก. วนั วสนั ตวษิ วุ ัต วนั ศารทวิษวุ ัต ข. วนั ศารทวิษวุ ัต วันครษี มายนั ค. วันเหมายนั วันวสนั ตวษิ วุ ัต ง. วนั ครษี มายนั วนั เหมายนั 10. ถา้ นกั เรยี นตอ้ งการชมปรากฏการณพ์ ระอาทิตยเ์ ทย่ี งคืนควรเดินทางไปยงั ประเทศใด ณ ช่วงเดือนใด ก. ประเทศอาร์เจตินา เดือนมถิ นุ ายน ข. ประเทศแคนาดา เดือนมิถุนายน ค. ประเทศชลิ ี เดอื นกรกฎาคม ง. ประเทศจนี เดือนกรกฎาคม 11. การเกดิ แผน่ ดนิ ไหวสอดคล้องกบั บริเวณท่เี ปน็ แนวรอยเลอ่ื นของแผน่ เปลอื กโลกอยา่ งไร ก. จุดศนู ย์กลางมีแรงส่นั ไหวมาก ข. การเคลอ่ื นตัวในรูปแบบต่างๆ ค. หินหนืดทพ่ี ุขึน้ กลายเป็นเทือกเขา ง. ความส่ันไหวก่อใหเ้ กิดระลอกคล่นื 12. วัฏจักรทางอุทกวิทยาเกดิ ข้นึ โดยมปี ัจจยั ใดเปน็ สำ� คญั ก. การกลัน่ ข. ความชื้น ค. ความร้อน ง. การโน้มถว่ ง 13. ขอ้ ใดกล่าวถงึ แหลง่ ทม่ี าของกระแสน้�ำอนุ่ และกระแสน�้ำเย็นที่ไหลเวียนในมหาสมทุ รของโลกไดถ้ กู ต้อง ก. เขตศนู ย์สูตร เขตข้ัวโลก ข. เขตเทือกเขา เขตศูนย์สตู ร ค. เขตข้วั โลก เขตท่ีราบลุม่ นำ�้ ขนาดใหญ่ ง. เขตทร่ี าบลุ่มน้ำ� ขนาดใหญ่ เขตเทือกเขา 14. ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศในขอ้ ใดเหมาะสมต่อการเป็นเมอื งท่าขนสง่ สินคา้ ทางทะเลมากทสี่ ดุ ก. ดนิ ดอนสามเหลี่ยมปากแม่นำ�้ ข. ทร่ี าบรอบทะเลสาบรปู แอก ค. พ้ืนทีช่ ายฝั่งทค่ี ล่ืนลมสงบ ง. ชายฝัง่ ของฟีออร์ด 140 ตวิ เข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

15. การด�ำเนนิ งานด้านสิง่ แวดล้อมขององคก์ รเอกชนใดถกู ตอ้ งเหมาะสมท่ีสดุ 1. กลุ่มรกั ษ์ไม้จัดตั้งกองกำ� ลังติดอาวุธเฝ้าระวงั การบุกรกุ พ้นื ท่ีป่าสงวน 2. สมาคมคนรกั สตั วป์ ่าน�ำสตั ว์ป่าที่ใกล้จะสูญพันธม์ุ าผสมพันธ์ดุ ้วยนวัตกรรมของตนเอง 3. องคก์ รพทิ ักษป์ า่ แหง่ ชาตติ อ่ ตา้ นการด�ำเนินงานของหน่วยงานภาครฐั ด้านป่าไมแ้ ละสัตว์ป่า 4. มลู นธิ สิ ิ่งแวดล้อมของเรารบั บรจิ าคเงนิ และอปุ กรณต์ ่างๆ เพ่ือน�ำไปใช้ในการด�ำเนินงานดา้ นสง่ิ แวดล้อมอยา่ ง มปี ระสทิ ธภิ าพ เฉลยแนวข้อสอบ 1. ตอบ ข. ทกุ คนควรใชท้ รพั ยากรใหค้ มุ้ คา่ และประหยดั ทส่ี ดุ เพราะทกุ ครง้ั ทม่ี กี ารใชท้ รพั ยากรมสี ว่ นทำ� ใหโ้ ลกรอ้ นขนึ้ 2. ตอบ ก. เครือ่ งมอื ทางภูมิศาสตร์สามารถแบง่ ประเภทออกไดต้ ามหนา้ ที่หลกั ของการใช้งานเปน็ 2 ประเภท ไดแ้ ก่ ประเภทรวบรวมข้อมลู เชน่ เข็มทิศ ระบบก�ำหนดต�ำแหน่งบนพนื้ โลก ระบบสารสนเทศภมู ิศาสตร์ และประเภทที่ ให้ข้อมลู หรอื เป็นสื่อความร้ทู างภมู ศิ าสตร์ เชน่ แผนท่ี ลกู โลกจ�ำลอง ภาพจากดาวเทียม เปน็ ตน้ 3. ตอบ ง. ผู้ที่ใชแ้ ผนท่ีได้อยา่ งชำ� นาญควรเปน็ ผู้ท่มี ีความรูค้ วามเข้าใจเกย่ี วกบั แผนทีแ่ ละหม่ันฝึกฝนอา่ นแผนทีอ่ ยา่ ง สมำ�่ เสมอ เพราะฉะนน้ั ก้อยจงึ น่าจะเป็นผทู้ ีใ่ ช้แผนท่ไี ด้อย่างช�ำนาญ 4. ตอบ ค. ในปัจจุบันมีการนำ� รปู ถ่ายทางอากาศมาใชใ้ นการจดั ท�ำแผนทม่ี ากขึน้ เนอ่ื งจากเพอื่ ใหไ้ ดแ้ ผนทข่ี อ้ มลู ถูกต้อง แม่นยำ� และประหยัดเวลาและแรงงานในการส�ำรวจพนื้ ที่ โดยรปู ถา่ ยทางอากาศทจ่ี ะสามารถนำ� มาใช้ในการจดั ท�ำ แผนที่ได้นน้ั คอื รปู ถ่ายทางอากาศแนวดงิ่ เพราะมีมาตราสว่ นค่อนขา้ งคงท่ี ตา่ งจากรูปถา่ ยทางอากาศในแนว เฉยี งที่แสดงภาพรวมของพืน้ ท่ี 5. ตอบ ข. ดาวเทียมเปน็ เครอื่ งมอื หลกั ในการส�ำรวจข้อมูลภูมสิ ารสนเทศศาสตรช์ นดิ ตา่ งๆ โดยเฉพาะระบบสารสนเทศ ภูมศิ าสตร์และระบบก�ำหนดตำ� แหน่งบนพน้ื โลก สว่ นการรับรจู้ ากระยะไกลมีเคร่ืองมอื เก็บขอ้ มูลแบ่งออกได้เปน็ 2 สว่ น คือ ดาวเทียม และอากาศยานต่างๆ เชน่ เครื่องบิน บัลลูน เป็นตน้ 6. ตอบ ข. วเิ คราะหข์ ้อมูลจากฐานขอ้ มลู เพียงชนั้ เดียวหรอื หลายชน้ั ตามวตั ถุประสงค์ของผ้ใู ช้ เน่ืองจากระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์จัดเก็บข้อมูลของพนื้ ท่ีในด้านต่างๆ เชน่ ลักษณะภมู ปิ ระเทศ ทรัพยากรธรรมชาติ การใชพ้ ้ืนท่ี เป็นฐาน ข้อมลู ชั้นตา่ งๆ การวเิ คราะห์ข้อมลู จึงอาจวิเคราะหจ์ ากฐานขอ้ มูลเพยี งชั้นเดยี วหรือหลายชัน้ ก็ได้ 7. ตอบ ก. การพยากรณ์อากาศพน้ื ทีห่ นึ่งๆ ด้วยข้อมลู จากดาวเทียม ดาวเทยี มนนั้ ต้องมีหลักการท�ำงานแบบดาวเทยี ม คงท่ี คอื ดาวเทยี มทโ่ี คจรรอบโลกเทา่ กบั การหมนุ ของโลก ซง่ึ การสำ� รวจและรวบรวมขอ้ มลู ดา้ นภมู อิ ากาศของพนื้ ทน่ี นั้ ๆ 8. ตอบ ก. การทหารเปน็ กจิ การท่ีท�ำให้เกดิ ระบบกำ� หนดตำ� แหนง่ บนพ้ืนโลกขึน้ โดยกระทรวงกลาโหมของสหรัฐอเมริกา ใช้หาต�ำแหนง่ และพกิ ัดทางภมู ศิ าสตรใ์ นระหวา่ งการสงคราม จึงกลา่ วไดว้ ่า ระบบกำ� หนดต�ำแหนง่ บนพนื้ โลก เกดิ ขน้ึ จากความขดั แยง้ และความรนุ แรง แตท่ วา่ ตอ่ มามปี ระโยชนใ์ นการดำ� เนนิ ชวี ติ และสามารถสรา้ งสนั ตภิ าพได้ 9. ตอบ ก. วนั วสนั ตวิษุวัต วนั ศารทวษิ วุ ตั ไดแ้ ก่ วนั ท่ี 21 มีนาคม และวันที่ 22 กันยายนของทุกปี ซง่ึ ระยะเวลากลางวนั และกลางคืนของพ้ืนท่ใี นซีกโลกเหนอื และซีกโลกใตจ้ ะเทา่ กนั คือ ช่วงละ 12 ชัว่ โมง 10. ตอบ ข. ประเทศแคนาดา เดือนมถิ นุ ายน เน่ืองจากเปน็ ช่วงเลาวนั ครษี มายันหรืออุตรายนั ทต่ี �ำแหน่งตั้งฉากของดวง อาทิตยเ์ คลือ่ นทม่ี าอยู่ ณ เสน้ ทรอปกิ ออฟแคนเซอร์ พน้ื ที่ซีกโลกเหนอื จะได้รับแสงอาทิตย์ยาวนาน โดยเฉพาะ พื้นท่เี หนือเส้นอาร์กตกิ เซอร์เคิลจะเหน็ พระอาทิตยไ์ ด้ตลอด 24 ชั่วโมง หรือทเ่ี รียกวา่ ปรากฏการณพ์ ระอาทติ ย์ เท่ยี งคนื ตวิ เข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 141

11. ตอบ ข. การเคล่อื นตัวในรูปแบบตา่ งๆ ก่อใหเ้ กิดแผ่นดินไหวทม่ี ีความรนุ แรงแตกตา่ งกัน โดยแผ่นดินไหวที่รนุ แรงเกิด จากการเคล่อื นตวั ในรปู แบบชนหรือมดุ ของแผ่นเปลือกโลก นอกจากน้ี ยังก่อใหเ้ กดิ ลักษณะภูมปิ ระเทศแบบ ตา่ งๆ เช่น เทือกเขาในมหาสมทุ รหรอื บนภาคพนื้ ทวีปอีกด้วย 12. ตอบ ค. ความรอ้ น เน่อื งจากการหมุนเวียนเปลยี่ นสถานะของนำ�้ จากแหล่งต่างๆ ด้วยมคี วามร้อนเปน็ ปัจจัยส�ำคัญ เชน่ การระเหยของแหล่งนำ้� ตา่ งๆ บนพืน้ ผิวโลกขึน้ ไปในบรรยากาศโดยความรอ้ น เป็นตน้ 13. ตอบ ก. เขตศูนยส์ ูตร เขตขัว้ โลก เป็นแหล่งทม่ี าของกระแสนำ�้ อนุ่ และกระแสนำ�้ เย็นท่ไี หลเวยี นอยู่ในมหาสมุทรท่ัวโลก โดยกระแสน�ำ้ อนุ่ เชน่ กระแสนำ้� อุ่นคุโระชโิ อะ ไดร้ ับความร้อนจากดวงอาทิตยใ์ นเขตศนู ยส์ ูตร และไหลเวียนข้นึ ทางเหนอื สว่ นกระแสนำ้� เย็นโอะยาชโิ อะ ไหลลงมาจากทางขั้วโลกเหนอื เป็นตน้ 14. ตอบ ค. พน้ื ทีช่ ายฝ่งั ที่คลนื่ ลมสงบ เป็นบริเวณท่ีเหมาะสมต่อการเปน็ เมอื งท่าขนส่งสินค้ามากท่ีสุด เนื่องจากเรอื เดนิ ทะเลขนส่งสินค้าล้วนต้องการความปลอดภยั ในการเดินทางค้าขาย อีกท้งั ลกั ษณะภูมปิ ระเทศในข้ออื่นไม่ เหมาะสมต่อการเปน็ เมอื งทา่ 15. ตอบ ง. มูลนิธสิ งิ่ แวดล้อมรบั บริจาคเงนิ และอปุ กรณ์ต่างๆ เพ่อื น�ำไปใชใ้ นการดำ� เนนิ งานดา้ นสิง่ แวดลอ้ มอย่าง มีประสิทธิภาพ เน่อื งจากการรบั บริจาคเพือ่ น�ำไปใช้ตามวตั ถุประสงคข์ องผบู้ รจิ าคและมลู นิธเิ ปน็ การด�ำเนินงาน ทถี่ กู ตอ้ งเหมาะสม และเปน็ การสง่ เสรมิ การมสี ว่ นรว่ มในการอนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาตขิ องประชาชนทว่ั ไปอกี ดว้ ย นอ้ งๆ สามารถศกึ ษาเพ่ิมเตมิ ไดท้ ่ี Tag : สอนศาสตร์ สงั คมศกึ ษา ภูมศิ าสตร์ ภมู ิประเทศ ภูมอิ ากาศ ทรพั ยากรธรรมชาติ องคก์ รความร่วมมือระหวา่ งประเทศ • สอนศาสตร์ สงั คมศกึ ษา ม.ปลาย : อาวธุ ลับนกั ภมู ิศาสตร์ http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-social/ch8-1 • สอนศาสตร์ สังคมศกึ ษา ม.ปลาย : ภารกจิ กู้ลมหายใจ http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-social/ch8-2 • สอนศาสตร์ สงั คมศึกษา ม.ปลาย : เฉอื นขอ้ สอบภมู ศิ าสตร์ http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-social/ch8-3 • ภมู ิศาสตรป์ ระเทศไทย ตอนท่ี 1 http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-social/ch8-4 142 ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya

• ภูมิศาสตรป์ ระเทศไทย ตอนที่ 2 http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-social/ch8-5 • ภมู ิศาสตรป์ ระเทศไทย ตอนท่ี 3 http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-social/ch8-6 • ภมู ศิ าสตร์ : ภูมิประเทศ ภมู ิอากาศ ทรัพยากรธรรมชาติ ตอนที่ 1 http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-social/ch8-7 • ภมู ิศาสตร์ : ภมู ปิ ระเทศ ภูมิอากาศ ทรพั ยากรธรรมชาติ ตอนท่ี 2 http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-social/ch8-8 • ภูมศิ าสตร์ : ภมู ปิ ระเทศ ภมู อิ ากาศ ทรพั ยากรธรรมชาติ ตอนท่ี 3 http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-social/ch8-9 • องคก์ รความรว่ มมือระหวา่ งประเทศ http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-social/ch8-10 ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 143

บนั ทึกชว่ ยจำ� 144 ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook