Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore KruTubecchannel

KruTubecchannel

Published by wasan5859, 2017-10-24 01:31:52

Description: KruTubecchannel

Search

Read the Text Version

51(2) ความเหมาะสมของสถานที่ท่ีพักและใช้ในการจัดการอบรม/ท่ีพัก (3) ความเร็วของการดาวน์โหลดจากระบบอินเทอร์เน็ตในการสืบค้นและรวบรวมข้อมูล VDO CLIP (4) ความเร็วของระบบอินเทอร์เน็ตในการอัปโหลด VDO CLIP ตามลําดับ 4) ด้านการนําความรู้ไปใช้ โดยรวมมีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมากทุกข้อ คือ (1) สามารถนําความรู้ที่ได้จากการอบรมไปใชพ้ ัฒนาสือ่ การเรียนรอู้ อนไลนผ์ ่านเครอื ขา่ ยอินเทอรเ์ น็ตในรปู แบบ VDO CLIP และนําไปประกอบเพ่ือการเล่ือนวิทยฐานะได้ (2) สามารถเป็นวิทยากรจัดการอบรมการผลิตสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ผ่านเครอื ข่ายอินเทอร์เนต็ ในรูปแบบ VDO CLIP ได้ (3) สามารถเช่อื มโยง/รวบรวม/ความรูเ้ กี่ยวกับส่อื การเรียนรู้ออนไลน์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนได้ (4) สามารถจัดการเรียนการสอนด้วยส่ือการเรียนรู้ออนไลน์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตในรูปแบบ VDO CLIP ได้ (5) สามารถผลิตสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตในรูปแบบ VDO CLIP ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และ (6) สามารถนําเทคนิค วิธีการสอนรูปแบบ VDO CLIP ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตไปขยายผลให้กับครูและบุคลากรทางการศึกษาได้ ตามลําดบั2. อภปิ รายผล การศึกษาผลการดําเนินการอบรมจัดทําสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตของครสู งั กดั สาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน มปี ระเดน็ สําคัญในการอภิปรายผลดงั น้ี 1. ดา้ นการจดั กิจกรรมการดําเนินงาน การอบรมจัดทําสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ผ่านเครือข่ายอนิ เทอร์เนต็ ของครูสงั กดั สาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ผลการศึกษา พบว่า โดยรวมระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก ( X = 3.76) แสดงว่า การจัดกิจกรรมการดําเนินงานการอบรมฯอยู่ในระดับมาก ท้ังนี้เนื่องจาก การจัดกิจกรรมการดําเนินงานการอบรมจัดทําสื่อการเรยี นรู้ออนไลน์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต มีการวางแผน เตรียมการ ประชุมทีมงาน คณะวิทยากร เป็นอย่างดี รวมทั้งกิจกรรมการดําเนินงานครอบคลุมท้ังโครงการ สอดคล้องกับการสํารวจความคิดเห็นของผู้เข้ารับการอบรมในการพัฒนาครูเก่ียวกับการสร้างและพัฒนานวัตกรรมเพ่ือการเรียนรู้ของครูในโรงเรียนสังกัดสาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาศรีสะเกษ เขต 3 พบว่ามีความคิดเห็นด้านผลการดําเนินงานอยู่ในระดับมาก(พุทธ มงคล,2550 :บทคัดย่อ) และการตอบแบบสอบถามของครทู ่ีผ่านการอบรมจัดทําส่ือการเรียนรู้ออนไลนผ์ ่านเครอื ขา่ ยอินเทอร์เน็ต ในข้อ กิจกรรมการประกาศรับสมัครครูเข้ารับการอบรม มีระดับความคดิ เหน็ อยู่ในระดบั มาก (X = 3.94) กจิ กรรมระหวา่ งการอบรม มีระดบั ความคิดเห็นอยูใ่ นระดับมาก( X = 3.86) กิจกรรมการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ส่ือการเรียนรู้ออนไลน์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมรี ะดบั ความคิดเห็นอยใู่ นระดบั มาก ( X = 3.78) กิจกรรมการอบรม มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก

52(X = 3.72) กิจกรรมรวบรวมสือ่ การเรียนรู้ออนไลน์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดบั มาก ( X = 3.63) และกิจกรรมการจัดประกวดสือ่ การเรยี นรู้ออนไลน์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมรี ะดบั ความคดิ เหน็ อยู่ในระดบั มาก (X = 3.62) ทงั้ นกี้ ารจัดกิจกรรมการดาํ เนินงาน ยงั ไมม่ ีความคดิ เหน็ อยู่ในระดับมากท่ีสุดอาจเป็นเพราะว่าเป็นโครงการใหม่ ยังต้องมีการปรับปรุงพัฒนากิจกรรมการดําเนินงานให้ตรงกบั ความตอ้ งการครผู เู้ ขา้ รับการอบรมตอ่ ไปเหน็ ได้จากข้อเสนอแนะของผเู้ ข้ารบั การอบรม 2. ด้านเน้ือหาสาระในการอบรม การอบรมจัดทําสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตของครูสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ผลการศึกษาพบว่า โดยรวมระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก (X = 3.56) แสดงว่า ครผู เู้ ขา้ รบั การอบรมมีความรคู้ วามเข้าใจในเนือ้ หาสาระในการอบรมอยใู่ นระดบั มาก ทง้ั นีเ้ นอื่ งจาก ครูผู้เข้ารับการอบรมให้ความสนใจ ในเรื่องพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิดเก่ยี วกบั คอมพวิ เตอร์ พ.ศ.2550 ประเภท และองค์ประกอบต่าง ๆ ของสื่อการเรียนรู้ออนไลน์รปู แบบการทําสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ให้น่าสนใจ ความคิดสร้างสรรค์ในการนําเสนอส่ือการเรียนรู้ออนไลน์เทคนิค องค์ประกอบศิลป์ การจัดการกับภาพน่ิง การตัดต่อ VDO และการบันทึกเสียง สอดคล้องกับการตอบแบบสอบถามของครูท่ีผ่านการอบรมจัดทําสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตในขอ้ ความรคู้ วามเขา้ ใจ เร่ือง พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550 มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก (X = 4.01) ความรู้ ความเข้าใจ เรื่อง ประเภท และองค์ประกอบต่าง ๆ ของส่ือการเรียนรู้ออนไลน์ มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก (X = 3.70) ความรู้ความเข้าใจ เร่ือง รูปแบบการทําสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ให้น่าสนใจ มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก ( X = 3.68) ความรู้ความเข้าใจเร่ือง เทคนคิ การทําสือ่ การเรยี นรอู้ อนไลน์ เพ่ือใชป้ ระกอบการเรยี นการสอน มีระดับความคดิ เห็นอยู่ในระดับมาก ( X = 3.65) และความรู้ความเข้าใจ เร่ือง ความคิดสร้างสรรค์ในการนําเสนอส่ือการเรียนรอู้ อนไลน์มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก (X = 3.64) และที่ครูผู้เข้ารับการอบรมมีความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง อาจเนอื่ งมาจาก ความรูพ้ น้ื ฐานการตัดต่อภาพมีน้อย ระยะเวลาในการฝึกปฏิบัติน้อยการรวมกลุ่มคละกลุ่มสาระการเรียนรู้ ต้องใช้ระยะเวลาในการฝึกปฏิบัติให้เกิดความชํานาญ สอดคล้องกับการตอบแบบสอบถามของครูที่ผ่านการอบรมจัดทําส่ือการเรียนรู้ออนไลน์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตในขอ้ ความรู้ความเขา้ ใจ เรอ่ื ง การผลิตสือ่ การเรียนรอู้ อนไลน์ ความยาวไม่เกิน 5 นาที มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง ( X = 3.49) ความรู้ความเข้าใจ เรื่อง การแปลงไฟล์งานและอัปโหลดขึ้นเว็บไซต์youtube.com มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง ( X = 3.47) ความรู้ความเข้าใจ เรื่อง การตัดต่อ VDO และการบนั ทกึ เสียง มีระดบั ความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง (X = 3.46) ความรู้ความเข้าใจ เรื่องการจัดการภาพน่ิง มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง ( X = 3.41) ความรู้ความเข้าใจ เรื่ององค์ประกอบศิลป์ มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง ( X = 3.05) เห็นได้จาก ข้อเสนอแนะของผูเ้ ขา้ รับการอบรม ทตี่ ้องการให้เพิ่มระยะเวลาในการอบรมการใช้โปรแกรมตัดต่อ ให้มีการเตรียมลงโปรแกรมตดั ตอ่ กอ่ นการอบรม ใหใ้ ชโ้ ปรแกรมในการอบรมรุ่น/แบบเดียวกนั เป็นต้น

53 3. ดา้ นวสั ดุอปุ กรณ์ และสถานที่ การอบรมจดั ทําสอื่ การเรียนรอู้ อนไลน์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตของครสู งั กัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ผลการศึกษาพบว่า โดยรวมระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง ( X = 3.23) แสดงว่า ครูผู้เข้ารับการอบรมมีความคิดเห็นในด้านวัสดุอุปกรณ์และสถานที่การอบรมจัดทําสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตอยู่ในระดับปานกลางเมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ครูผู้เข้ารับการอบรมมีความคิดเห็นในระดับมาก ( X = 3.74) คือประสิทธิภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ท่ีใช้ในการอบรม และประสิทธิภาพของอุปกรณ์ กล้องถ่ายรูป/กล้องวิดีโอท่ีใช้ในการอบรม ( X = 3.62) แสดงว่า เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ กล้องถ่ายรูป/กล้องวิดีโอของผู้เข้ารับการอบรมมปี ระสทิ ธภิ าพดี อาจเน่ืองมาจากครู ผเู้ ข้ารับการอบรมให้ความสําคัญในการส่งเสริมให้ผูเ้ รียนได้พฒั นาความรู้และทกั ษะการใช้คอมพิวเตอร์ซึ่งจะสง่ ผลให้นกั เรียนมีโอกาสได้รับการพัฒนาตนเองในการสอื่ สาร หรอื สืบคน้ หาความรใู้ นอินเทอร์เน็ต ใชอ้ นิ เทอร์เนต็ เป็นแหล่งการเรียนรู้อีกทางหน่ึงของผู้เรียน ซ่ึงสอดคล้องกับ สมรรถนะความสามารถในการใช้เทคโนโลยีของหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐานพทุ ธศักราช 2551 (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, 2552 : หนา้ 4) ผู้เข้ารับการอบรมมีความคิดเห็นในระดับปานกลาง ได้แก่ ข้อ 22 อาหารและเคร่ืองดื่มระหว่างอบรม (X = 3.33) ข้อ 21 ความเหมาะสมของท่ีพักและสถานทใี่ ช้ในการจัดการอบรม (X = 3.14)ขอ้ 19 ความเร็วของการดาวน์โหลดจากระบบอนิ เทอร์เน็ตในการสืบค้นและรวบรวมข้อมูล VDO CLIP (X = 2.83)และขอ้ 20 ความเร็วของระบบอินเทอรเ์ นต็ ในการอัปโหลด VDO CLIP แสดงว่า ผู้เข้ารับการอบรมต้องการใหป้ รับปรุงพฒั นาในเรอื่ ง อาหารและเครื่องดมื่ ที่พักของการอบรม และพัฒนาความเร็วของระบบอินเทอร์เน็ตใหเ้ พยี งพอในการใหบ้ ริการ ทั้งน้เี นอ่ื งมาจาก การบริหารจัดการ เร่ือง อาหารและเคร่ืองดื่ม สถานที่ท่ีใช้ในการอบรมท่ีพัก เป็นของเอกชน มีการจัดการอบรมพร้อมกันหลายองค์กรทําให้ดูแลไม่ทั่วถึง และสัญญาณอินเทอรเ์ น็ตไมเ่ พียงพอกบั ผเู้ ขา้ รบั การอบรม ซ่ึงสอดคล้องกบั การตอบแบบสอบถามของครูท่ีผ่านการอบรมจัดทําสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ในข้อ อาหารและเคร่ืองด่ืม ระหว่างการอบรมมรี ะดบั ความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง (X = 3.33) ความเหมาะสมของสถานท่ีใช้ในการจัดการอบรม/ที่พัก มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง ( X = 3.14) ความเร็วของการดาวน์โหลดจากระบบอินเทอร์เน็ตในการสืบคน้ และรวบรวมขอ้ มูล VDO CLIP มรี ะดบั ความคดิ เห็นอยู่ในระดับปานกลาง (X = 2.83)และความเร็วของระบบอินเทอร์เน็ตในการอัปโหลด VDO CLIP มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง( X = 2.73) เปน็ ต้น 4. ด้านการนาํ ความรู้ไปใช้ การอบรมจัดทําส่ือการเรยี นรูอ้ อนไลน์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตของครูสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ผลการศึกษาพบว่า โดยรวมมีระดับความคิดเห็นอยใู่ นระดับมาก ( X = 3.84) แสดงว่าครูผู้เข้ารับการอบรมมีความคิดเห็นในด้านการนําความรู้การอบรมจัดทําส่ือการเรียนรู้ออนไลน์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตไปใช้อยู่ในระดับมาก ด้านการนําความรู้ไปใช้มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมากทุกหัวข้อคือ (1) สามารถนําความรู้ท่ีได้จากการอบรมไปใช้พัฒนา

54ส่ือการเรียนรู้ออนไลน์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตในรูปแบบ VDO CLIP และนําไปใช้ประกอบเพ่ือการเลื่อนวิทยฐานะได้ ( X = 4.04) สามารถเป็นวิทยากรจัดการอบรมการผลิตสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตในรูปแบบ VDO CLIP ได้ (X = 3.91) สามารถเชื่อมโยง/รวบรวม/ความรู้เกี่ยวกับสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนได้ ( X = 3.86) สามารถจัดการเรียนการสอนด้วยส่ือการเรียนรู้ออนไลน์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตในรูปแบบ VDO CLIP ได้ สามารถผลิตสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตในรูปแบบ VDO CLIP ได้อย่างมีประสิทธิภาพ (X = 3.75)และสามารถนําเทคนิค วิธีการสอนในรูปแบบ VDO CLIP ไปขยายผลให้กับครูและบุคลากรทางการศึกษาได้ ( X = 3.70) ทั้งนี้เนื่องจากครูท่ีผ่านการอบรมจัดทําสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เห็นว่า สามารถนําความรู้ที่ได้จากการอบรมไปใช้พัฒนาส่ือการเรียนรู้ออนไลน์ผา่ นเครือข่ายอินเทอร์เน็ตในรูปแบบ VDO CLIP และนําไปใชป้ ระกอบเพ่ือการเล่ือนวิทยฐานะได้ สามารถเป็นวิทยากรเชื่อมโยง/รวบรวม/ความรู้เกี่ยวกับสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนได้ ผลิตสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ และสามารถนําเทคนิค วิธีการสอนรูปแบบ VDOCLIP ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตไปขยายผลให้กับครูและบุคลากร ทางการศึกษาได้ ซ่ึงสอดคล้องกับการตอบแบบสอบถามของครทู ี่ผา่ นการอบรมจัดทําสื่อการเรียนรอู้ อนไลนผ์ า่ นเครอื ข่ายอินเทอร์เน็ต เปน็ ตน้ 5. ปัญหา อุปสรรคและข้อเสนอแนะ ผู้เข้ารับการอบรมมีความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหา อุปสรรคและข้อเสนอแนะต่อการอบรมจัดทําส่ือการเรียนรู้ออนไลน์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ด้านความสามารถในการรับร/ู้ โปรแกรม/พืน้ ฐานด้านคอมพิวเตอร์และการตัดต่อ แตกต่างกันมากที่สุด อาจเนื่องมาจากในการประกาศรับสมัครเข้ารับการอบรม ไม่ได้กําหนดในเรื่องของอายุ ซ่ึงอาจเป็นเหตุผลหนึ่งที่ทําให้เกิดปัญหาในด้านความสามารถด้านการรับรู้แตกต่างกัน รองลงมา ด้านระยะเวลาในการอบรมไม่เพียงพอกับเนื้อหา เนื่องจากระยะเวลาของการอบรม 5 วัน แต่เน้ือหาของการอบรมมีการฝึกปฏิบัติด้วย จึงทําให้ระยะเวลาในการฝึกแต่ละเร่ืองน้อยเกินไป ควรเพ่ิมระยะเวลาในแต่ละหัวข้อให้มากกว่านี้ รวมทั้งควรเพ่ิมวทิ ยากรประจํากล่มุ ใหเ้ พียงพอ อีกทัง้ ควรมกี ารพัฒนาต่อยอดด้านการจัดทําส่ือการเรียนรู้ออนไลน์ในรปู แบบ VDO CLIP อยา่ งตอ่ เนื่อง เพ่อื ใหเ้ กดิ การประสทิ ธิภาพในการพฒั นาอยา่ งยั่งยนื และตลอดไป3. ข้อเสนอแนะ 3.1 ข้อเสนอแนะในการนําผลการวจิ ัยไปใช้ 3.1.1 ต้องมีระบบอินเทอร์เน็ตที่เพียงพอทั้งในสถานศึกษาและท่ีบ้านหรือชุมชนของผู้เรียนอยา่ งน้อยที่สุดสถานศึกษาควรมไี วบ้ ริการอยา่ งเพยี งพอ

55 3.1.2 โรงเรียนต้องดูแล บํารุงรักษาและอัพเกรดคอมพิวเตอร์ให้มีศักยภาพเพียงพอในการจัดการเรยี นการสอน 3.1.3 หน่วยงานต้นสังกัดควรพัฒนาบุคลากรให้ใชส้ ่ือการเรียนรู้ออนไลน์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ไปจัดการเรียนการสอนได้ และยังเป็นการส่งเสริมให้นักเรียนใช้อินเทอร์เน็ตเพ่ือการศึกษามากขน้ึ 3.2 ข้อเสนอแนะในการทําวิจยั คร้งั ต่อไป 3.2.1 ควรวางแผนการใหค้ วามรู้ ความเข้าใจกับบุคลากรให้เห็นความสําคัญและประโยชน์ของการสร้างและพฒั นาสอ่ื การเรยี นรู้ออนไลน์ผ่านเครือขา่ ยอินเทอร์เนต็ ในการจัดการเรยี นการสอนตอ่ ไป 3.2.2 ควรศึกษาถึงความเป็นไปได้ในการพัฒนาสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตในทุกกลมุ่ สาระการเรียนรู้ เพื่อการพฒั นาหลักสตู รเพ่อื อบรมครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาตอ่ ไป 3.3 ขอ้ เสนอแนะสําหรบั ผู้บริหาร 3.3.1. ประเทศจะต้องมีแผนแม่บทและระบบเทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติต่อการบูรณาการพัฒนาสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตไว้ในเร่ืองการจัดการศึกษา มีนโยบายการใช้ส่ือการเรียนรู้ออนไลน์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เข้ากับหลักสูตรและการเรียนการสอน มีการพัฒนาผู้เช่ียวชาญในการใช้พัฒนาสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต และฝึกอบรมครูผู้สอนอีกท้งั มกี ารเรยี นในระบบออนไลน์ ( Online learning ) ให้มากขน้ึ 3.3.2. มุ่งเน้นการแก้ไข ได้แก่ 1) การพัฒนาคนให้มีความเฉลียวฉลาด (Smart) และรอบรู้การใช้ส่ือการเรียนรู้ออนไลน์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 2) การบริหารการใช้ส่ือการเรียนรู้ออนไลน์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตระดับชาติ ให้ยึดหลักธรรมาภิบาล นอกจากนี้ ยังให้ความสําคัญกับการเร่งพัฒนาโครงข่ายความเร็วสูงให้มีการกระจายอย่างทั่วถึงและราคาเป็นธรรมเนื่องจากเป็นโครงสร้างพื้นฐานที่สาํ คัญสาํ หรับการพฒั นาในสงั คมและเศรษฐกิจฐานความรู้และนวัตกรรมท่ีอาศัยเทคโนโลยีสื่อสังคม(Social Media) เป็นพลังขับเคลื่อนหลักและเป็นสิ่งที่ประเทศไทยยังมีระดับการพัฒนาท่ีด้อยกว่าหลาย ๆ ประเทศ 3.3.3. จดั ทํายุทธศาสตร์ทําให้ต่างจังหวัด และภาคการศึกษา นําคอมพิวเตอร์ไปใช้ในการเรียนการสอนให้มากขน้ึ กว่าปัจจุบัน 3.3.4. ให้โรงเรียนปรับประยุกต์ใช้ภายใต้บริบทของโรงเรียนให้สามารถ 1) จัดการเรียนรู้\"ตลอดเวลา\" เวลาใดก็สามารถเรียนรู้ได้ 2) เรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ \"ทุกหนแห่ง\" และ 3) การให้ทุกคนไดเ้ รยี นรู้ พัฒนาตนเองอย่างเตม็ ศกั ยภาพของตน ตัง้ แตร่ ะดบั ประถมศกึ ษาเปน็ ต้นไป

56 บรรณานุกรมกรมวชิ าการ กระทรวงศึกษาธกิ าร (2545). หลักสูตรการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2544. กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พ์องคก์ ารรับส่งสนิ ค้าและพสั ดุภณั ฑ์.กิดานนั ท์ มลิทอง. (2548). เทคโนโลยีการศึกษาร่วมสมัย. พมิ พ์คร้ังท่ี 2. กรงุ เทพมหานคร : เอดิสัน เพรส โพรดักส.์ชรีย์พร ภมู า. (2543). ความคาดหวงั และความพึงพอใจในการใช้ประโยชนจ์ ากเครือข่าย คอมพิวเตอรเ์ พ่อื โรงเรยี นไทย (School Net) เพอ่ื พฒั นาการศกึ ษาและเรยี นรู้ของนักเรียน มัธยมศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร. วทิ ยานิพนธ์ น.ม. (สอื่ สารมวลชน). กรุงเทพฯ : บณั ฑติ วิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย.ถนอมพร เลาหจรสั แสง. (2541). คอมพิวเตอรช์ ่วยสอน. กรงุ เทพฯ : ดวงกมลโพรดักชน่ั ._____. (2544).“การสอนบนเวบ็ (Web-Based Instruction) นวตั กรรมเพื่อคุณภาพการเรียน การสอน,” วารสารศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่. 28(1) : 87-94.ทิภากร สารกิ า. (2546). การพัฒนากิจกรรมการเรียนร้ผู ่านเครอื ขา่ ยอนิ เทอร์เนต็ เรื่อง ฟสิ กิ ส์ นวิ เคลยี ร์เบื้องต้น. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (วิทยาศาสตรศึกษา). กรงุ เทพฯ : บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลยั ศรีนครนิ ทรวิโรฒ.ธีระ รุณเจริญ. (2550). การบรหิ ารโรงเรยี นยุคปฏริ ูปการศกึ ษา. กรุงเทพมหานคร: แอล.ท.ี เพรส.นิคม สรวญรมั ย์ (2553) .การประเมนิ โครงการพัฒนาบคุ ลากรตามมาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษา. โรงเรยี นเทศบาล 3 (รฐั ราษฏร์พัฒนา) อาํ เภอโนนสงู จ.นครราชสีมา.เบญจวรรณ สมพงษ.์ (2548). การศกึ ษาเปรียบเทยี บผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นวทิ ยาศาสตรข์ อง นกั เรียน ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 ระหวา่ งวิธสี อนแบบบรรยายกับวธิ ีสอนโดยใชส้ ่ือการเรียนร.ู้ [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : http://www.nmrsw2.ac.th/RESEARCH/ns12_19.html. (วนั ที่คน้ ข้อมูล : 16 พฤศจิกายน 2553).เผยแพร่ผลงานวชิ าการ. (2554). บทคดั ย่อการประเมินผลโครงการฝกึ อบรมครู บคุ ลากรเพื่อใชแ้ ละ จดั ทําส่อื เทคโนโลยีเพ่อื การศกึ ษา “การจัดทาํ เวบ็ ไซตด์ ้วยโปรแกรม Macromedia Dreamweaver 8”. [ออนไลน]์ . เข้าถึงไดจ้ าก : http://www.kts-hon.ac.th. (วันทีค่ น้ ข้อมลู : 15 มถิ ุนายน 2554).พระราชบัญญตั วิ า่ ดว้ ยการกระทําความผิดเก่ยี วกบั คอมพิวเตอร์ฉบับชาวบ้าน. (2550). พระราชบัญญัติวา่ ดว้ ยการกระทาํ ความผิดเก่ียวกับคอมพวิ เตอร์ พ.ศ. 2550. [ออนไลน]์ . เข้าถงึ ไดจ้ าก : www.cowboythai.com. (วนั ทค่ี น้ ข้อมลู : 16 มิถนุ ายน 2554).

57พชิ ติ ฤทธ์จิ รูญ. (2547). ระเบียบวธิ ีการวิจัยทางสงั คมศาสตร.์ พมิ พ์ครั้งท่ี 2. กรงุ เทพฯ : เฮา้ ส์ออฟ เคอร์มสี ท์.พทุ ธ มงคล. (2550). รายงานผลการประเมนิ โครงการพฒั นาครูเกีย่ วกบั การพัฒนานวัตกรรม เพอ่ื การเรยี นร.ู้ สงั กดั สาํ นกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาศรีสะเกษ .พูลศรี เวศยอ์ ุฬาร. (2543). ผลการเรียนผ่านเครอื ข่ายอินเทอร์เนต็ ของนักเรียนชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4. วิทยานพิ นธ์ กศ.ม. (เทคโนโลยกี ารศกึ ษา). กรุงเทพมหานคร : บณั ฑติ วทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครินทรวโิ รฒ ประสานมิตร.ภัทรพงศ์ อนิ ทรกาํ เนิดและคณะ. (2551). รายงานการศกึ ษา สภาพปัจจุบนั ปัญหา และแนวโนม้ บริบทการเปล่ียนแปลงสงั คมโลกและสงั คมไทย ภายใตก้ ระแสโลกาภิวฒั น์ดา้ นวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม. กรุงเทพมหานคร : สาํ นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.เรวดี คงสภุ าพกลุ . (2539). การใชร้ ะบบอินเทอร์เนต็ ของนกั ศึกษาในเขตกรงุ เทพมหานคร. วทิ ยานิพนธ์ นศ.ม. (นิเทศศาสตรพ์ ัฒนาการ). กรุงเทพฯ : บณั ฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลัย.รุจโรจน์ แกว้ อไุ ร. (2543). การพัฒนาระบบเครอื ขา่ ยการเรียนการสอนผ่านใยแมงมุม. วทิ ยานพิ นธ์ กศ.ม. (เทคโนโลยีการศึกษา). กรุงเทพฯ : บณั ฑติ วิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวโิ รฒ ประสานมิตร.ล้วน สายยศ. (2540) สถิตวิ ิทยาทางการวจิ ัย. กรุงเทพฯ : สวุ ีรยิ าสาสน์ .เลขาธิการสภาการศึกษา, สํานักงาน. (2553). แผนการศึกษาแหง่ ชาติ ฉบับปรับปรงุ (พ.ศ. 2552- 2559). กรุงเทพมหานคร : สาํ นกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา.โลกของการแลกเปลย่ี นเรียนร.ู้ (2550). บทคัดย่อการประเมนิ โครงการพัฒนาครูเก่ียวกับ การสร้างและพัฒนานวตั กรรมเพอ่ื การเรียนรู้. [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ได้จาก : http://www.gotoknow.org/blog/put2004/170839. (วันทคี่ น้ ข้อมลู : 16 มถิ นุ ายน 2554).วภิ า อุดมฉันท.์ (2544). การผลิตส่ือโทรทศั นแ์ ละส่ือคอมพวิ เตอร์ กระบวนการสรา้ งสรรค์และ เทคนคิ การผลิต. พิมพ์ครัง้ ท่ี 2. กรุงเทพฯ : บุ๊ก พอยท.์วรี วฒุ ิ เกตจุ ํานงค.์ (2554). โครงการฝกึ อบรมครู บุคลากรเพ่อื ใชแ้ ละจัดทาํ สื่อเทคโนโลยี เพ่อื การศกึ ษา “การจดั ทําเวบ็ ไซตด์ ว้ ยโปรแกรม Macromedia Dreamweaver 8. โรงเรยี นบ้านคลองตะเคียน. สํานกั งานเขตพนื้ ทป่ี ระถมศึกษาชลบรุ ี เขต 1.แวววลี สิรวิ รจรรยาด.ี (2550). การพัฒนาบทเรียนออนไลน์เรือ่ งการเขยี นเวบ็ ไซต์ด้วยโปรแกรม Microsoft FrontPage 2003. บรุ รี มั ย์ : โรงเรยี นเสนศริ ิอนุสรณ.์ศกึ ษาธิการ, กระทรวง. (2553). พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแหง่ ชาติ ฉบบั ปรบั ปรุง (พ.ศ. 2552- 2555) กรุงเทพมหานคร : บริษัทพริกหวานกราฟฟิค จํากัด.

58_____. (2552). หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551. กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พ์องค์การค้าคุรสุ ภา._____. (2550). แผนแมบ่ ทเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สารเพอ่ื การศกึ ษาของ กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2550-2554. [ออนไลน์]. เขา้ ถึงได้จาก : http://www.moe.go.th. (วนั ที่ค้นข้อมูล : 16 มถิ ุนายน 2554).ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร, สาํ นกั งาน. (2550). สถติ กิ ารศกึ ษาของประเทศไทย ปกี ารศกึ ษา 2550 สกศ.2551 (เอกสารถา่ ยสาํ เนา)สริ ิสมุ าลย์ ชนะมา. (2548). การพฒั นารูปแบบการเรียนผา่ นเครือขา่ ยอินเทอร์เน็ต วิชาสงั คมศกึ ษา สําหรบั นกั เรียนชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 6. ปรญิ ญานพิ นธ์ กศ.ด. (เทคโนโลยีการศกึ ษา). กรงุ เทพฯ: บัณฑิตวิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวโิ รฒ. ถา่ ยเอกสาร.สกุ รี รอดโพธท์ิ อง. (2544). เอกสารประกอบการเรียนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์ช่วยสอน. กรุงเทพฯ : คณะครศุ าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั .สชุ ญา สังข์จรูญ. (2550). ผลของการเรยี นบทเรียนบนเว็บโดยใชบ้ ล็อกท่ีมตี อ่ ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น และความคงทนในการเรยี นวชิ าภาษาอังกฤษของนกั เรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ . วทิ ยานิพนธ์ ค.ม. (โสตทัศนศกึ ษา).กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั .สาํ นักเทคโนโลยเี พื่อการเรียนการสอน. (2554). เอกสารประกบการอบรมจัดทาํ ส่ือการเรียนรู้ ออนไลน์ผา่ นเครอื ขา่ ยอินเทอรเ์ น็ต. กรงุ เทพมหานคร : สาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน.Gulson, K. (2000). “A study of student attitudes towards web-based instruction (WBI)”. Education of Doctoral University of Cincinnati.Parrill, Abby Louise. (1996). “Supplementing Traditional Chemical education on the World Wide Web.” Ph.D. Dissertation, The University of Arizoa.Ronald L” Greene. (2001). “llluminating Physics via Web-Based self-Study.” The Physics Teacher.

59 ภาคผนวก กรายชอื่ ผูเ้ ชยี่ วชาญ

60 รายช่ือผเู้ ชย่ี วชาญ 1. รองศาสตราจารย์ ดร.สุมาลี จันทรช์ ลอ คณะครศุ าสตร์อุตสาหกรรม มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบุรี 2. รองศาสตราจารย์ ดร.ปรชี า วิหคโต คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธริ าช 3. ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ร.ท. ดร.ไพบลู ย์ อ่อนม่งั บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั ศรีนครนิ ทรวโิ รฒ 4. ดร.ศรสี มร พ่มุ สะอาด อดีตท่ปี รึกษา สาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน 5. ดร.ชาตรี อายุวฒั นะ อดตี ผเู้ ช่ยี วชาญกรมการศึกษานอกโรงเรยี น

61ภาคผนวก ขเครื่องมอื วิจยั

62 แบบสอบถามการอบรมจัดทําสอื่ การเรยี นรู้ออนไลน์ผา่ นเครือขา่ ยอนิ เทอร์เน็ต ของครสู งั กัดสาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน -------------------------------------------------คําชี้แจง 1. แบบสอบถามสําหรับผู้เข้ารับการอบรมจัดทําส่ือการเรียนรู้ออนไลน์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตในโครงการพฒั นาสอื่ การเรยี นรู้ออนไลน์ผา่ นเครอื ข่ายอินเทอร์เน็ต เพ่ือใช้ประโยชน์ในการปรับปรงุ หลักสูตรการอบรมใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพมากขน้ึ ท้งั นจี้ ะไมเ่ กดิ ผลเสยี ใด ๆ ต่อผู้ตอบแบบสอบถาม ท้ังส้นิ 2. โปรดเติมเคร่อื งหมาย และกรอกข้อความให้สมบูรณ์ สําหรับแบบสอบถามเกยี่ วกบัความคดิ เห็น กรุณาเตมิ เครอ่ื งหมาย ให้ตรงกบั ความคิดเหน็ ของทา่ นมากท่สี ุด ดังน้ี 5 หมายถงึ มคี วามคิดเหน็ เหน็ ด้วยมากทสี่ ุด 4 หมายถงึ มคี วามคิดเหน็ เหน็ ดว้ ยมาก 3 หมายถึง มคี วามคดิ เห็น เห็นด้วยปานกลาง 2 หมายถึง มคี วามคดิ เหน็ เหน็ ดว้ ยนอ้ ย 1 หมายถึง มีความคดิ เห็น เหน็ ดว้ ยน้อยที่สุด 3. แบบสอบถามแบง่ ออกเปน็ 3 ตอน คอื ตอนที่ 1 ขอ้ มลู ทวั่ ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ตอนท่ี 2 ความคดิ เหน็ ที่มตี ่อการอบรมจัดทําสื่อการเรียนร้อู อนไลนผ์ า่ นเครอื ขา่ ยอินเทอร์เน็ต ประกอบด้วย ด้านกจิ กรรมการดาํ เนนิ งาน ด้านเนอ้ื หาสาระในการอบรม ดา้ นวสั ดอุ ุปกรณ์และสถานที่ ดา้ นการนําความรไู้ ปใช้ ตอนท่ี 3 ปัญหา อปุ สรรค และขอ้ เสนอแนะ

63ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผูต้ อบแบบสอบถาม1. เพศ ชาย หญิง2. อายรุ าชการ ไม่เกนิ 10 ปี 11 - 20 ปี 21 - 30 ปี 31 ปี ข้นึ ไป3. วุฒกิ ารศึกษา ปรญิ ญาตรี ปรญิ ญาโท ปริญญาเอก4. วิทยฐานะ ไมม่ ี ชาํ นาญการ ชาํ นาญการพิเศษ เช่ยี วชาญ เช่ียวชาญพเิ ศษ5. กลุ่มสาระการเรยี นรู้ท่ีจัดการเรียนการสอน ภาษาไทย สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ภาษาต่างประเทศ คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม กจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รียน อ่นื ๆ6. ขนาดโรงเรยี น เล็ก (นร.ตํ่ากว่า 360 คน) กลาง ( 361 คน – ขึ้นไป) ใหญ่ (780 คน ข้นึ ไป) ใหญพ่ เิ ศษ (มากกว่า 1,080 คน)7. ระบบอินเทอรเ์ นต็ ท่โี รงเรยี น ADSL Lease Line CAT IP Star Modem UniNet อ่นื ๆ (ระบ)ุ ...............................................................

64ตอนท่ี 2 ความคดิ เห็นทมี่ ีต่อกิจกรรมการอบรมจัดทําสือ่ การเรียนร้อู อนไลน์ผา่ นเครือขา่ ยอนิ เทอรเ์ น็ต ระดบั ความคดิ เหน็ข้อท่ี รายการ มากท่ีสดุ มาก ปานกลาง น้อย นอ้ ยที่สดุ (5) (4) (3) (2) (1) ด้านการจัดกิจกรรมการดาํ เนินงาน 1 กจิ กรรมการประกาศรับสมคั รครเู ขา้ รับการอบรม 2 กิจกรรมการอบรม 3 กจิ กรรมระหว่างการอบรม 4 กจิ กรรมรวบรวมส่อื การเรียนร้อู อนไลน์ผา่ น เครือข่ายอนิ เทอร์เน็ต 5 กิจกรรมการจัดประกวดสือ่ การเรยี นรอู้ อนไลน์ ผา่ นเครือข่ายอินเทอร์เนต็ 6 กจิ กรรมการเผยแพร่และประชาสมั พนั ธ์ สอื่ การเรียนรู้ออนไลนผ์ ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ดา้ นเนอื้ หาสาระในการอบรม 7 ความรคู้ วามเข้าใจ เร่ือง พระราชบญั ญตั วิ ่า ดว้ ยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพวิ เตอร์ พ.ศ.2550 8 ความรคู้ วามเข้าใจ เรอ่ื ง ประเภท และ องคป์ ระกอบต่าง ๆ ของสื่อการเรียนรอู้ อนไลน์ 9 ความรู้ความเขา้ ใจ เรื่อง รูปแบบการทําสอื่ การเรียนรู้ ออนไลน์ให้นา่ สนใจ10 ความรู้ความเข้าใจ เร่ือง ความคดิ สรา้ งสรรค์ใน การนําเสนอส่ือการเรียนรู้ออนไลน์11 ความรู้ความเข้าใจ เรื่อง เทคนิคการทําสอ่ื การเรียนรู้ ออนไลน์ เพื่อใชป้ ระกอบการเรียนการสอน12 ความรู้ความเข้าใจ เร่ือง องค์ประกอบศิลป์13 ความรคู้ วามเข้าใจเรอื่ ง การจัดการกบั ภาพนง่ิ14 ความร้คู วามเข้าใจเรอ่ื ง การตัดตอ่ VDO และ การบนั ทกึ เสยี ง

65 ระดบั ความคิดเหน็ขอ้ ที่ รายการ มากทีส่ ุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยท่ีสดุ (5) (4) (3) (2) (1)15 ความรู้ความเข้าใจเรื่อง การผลิตสอ่ื การเรยี นรู้ ออนไลน์ ความยาวไม่เกิน 5 นาที16 ความรู้ความเข้าใจเร่ือง การแปลงไฟล์งานและ อปั โหลด ขึน้ เวบ็ ไซต์ youtube.com ด้านวสั ดอุ ุปกรณ์ และสถานท่ี17 ประสิทธภิ าพของเครอ่ื งคอมพิวเตอรท์ ่ีใช้ใน การอบรม18 ประสิทธิภาพของอปุ กรณ์ กล้องถา่ ยรปู / กลอ้ งวดี ิโอท่ีใชใ้ นการอบรม19 ความเรว็ ของการดาวนโ์ หลดจากระบบ อินเทอรเ์ น็ตในการสืบค้นและรวบรวมข้อมูล VDO CLIP20 ความเร็วของระบบอินเทอร์เน็ตในการ อปั โหลด VDO CLIP21 ความเหมาะสมของท่ีพักและสถานทใ่ี ชใ้ น การจัดการอบรม22 อาหารและเคร่อื งดื่ม ระหวา่ งการอบรม ด้านการนาํ ความรู้ไปใช้23 สามารถผลติ สอื่ การเรียนรูอ้ อนไลนผ์ ่าน เครือข่ายอินเทอรเ์ นต็ ในรปู แบบ VDO CLIP ได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ24 สามารถเช่ือมโยง/รวบรวม/ความรู้เกี่ยวกบั สื่อการเรียนรอู้ อนไลนผ์ า่ นเครือขา่ ยอนิ เทอรเ์ นต็ ไปใชใ้ นการการจดั การเรยี นการสอนได้25 สามารถจดั การเรียนการสอนดว้ ย สือ่ การเรยี นรู้ออนไลนผ์ า่ นเครอื ข่าย อนิ เทอร์เน็ตในรปู แบบ VDO CLIP ได้

66 ระดบั ความคดิ เหน็ขอ้ ท่ี รายการ มากท่สี ดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย น้อยท่สี ุด (5) (4) (3) (2) (1)26 สามารถนาํ เทคนิค วธิ ีการสอนรูปแบบ VDO CLIP ไปขยายผลใหก้ ับครแู ละบคุ ลากร ทางการศกึ ษาได้27 สามารถนาํ ความรู้ทไ่ี ด้จากการอบรมไปใช้ พฒั นาส่อื การเรยี นรอู้ อนไลน์ผา่ นเครอื ข่าย อินเทอรเ์ น็ต ในรูปแบบ VDO CLIP และ นําไปใชป้ ระกอบ เพื่อการเล่ือนวทิ ยฐานะได้28 สามารถเป็นวทิ ยากรจดั การอบรมการผลิต ส่ือการเรียนร้อู อนไลน์ผ่านเครือข่าย อนิ เทอรเ์ นต็ ในรูปแบบ VDO CLIP ได้ตอนที่ 3 ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ ………………………………………………………………………………………………...............................……… ……………………………………………………………………………………………...............................………… ………………………………………………………………………………………………...............................……… ……………………………………………………………………………………………...............................………… ………………………………………………………………………………………………...............................……… ……………………………………………………………………………………………...............................………… ………………………………………………………………………………………………...............................……… ……………………………………………………………………………………………...............................………… ขอขอบคุณ สาํ นักเทคโนโลยเี พือ่ การเรยี นการสอน สพฐ.

67 ภาคผนวก คคณุ ภาพเคร่ืองมอื

68 ผลการประเมนิ ประสิทธภิ าพของผูเ้ ชี่ยวชาญข้อท่ี ขอ้ ความ ผ้เู ชย่ี วชาญคนท่ี 1 2 3 4 5 รวม ดา้ นการจดั กิจกรรมการดาํ เนินงาน1 กจิ กรรมการประกาศรบั สมัครครเู ข้ารับการอบรม 1111152 กจิ กรรมการอบรม 1111153 กิจกรรมระหวา่ งการอบรม 1111154 กิจกรรมรวบรวมสอ่ื การเรียนรู้ออนไลน์ผ่านเครอื ขา่ ย 1 1 1 1 1 5 อนิ เทอรเ์ นต็5 กิจกรรมการจัดประกวดส่อื การเรยี นร้อู อนไลนผ์ ่าน 111115 เครอื ข่ายอินเทอร์เน็ต6 กจิ กรรมการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ 111115 สือ่ การเรยี นรู้ออนไลน์ผ่านเครือข่ายอินเทอรเ์ น็ต รวม 6 6 6 6 6 30 ด้านเนือ้ หาสาระในการอบรม7 ความร้คู วามเข้าใจ เร่อื ง พระราชบัญญัตวิ า่ ด้วยการ 1 1 1 1 1 5 กระทาํ ความผิดเกยี่ วกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.25508 ความรู้ความเข้าใจ เร่ือง ประเภท และองค์ประกอบต่าง ๆ 1 1 1 1 1 5 ของสื่อการเรียนรู้ออนไลน์9 ความรู้ความเขา้ ใจ เรื่อง รูปแบบการทําสื่อการเรียนรู้ 111115 ออนไลน์ใหน้ ่าสนใจ10 ความรู้ความเข้าใจ เรื่อง ความคดิ สร้างสรรค์ในการนําเสนอ 1 1 1 1 1 5 ส่อื การเรียนรู้ออนไลน์11 ความร้คู วามเข้าใจ เร่อื ง เทคนิคการทําสื่อการเรียนรอู้ อนไลน์ 1 1 1 1 1 5 เพ่อื ใช้ประกอบการเรยี นการสอน12 ความรคู้ วามเข้าใจ เรือ่ ง องค์ประกอบศิลป์ 111115

69ข้อที่ ขอ้ ความ ผเู้ ช่ยี วชาญคนที่ 1 2 3 4 5 รวม13 ความรูค้ วามเข้าใจ เรอ่ื ง การจดั การกับภาพนิง่ 11111514 ความรูค้ วามเข้าใจ เรอ่ื ง การตดั ต่อ VDO และการบนั ทกึ เสยี ง 1 1 1 1 1 515 ความรู้ความเข้าใจ เร่ือง การผลิตสอ่ื การเรยี นรอู้ อนไลน์ 1 1 1 1 1 5ความยาวไมเ่ กิน 5 นาที16 ความรู้ความเข้าใจ เรื่อง การแปลงไฟลง์ านและอปั โหลด ข้นึ 1 1 1 1 1 5เวบ็ ไซต์ youtube.com รวม 10 10 10 10 10 50 ดา้ นวัสดอุ ปุ กรณ์ และสถานที่17 ประสทิ ธิภาพของเครอ่ื งคอมพิวเตอรท์ ่ีใช้ในการอบรม 1 1 1 1 1 518 ประสทิ ธภิ าพของอปุ กรณ์ กล้องถ่ายรูป/กล้องวีดโิ อทใ่ี ช้ 1 1 1 1 1 5ในการอบรม19 ความเรว็ ของการดาวนโ์ หลดจากระบบอนิ เทอร์เนต็ ในการ 1 1 1 1 1 5สืบค้นและรวบรวมข้อมลู VDO CLIP20 ความเร็วของระบบอินเทอร์เน็ตในการอปั โหลด VDO CLIP 1 1 1 1 1 521 ความเหมาะสมของทีพ่ ักและสถานทใี่ ชใ้ นการจัดการอบรม 1 1 1 1 1 522 อาหารและเครือ่ งดืม่ ระหว่างการอบรม 111115 รวม 6 6 6 6 6 30 ดา้ นการนําความร้ไู ปใช้23 สามารถผลิตส่ือการเรียนรูอ้ อนไลน์ผ่านเครือขา่ ย 111115อนิ เทอร์เน็ตในรูปแบบ VDO CLIP ได้อย่างมีประสิทธภิ าพ24 สามารถเช่อื มโยง/รวบรวม/ความรเู้ ก่ียวกบั สื่อการเรยี นรู้ 1 1 1 1 1 5ออนไลนผ์ ่านเครือข่ายอินเทอร์เนต็ ไปใชใ้ นการการจัดการเรียนการสอนได้25 สามารถจัดการเรยี นการสอนดว้ ยสอื่ การเรียนรอู้ อนไลน์ 1 1 1 1 1 5ผ่านเครอื ข่ายอินเทอร์เน็ตในรูปแบบ VDO CLIP ได้

70ข้อท่ี ขอ้ ความ ผูเ้ ชี่ยวชาญคนท่ี รวม 1234526 สามารถนําเทคนิค วธิ ีการสอนรปู แบบ VDO CLIP 111115 ไปขยายผลใหก้ ับครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาได้27 สามารถนาํ ความรู้ทไ่ี ด้จากการอบรมไปใช้พฒั นาสื่อการเรียนรู้ 1 1 1 1 1 5 ออนไลน์ผา่ นเครอื ขา่ ยอินเทอรเ์ น็ต ในรูปแบบ VDO CLIP และนาํ ไปใช้ประกอบ เพื่อการเลื่อนวิทยฐานะได้28 สามารถเป็นวทิ ยากรจดั การอบรมการผลติ สื่อการเรียนรู้ 1 1 1 1 1 5 ออนไลน์ผา่ นเครือข่ายอินเทอร์เนต็ ในรูปแบบ VDO CLIPได้ รวม 6 6 6 6 6 30 รวมท้ังหมด 28 28 28 28 28 140

71 ผลการวิเคราะหค์ วามเช่ือมนั่แบบสอบถามการอบรมจดั ทาํ สือ่ การเรยี นรูอ้ อนไลน์ผ่านเครือข่ายอินเทอรเ์ น็ต ของครูสังกดั สาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน -------------------------------Reliability****** Method 1 (space saver) will be used for this analysis ******R E L I A B I L I T Y A N A L Y S I S - S C A L E (A L P H A)Reliability CoefficientsN of Cases = 30.0 N of Items = 28Alpha = .950

72 ภาคผนวก ง การวเิ คราะห์ขอ้ มลู

73

74

75

76

77

78

79

80

81 ภาคผนวก จเอกสารประกอบการวิจยั

82 โครงการพฒั นาสอื่ การเรียนรู้ออนไลน์ผา่ นเครอื ขา่ ยอนิ เทอร์เน็ต1. หลักการและเหตผุ ล ตามแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเพื่อการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการพ.ศ. 2554 – 2556 กําหนดวิสัยทัศน์ว่า การศึกษาแห่งอนาคตเป็นจริงได้ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ(Enabling Future Education with ICT) ซ่งึ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานที่มีหน้าที่ดแู ลการศึกษาข้ันพื้นฐานของชาติได้ตระหนักถึงประโยชน์ของเทคโนโลยีจึงมุ่งหวังท่ีจะปรับการเรียนเปลยี่ นการสอนด้วยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) เพ่ือพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้ตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนทั่วประเทศ ท้ังนี้ได้จัดทําโครงการจัดหาระบบคอมพิวเตอร์และระบบเครือข่ายอนิ เทอรเ์ น็ตความเร็วสูงเพื่อการศึกษาข้ึน โดยมุ่งเน้นในการจัดหาระบบคอมพิวเตอร์ ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต การพัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา และพัฒนาระบบงานคอมพิวเตอร์เพ่ือสนับสนุนการดําเนินงานทุกด้านดังกล่าว กอปรกับเทคโนโลยีสารสนเทศในปัจจุบันมีส่วนช่วยเรื่องการเรียนรู้หลายด้าน มีระบบสนับสนุนการรับรู้ข่าวสาร เช่นการค้นหาข้อมูลข่าวสารผ่าน World Wide Webเป็นต้น อีกทั้งการเชื่อมโยงเครือข่ายทําให้ผู้เรียนสามารถเรยี นไดท้ ุกสถานท่ี ทุกเวลา สะดวก และรวดเรว็ สํานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอนได้เล็งเห็นความสําคัญในเรื่องดังกล่าว โดยเฉพาะส่ือการเรียนรู้บนเครอื ข่ายอนิ เทอร์เนต็ ซ่งึ ปจั จุบันส่ือท่ีมีคุณภาพยังต้องได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและอยู่ในความต้องการไม่มีท่ีสิ้นสุด ดังน้ัน จึงได้จัดทําโครงการพัฒนาสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตขึ้น โดยดําเนินการรวบรวม ผลิตและพัฒนาส่ือการเรียนรู้ออนไลน์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตในรูปแบบ VDO CLIP ภายใต้ช่ือ KruTube Channel (ครูไทยยุคไอที สร้างคลิปดีให้เด็กดู)เพ่ือเป็นคลังข้อมูลของส่ือการเรียนรู้ออนไลน์ให้กับครู นักเรียน และผู้สนใจทั่วไป สามารถนําไปใช้บูรณาการกับการเรียนการสอนที่สนับสนุนให้ผู้สอนและผู้เรียนใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมาเพิ่มพูนความรู้อันจะส่งเสริมให้การจัดการศึกษาของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานมีคุณภาพและประสิทธภิ าพยง่ิ ขึ้น2. วัตถุประสงค์ 2.1 เพ่ือเป็นแหล่งเชื่อมโยง/รวบรวม/พัฒนาองค์ความรู้เก่ียวกับเน้ือหา (Content) เทคนิควิธกี ารสอนในรูปแบบ VDO CLIP ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตของครูและบุคลากรทางการศึกษาสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้นื ฐานรผู้ ่านเครือข่ายอินเทอร์เนต็ 2.2 เพ่ือเพิ่มช่องทางการติดต่อสื่อสาร แลกเปล่ียนองค์ความรู้/ประสบการณ์/เทคนิควิธีการจดั การเรยี นการสอนของครูทกุ กลมุ่ สาระการเรยี นรตู้ ามหลักสูตรการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน

833. เป้าหมาย 3.1 มีสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตในรูปแบบ VDO CLIP จํานวน1,500 เร่ือง 3.2 ครู และบุคลากรทางการศึกษา สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานทั่วประเทศ จํานวน 250 คน มีความรู้ความสามารถในการผลิตสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ผ่านเครือข่ายอนิ เทอรเ์ น็ตในรูปแบบ VDO CLIP4. กิจกรรมการดาํ เนนิ การ จากเป้าหมายทีก่ าํ หนด สาํ นักเทคโนโลยเี พ่ือการเรยี นการสอน จาํ แนกกจิ กรรมการดาํ เนนิ การ ดังน้ี กจิ กรรมที่ 1 ประกาศรบั สมัครครแู ละบุคลากรทางการศึกษาเข้ารับการอบรมการผลติ สื่อการเรียนรอู้ อนไลนผ์ ่านเครือขา่ ยอนิ เทอร์เนต็ กิจกรรมที่ 2 ประชุมเชิงปฏิบัติการจดั ทําสื่อการเรียนรู้ออนไลนผ์ า่ นเครอื ขา่ ยอนิ เทอรเ์ นต็ กิจกรรมที่ 4 ประกวดสอ่ื การเรียนรอู้ อนไลนผ์ า่ นเครอื ขา่ ยอนิ เทอรเ์ น็ต กจิ กรรมท่ี 5 พิธีมอบรางวลั กจิ กรรมที่ 6 ดาํ เนินการวจิ ยั และรวบรวมสือ่ การเรยี นรู้ออนไลน์ผ่านเครือขา่ ยอินเทอร์เนต็ กิจกรรมที่ 7 รายงานผลการดาํ เนนิ งานและเผยแพร่และประชาสัมพันธส์ ่ือการเรียนร้ฯู 5. ตารางการปฏบิ ัตงิ าน ปีงบประมาณ 2554 ม.ค. ก.พ. ม.ี ค.เม.ย.พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.กิจกรรม1. ประกาศรับสมัครครแู ละบุคลากรทางการศึกษาเขา้ รับการอบรมการผลิตสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ผา่ นเครือขา่ ยอินเทอร์เนต็2. ประชมุ เชงิ ปฏบิ ัตกิ ารจัดทําส่ือการเรยี นรู้ออนไลน์ผ่านเครือขา่ ยอนิ เทอรเ์ นต็3. ประกวดสื่อการเรียนร้อู อนไลนฯ์4. พธิ ีมอบรางวลั5. ดําเนนิ การวจิ ยั และรวบรวมสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ผ่านเครือขา่ ยอนิ เทอรเ์ น็ต6. รายงานผลการดําเนินงานและเผยแพร่และประชาสมั พันธส์ ือ่ การเรียนรอู้ อนไลน์ฯ

84 แบบตอบรับการเขา้ รว่ มการอบรมจัดทาํ สื่อการเรยี นรู้ออนไลน์ผ่านเครอื ขา่ ยอนิ เทอร์เน็ต ระหวา่ งวันท่ี 10-17 มถิ ุนายน 2554 ณ โรงแรมแม็กซ์ พระรามเก้า กรุงเทพฯ ..........................................................เรยี น ผู้อาํ นวยการสาํ นกั เทคโนโลยเี พอ่ื การเรยี นการสอน ตามท่ีสํานักเทคโนโลยีเพือ่ การเรียนการสอน สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พืน้ ฐานจะจดั อบรมการจัดทําส่ือการเรียนรู้ออนไลนผ์ า่ นเครือขา่ ยอินเทอร์เน็ต ระหว่างวันที่ 13 - 17 มิถุนายน2554ณ โรงแรมแม็กซ์ พระรามเก้า กรุงเทพฯ และได้เชญิ บคุ ลกรในสังกัด คือชอื่ -นามสกลุ .......................................................... ตาํ แหนง่ ...........................................................โรงเรียน ............................................................... สังกัด .................................................................เขา้ ร่วมประชมุ ดว้ ยนัน้ โรงเรียน.................................................... พิจารณาแล้ว อนญุ าตให้บุคลากรขา้ งตน้ เขา้ ร่วมอบรมได้ จึงเรยี นมาเพ่ือโปรดทราบ ลงชอื่ ............................................................................ (..........................................................................) ผ้อู ํานวยการโรงเรียน………………………………. --------------------------------------------หมายเหตุ : โปรดส่งแบบตอบรบั ไปยังสาํ นักเทคโนโลยเี พ่อื การเรยี นการสอน โทรสารหมายเลข 0 2280 0838 หรือ e-mail : [email protected] ภายในวนั ท่ี 8 มิถุนายน 2554 และกรุณานําตัวจรงิ มาในวันประชมุ ดว้ ย

85 กําหนดการอบรมจดั ทําส่อื การเรียนรู้ออนไลนผ์ ่านเครือขา่ ยอนิ เทอร์เน็ต ระหวา่ งวนั ที่ 10-17 มถิ ุนายน 2554 ณ โรงแรมแมก็ ซ์ กรุงเทพมหานคร ----------------------วนั ท่ี 10 ม.ิ ย.2554 13.00 น. – 14.30 น. ลงทะเบียน (คณะทาํ งานและเจ้าหนา้ ทีท่ ี่เกีย่ วข้อง) 14.40 น. – 16.30 น. แนวทางการดําเนนิ งานโครงการพัฒนาสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ผา่ น เครอื ข่ายอนิ เทอร์เนต็ โดย อ.อจั ฉรา จนั ทพลาบูรณ์ 19.00 น. – 21.00 น. กาํ หนดหนา้ ทแี่ ละความรับผิดชอบในการดาํ เนินงานวนั ท่ี 11 ม.ิ ย.2554 รวบรวมสอ่ื การเรียนร้อู อนไลน์จากเวบ็ ไซต์ Youtube 09.00 น. – 21.00 น.วันที่ 12 ม.ิ ย.2554 รวบรวมสื่อการเรยี นรู้ออนไลนจ์ ากเว็บไซต์ Youtube (ตอ่ ) 09.00 น. – 21.00 น.วนั ท่ี 13 ม.ิ ย.2554 ลงทะเบยี น (ผเู้ ข้ารับการอบรม) 13.00 น. – 14.30 น. บรรยายพเิ ศษ เร่ือง พรบ. วา่ ดว้ ยการกระทําความผิดเกยี่ วกับคอมพวิ เตอร์ 14.30 น. – 15.30 น. พ.ศ. 2550 โดย อาจารยส์ าวตรี สขุ ศรี 15.30 น. – 16.30 น. กิจกรรมสนั ทนาการ 19.00 น. – 21.00 น. กิจกรรมกลุ่มวนั ท่ี 14 ม.ิ ย.2554 กิจกรรมคลปิ แนะนําโครงการ 08.30 น. – 09.30 น. พิธีเปิดการประชุมและบรรยายพเิ ศษ 09.30 น. – 10.00 น. โดย รองเลขาฯ นายกมล รอดคลา้ ย สัมภาษณ์ “โครงการพัฒนาส่อื การเรียนรู้ออนไลน์ผา่ นเครอื ข่าย อนิ เทอรเ์ น็ต” โดย รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน (นายกมล รอดคลา้ ย)

86 -2-วนั ที่ 14 ม.ิ ย.2554 (ต่อ) ประเภทและองคป์ ระกอบต่าง ๆ ของสอ่ื การเรียนรู้ออนไลน์ 10.00 น. - 10.30 น. โดย ชมรมหนงั สน้ั ประเทศไทย 10.30 น. – 12.00 น. รูปแบบการทาํ สื่อการเรยี นรู้ออนไลน์ให้นา่ สนใจ โดย ชมรมหนงั สนั้ ประเทศไทย 13.00 น. – 15.00 น. ความคิดสรา้ งสรรค์ในการนาํ เสนอสอ่ื การเรียนรู้ออนไลน์ 15.00 น. – 18.00 น. โดย ชมรมหนงั สั้นประเทศไทย 19.00 น. – 21.00 น. เทคนิคการทาํ ส่ือการเรียนรู้ออนไลน์ เพ่ือใชป้ ระกอบการเรียนการสอนวันท่ี 15 ม.ิ ย.2554 โดย ชมรมหนังสน้ั ประเทศไทย 08.30 น. – 10.00 น. รบั สง่ งาน คลิป PR โครงการ 10.00 น. – 12.00 น. องค์ประกอบศิลป์ 13.00 น. – 21.00 น. โดย ชมรมหนงั สั้นประเทศไทยวันท่ี 16 ม.ิ ย.2554 การจัดการกับภาพน่งิ (Photoshop) โดย ชมรมหนงั สน้ั ประเทศไทย 09.00 น. – 16.00 น. การตดั ต่อ VDO (Premier Pro) และการบนั ทกึ เสยี ง 16.00 น. – 18.00 น. โดย ชมรมหนงั สั้นประเทศไทย 19.00 น. – 22.00 น. ผลติ ส่ือการเรยี นรอู้ อนไลน์ ความยาวไม่เกิน 5 นาที โดย ชมรมหนงั สน้ั ประเทศไทย การแปลงไฟลง์ านและอัปโหลด ขึ้น เวบ็ ไซต์ youtube.com และพรีวิวผลงานทั้งหมด โดย ชมรมหนงั สน้ั ประเทศไทย งานเลย้ี ง ครูทบู ...สมั พนั ธ์

87 -3-วนั ท่ี 17 ม.ิ ย.2554 สรุปผลการประชมุ 09.00 น. – 10.00 น. พดู คุยและนัดหมายการสง่ ผลงานสอื่ การเรยี นรู้ 200 ชิ้น (รับ MOU) 10.00 น. – 11.00 น. โดย ชมรมหนงั ส้ันประเทศไทย พิธปี ดิ การประชุม รบั เกียรตบิ ัตร และถ่ายรูปรว่ มกนั 11.00 น. – 12.00 น. __________________________หมายเหตุ : เวลา 10.30 น. – 10.40 น. และ 14.30 น. – 14.40 น. พักรับประทานอาหารวา่ งและเครื่องดมื่ เวลา 12.00 น. – 13.00 น. พักรบั ประทานอาหารกลางวนั เวลา 18.00 น. – 19.00 น. พกั รบั ประทานอาหารเย็น ***ตารางนอ้ี าจเปลย่ี นแปลงไดต้ ามความเหมาะสม*** โครงการที่ส่งเสริมให้ครไู ทยยคุ ไอที สร้างคลิปดี ใหเ้ ด็กดู

88 บัญชีรายช่ือผู้เขา้ อบรมสงั กัดสํานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษามัธยมศึกษา ชอ่ื -สกลุ โรงเรียน สังกดั สพม. 401 นายธวัชชัย บญุ ชว่ ย ชนแดนวทิ ยาคม จ.เพชรบูรณ์ สพม.34 สพม.352 นางรมมาดี พรวนหาญ ยุพราชวทิ ยาลัย จ. เชียงใหม่ สพม.35 สพม.353 นายปราโมทย์ ศรีสุวรรณนพกุล ธีรกานท์บา้ นโฮ่ง จ.ลาํ พูน สพม.36 สพม.364 นายสมศักด์ิ จปี ราบนนั ท์ วชริ ป่าซาง จ.ลําพูน สพม.36 สพม.365 นายสุรพงษ์ วงศรีคณุ ถาวร จักรคําคณาทร จ.ลําพนู สพม.37 สพม.376 นายทนงศักดิ์ สุทะกลุ แมส่ ายประสทิ ธศิ์ าสตร์ จ.เชียงราย สพม.37 สพม.377 นางสาวปัทมพร ธรรณมรงค์ แม่เจดียว์ ทิ ยาคม จ.เชียงราย สพม.38 สพม.388 นายธนกร พันธะเกษม แม่จันวทิ ยาคม จ.เชยี งราย สพม.38 สพม.389 นายสดุ เฉลมิ ออ่ นเป่ยี ม ฟากกว๊านวิทยาคม จ. พะเยา สพม.39 สพม.3910 นายวรี ะชัย จันทร์สขุ ลองวทิ ยา จ.แพร่ สพม.40 สพม.4011 นายปญั ญา สมจิตต์ สูงเมน่ ชนูปถัมภ์ จ.แพร่ สพม.40 สพม.4012 นายไพรตั น์ ยงั ศิริ ปวั จ.นา่ น สพม.42 สพม.4213 นางขวัญฤทยั จนั ทรส์ ขุ สงู เม่นชนูปถมั ภ์ จ.แพร่ สพม.4214 น.ส.สายพาน ทับนิล ตากพิทยาคม จ.ตาก15 นายพรี พัฒน์ พรมพล ผดงุ ปัญญา จ.ตาก16 น.ส.มลั ลิกา ประเทศ วังเจา้ วทิ ยาคม จ.ตาก17 นางกาญจนา ประสาทศิลป์ ผดุงปญั ญา จ.ตาก18 นายสุวิทย์ ปานคะเชนทร์ ลบั แลพทิ ยาคม จ.อตุ รดติ ถ์19 นางดารารตั น์ มะอิ พทุ ธชินราชพทิ ยา จ.พิษณุโลก20 นายธานินทร์ จันทสงิ ห์ เมืองราดวิทยาคม จ.เพชรบรณ์21 นายสวุ ริ ชั พรมมาก หนองไผ่ จ.เพชรบูรณ์22 น.ส.วมิ ลรัตน์ กาญจนโพธิ์ วทิ ยานุกูลนารี จ.เพชรบูรณ์23 น.ส.ศริ ภิ รณ์ โทออ่ น บึงสามพันวิทยาคม จ.เพชรบูรณ์24 นางอัญชิษฐา ศรีเรืองพันธ์ บรรพตพิสัยพทิ ยาคม จ.นครสวรรค์25 น.ส.จันทนา มณรี ัตน์ ลานสักวิทยา จ.อทุ ยั ธานี26 นายพนา ทนะแสง กาญจนาภเิ ษกวิทยาลัย จ.อทุ ยั ธานี

89 ชื่อ-สกุล โรงเรียน สังกัด27 นางอารีลกั ษณ์ ปุ๊กนอ้ ย28 นายอสุ มาน อาศาสตร์ เทพสวุ รรณชาญวิทยา จ.สมทุ รสงคราม สพม.1029 นายชยั ชาญ สวุ รรณอาํ ภา30 น.ส.จตุรพร มาลารตั น์ กศุ ลวิทยา จ.สมทุ รสาคร สพม.1031 นางอรณุ ี พัฒนสมสทิ ธ์ิ32 นายวิเชยี ร พุม่ พวง สายนา้ํ ผ้งึ ในพระอปุ ถัมภ์ฯ สพม.233 นายปยิ ะ เทพกลาง34 นายภวู ณฐั ศิรโิ ภคกุล ราชวินติ บางเขน กรงุ เทพฯ สพม.235 นายณัฐพล บัวอไุ ร36 น.ส.วิจติ ตา อําไพจติ ต์ รัตนโกสินทรส์ มโภชลาดกระบงั สพม.237 นายณรงค์ศกั ดิ์ รัตนสวสั ดิ์38 นายพิทกั ษ์ สมาน ศรีพฤฒา กรงุ เทพฯ สพม.239 นายภุชงค์ จนั ทร์เปล่ง40 น.ส.พรทพิ ย์ เจริญวยั ปทมุ วไิ ล จ.ปทมุ ธานี สพม.441 นางจารณุ ี อนนั ตริยกลุ42 นางศภุ วรรณ ศรปี ระทุม ซบั น้อยเหนือวิทยาคม จ.สระบุรี สพม.443 นายสมพงษ์ พรมทองดี44 นางศศิวรรณ คมุ้ ฉายา เตรียมอุดมศกึ ษาพัฒนาการ ลําลกู กา สพม.445 นายสนั ตชิ ยั บญุ รักษ์46 น.ส.ญาณี เคหะจุ้ย วรราชาทนิ ัดดามาตวุ ทิ ยา จ.ปทุมธานี สพม.447 น.ส.สมมาศ โทนสูงเนิน48 นางศริ ิรตั น์ ปานสวุ รรณ บา้ นหม่ีวทิ ยา จ.ลพบุรี สพม.549 นายสรุ ศักดิ์ ทิพยพ์ ิมล50 นางจริ ายุ สวุ รรณา เบญจมราชรงั สฤษฎิ์ 2 จ.ฉะเชิงเทรา สพม.651 นายจิระวฒั น์ รตั นประทีป52 น.ส.รังรอง ดํารงวฒุ ิ นวมินทราชินทู ิศ เตรยี มอุดมศกึ ษาพัฒนาการ สพม.653 นางพัชรา พงศม์ านะวฒุ ิ54 น.ส.ลักขณาพร สมสุข ร่มเกลา้ ปราจนี บุรี สพม.755 น.ส.ฮาลมิ ะ เสมาทอง56 นายครรชิต แซโ่ ฮ่ ราชโบรกิ านุเคราะห์ จ.ราชบุรี สพม.8 ราชโบริกานุเคราะห์ จ.ราชบรุ ี สพม.8 ดา่ นช้างวิทยา จ.สุพรรณบุรี สพม.9 อู่ทอง จ.สุพรรณบุรี สพม.9 สงวนหญงิ จ.สุพรรณบรุ ี สพม.9 ตลง่ิ ชันวิทยา จ.สุพรรณบรุ ี สพม.9 บางเลนวทิ ยา จ.นครปฐม สพม.9 ตราดสรรเสริญวทิ ยาคม จ.ตราด สพม.17 สอาดเผดิมวทิ ยา จ.ชมุ พร สพม.11 เบญจมราชูทิศ จ.นครศรีธรรมราช สพม.12 สภาราชินี จ.ตรงั สพม.13 อา่ วลกึ ประชาสรรค์ จ.กระบี่ สพม.13 จุฬาภรณราชวทิ ยาลยั ตรัง จ.ตรงั สพม.13 เมืองกระบี่ จ.กระบี่ สพม.13 เดชะปัตตนยานุกลู จ.ปตั ตานี สพม.15 จันทร์ประภัสสรอ์ นุสรณ์ จ.ยะลา สพม.15

90 ชื่อ-สกุล โรงเรียน สังกดั57 นายวรปรชั ญ์ ลาวัณยว์ ิไลวงศ์ นราสกิ ขาลยั จ.นราธวิ าส สพม.1558 นายสันธิเวชช์ มงคลชัย ภูเรอื วทิ ยา จ.เลย สพม.1959 นายณรงคศ์ กั ด์ิ พรมวงั มัธยมวานรนิวาส จ.สกลนคร สพม.2360 นางรงุ่ ทิวา ปุณะตงุ บา้ นนาคูพฒั นาฯ จ.กาฬสินธุ์ สพม.2461 นายเจษฎา นาจันทอง ทา่ คันโทวิทยาคาร จ.กาฬสนิ ธ์ุ สพม.2462 นายปัฐฏพิ นธ์ นนทะโคตร ภเู วยี งวทิ ยาคม จ.ขอนแก่น สพม.2563 นายเชษฐกร ประชาโรจน์ อุบลรัตนพ์ ทิ ยาคม จ.ขอนแก่น สพม.2564 นายสวสั ดิ์ จันทร์ไตรรตั น์ สาวะถีพิทยาสรรพ์ จ.ขอนแก่น สพม.2565 นายเสกสรรค์ สวุ รรณสขุ ศรหี นองกาววิทยา จ.ขอนแก่น สพม.2566 น.ส.จริ าพร วรรตั น์ พงั ทุยพัฒนศึกษา จ.ขอนแก่น สพม.2567 นายเรอื งสทิ ธ์ิ นามกอง น้ําพองศกึ ษา จ.ขอนแก่น สพม.2568 น.ส.นันทนา สุวรรณปา ขอนแกน่ วิทยายน 3 จ.ขอนแกน่ สพม.2569 น.ส.รจเรข เหลาลาภะ โคกนางามพิทยาสรรพ์ จ.ขอนแกน่ สพม.2570 น.ส.สธุ ารตั น์ อนุกูลประเสริฐ นํ้าพองศึกษา จ.ขอนแก่น สพม.2571 นายวริ ฬุ ห์ พรมมากุล โนนแดงวทิ ยาคม จ.มหาสารคาม สพม.2672 นายววิ ศิ น์ ธนะจติ ตส์ นิ สตรีสิรเิ กศ จ.ศรสี ะเกษ สพม.2873 นายศตภิษัช ไกรษี กนั ทรารมณ์ จ.ศรีสะเกษ สพม.2874 นางนรรี ตั น์ นาครนิ ทร์ คาํ เขื่อนแกว้ ชนูปถัมถ์ จ.ยโสธร สพม.2875 นายกมล กันตวรพันธ์ ราชสีมาวิทยาลัย จ.นครราชสมี า สพม.3176 นายจิรกร ฐาวริ ตั น์ บา้ นเหลอ่ื มพทิ ยาสรรพ์ จ.นครราชสีมา สพม.3177 น.ส.อรณุ รตั น์ วญิ ญารมั ย์ ลาํ ปลายมาศ จ.บุรรี ัมย์ สพม.3278 นายเดชาธร พองาม เมืองโพธิ์ชัยพิทยาคม จ.บุรีรัมย์ สพม.3279 นายบรรลุ ช่อชู ภทั รบพิตร จ.บุรรี มั ย์ สพม.3280 นายกฤษดา จําปามูล บึงพะไล จ.นครราชสมี า สพม. 3181 น.ส.สพุ ชิ ฌาย์ ศรโี คตร ลาํ ปลายมาศ จ.บุรรี ัมย์ สพม. 3282 นางนาถฤดี แซต่ ัน สตรีระนอง จ.ระนอง สพม.1483 นางศศิธร เดชไทย ผาอินทรแ์ ปลงวิทยา จ.เลย สพม.1984 นส.วรณุ ี ทองแลง ผาอินทรแ์ ปลงวทิ ยา จ.เลย สพม.19

91สังกัดสาํ นกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาชื่อ-สกุล โรงเรียน สงั กัด1 นายเอก วิจันทร์ตา บา้ นทุ่งแก สพป.เชยี งใหม่ เขต 62 นายอธิพงษ์ ดาวเวียงกนั บ้านแม่หงานหลวง สพป.เชยี งใหม่ เขต 63 นายจิรพงษ์ คาํ ปวง บา้ นนอ้ ยห้วยรนิ วิทยา สพป.เชยี งใหม่ เขต 54 นายอลงกรณ์ อินทชัย บ้านพยุ สพป.เชยี งใหม่ เขต 55 นายณัฐกฤษฎ์ อนิ เตชะ บา้ นขุนแมร่ วม สพป.เชียงใหม่ เขต 66 นายพพิ ัฒน์ หมนื่ โฮ้ง เจดยี ห์ ลวงพทิ ยา สพป.เชยี งราย เขต 27 นายสทุ ธสิ นั ติ์ ลําพงษ์เหนอื บ้านโป่งแดง สพป.เชยี งราย เขต 28 นายจิราวฒุ ิ เกตน่ิม บ้านรกั แผน่ ดิน สพป.เชยี งราย เขต 49 นายวทิ วสั เจริญศรีพร ทองสวสั ดิ์วิทยาคาร สพป.แมฮ่ ่องสอน เขต 210 น.ส.ดวงดาว เดชเสน ราชานุบาล จ.นา่ น สพป.นา่ น เขต 111 น.ส.วรางคณา พรมเทพ บา้ นท่ามงคล สพป.น่าน เขต 112 นางพิรุณพร อินถา บ้านหวั เมอื ง สพป.นา่ น เขต 113 นายเกรียงไกร มาตรมลู บา้ นค่า สพป.พะเยา เขต 114 น.ส.สุพรรณ สรุ ยิ ะ บา้ นแม่กา สพป.พะเยา เขต 115 นายประสิทธิ์ ชูศรีงาม ชุมชนบา้ นห้วยง้วิ สพป.พะเยา เขต 216 นายเกรยี งศกั ดิ์ สนิ เปยี ง อนบุ าลเชียงคาํ (วัดพระธาตุสบแวน) สพป.พะเยา เขต 217 นายอรรถพล ดบี ุญมี ณ ชมุ แพ บ้านระวงิ สพป.เพชรบรู ณ์ เขต 118 นายธนภณ ธนชัยกรกุล บ้านยางหัวลม สพป.เพชรบรู ณ์ เขต 119 นางกญั จนา มศี ิริ ชมุ ชนบ้านโภชน์ สพป.เพชรบูรณ์ เขต 320 นายวเิ ชียร ไชยบุญทา บา้ นย่านยาว (ยา่ นยาวประชาสรรค)์ สพป.แพร่ เขต 121 นายดลี าภ ปราบสงบ บา้ นหว้ ยโรงนอก สพป.แพร่ เขต 122 นายวรรณะ เพ็ชรจักร สามัคควี ทิ ยา สพป.อุตรดติ ถ์ เขต 123 นายกวชี ัย ป่นิ นาค บ้านแพะ สพป.อุตรดติ ถ์ เขต 124 นายสรุ ินทร์ เนยี มแก้ว วัดวังหมู (นมิ มานโกวิท) สพป.อุตรดิตถ์ เขต 125 นายพินิจ คล้ายอน้ บา้ นวังเตย สพป.อุทัยธานี เขต 126 ว่าที่ ร.ต.สรุ เชษฐ์ ดวงทพิ ย์ ชมุ ชนบา้ นโป่ง สพป.เชยี งใหม่ 227 นายวรทัศน์ เพชรไชย วดั สวนทองรวมมิตร สพป. สระบรุ ี เขต 228 นายประวิทย์ คาํ พ่มุ บา้ นหนองผกั หนอก สพป. สระบรุ ี เขต 229 นายสหสั พรหมเกษ บ้านลาํ พระ สพป. ราชบรุ ี เขต 1

92 ชื่อ-สกุล โรงเรียน สังกัด30 นายชาณัตถ์ รุง่ รัตน์31 นางศภุ วรรณ ทักษิณ ชมุ ชนวดั จงโก มติ รภาพที่ 157 สพป.ลพบุรี เขต 232 นายอาํ นาจ กลน่ั เขน33 วา่ ท่ี ร.ต.ธนารกั ษ์ ชาญชัยสทิ ธิ์ เขาดนิ วทิ ยาคาร สพป.กาญจนบุรี เขต 134 นายคงปกรณ์ แสงมาศ35 นางประไพ บญุ ยานเุ คราะห์ บ้านหนองนกแก้ว สพป.กาญจนบรุ ี เขต 436 นางสกุ ัญญา การมงคล37 นายกฤษฎพ์ ลัฏฐ์ มศี รี บา้ นบอ่ ระแหง สพป.กาญจนบุรี เขต 238 นายทวีศักดิ์ ภชู่ ัย39 นางลดั ดา จันทร์ศรี บา้ นทงุ่ สา่ ย สพป.ฉะเชงิ เทรา เขต 240 ว่าทร่ี .ต.สเุ มธ เคลอื บสุวรรณ41 นายพยนต์ ชาญเช่ียว บา้ นหนองหว้า(ถนอมราษฎร์บํารงุ ) สพป.ฉะเชงิ เทรา เขต 242 นายดสุ ติ เหลา่ พร43 นายสกุ ิจ สุภาพงศ์ บ้านเนินพลับหวาน สพป.ชลบรุ ี เขต 344 นางนภกญั ศรอี ่อนหลา้45 นายศรี ศรอี มรศาสน์ วัดกงลาด สพป.นครปฐม เขต 146 นางมลิวลั ย์ บรริ ัตนะวงศ์47 น.ส.วรรณา น่มิ นวล อนุราชประสทิ ธ์ิ สพป.นนทบรุ ี เขต 148 นางทัศนีย์ ไชยเจริญ49 นายเกษมศักดิ์ นพรัตน์ บ้านโคกพนมดี สพป.ปราจีนบุรี เขต 150 นางนรู ีต้า ยามา51 นายเกรยี งศักด์ิ ทองเป็นเพ็ชร บ้านพพุ ลู สพป.เพชรบรุ ี เขต 152 นายพินิจ สธุ าประดิษฐ์53 นางเตือนใจ เหล่าสวุ รรณ อนุบาลระยอง สพป.ระยอง เขต 154 นางสุพตั รา ศรีเทย่ี งตรง55 นางวรวกิ า เรืองพงษส์ าร บา้ นท่าลาํ บิด สพป.ระยอง เขต 256 น.ส.กนกธร พรเสถยี รพงศ์57 นายพริ ุณ พงึ่ พานิช วดั เขาส้ม สพป.ราชบรุ ี เขต 258 น.ส.จริยา ทะเลลกึ59 น.ส.จารุณี จัตตพุ งศ์ วัดจนั ทาราม (ตั้งตรงจติ ร5) สพป.ราชบุรี เขต 2 กองบินโคกกะเทียม สพป.ลพบรุ ี เขต 1 อินทรมั พรรยอ์ นสุ รณ์ สพป.สมทุ รปราการ เขต 1 บา้ นบางปิง้ สพป.สมุทรสาคร วดั พวงนมิ ิต สพป.สระแก้ว เขต 1 อพป.คลองนํ้าใส สพป.สระแก้ว เขต 2 บา้ นไทรงาม สพป.ยะลา เขต 1 บ้านบอื มงั สพป.ยะลา เขต 1 วดั ท้ายยอ สพป.สงขลา เขต 1 บ้านกลาง สพป.สงขลา เขต 1 อนบุ าลปราณบรุ ี (บ้านเมืองเก่า) สพป.ประจวบคีรีขนั ธ์ เขต 2 บา้ นทา่ ไมล้ าย สพป.ชมุ พร เขต 1 บ้านเขายาวราษฎรพ์ ัฒนา สพป.ชมุ พร เขต 1 บา้ นควนปริง สพป.ตรงั เขต 1 บา้ นเกาะมุกด์ สพป.ตรงั เขต 2 บา้ นอายเลา สพป.นครศรีธรรมราช เขต 3

93 ชื่อ-สกุล โรงเรยี น สังกดั60 นายพนัส ภริ มยร์ ักษ์ บา้ นทงุ่ โชน สพป.นครศรธี รรมราช เขต 361 นายมานิตย์ พิมพศิ าล บา้ นในถุ้ง สพป.นครศรีธรรมราช เขต 462 นางกาญจนยี ์ ทวีมนูญ บา้ นสะแนะ สพป.นราธิวาส เขต 163 นายจาการียา เปาะเตะเตะ ชุมชนสมั พันธ์บ้านลาโละ สพป.นราธวิ าส เขต 164 น.ส.จุฬาวรรณ์ บวั หลวง บ้านบน สพป.ปตั ตานี เขต 365 นายมูฮัมหมัดอัรซาด ลือแบซา ชมุ ชนบา้ นต้นสน สพป.ปตั ตานี เขต 266 น.ส.ดวงพร ศรีวิชติ บ้านท่งุ เจดยี ์ สพป.พงั งา67 นางศริ ิวรรณ บุญศิริ วดั ทุง่ ขงึ หนัง สพป.พัทลงุ เขต 168 นางจรวยพร สมหวงั เกาะสเิ หร่ สพป.ภเู กต็69 น.ส.ศภุ มาศ คงคาชว่ ย บ้านโพหวาย สพป.สุราษฎร์ธานี เขต 170 นายสนอง บุดดา บา้ นไพรพฒั นา สพป.ศรสี ะเกษ เขต 371 น.ส.ศริ ประภา แซงรัมย์ บา้ นละลม สพป.นครราชสมี า เขต 272 นายคมกริช ไชยทองศรี บา้ นคอ้ สพป.มุกดาหาร73 นายสมโภชน์ สวุ รรณ์ บ้านกันทรารมย์ สพป.ศรีสะเกษ เขต 374 นางรัศมีแข แสนมาโนช บ้านชาด สพป.กาฬสนิ ธุ์ เขต 375 จ.ส.อ.ปราโมทย์ ศิรพิ นั ธุ์ บ้านนาคู สพป.กาฬสินธ์ุ เขต 376 นายสรุ พล นาคู บ้านนาคู สพป.กาฬสินธุ์ เขต 377 นายชยั วฒั น์ กงชยั ภูมิ ชุมชนบา้ นวังเพิ่ม สพป.ขอนแก่น เขต 578 นายประยุทธ์ หงษ์สามารถ บา้ นสัมพนั ธ์ สพป.ขอนแกน่ เขต 579 นางกรรณิการ์ หลา้ ธรรม บ้านหนองแวงตอตัง้ สพป.ขอนแก่น เขต 380 นายทรงกลด หิรญั เกิด บา้ นแก้ง – โนนสม้ กบ สพป.ชยั ภมู ิ เขต 281 นางนวลจันทร์ ตระกูลวาง บ้านนาหว้า สพป.นครพนม เขต 282 นางแวววลี สิริวรจรรยาดี เสนศริ อิ นุสรณ์ สพป.บรุ รี มั ย์ เขต 183 นายนิสิต ประเสริฐศรี อนบุ าลห้วยราช สพป.บุรีรัมย์ เขต 284 นางรชนก ส่องแสง อนุบาลลุมพุก (วันครู 2503) สพป.ยโสธร เขต 185 นายกติ ติพงษ์ ส้ินภัย บ้านกันโทรกประชาสรรค์ สพป.ศรสี ะเกษ เขต 386 นายณฒวรรตน์ จนั ทรน์ าม บา้ นโนนน้าํ อ้อม สพป.ศรีสะเกษ เขต 487 นายบัวลอน คาํ ศรี บ้านหนองบวั ใหญ่ สพป.ศรีสะเกษ เขต 488 นางพนาวรรณ อนิ ธแิ สง บา้ นนาจาน สพป.สกลนคร เขต 189 นางอรณุ ี แกว้ ประเสริฐ บา้ นวานรนิวาส (ราษฎรบ์ ํารงุ ) สพป.สกลนคร เขต 3

94 โรงเรยี น สังกัด บ้านอินทรแ์ ปลง สพป.สกลนคร เขต 3 ชื่อ-สกุล เมืองอํานาจเจริญ สพป.อํานาจเจริญ90 นายสบื ศักด์ิ สวัสด์ิ บา้ นกันเตรียง สพป.สรุ ินทร์ เขต 191 นายอัมพร เจรญิ วงศ์ บ้านห้วยปลาโดศรีสามารถ สพป.อุดรธานเี ขต 392 นายลิขติ เพ็งประสทิ ธพิ งศ์ บา้ นขามเปีย้ สพป.อุบลราชธานี เขต 293 น.ส.นิตดาพร แสนรินทร์ บ้านนํ้าขนุ่ สพป.อุบลราชธานี เขต 594 น.ส.ดรุณี ทุมมากรณ์ อนุบาลมกุ ดาหาร สพป.มุกดาหาร เขต 195 นายพรชัย นําระนะ อนบุ าลชมุ พร สพป.ชมุ พร เขต 196 นายประสทิ ธ์ิ คลังบญุ ครอง97 นางพัชรา พูลแกว้

95ภาคผนวก ฉภาพประกอบ

96 คณะทาํ งาน

97คณะทํางาน

98 การอบรมการจดั ทําสื่อการเรยี นรอู้ อนไลน์ผา่ นเครอื ข่ายอินเทอร์เนต็ ระหวา่ งวันที่ 10 – 17 มิถุนายน 2554 ณ โรงแรมแม็กซ์ พระรามเก้า กทม. -------------------------------- รองเลขาฯ นายกมล รอดคล้าย ใหเ้ กยี รตเิ ปน็ ประธาน เปิดการอบรมและบรรยายพิเศษ นายเอนก รตั นป์ ยิ ะภาภรณ์ กล่าวรายงาน ตอ่ รองเลขาธกิ าร กพฐ. ทา่ นรองเลขาฯ นายกมล รอดคลา้ ย ใหส้ ัมภาษณเ์ กย่ี วกับโครงการฯ

99คณะทํางานประชุมวางแผนและเตรยี มงาน

100 บรรยากาศการลงทะเบียนของผู้เข้ารับการอบรมกิจกรรมกลุ่มสมั พันธ์และนันทนาการ กจิ กรรมกลุ่มสัมพันธ์และนนั ทนาการ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook