การจดั ระเบยี บสงั คม
การจดั ระเบียบทางสงั คม การจดั ระเบยี บทางสงั คม (Social organization) เป็นกระบวนการท่ี มขี อบเขตกวา้ งขวางมากเป็นกระบวนการทค่ี รอบคลมุ ปรากฏการณ์สงั คม หลายอยา่ ง เรมิ่ จากการจดั ใหม้ กี ฎเกณฑ์ ขอ้ บงั คบั ต่าง ๆ หลายอยา่ งเพอ่ื ให้ สมาชกิ ของสงั คมยดึ ถอื เป็นแนวทางในการปฏบิ ตั ติ ่อกนั เราอาจกลา่ วถงึ การจดั ระเบยี บระหวา่ งสามภี รรยา การจดั ระเบยี บ สงั คมของกลมุ่ อาชญากร การจดั ระเบยี บสงั คมของหมบู่ า้ น จนถงึ การจดั ระเบยี บสงั คมของสงั คมไทย หรอื การจดั ระเบยี บสงั คมของโลกกไ็ ด้ สงั คมทุก ประเภทจาเป็นตอ้ งมกี ารจดั ระเบยี บสงั คมไมม่ ากกน็ ้อย ระเบยี บสงั คมเป็น เงอ่ื นไขพน้ื ฐานทจ่ี าเป็นตอ่ การดารงอยขู่ องสงั คมทงั้ หลาย
ความหมายของการจดั ระเบียบทางสงั คม การจดั ระเบยี บทางสงั คม หมายถงึ วธิ กี ารทค่ี นในสงั คมกาหนดขน้ึ เพอ่ื ใชเ้ ป็นกฎระเบยี บ กฎเกณฑ์ แบบแผน ในการอยรู่ ว่ มกนั ของสมาชกิ โดยสมาชกิ ไดย้ อมรบั เป็นแนวปฏบิ ตั ริ ว่ มกนั และปฏบิ ตั สิ บื ทอดกนั มา จนเป็นบรรทดั ฐานในการดาเนนิ ชวี ติ รว่ มกนั
ความสาคญั ของการจดั ระเบียบสงั คม มนุษยก์ บั สงั คมเป็นสงิ่ ทค่ี วบคกู่ นั กล่าวคอื เมอ่ื เกดิ มา มนุษยก์ ไ็ ดอ้ ยู่ รว่ มกนั เป็นสงั คม แต่เน่อื งจากมนุษยใ์ นแตล่ ะสงั คมมคี วามแตกตา่ งกนั มคี วาม ตอ้ งการทไ่ี มส่ น้ิ สดุ เพอ่ื ป้องกนั การขดั แยง้ ระหวา่ งมนุษยใ์ นสงั คม และเพอ่ื ควบคมุ แบบแผนแหง่ พฤตกิ รรมของมนุษย์ จงึ จาเป็นตอ้ ง มกี ารจดั ระเบยี บทางสงั คม หากปลอ่ ยใหม้ นุษยแ์ ตล่ ะคนทาตามอาเภอใจ โดยปราศจากการควบคมุ แลว้ สงั คมกจ็ ะเกดิ ความวนุ่ วายและขาดระเบยี บแบบแผน ดงั นนั้ จงึ จาเป็นตอ้ งมกี ารจดั ระเบยี บเพอ่ื ใหส้ งั คมเกดิ สนั ตสิ ขุ
สาเหตทุ ่ีจะต้องมีการจดั ระเบยี บทางสงั คม 1. เพอ่ื ใหก้ ารตดิ ตอ่ สมั พนั ธก์ นั ทางสงั คมเป็นไปอยา่ งเรยี บรอ้ ย 2. ขจดั ขอ้ ขดั แยง้ และป้องกนั ความขดั แยง้ ในสงั คม 3. ชว่ ยใหส้ งั คมดารงอยไู่ ดอ้ ยา่ งสงบสขุ เป็นปึกแผน่
องคป์ ระกอบของการจดั ระเบยี บ 1. บรรทดั ฐาน 2. สถานภาพ 3. บทบาท 4. การควบคมุ ทางสงั คม
บรรทดั ฐานทางสงั คม (Social norms) บรรทดั ฐานทางสงั คม คอื แบบแผน กฎเกณฑข์ อ้ บงั คบั หรอื มาตรฐาน ในการปฏบิ ตั ขิ องคนในสงั คมซง่ึ สงั คมยอมรบั วา่ สมควรจะ ปฏบิ ตั ิ เชน่ บดิ า มารดา ตอ้ งเลย้ี งดบู ตุ ร บุตรตอ้ งมคี วามกตญั ญตู ่อบดิ า มารดา ขา้ ราชการตอ้ งบรกิ ารประชาชน พระสงฆต์ อ้ งรกั ษาศลี และเป็นท่ี พง่ึ ทางใจ ของประชาชน
ประเภทของบรรทดั ฐาน ในทางสงั คมวทิ ยาไดจ้ าแนกประเภทของบรรทดั ฐานออกเป็น 3 ประเภทดงั น้ี 1. วิถีประชาหรอื วิถีชาวบา้ น (Folkways) เป็นแนวทางปฏบิ ตั ขิ องทกุ คนจนเกดิ เป็นความเคยชนิ จนกลายเป็นชวี ติ ปกติ ของมนุษยเ์ ป็นการปฏบิ ตั ดิ ว้ ยความสมคั รใจ ไมม่ กี ารบงั คบั ไมม่ บี ทลงโทษ สาหรบั ผทู้ ฝ่ี ่าฝืน เพยี งแต่จะไดร้ บั การคาตฉิ นิ นินทาวา่ ประพฤตปิ ฏบิ ตั ใิ นทาง ไมช่ อบไมค่ วรเทา่ นนั้ วถิ ปี ระชามกี ารเปลย่ี นแปลงได้ โดยการปรบั ใหเ้ หมาะ กบั ยคุ สมยั นนั้ เชน่ มารยาทในการแตง่ กาย มารยาทในการรบั ประทานอาหาร เป็นตน้
2. จารีตหรอื กฎศีลธรรม (Mores) เป็นแบบแผนความประพฤตทิ ส่ี าคญั กวา่ วถิ ปี ระชา เพราะ มคี วาม เกย่ี วขอ้ งกบั ศลี ธรรมจรรยา มขี อ้ หา้ มและขอ้ ควรกระทา หากผใู้ ดฝ่าฝืนจะไดร้ บั การตอ่ ตา้ นจากสมาชกิ ในสงั คม เชน่ ในสงั คมหา้ มสตรแี ตะตอ้ งจวี รของพระภกิ ษุ สงฆ์ ฯลฯ
3. กฎหมาย เป็นขอ้ บงั คบั เพอ่ื ควบคมุ คนในสงั คมใหเ้ ป็นระเบยี บ มกี ารบญั ญตั ิ เป็นลายลกั ษณ์อกั ษรหากผใู้ ดฝ่าฝืนยอ่ มตอ้ งถกู ลงโทษตามทไ่ี ดก้ าหนดไว้ กฎหมายเป็นสง่ิ จาเป็นสาหรบั สงั คมใหญ่ เพราะ การใชว้ ถิ ปี ระชาหรอื จารตี ไม่ อาจใหห้ ลกั ประกนั ความเป็นระเบยี บของสงั คมได้ กฎหมาย มกั มรี ากฐานมา จากวถิ ปี ระชาหรอื กฎศลี ธรรม เพราะฉะนนั้ กฎหมายทด่ี ี จงึ ควรสอดคลอ้ งหรอื ตอ้ งไมข่ ดั กบั วถิ ปี ระชา หรอื กฎศลี ธรรมดงั นนั้ จะเหน็ ไดว้ า่ บรรทดั ฐานทาง สงั คมเป็นกลไกในการควบคมุ ความประพฤตขิ องคนในสงั คม ใหเ้ ป็นไปตาม ทศิ ทางหรอื เป้าหมายและกฎระเบยี บทส่ี งั คมวางไว้
การบงั คบั ใช้บรรทดั ฐานกระทาได้ 2 วิธี คือ 1. การใหบ้ าเหน็จ (Reward) เชน่ การยกยอ่ งชมเชย ใหเ้ กยี รตบิ ตั ร ให้ เหรยี ญตรา 2. การลงโทษ (Punishment) มกี ารกาหนดโทษทณั ฑแ์ กผ้ ทู้ ฝ่ี ่าฝืนหรอื ละเมดิ บรรทดั ฐาน ซง่ึ มตี งั้ แตซ่ ุบซบิ นนิ ทา การปรบั การจองจา ทงั้ น้ีขน้ึ อยกู่ บั ลกั ษณะความผดิ ทไ่ี ดก้ ระทา
สถานภาพ (Status) สถานภาพ คอื ตาแหน่งของบคุ คลทไ่ี ดม้ าจากการเป็นสมาชกิ ของกลุ่มคน หรอื สงั คม จงึ มสี ทิ ธแิ ละหน้าทต่ี ามบทบาทของตาแหน่งนนั้ ๆ เป็นตวั กาหนด วา่ บุคคลนนั้ มหี น้าทอ่ี ะไร และควรจะปฏบิ ตั อิ ยา่ งไร ซง่ึ บคุ คลหน่ึงอาจมไี ด้ หลายสถานภาพตามสถานการณ์ เชน่ สมภพ เมอ่ื อยใู่ นครอบครวั จะมี สถานภาพเป็น “พอ่ ” แตใ่ นขณะทางานอาจมสี ถานภาพเป็น “ผปู้ ระกอบการ”
สถานภาพจาแนกได้ 2 ประเภท ได้แก่ 1. สถานภาพท่ีติดตวั มาแต่กาเนิด ธรรมชาตจิ ะเป็นตวั กาหนดโดยทบ่ี ุคคลไมม่ ที างเลอื ก เชน่ เพศ อายุ สผี วิ 2. สถานภาพท่ีได้มาภายหลงั หรือได้มาด้วยความสามารถหรอื สถานภาพสมั ฤทธ์ิ เป็นตาแหน่งทต่ี อ้ งดน้ิ รนขวนขวาย ดว้ ยความรู้ ความสามารถ และสตปิ ัญญาของตนเอง เชน่ ตาแหน่งหน้าทก่ี ารงาน ระดบั การศกึ ษา สถานภาพสมรส
บทบาท (Role) คอื การปฏบิ ตั ติ ามหน้าทต่ี ามสถานภาพทไ่ี ดร้ บั เชน่ พอ่ แม่ มบี ทบาท คอื เลย้ี งดลู กู นกั เรยี นมบี ทบาทคอื ตอ้ งเรยี นหนงั สอื บทบาททางสงั คมเกดิ จากการเรยี นรแู้ ละการถา่ ยทอดระหวา่ งสมาชกิ ใน สงั คมในขณะทเ่ี ดก็ ยงั เยาวว์ ยั จะเรยี นรบู้ ทบาทของสถานภาพต่าง ๆ โดยการ สงั เกตจากบุคคลอน่ื ทแ่ี วดลอ้ มตน
ความสาคญั ของบทบาททางสงั คม บทบาททางสงั คม กอ่ ใหเ้ กดิ การกระทาตามสทิ ธแิ ละหน้าท่ี ของสมาชกิ ตามสถานภาพทต่ี นดารงอยทู่ าใหเ้ กดิ การแลกเปลย่ี น การ รบั และการเออ้ื ประโยชน์ระหวา่ งกนั เชน่ ครอบครวั ประกอบไปดว้ ย บดิ า มารดา และบุตร แตล่ ะคนต่างกม็ สี ทิ ธแิ ละหน้าทร่ี ะหว่างกนั ตาม บทบาทของสถานภาพ บดิ า มารดามสี ทิ ธลิ งโทษบตุ ร มหี น้าทอ่ี บรม เลย้ี งดู บตุ รกม็ สี ทิ ธใิ นการรบั มรดกจากบดิ า มารดา มหี น้าทต่ี อ้ งเลย้ี งดู บดิ า มารดายามแกช่ รา ฯลฯ
ถา้ ไมม่ กี ารกาหนดบทบาททางสงั คมรปู แบบความสมั พนั ธ์ ระหวา่ งสมาชกิ จะขาดระเบยี บและไมม่ ที ศิ ทางทแ่ี น่นอน สมาชกิ จะเกดิ ความสบั สนเมอ่ื ตอ้ งตดิ ตอ่ กบั บคุ คลอน่ื สมาชกิ ในสงั คมแตล่ ะคนมบี ทบาทหลายอยา่ ง การปฏบิ ตั ติ าม บทบาทหน่งึ อาจจะขดั กบั อกี บทบาทหน่งึ ซง่ึ เกดิ ขน้ึ ไดเ้ สมอ เพราะ บทบาทแต่ละบทบาทจะถกู คาดหวงั ใหป้ ฏบิ ตั ิ
ประโยชน์ของสถานภาพและบทบาท มดี งั น้คี อื 1. ทาใหบ้ ุคคลรจู้ กั ฐานะของตนเองในสงั คม 2. ทาใหเ้ กดิ การแบง่ หน้าทก่ี นั ในกล่มุ สมาชกิ 3. ทาใหบ้ คุ คลมคี วามรบั ผดิ ชอบในหน้าทข่ี องตน 4. ชว่ ยใหส้ งั คมเป็นระเบยี บเรยี บรอ้ ย
การควบคมุ ทางสงั คม หมายถงึ การดาเนินการทางสงั คมโดยวธิ ตี า่ งๆ เพอ่ื ใหส้ มาชกิ ในสงั คม ยอมรบั และปฏบิ ตั ติ ามบรรทดั ฐานของสงั คม มจี ุดมงุ่ หมายเพอ่ื ควบคุม พฤตกิ รรมของสมาชกิ ใหป้ ฏบิ ตั ติ ามกฎเกณฑท์ ส่ี งั คมกาหนดการควบคุมทาง สงั คมจงึ เป็นกลไกสว่ นหน่งึ ของการจดั ระเบยี บสงั คม
การควบคมุ ทางสงั คม แบง่ ออกไดเ้ ป็น 2 ลกั ษณะ ดงั น้ี 1. การจงู ใจใหส้ มาชกิ ปฏบิ ตั ติ ามบรรทดั ฐานทางสงั คม โดยใชว้ ธิ ี ใหร้ างวลั หรอื ยกยอ่ งชมเชย เป็นผลใหส้ มาชกิ เกดิ กาลงั ใจทจ่ี ะปฏบิ ตั ติ าม บรรทดั ฐาน 2. การลงโทษสมาชกิ ทล่ี ะเมดิ หรอื ฝ่าฝืน บรรทดั ฐานทางสงั คม ไดแ้ ก่ - ผลู้ ะเมดิ วถิ ชี าวบา้ นหรอื วถิ ปี ระชา จะถกู ตาหนิ ถกู นนิ ทา หรอื ถกู ต่อวา่ - การฝ่าฝืนจารตี จะถกู ต่อตา้ นดว้ ยการไมค่ บคา้ สมาคม ถกู ขบั ไลอ่ อกจากชุมชนถกู ประณาม หรอื ถกู รมุ ประชาทณั ฑ์ - การทาผดิ กฎหมาย จะไดร้ บั โทษตามกฎหมาย บา้ นเมอื ง เชน่ ปรบั จาคกุ
Search
Read the Text Version
- 1 - 19
Pages: