ทศิ ทางการพัฒนาของโรงเรียน โรงเรยี นทงุ่ หวา้ วรวทิ ยไ์ ด้ร่วมกนั กำหนดวสิ ยั ทศั น์ พนั ธกิจ เป้าประสงค์ และกลยทุ ธ์ และ แผนปฏิบัติราชการประจำปี ได้จัดทำโครงการสอดคลอ้ งแผนพัฒนาการศึกษา ๔ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๒ - พ.ศ.๒๕๖๔) ซง่ึ สอดคล้อง วิสัยทศั น์ พันธกิจ เป้าประสงค์ กลยุทธ์โรงเรยี นทุง่ หวา้ วรวทิ ย์ มาตรฐานการศึกษา แผนยุทธศาสตรพ์ ัฒนาการศึกษาจังหวัด ตามแผนการศึกษาแห่งชาติ ๒๐ ปี และตามนโยบายจุดเนน้ สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตลู ดงั นี้ ๑. วิสยั ทัศน์ “นักเรียนโรงเรียนทุ่งหว้าวรวิทย์ทกุ คนไดร้ บั การศึกษา และเรียนรู้อยา่ งมีคุณภาพ ดำรงชีวิต อยา่ งเปน็ สขุ ในสังคมพหวุ ัฒนธรรม สอดคลอ้ งกับหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง และการเปลย่ี นแปลง ของโลกในศตวรรษที่ ๒๑” ๒. พนั ธกจิ ๑. พัฒนานักเรียนให้มคี ุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน ๒. ส่งเสรมิ นักเรียนใหม้ คี ุณลักษณะเปน็ พลโลก ๓. สง่ เสริมนักเรยี นมคี ุณธรรม จริยธรรม ตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง ๔. พัฒนาครูให้มคี วามรู้ความสามารถในการจดั การเรยี นรู้ ๕. จดั ระบบการศกึ ษาท่ีสง่ ผลต่อคุณภาพนักเรียน ๖. พัฒนาระบบการบรหิ ารโดยใชโ้ รงเรียนเป็นฐานสรา้ งความเขม้ แข็งด้วยระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ ๗. จดั การศกึ ษาแบบมีส่วนร่วมและสรา้ งเครือขา่ ยความรว่ มในการพฒั นาคุณภาพการศึกษา ๓. เป้าประสงค์ ๑. นักเรยี นเป็นคนดี เกง่ มีความสุข ศึกษาต่อ มีงานทำ และมีคุณภาพมาตรการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน ๒. มีนักเรียนทกั ษะการดำรงชวี ติ ในศตวรรษที่ ๒๑ และมวี ิถชี ีวติ แบบพอเพียง ๓. ครูไดร้ บั การพฒั นาใหม้ สี มรรถนะ และมวี ทิ ยฐานะสงู ขึ้น ๔. โรงเรียนมรี ะบบการบรหิ ารทม่ี ีประสิทธภิ าพ ๕. โรงเรียนมรี ะบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา ๖. โรงเรียนบริหารงานท่ีเกดิ จากการมสี ่วนรว่ มจากทุกภาคสว่ น และเอือ้ ต่อชุมชน และสงั คม ๔. กลยุทธ์ กลยุทธท์ ่ี ๑ พฒั นาคุณภาพนักเรียนและกระบวนการจัดการเรยี นรู้ กลยทุ ธ์ที่ ๒ พฒั นาครู ผู้บริหาร และบคุ ลากรทางการศึกษาสู่มืออาชพี กลยุทธ์ที่ ๓ พฒั นาระบบบรหิ ารจดั การโดยใชโ้ รงเรยี นเปน็ ฐานให้เกดิ ความเข้มแขง็ กลยทุ ธ์ท่ี ๔ พฒั นาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่อื การเรียนรแู้ ละการบริหารจดั การ กลยุทธท์ ี่ ๖ ส่งเสริมระบบภาคีเครือขา่ ยอุปถัมภ์
5 แนวทางในแต่ละประเด็นกลยุทธ์ กลยทุ ธ์ เป้าประสงค์ แนวทาง กลยทุ ธ์ที่ ๑ พฒั นา คณุ ภาพนักเรยี นและ ๑. นักเรียนเปน็ คนดี ๑. สง่ เสรมิ และพัฒนาคุณภาพนกั เรียนดว้ ย กระบวนการจัดการ เรียนรู้ เก่ง มีความสุข ศกึ ษา คุณภาพ ๓ ระบบหลัก ระบบดูแลช่วยเหลือ กลยุทธท์ ี่ ๒ พัฒนาครู ต่อ มงี านทำ และมี นกั เรยี น ระบบเรียนรู้ และระบบกิจกรรม และบุคลากรทางการ ศกึ ษาสู่มืออาชพี คุณภาพมาตรการ นักเรียน เพ่ือการเรียนร้สู ู่สากล และมขี ีด กลยทุ ธท์ ่ี ๓ พัฒนา ศึกษาข้นั พ้นื ฐาน ความสามารถในการแขง่ ขนั ระบบบรหิ ารจัดการโดย ใชโ้ รงเรียนเป็นฐานให้ ๒. มีนกั เรยี นทกั ษะ ๒. ส่งเสรมิ นักเรียนใหม้ ีใหม้ ีนิสยั รกั การอา่ น มี เกดิ ความเขม้ แขง็ การดำรงชีวติ ใน ทักษะการสื่อสาร ทักษะกระบวนการคิด ศตวรรษที่ ๒๑ และมี วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี ทักษะชีวติ และทกั ษะ วิถชี ีวิตแบบพอเพยี ง อาชีพ ๓. พฒั นานักเรยี นทุกคนให้มีมคี ณุ ธรรม จริยธรรม มคี วามรักในสถาบันหลักของชาติ ยดึ มัน่ การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมี พระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมุข มที ัศนคตทิ ี่ดี ตอ่ บ้านเมือง รักความเป็นไทย เปน็ มิตรกับ สงิ่ แวดลอ้ ม เปน็ พลเมืองดขี องชาติ เปน็ พลเมอื งโลกทด่ี ี ๓. ครไู ดร้ ับการ ๑. สง่ เสรมิ ครูให้จดั กจิ กรรมการเรียนรูท้ ่ี พัฒนาให้มสี มรรถนะ หลากหลาย และมวี ทิ ยฐานะ ๒. พฒั นาคร/ู ทีมบรหิ ารสู่มืออาชีพดว้ ย สงู ข้ึน นวตั กรรม ๑ ครู ๑ งาน ๑ นวัตกรรม ๓. สร้างขวญั กำลังใจ และวัฒนธรรมการ ทำงานทีเ่ ป็นระบบ ๔. โรงเรียนมีระบบ ๑. บรหิ ารจดั การดว้ ยระบบคุณภาพและหลัก การบรหิ ารท่มี ี ธรรมาภบิ าล ประสทิ ธิภาพ ๒. ปรับปรงุ หลกั สตู รสถานศึกษาและหลักสูตร กล่มุ สาระการเรียนรสู้ สู่ ากล ๓. ปรับปรงุ หอ้ งสมดุ ห้องปฏิบตั กิ ารต่างๆ ให้ มคี วามพร้อมในการจดั การเรียนรูส้ ู่สากล ๔. พัฒนาสภาพแวดล้อมทุกพื้นทใี่ น โรงเรยี นใหเ้ ปน็ แหล่งเรยี นรู้ ๕. พัฒนาระบบประกนั คุณภาพการศึกษา
กลยทุ ธ์ เป้าประสงค์ แนวทาง กลยทุ ธท์ ่ี ๔ พัฒนา ๕. โรงเรยี นมรี ะบบ ๑. พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศทถี่ ูกต้อง ระบบเทคโนโลยี เทคโนโลยี ครอบคลุม เพ่ือการบรหิ ารจดั การและการ สารสนเทศเพ่ือการ สารสนเทศเพ่ือ เรยี นรู้ เรียนรแู้ ละการบริหาร พฒั นาการศกึ ษา จัดการ ๒. จัดหาส่ือ อุปกรณเ์ ทคโนโลยีตา่ งๆเพ่ือ นำมาใชใ้ นกจิ กรรมการเรียนรใู้ ห้เพยี งพอ และ เหมาะสม กลยุทธ์ท่ี ๕ สง่ เสรมิ ๖. โรงเรยี น ๑. ประสานภาคีเครอื ข่าย เพื่อร่วมพัฒนา ระบบภาคีเครือขา่ ย อปุ ถมั ภ์ บริหารงานที่เกดิ จาก คุณภาพการศึกษา การมสี ว่ นรว่ มจากทุก ๒. ร่วมกิจกรรมชุมชนอย่างต่อเนอ่ื ง ภาคส่วน และเอือ้ ต่อ ชมุ ชน และสังคม
6. แผนท่ียุทธศาสตร์ วสิ ยั ทศั น์ “นักเรียนโรงเรียนทงุ่ หว้าวรวทิ ย์ทุกคนได้รับการศึกษา และเรียนร้อู ยา่ งมคี ุณภาพ ดำรงชีวิตอยา่ งเปน็ สุขใน สงั คมพหุวัฒนธรรม สอดคล้องกับหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง และการเปล่ียนแปลงของโลก ในศตวรรษที่ ๒๑” ๑. ๒. สง่ เสรมิ ๓. ๔. พฒั นาครู ๕. จัดระบบ ๖. พัฒนา ๗. จัด ระบบการ การศึกษา พฒั นา นักเรียนให้ สง่ เสริม ใหม้ ีความรู้ การศกึ ษาท่ี บรหิ ารโดย แบบมสี ่วน ใชโ้ รงเรียน ร่วมและ นกั เรียน มี นกั เรยี น ความสามารถ ส่งผลต่อ เปน็ ฐาน สร้าง สรา้ งความ เครอื ขา่ ย ใหม้ ี คณุ ลกั ษณะ มี ในการจัดการ คณุ ภาพ เขม้ แขง็ ความร่วม ด้วยระบบ ในการ คณุ ภาพ เปน็ พลโลก คุณธรรม เรยี นรู้ นักเรยี น เทคโนโลยี พฒั นา สารสนเทศ คณุ ภาพ พันธกจิ ตาม จรยิ ธรรม การศกึ ษา มาตรฐาน ตามหลัก การศึกษา ปรชั ญา ขั้น เศรษฐกิจ พื้นฐาน พอเพยี ง กลยุทธ์ที่ ๑ พฒั นาคณุ ภาพนกั เรยี น กลยทุ ธ์ที่ ๒ กลยทุ ธ์ที่ ๓ กลยุทธท์ ี่ กลยทุ ธท์ ่ี ๕ และกระบวนการจดั การเรยี นรู้ พัฒนาครู พฒั นาระบบ ๔ พฒั นา สง่ เสริม ผบู้ ริหาร และ บรหิ าร ระบบ ระบบภาคี บคุ ลากร จัดการโดย เทคโนโลยี เครอื ข่าย กลยทุ ธ์ ทางการศกึ ษา ใช้โรงเรียน สารสนเทศ อปุ ถัมภ์ สู่มืออาชพี เป็นฐานให้ เพอื่ การ เกิดความ เรยี นรแู้ ละ เขม้ แข็ง การบรหิ าร จัดการ ๑. นักเรยี นเป็น ๒. มนี ักเรียน ๓. ครไู ด้รับ ๔. โรงเรียนมี ๕.โรงเรียน ๖. โรงเรยี น คนดี เก่ง มี ทักษะการ การพัฒนาให้ ระบบการ มรี ะบบ บริหารงานที่ ความสขุ ศึกษา ดำรงชีวิตใน มสี มรรถนะ บรหิ ารที่มี เทคโนโลยี เกดิ จากการมี เป้าประสงค์ ต่อ มีงานทำ ศตวรรษท่ี ๒๑ และมวี ิทย ประสิทธิภาพ สารสนเทศ สว่ นรว่ มจาก และมีคุณภาพ และมวี ิถีชีวิตแบบ ฐานะสงู ขึน้ เพื่อพัฒนา ทกุ ภาคสว่ น มาตรการศึกษา พอเพียง การศึกษา และเออ้ื ตอ่ ขัน้ พนื้ ฐาน ชมุ ชน และ สงั คม
การวิเคราะห์สภาพแวดลอ้ มของโรงเรียน (SWOT Analysis) ๑. ประเดน็ การวิเคราะห์สภาพแวดลอ้ มภายนอก (STEP) ประเดน็ การวเิ คราะห์ ประเดน็ ทเ่ี ป็นโอกาส ประเด็นท่ีเป็นอุปสรรค 1. ดา้ นสังคม-วัฒนธรรม (Social ) (Opportunities) (Threats) 2. ด้านเทคโนโลยี O11 ชุมชนใหค้ วามรว่ มมือในก้าน T11 สภาพสังคมทเี่ ปลยี่ นแปลง (Technology) 3. ดา้ นเศรษฐกจิ ทรัพยากร วชิ าการ ทำใหโ้ รงเรยี น ครอบครัวทแี่ ตกแยก พ่อแมไ่ มม่ ี (Economic) สามารถจดั การศกึ ษาได้อย่างมี เวลาดูแลเอาใจใสล่ กู อยา่ งใกล้ชิด 4. ดา้ นการเมอื งและ กฎหมาย (Politic) ประสทิ ธภิ าพ ทำใหล้ กู มีปัญหาดา้ นพฤติกรรม O12 ชมุ ชนและหนว่ ยงานท้องถน่ิ ส่งผลกระทบต่อการจดั การศึกษา ร่วมกันอนุรกั ษ์ ประเพณีวัฒนธรรม แล และพัฒนาผเู้ รยี นเสย่ี งตอ่ การออก ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ สง่ ผลให้นกั เรียนมี กลางคนั แหลง่ เรียนรู้และมแี บบอยา่ งท่ดี ี T12 ผูป้ กครองส่วนใหญม่ ีฐานะ O13 ชมุ ชนใหค้ วามร่วมมือในการจัด ยากจน ไมม่ เี วลาดแู ลนักเรยี น ขาด การศึกษา ส่งผลให้การศึกษาไดร้ บั การ วสั ดอุ ุปกรณ์ส่งเสรมิ การเรียน พัฒนาอยา่ งต่อเนอื่ ง ส่งผลกระทบต่อการเรยี นของ O14 ชมุ ชนมแี หลง่ เรยี นรู้ สง่ ผลให้ นกั เรยี น ผู้เรยี นมแี หล่งเรยี นรู้ทีห่ ลากหลาย O21 ความกา้ วหนา้ ทางดา้ นเทคโนโลยี T21 เทคโนโลยีมีบทบาทสำคัญใน ทำใหน้ กั เรยี นมีความต้องการบรโิ ภค ชีวติ ประจำวันของผ้เู รยี น แต่บาง ส่งผลให้นกั เรยี นเกิดความรอบร้แู ละ คนใช้งานมากเกินไป ทำใหไ้ มท่ ำ แสวงหาความรไู้ ดด้ ้วยตนเอง การบ้าน พกั ผ่อนไมเ่ พียงพอ O31 ผ้ปู กครอง คณะกรรมการ T31 ภาวะวกิ ฤตทิ างเศรษฐกจิ ทำ สถานศกึ ษา องค์เอกชน ชมุ ชนได้ ให้ผ้ปู กครองมีรายได้น้อยและ สนบั สนนุ ทุนการศกึ ษาแก้นักเรยี น ส่งผล วา่ งงาน จึงไมส่ ามารถสนบั สนุน ใหน้ ักเรยี นมีคา่ ใชจ้ ่ายในการซอื้ อปุ กรณ์ การศกึ ษาบตุ ร การเรยี น T32ผู้ปกครองส่วนใหญม่ รี ายได้ไม่ แน่นอน ส่งผลกระทบต่อผลการ เรียนของนักเรยี น T33 ผปู้ กครองมรี ายไดน้ อ้ ย ย้าย ถิ่นฐานบ่อย สง่ ผลกระทบต่อการ เรยี นของนักเรยี น O41 ผู้ปกครอง คณะกรรมการ T41 ความไมแ่ นน่ อนทางการเมอื ง สถานศกึ ษามีความร้คู วามเขา้ ใจเกยี่ วกับ และการขาดเสถียรภาพของรฐั บาล นโยบายดา้ นการศึกษา สง่ ผลให้ ทำใหก้ ารปฏิบตั กิ ารศกึ ษาขาด โรงเรียนไดร้ บั ความสนับสนนุ มากข้นึ ความต่อเนื่อง สง่ ผลกระทบต่อการ จัดการศกึ ษาของโรงเรยี น
๒. ประเดน็ การวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมภายใน (7S) ประเดน็ ทเี่ ป็นจุดแข็ง ประเด็นทเี่ ป็นจดุ อ่อน (Strengths) (Weakness) S11 โครงสรา้ งองค์กรเนน้ การมสี ว่ นรว่ ม W11 ขาดค่มู ือการกำหนด ของบุคลากร มาตรการ ระเบยี บปฏิบตั ิ วิธปี ฏิบตั ิ S12 การมีส่วนร่วมของบคุ ลากรใน และข้อบงั คบั ภายในโรงเรยี น ดา้ น โรงเรียนอยู่ในระดบั ดีมาก ผ้เู รยี น ดา้ นครแู ละบคุ ลากร S13 มีคำสง่ั มอบหมายงานที่รับผดิ ชอบ บางอยา่ งไมช่ ัดเจน สง่ ผลใหก้ าร ชัดเจน เป็นลายลักษณ์อกั ษร ตรงตาม ดำเนนิ งานขาดประสทิ ธภิ าพ ความรู้ความสามารถและสมรรถนะของ W12 มีงานในโครงสร้าง แตไ่ ม่มใี น ตำแหน่ง สอดคลอ้ งกบั ระเบยี บตามท่ี คำส่งั การปฏบิ ตั งิ าน กฎหมายกำหนด W13 โครงสร้างการบรหิ ารยัง ไม่เป็นปจั จบุ นั S21 โรงเรียนมีระบบประกนั คณุ ภาพ ท่ี W21 แผนพฒั นาการศึกษาไมไ่ ด้ สร้างความตระหนักให้กับบคุ ลากร กำหนดตัวชีว้ ดั ความสำเร็จ และ ผ้เู กี่ยวขอ้ งทกุ ฝา่ ย ภายใตก้ ารอำนวยการ โครงการท่ีรองรับตัวชี้วัด โดยผบู้ ริหารสถานศึกษาทมี่ คี วามมงุ่ มั่น W22 ขาดการตดิ ตาม ประเมนิ ผล และมองเหน็ ประโยชนข์ องการประกนั แผนปฏบิ ตั ิการอยา่ งตอ่ เนือ่ ง คุณภาพภายใน W23 บางตวั ช้วี ัด ในมาตรฐาน โรงเรียนมแี ผนการปฏิบตั ิการประจำปี การศกึ ษา มโี ครงการ กจิ กรรม และปฏบิ ตั ิการตามแผน รองรบั นอ้ ย และบางตัวช้ีวดั ยังไมม่ ี S22 โรงเรียนมีการกำหนดวสิ ยั ทศั น์ กล โครงการ กจิ กรรมรองรับ ยทุ ธท์ ่ชี ัดเจนและสอดคลอ้ งกบั แนวทาง W24 โรงเรียนขาดระบบ นโยบาย ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร สารสนเทศท่ีมีประสิทธภิ าพ ส่งผล S23 โรงเรียนบริหารจดั การ โดยยดึ ใหก้ ารประสานงานข้อมลู ในแตล่ ะ หลักการเพมิ่ ผลผลิต การใช้โรงเรยี นเปน็ ฝ่าย ไมม่ ีประสทิ ธิภาพเท่าที่ควร ฐานและวงจรคณุ ภาพ PDCA ทำใหค้ รู W25 จดั การเรียนการสอน บุคลากรและผู้รบั บริการมคี วามเชอื่ ม่ันใน แผนการเรยี น ยังไม่ตอบสนอง การจดั การศกึ ษา สง่ ผลดตี อ่ การพฒั นา คุณภาพการศกึ ษา ความต้องการ ความสนใจ ความถนัดและศักยภาพของ ผเู้ รยี น S31 โรงเรยี นมกี ารจดั ทำแผนการใช้ W31โรงเรียนขาดระบบตรวจสอบ จา่ ยเงินงบประมาณโดยทกุ ฝา่ ยมสี ว่ นรว่ ม เงนิ ทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพ S32 โรงเรยี นมีระบบการบรหิ าร W32 ระบบการบรหิ ารจดั การไม่ งบประมาณและข้ันตอนการเบกิ จา่ ยเงินท่ี เป็นไปตามแผนงานการใชจ้ ่าย คลอ่ งตวั สง่ ผลใหก้ ารดำเนินงานมี งบประมาณ ประสทิ ธภิ าพ W33 ขาดการประเมนิ การ S33 มกี ารจัดกจิ กรรมและนวัตกรรมที่ ปฏิบตั งิ านอย่างเป็นระบบ หลากหลาย ตรงตามความสนใจและ
ประเด็นท่เี ป็นจุดแขง็ ประเด็นที่เปน็ จุดอ่อน (Strengths) (Weakness) ความถนดั ของผเู้ รยี น และพฒั นาอยา่ ง ตอ่ เน่ือง S41 มรี ะบบบรหิ ารคณุ ภาพของ W41 ไมม่ ีความใส่ใจในดา้ นการ สถานศกึ ษา สร้างขวัญกำลงั ใจให้กับบคุ ลากร S42 มหี ลักสตู ร กจิ กรรม บรูณาการ W42 การรับฟงั ความคิดเห็นของ อุทยานธรณี สตลู ทสี่ ่งเสริมใหผ้ เู้ รยี นมี ผใู้ ต้บงั คบั บญั ชา ความภูมใิ จในท้องถนิ่ และความเปน็ ไทย W43 ไมม่ ีการหมุนเวยี นงานภายใน S43 มีศนู ยก์ ารเรยี นรอู้ ุทยานธรณี ทีเ่ ปน็ หนว่ ยงาน เครอื ขา่ ยการเรยี นรเู้ พ่อื เชื่อมโยงและ W44 สภาพแวดล้อมทางกายภาพ แลกเปลยี่ นการเรียนรู้ระหว่าง ไม่เออื้ อำนวยต่อการจัดการเรียนรู้ สถานศึกษากบั ทอ้ งถิน่ และชุมชน W45 ขาดการนเิ ทศและการกำกบั S44 มีการสร้างข้อตกลงในการปฏบิ ตั ิ ตดิ ตามอยา่ งตอ่ เนือ่ ง ดา้ นผูเ้ รียน ระหวา่ งสถานศกึ ษากบั W46 ยังไมม่ ีจัดทำแผนพัฒนา ผู้ปกครอง(มคี มู่ ือนกั เรยี น) ผู้เรยี น S45 มีการกำหนดเป้าหมายในการ W47 ไมม่ ีการจัดการสอนซ่อม ปฏบิ ตั ิงานอยา่ งชดั เจน เสรมิ S51 โรงเรยี นมคี รูและบุคลากรท่มี ีวฒุ ิ W51 บคุ ลากรไมเ่ พยี งพอ การศกึ ษาสูง ความรคู้ วามสามารถตรง W52 การวางแผนภาระงาน ตามสาขาวชิ าชีพ และปฏิบัติงานตาม บคุ ลากร หนักไปท่บี คุ คลใดบคุ คล ความถนัด หนึ่ง ไมม่ ีมาตรการกระจายงาน S52 การทำงานเป็นทีม W53 บุคลากรบางสว่ นไมท่ ราบ S53 ความพร้อมในการทำงานตอ่ การ ขอบข่ายงานหน้าทีร่ บั ผดิ ชอบงาน เปลีย่ นแปลง พิเศษ S61 ผูบ้ รหิ าร ครู บคุ ลากร มคี ณุ ภาพ W61 บุคลากรบางสว่ น ขาดทักษะ และศักยภาพในการปฏบิ ตั ิงานมคี วาม ในการใชเ้ ทคโนโลยี มงุ่ มั่นในการจัดการศกึ ษาและได้รบั การ การพัฒนาบคุ ลากรยังไม่ทว่ั ถงึ พัฒนาความร้อู ย่างตอ่ เน่ือง สง่ ผลดีต่อ W62 มีการใช้การวิจยั ชัน้ เรียน การพฒั นาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน ควบคู่การสอนนอ้ ย S62 ครจู ัดการเรยี นรทู้ ส่ี ง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เรยี น W63 ในบางกลมุ่ สาระ ผลสัมฤทธิ์ มคี วามสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ คดิ ทางการเรียนไมส่ อดคล้องกบั ผลการ อยา่ งมีวิจารณญาณ อภปิ รายแลกเปลย่ี น ทดสอบมาตรฐานการศึกษาชาติ ความคดิ เห็นและแกป้ ญั หา เนือ่ งจาก ครูขาดทักษะการจัดการ S63 มีกจิ กรรมส่งเสรมิ การอ่านและ เรียนรู้ทเ่ี นน้ ผู้เรียนเป็นสำคญั เขยี นภาษาไทย W64 ไมม่ ีกจิ กรรมสง่ เสรมิ การอา่ น S64 พฒั นาครผู สู้ อนใหม้ ีความรู้ และเขียนภาษาต่างประเทศ ความสามารถในการจดั การเรยี นการสอน W65 มีกิจกรรม หรือ การจัดการ พัฒนาส่อื การเรยี นการสอน ครผู ู้สอน มี เรียนรู้ทเี่ นน้ ใหผ้ เู้ รียนสรา้ ง การใช้สือ่ ประกอบการจัดการเรยี นรู้อยา่ ง นวตั กรรมน้อย ต่อเนือ่ งและสม่ำเสมอ
ประเดน็ ทเี่ ป็นจุดแขง็ ประเด็นทีเ่ ปน็ จุดอ่อน (Strengths) (Weakness) S65 จดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนท่ี หลากหลายใชแ้ หล่งเรียนรทู้ ั้งภายในและ ภายนอกสถานศกึ ษาอยา่ งคุม้ ค่า S66 จดั ให้ผเู้ รยี นได้ปฏบิ ตั ิกิจกรรมตา่ งๆ อย่างมีความสุขโดยยดึ หลักการปลกู ฝัง เจตคตทิ ดี่ งี าม ผา่ นกิจกรรมค่ายตา่ งๆ S67 มกี ารส่งเสรมิ การแสดงออกของ ผเู้ รยี นในบทบาทท่ีถูกต้อง S71 มคี วามเชือ่ มนั่ ต่อองคก์ รและ W71 บุคลากรบางสว่ นขาดคา่ นยิ ม หนว่ ยงานของบคุ ลากร ในการสร้างความรบั ผดิ ชอบต่อ S72 การพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รียนตามระบบ องคก์ ร เนือ่ งจาก บุคลากรพยายาม การเรยี นรู้ ระบบดูแลช่วยเหลอื และ ผลักงาน เกี่ยงงาน ระบบกจิ กรรมมปี ระสิทธิภาพ ส่งผล กระทบต่อคณุ ภาพและสมรรถนะของ ผู้เรยี นและผสู้ ำเรจ็ การศึกษา 3. การประเมินสภาพของโรงเรียน ๓.๑ การประเมนิ สถานภาพปัจจยั สภาพแวดลอ้ มภายนอก (STEP) ประเด็นปัจจยั สภาพแวดล้อมภายนอก น้ำหนกั คะแนนเฉลี่ย นำ้ หนักคะแนนเฉล่ีย สรุปผลการ วเิ คราะห์ โอกาส อปุ สรรค โอกาส อุปสรรค 0.04 1. ด้านสงั คม-วัฒนธรรม (Social ) 0.36 3.92 3.82 1.41 1.38 -0.03 2. ด้านเทคโนโลยี (Technology) 0.21 3.92 4.07 0.82 0.85 -0.05 3. ด้านเศรษฐกจิ (Economic) 0.30 3.67 3.84 1.10 1.15 0.00 4. ด้านการเมืองและกฎหมาย (Politic) 0.13 3.69 3.66 0.48 0.48 -0.04 ค่าเฉลีย่ คะแนนจรงิ ประเมินสถานภาพปจั จัยสภาพแวดล้อมภายนอก 3.82 3.86 สรปุ การประเมนิ สถานภาพปัจจยั สภาพแวดล้อมภายนอก -0.02 ๓.๒ การประเมินสถานภาพปัจจยั สภาพแวดลอ้ มภายใน (7S) ประเด็นปัจจยั สภาพแวดล้อมภายนอก นำ้ หนัก คะแนนเฉลีย่ น้ำหนักคะแนนเฉลีย่ สรปุ ผลการ จดุ แขง็ จุดอ่อน จุดแขง็ จุดออ่ น วเิ คราะห์ 1. ดา้ นโครงสร้าง (Structure) 2. ด้านยุทธศาสตร์/กลยทุ ธ์ (Strategy) 0.12 4.15 3.07 0.50 0.37 0.13 3. ด้านระบบการดำเนนิ งานหน่วยงาน 0.16 4.15 2.95 0.66 0.47 0.19 (Systems) 0.14 3.82 3.05 0.53 0.43 0.11
4. ด้านแบบแผนการบริหารจัดการ 0.15 3.99 2.91 0.60 0.44 0.16 (Style) 0.66 0.51 0.15 0.68 0.53 0.15 5. ด้านบุคลากรในหน่วยงาน (Staff) 0.16 4.13 3.19 0.41 0.30 0.10 6. ดา้ นทักษะ ความรู้ ความสามารถ 0.17 3.99 3.09 บุคลากร (Skills) 4.04 3.04 0.85 0.50 7. ด้านคา่ นยิ มร่วมกนั ของสมาชิกใน 0.10 4.05 3.01 หน่วยงาน (Shared Values) ค่าเฉลี่ยคะแนนจรงิ ประเมนิ สถานภาพปจั จยั สภาพแวดล้อมภายใน สรุปการประเมนิ สถานภาพปัจจัยสภาพแวดลอ้ มภายใน ๓.๓ กราฟแสดงผลการประเมินสถานภาพของโรงเรยี นทุ่งหวา้ วรวิทย์ บนแกนความสมั พนั ธ์ ของ SWOT
๔. ผลการศกึ ษาสภาพของโรงเรยี น 1.การประชมุ จดั ทำแผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาและแผนปฏบิ ตั ิการประจำปี เมื่อวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมภายในและภายนอกสถานศึกษา (SWOT Analysis) สรุปผลการ ประเมินสถานภาพของโรงเรียนทุ่งหว้าวรวิทย์ มีจุดแข็งมากกว่าจุดอ่อนและมีโอกาสสูงกว่าปัญหา อุปสรรค (เอื้อและแข็ง) ดังกราฟแสดงผลการประเมินสถานภาพบนแกนความสัมพันธ์ของ SWOT อยู่ในช่อง COW วัวแม่ลูกอ่อน ดังนั้น หมายถึง โรงเรียนมีสมรรถนะภายในที่เข็มแข็งแต่ขาดการ สนับสนุนหรือไม่ได้รับความสนใจในการดำเนินกิจการ กลยุทธ์ที่ควรนำมาใช้หากใช้สถานภาพของ โรงเรียนตกอยู่ในตำแหน่งนี้คือ การพัฒนาสมรรถนะภายในโรงเรียนเพื่อรอโอกาสที่เหมาะสมในการ ดำเนินกจิ การให้เจริญเตบิ โตต่อไปเมื่อมีโอกาส ภาพกิจกรรมการประชุม จดั ทำแผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาและแผนปฏบิ ัติการประจำปี
Search
Read the Text Version
- 1 - 10
Pages: