Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อาณาจักรพืช

อาณาจักรพืช

Published by BIOLOGY M.4, 2020-06-21 02:20:29

Description: อาณาจักรพืช

Search

Read the Text Version

ชดุ การสอนเร่อื ง อาณาจักรพชื (kingdom Plantae) Page | 1 ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ รายวิชาชีววิทยาเพ่ิมเติม รหสั วิชา ว 33242 ชน้ั มธั ยมศึกษาปี ที่ 6 โดย นางสาววาสนา ดวงใจ,นางสาวเกษณี พนั ธจ์ นั ทร์ โรงเรยี นศีขรภมู ิพิสยั สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 33

ชดุ การสอนเรื่อง อาณาจักรพืช (kingdom Plantae) Page | 2 มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว1.2 เข้าใจกระบวนการและความสาคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม วิวัฒนาการของส่ิงมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ การใช้เทคโนโลยีชีวภาพที่มี ผลกระทบต่อมนุษย์และ สิ่งแวดล้อม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสาร ส่ิงท่ีเรียนรู้ และนาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ มาตรฐาน ว8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้การ แกป้ ญั หารูว้ า่ ปรากฏการณท์ างธรรมชาตทิ ีเ่ กดิ ข้ึนส่วนใหญ่มีรูปแบบท่แี นน่ อนสามารถ อธิบายและตรวจสอบไดภ้ ายใต้ข้อมลู และเคร่ืองมอื ทมี่ อี ยู่ในช่วงเวลานนั้ ๆเข้าใจวา่ วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิง่ แวดลอ้ มมีความเกีย่ วข้องสัมพนั ธ์กนั ผลการเรยี นรู้ 1. สืบค้นข้อมูล ทดลอง อภิปราย อธิบายและสรุปเกณฑ์ที่ใช้ในการจัดจาแนกส่ิงมีชีวิตออกเป็น โดเมนและอาณาจักร ลักษณะท่ีเหมือนและแตกต่างกันของส่ิงมีชีวิตในอาณาจักรมอเนอรา อาณาจักรโพรทิส ตา อาณาจักรพืช อาณาจกั รฟังไจ และอาณาจักรสตั ว์ 2. สืบค้นข้อมูล อภิปราย อธิบาย และนาเสนอคุณค่าของความหลากหลายทางชวี ภาพกับการใช้ ประโยชนข์ องมนุษยท์ ่มี ผี ลต่อสงั คมและสงิ่ แวดลอ้ มในชมุ ชนท้องถิ่น จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. นกั เรียนอภปิ ราย อธิบายลกั ษณะของสิ่งมีชีวติ ในอาณาจกั รพืช 2. อธิบายการจัดหมวดหมขู่ องพืชได้ 3. นักเรียนสืบค้นข้อมูล และนาเสนอคุณค่าของความหลากหลายของส่ิงมีชีวิตในอาณาจักรต่างๆ กบั การใช้ประโยชนข์ องมนุษยท์ ม่ี ีต่อสงั คมและสิง่ แวดล้อม

ชุดการสอนเรอ่ื ง อาณาจักรพชื (kingdom Plantae) Page | 3 สาระสาคัญ อาณาจักรพืช เป็นสิ่งมีชีวิตแบบเซลล์ยูคาริโอต มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส มีออร์แกเนลท่ีมีเย่ือหุ้ม มีคลอโรพลาสต์ มีผนังเซลล์ให้ความแข็งแรง มีระยะตวั ออ่ น เป็นผ้ผู ลติ สาคัญของโลก สาระการเรียนรู้ 1. ดา้ นความรู้ 1.1 อาณาจกั รพืช 2. ด้านกระบวนการ 2.1 อภิปราย อธิบาย และสรุปลักษณะของส่ิงมีชีวิตในอาณาจักมอเนอรา อาณาจักร โพรทสิ ตา อาณาจักรพืช อาณาจกั รฟังไจ และอาณาจกั รสัตว์ 3. คณุ ลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์ 3.1 มวี นิ ัย 3.2 ใฝ่เรยี นรู้ 3.3 มงุ่ มน่ั ในการทางาน 3.4 มจี ิตสาธารณะ 4. สมรรถนะท่ีสาคญั ของผูเ้ รียน 4.1 ความสามารถในการสอื่ สาร 4.2 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

ชุดการสอนเร่ือง อาณาจักรพืช (kingdom Plantae) Page | 4 แบบทดสอบกอ่ นเรียน คาช้ีแจง 1. แบบทดสอบแบบปรนัย 4 ตวั เลือก มจี านวนทัง้ หมด 5 ข้อ คะแนนเต็ม 5 คะแนน 2. ใหน้ กั เรียนทาเคร่อื งหมายกากบาท (X) ลงในช่องตวั เลอื กทถ่ี ูกตอ้ งท่ีสุด 1. ส่งิ ในชวี ติ ท่จี ะจดั ไวใ้ นอาณาจกั รพชื (Kingdom Plantac) ต้องมลี กั ษณะสาคัญเดน่ ชดั ในข้อใด ก.มหี ลายเซลล์ (multicellular) และมีคลอโรพลาสต์ ข.มผี นงั เซลล์ มคี ลอโรพลาสต์ และมีวงจรชวี ิตแบบสลับ (alteration of generation) ค.มีระยะต้นอ่อน มีคลอโรพลาสต์และมีวงจรชวี ิตแบบสลับ ง.มีเนอ้ื เย่อื มรี ะยะตัวออ่ น มีการสืบพนั ธุแ์ บบใช้เพศ สลับกบั แบบไมใ่ ช้เพศ 2. ถ้าพจิ ารณาเฉพาะสิ่งมีชีวติ ในอาณาจักรพชื ลกั ษณะใดที่พบเฉพาะในมอสและลิเวอรเ์ วร์ต ก.สร้างสปอร์ภายในอับสปอร์ ข.มไี รซอยด์ทาหนา้ ทคี่ ลา้ ยราก ค.แกมีโฟต์เป็นช่วงชีวิตทเี่ ด่น ง.อาศัยน้าเป็นตัวกลางในการปฏสิ นธิ 3. ปจั จัยใดทีท่ าใหพ้ ืช มอส และลเิ วอร์เวิรต์ มีขนาดเล็กและมักข้ึนในท่ีชมุ ชนื้ ก.แสงสว่าง ข.การคายนา้ ค.ความแหง้ แล้ง ง.ระบบลาเลียง 4. ข้อใดเรียงลาดบั พชื ตามหมวดหมู่(อนกุ รมวธิ าน) จากตา่ ไปสูงได้อยา่ งถูกต้อง ก.มอส ชอ้ งนางคล่ี ผักแว่น สนญปี่ ่นุ หญ้าแพรก ข.ลิเวอรเ์ วิรต์ หญ้ารงั ไก่ ปรง กูดเก๊ียะ สนญ่ีปนุ่ ค.มอส หวายทะนอย สนทะเล ปแก๊วย หญ้าขจรขบ ง.ลเิ วอร์เวิรต์ เฟินใบมะขาม สนปฏิพทั ธ์ิ สนสองใบ หญา้ ถอดปลอ้ ง 5. พืชใดอยู่ในกลุ่มไม้ดอกทัง้ หมด ก. สรอ้ ยสุกรม บอน แหน ผกั แวน่ ข.สาหรา่ ยหางกระรอก สาหร่ายข้าวเหนียว จอก ตะไคร้ ค.สร้อยสีดา ชายผ้าสีดา กระเข้าสดี า พลู ง.หญ้ารังไก่ หญ้าถอดปลอ้ ง หญ้าแพรก หญ้านกสีชมพู กระดาษคาตอบ ขอ้ ก ข ค ง 1 คะแนนที่ได้ 2 ลงช่ือผตู้ รวจ 3 4 5

ชดุ การสอนเรอ่ื ง อาณาจักรพชื (kingdom Plantae) บัตรเนือ้ หา Page | 5 อาณาจักรพืช (Kingdom Plantae) สิง่ มีชีวิตในอาณาจักรพืชมหี นา้ ทส่ี าคัญต่อระบบนิเวศคอื การทาหนา้ ทีเ่ ปน็ ผู้ผลติ ให้กับสายใย อาหาร เนอื่ งจากพชื สามารถนาสารอนนิ ทรียท์ ีม่ ีอยใู่ นส่ิงแวดลอ้ มมาใช้ในการสร้างอาหารพวกคารโ์ บไฮเดรต เช่น แปง้ และน้าตาล ใหก้ บั ส่งิ มชี วี ติ ชนดิ อื่นทีไ่ ม่สามารถสร้างอาหารเองได้ นอกจากคารโ์ บไฮเดรตส่ิงที่ ได้จากกระบวนการสังเคราะห์อาหารด้วยแสงของพืชยงั มีแกสออกซิเจน ซงึ่ เปน็ กส๊ ที่ส่งิ มชี ีวิตส่วนใหญ่ในโลก นี้จาเป็นต้องใช้ในกระบวนการหายใจ และพชื ใช้แก๊สคาร์บอนไดออกไซดเ์ ป็นวัตถุดบิ ในการสร้างอาหารพืชจงึ มีบทบาทในการช่วยรักษาอณุ หภูมิโลกส่วนหนง่ึ ดังมีรายงานยนื ยนั ว่าป่าในเขต Tropic มีสว่ นช่วยในการ ลดความร้อนของโลก (อย่างไรกต็ ามเนอ่ื งจาก Scientific uncertainty ข้อมูลดงั กลา่ วมีข้อเสนอทแ่ี ตกต่าง ออกไปด้วยคอื มีรายงานบางฉบบั ระบวุ ่าป่านอกเขต Tropic เป็นตัวกักเกบ็ ความรอ้ นไว้ (ทมี่ าขอ้ มลู : www.llnl.gov/pao/news/news_releases/2006/NR-06-12-02.html)) ภาพท่ี 1 ป่าไม้มผี ลตอ่ อณุ หภูมขิ องโลก (ท่มี าภาพ : http://www.commondreams.org/archive/wp-content/photos/0410_07.jpg) พืชเป็นส่ิงมีชีวิตหลายเซลล์ท่ีประกอบขึ้นจากเซลล์แบบยูคาริโอติก แต่พืชต่างจากสัตว์ท่ีพืช น้ันมีผนังเซลล์ และพืชนั้นแตกต่างจากเห็ดราเพราะองค์ประกอบของผนังเซลล์เป็นสารพวกเซลลูโลสเป็น ส่วนใหญ่ พืชสามารถแปรเปลี่ยนพลังงานจากแสงให้เก็บไว้ในรูปของพลังงานเคมีโดยอาศัยรงควัตถุต่าง ๆ (ดงั ตารางด้านล่าง) พชื มคี ลอโรพลาสตท์ ี่บรรจุคลอโรฟิลล์ เอ บี แคโรทีนอยด์ ด้วยลักษณะเหล่าน้ีทาให้ เชอ่ื วา่ พชื นนั้ มีวิวฒั นาการจากสาหร่ายสเี ขียว

ชุดการสอนเรอ่ื ง อาณาจักรพชื (kingdom Plantae) Page | 6 Taxonomic Group Photosynthetic Pigments Cyanobacteria chlorophyll a, chlorphyll c, phycocyanin, Chloroxybacteria phycoerythrin Green Algae (Chlorophyta) Red Algae (Rhodophyta) chlorophyll a, chlorphyll b Brown Algae (Phaeophyta) chlorophyll a, chlorphyll b, carotenoids Golden-brown Algae (Chrysophyta) chlorophyll a, phycocyanin, phycoerythrin, phycobilins Dinoflagellates (Pyrrhophyta) chlorophyll a, chlorphyll c, fucoxanthin and other Vascular Plants carotenoids chlorophyll a, chlorphyll c, fucoxanthin and other carotenoids chlorophyll a, chlorphyll c, peridinin and other carotenoids chlorophyll a, chlorphyll b, carotenoids พืชมีวงชีวิตแบบสลับ (Alternation of generation) ระหว่างระยะแกมีโตไฟต์ และระยะส ปอโรไฟต์พืชสามารถสืบพันธุ์ได้ทั้งแบบอาศัยเพศและไม่อาศัยเพศ หากสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศจะสามารถพบ ระยะตัวอ่อน (Embryo) ได้ด้วย เน้ือเยื่อของพืชมีลักษณะพิเศษคือ สามารถทาให้เกิด dedifferentiate ได้ ดังนั้นเน้ือเย่ือของพืชท่ีถูกพัฒนาไปทาหน้าที่เฉพาะอย่างแล้ว มนุษย์เราสามารถทาให้เนื้อเยื่อน้ันลืมหน้าที่ และกลับมาประพฤติตนเป็นเสมือน Stem cell อีกคร้ังหนึ่งได้ และทาให้เทคโนโลยีเพาะเล้ียงเน้ือเยื่อพืช เจริญกา้ วหน้าต่อมา และอาจกล่าวไดว้ า่ เปน็ จดุ เรม่ิ ต้นของเทคโนโลยกี ารโคลน ภาพที่ 2 วงชีวติ แบบสลบั (ทม่ี าภาพ : http://www.cartage.org.lb/en/themes/sciences/BotanicalSciences/ ClassificationPlants/Cryptogamia/Bryophyta/NonvascularPlants/lifecycle.gif)

ชุดการสอนเร่ือง อาณาจักรพืช (kingdom Plantae) Page | 7 ภาพท่ี 3 ววิ ัฒนาการของพืช (ที่มาภาพ : http://www.cartage.org.lb/en/themes/sciences/BotanicalSciences/ ClassificationPlants/Cryptogamia/Bryophyta/NonvascularPlants/NonvascularPlants.htm) ภาพท่ี 4 การเพาะเลี้ยงเนือ้ เยื่อ (ทีม่ าภาพ : http://fig.cox.miami.edu/~cmallery/150/devel/c7.21.5.carrot.jpg) พชื มกี ารตอบสนองต่อสิ่งเร้าได้หลายอย่างเช่น ตอบสนองต่อแสงซึ่งมีตวั รบั รู้แสงที่สาคญั ที่สุด คอื ไฟโทโครม (Phytochrome) การรับรู้แสงกระตุ้นให้พลาสติดเปลี่ยนแปลงไปเป็นคลอโรพลาสต์ และมี คลอโรฟิลล์เพ่ิมขน้ึ และยังมีผลต่อการเจรญิ เติบโตของพืชดว้ ย นอกจากนั้นพืชยังมีการตอบสนองต่อน้า ทั้ง นา้ ท่ีแทรกตวั อยใู่ นดนิ หรือน้าที่เป็นไอรอบต้น ปากใบของพืชมกี ารตอบสนองโดยตรงกับความชื้นในอากาศ

ชดุ การสอนเรอ่ื ง อาณาจักรพชื (kingdom Plantae) หากมีความชื้นในอากาศมากปากใบจะปิด และส่วนรากของพืชจะมีการตอบสนองต่อน้าในดินโดยจะยื่นรากPage | 8 เข้าหาแหล่งน้า เช่นเดียวกับท่ีปลายยอดของพืชจะโค้งเข้าหาแสง นอกจากนั้นยังพบว่าพืชมีการตอบสนองต่อ สารเคมี และแรงโน้มถ่วงด้วย แม้การตอบสนองของพืชส่วนใหญ่แล้วจะเกิดขึ้นแบบสังเกตเห็นได้ไม่ง่ายนัก แต่พืชบางชนิดนั้นมีการตอบสนองอย่างฉับไวเช่น แรงสะเทือนท่ีทาให้ใบไมยราพหุบ การหุบปิดส่วนฝาของ ใบท่ีเปล่ียนไปทาหน้าที่ดักแมลงของต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิง หรือ Carnivorous plant อื่น ๆ การแตกตัว ของฝกั ต้อยติ่งเมื่อโดนา้ การตอบสนองของพืชสว่ นใหญ่จะอาศัยสารเคมีพวกฮอร์โมนพืช นอกจากนัน้ พืชบาง ชนิดยังสามารถติดต่อสื่อสารกันได้ผ่าน “สารเคมี” มีรายงานจากแอฟริการะบุว่าหากยีราฟกินต้น Acacia มาก ๆ ต้น Acacia จะสร้างสารเคมีปล่อยไปตามอากาศเพ่ือกระตุ้นให้ Acacia ต้นอ่ืน ๆ ในบริเวณ ข้างเคียงเร่งสาร Tannin สะสมไว้ให้ตัวเองมีรสชาติที่ขมแบบท่ียีราฟไม่ชอบ รวมถึงพืชบางชนิดสามารถหล่ัง สารเคมีจากปลายราก ส่งผลให้พืชชนิดอ่ืนไม่สามารถเจริญในบริเวณใกล้เคียงได้ และพืชยังสามารถติดต่อ กับส่ิงมีชีวิตอ่ืนได้ด้วย สารเคมีท่ีพืชสร้างบริเวณโคนดอกเป็นหน่ึงในกลไกท่ีพัฒนาข้ึนมาเพื่อให้แมลงบาง ชนิดเข้ามา และช่วยในการแพร่กระจายพันธ์ุของพืช พืชหลายชนิดจึงมีกลิ่นท่ีแตกต่างกันไปเพ่ือเรียกแมลงที่ ตัวเองต้องการ ภาพที่ 5 การเปลีย่ นแปลงจาก Proplastid ไปเปน็ Chloroplast (ที่มาภาพ : http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/archive/f/fe/20070124120759 !Development_of_Chloroplast.png) ภาพท่ี 6 การตอบสนองต่อแสงของพืช (ที่มาภาพ : http://www.emc.maricopa.edu/faculty/farabee/BIOBK/phototrop_1.gif http://www.ngfl-cymru.org.uk/vtc/ngfl/science/107/LP-green_plants.html) Inquiry Question : ถา้ ปลูกตน้ ถ่วั ไวต้ รงกลางระหวา่ งแสงสแี ดง (ซา้ ย) และแสงสีน้าเงิน (ขวา) ปลายยอดของพชื นั้น จะมที ิศทางการเจริญเป็นอยา่ งไร

ชุดการสอนเรอื่ ง อาณาจักรพชื (kingdom Plantae) การจัดจาแน กพืชนั้ น มีด้วยกัน หลายแบบ จากหลายกลุ่มที่ทาการศึกษา ในยุคของPage | 9 Whittacker (1986) ได้แบ่งพืชออกเป็น 3 กลุ่มคือ สาหร่ายหลายเซลล์ (Multicellular algae) ไบรโอไฟท์ (Bryophyte) และเทรคีโอไฟต์ (Tracheophyte) และต่อมาเม่ือมีการนาความรู้ด้านชีววิทยา โมเลกุลมาช่วยในการจัดกลุ่มก็มีการเปลี่ยนแปลงไปไปอีก และมีรูปแบบการจัดที่หลากหลายมากมายมีการ เปลี่ยนแปลงช่ือวิทยาศาสตร์ต้ังแต่ระดับ Division ไปจนถึงระดับ Species หากแบ่งรูปแบบการจัดจาแนก พืชจากอดตี ถงึ ปัจจุบันอาจแบง่ ไดเ้ ปน็ 5 ยุคคอื ยคุ ท่ี 1 ยุคโบราณ (Period of the Ancients ก่อนคริสตศ์ ักราช 300 ปี ค.ศ.1500) การจัดจาแนกพืชในยุคน้ีมีการจาแนกพืชโดยใช้รูปร่าง (Form) ลักษณะนิสัย (Habit) และขนาด (Size) หรือการใช้ประโยชน์ของพืชเป็นหลัก นักพฤกษศาสตร์ท่ีสาคัญในยุคนี้คือ Theophrastus ซ่ึงได้ช้ีให้เห็นถึง ความแตกต่างของพืชมีดอกกับพืชไม่มีดอก พืชมีเพศผลเจริญมาจากรังไข่ และจัดพวกไม้ยืนต้นเป็นพวกที่มี ความเจรญิ สูงสุด ยุค ท่ี 2 ยุค นั กส มุน ไพ ร (Period of the Herbalists ค.ศ.1500-1580) ใน ยุค นี้ มีนั ก พฤกษศาสตร์ที่ศึกษาพืชสมุนไพรและการจัดจาแนกพืชออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มพืชมีดอก (Perfecti) และกลุ่มพืชท่ีไมม่ ีการสร้างดอก (Imperfecti) และแบ่งกลุ่มพืชตามลักษณะภายนอกที่เห็นคือ ไม้ยืนต้นและ ไมพ้ ุ่ม และไม้เนอ้ื ออ่ น ยุคท่ี 3 ยุคท่ีมีการจัดจาแนกพืชโดยเลือกลักษณะสาคัญบางอย่างของพืชขึ้นมาเป็นหลัก (Period of Mechanical Systems ค.ศ.1580-1760) ยุคนี้นาเอาลักษณะของอวัยวะที่สาคัญของพืชมาใช้เป็นหลักใน การจาแนกเช่น ลักษณะของเกสรตัวผู้และตัวเมีย นักพฤกษศาสตร์ที่สาคัญในยุกต์น้ีคือ (Carolus Linnaeus) ซ่ึงได้จัดจาแนกพชื เป็นหมวดหมโู่ ดยใช้จานวนเกสรตวั ผู้ของพืชเป็นหลัก และมีการตีพมิ พ์กฎเกณฑ์ การตั้งช่ือ ระบบการจัดจาแนกพืชของ Linnaeus ได้รับความนิยมมากในสมัยนั้นแต่ต่อมามีระบบใหม่ท่ี เหมาะสมกว่าเกิดขนึ้ และนิยมใชม้ ากกวา่ ยุคที่ 4 ยุคที่มีการจาแนกโดยยึดหลักใกล้เคียงกับธรรมชาติมากที่สุด (Period of Natural System ค.ศ.1760-1880) ในยุคนี้มีแนวคิดว่า ธรรมชาติสามารถอยู่คงท่ี จึงสามารถยึดหรือนาเอาลักษณะ สาคัญของสิ่งมีชีวิตมาเป็นหลักในการจาแนก ท้ังลักษณะโครงสร้าง สัณฐานของอวัยวะแทบทุกส่วนของพืช มาใช้ประกอบ และยังคานึงถึงความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มท่ีมีสายพันธุ์ใกล้ชิด และใช้ลักษณะของดอกมาเป็น หลกั ในการแบ่งแยกกลุ่มพืชมากท่ีสุด ยุคท่ี 5 ยุคท่ีมีการจัดจาแนกตามแนวคิดของประวัติวิวัฒนาการจนถึงปัจจุบัน (Period of Phylogenic System ค.ศ.1880-ปัจจบุ ัน) Arthur Cronquist (1966) ได้มีการศึกษาและจาแนกพืชตามดิวิชั่น โดยใช้รากฐานมาจาก โครงสร้างประวัติวิวัฒนาการ โดยใช้ศาสตร์หลายแขนงมารวมกัน โดยแบ่งอาณาจักรพืชออกเป็น 2 Sub- kingdom ดังนี้ 1. Subkingdom Thallobionta ได้แก่แบคทเี รีย สาหรา่ ยสีเขยี วแกมน้าเงนิ สาหรา่ ยและเห็ด รา 2. Subkingdom Embryobionta ได้แก่ อาณาจักรพชื (Plantae) ซง่ึ แบ่งเป็น Division ดังนี้ 2.1 Division ของพื ชท่ี ไม่มีเนื้ อเย่ือล าเลี ยง (Nonvascular plants) ได้ แก่ Division Bryophyta (มอส) Hepatophyta (ลิเวอรเ์ วอรท์ ) Anthocerotophyta (ฮอรน์ เวอร์ท) 2.2 Division ของพืชท่ีมีเนื้อเย่ือลาเลียงแต่ไม่มีเมล็ด (Vascular plants without seeds) ได้แก่ Division Psilotophyta Lycophyta Equisetophyta Pteridophyta 2.3 Division ของพืชที่มีเนื้อเย่ือลาเลียง มีเมล็ด แต่ไม่มีดอก (Gymnosperms) ได้แก่ Division Coniferophyta Cycadophyta Ginkgophyta Gnetophyta

ชดุ การสอนเรื่อง อาณาจักรพืช (kingdom Plantae) Page | 10 2.4 Division ของพื ชท่ี มีเนื้ อเยื่อล าเลี ยง มีเมล็ ด แล ะมีด อก (Angiosprems) ได้ แก่ Division Magnoliophyta (=Angiospermae) น้ี แบง่ ออกเปน็ 2 Class คือ 2.2.1 Class Magnoliopsida (พืชใบเล้ียงคู่) แยกเป็น 6 Sub-class 64 อันดับ 318 วงศ์ รวมมีพืชประมาณ 165,000 ชนิด 2.2.2 Class Liliopsida (พืชใบเลี้ยงเดี่ยว) แยกเป็น 5 Sub-class 19 อันดับ 65 วงศ์ รวมมีพชื ทง้ั หมด 50,000 ชนดิ ภาพที่ 7 การจดั จาแนกพชื เป็นพชื มีทอ่ ลาเลียงและไม่มีทอ่ ลาเลยี ง (ทม่ี าภาพ : http://ridge.icu.ac.jp/gen-ed/lower-plants-gifs/12b-diag-plant-divs.JPG) ความหลากหลายของพืช พืช เป็นสงิ่ มีชีวิตทม่ี ีความหลากหลายประเภทหนึง่ ของโลก ในปจั จบุ นั พืชท่วั โลกมอี ยปู่ ระมาณ 300,000 ชนิด เพอ่ื ใหก้ ารศึกษาเร่ืองอาณาจกั รพชื เปน็ ไปไดโ้ ดยงา่ ย นักวทิ ยาศาตรจ์ ึงจัดระบบพืชประเภท ต่างๆทม่ี ีลักษณะคล้ายคลึงกันมาไว้ในประเภทเดียวกัน ดังน้ี พืชไม่มที อ่ ลาเลียง (Non vascular plants)

ชุดการสอนเรื่อง อาณาจักรพชื (kingdom Plantae) เช่ือว่าพืชกลุ่มน้ีเป็นกลุ่มแรก ๆ ท่ีวิวัฒนาการขึ้นสู่บนบก จึงยังคงมีลักษณะที่ต้องการความชุ่มช้ืนPage | 11 หรือน้าเพ่ือการอยู่รอด และอาศัยน้าในการสืบพันธ์ุ ดังนั้นจึงมักพบเจริญตามพ้ืนดินที่มีความช้ืนมาก อย่างไรก็ตามพืชกลุ่มนี้ค่อนข้าง sensitive ต่อซัลเฟอร์ไดออกไซด์ จึงสามารถใช้เป็นตัวบอกสภาวะมลภาวะ ในอากาศได้เช่นเดียวกับ Lichen พืชในกลุ่มนี้มีขนาดเล็ก ไม่มีระบบท่อลาเลียง และไม่มีเนื้อเยื่อที่เป็นสาร ลกิ นิน (Lignified tissues) เซลลม์ ีสัดส่วนของคลอโรฟิลลเอ และบี ใกล้เคียงกับสาหร่ายสีเขียว รวมถึงมี ต้นอ่อน (Protonema) ในระยะแกมีโตไฟท์ที่คลา้ ยคลึงกบั สาหรา่ ยสีเขียว พืชกลุ่มนี้ไมม่ ี ราก ใบ ที่แท้จริง แต่มี Rhizoid ช่วยในการยึดเกาะกับวัสดุที่เจริญอยู่ มีส่วนของ Phylloid ท่ีดูคล้ายใบ และส่วน Cauloid ที่ดูคล้ายต้น ดังที่กล่าวไว้เบ้ืองต้นพืชมีวงชีวิตแบบสลับพืชในกลุ่มนี้จะมีระยะ Gametophyte เด่นกว่า Sporophyte โดย Sporophyte ทม่ี ีขนาดเล็กมากนั้นจะเจริญพฒั นาอยบู่ น Gametophyte ตลอดชีวิต ภาพที่ 8 วงชวี ติ ระยะ Sporophyte และ Gametophyte ของไบรโอไฟต์ (ท่ีมาภาพ : http://www.cartage.org.lb/en/themes/sciences/BotanicalSciences/ ClassificationPlants/Cryptogamia/Bryophyta/NonvascularPlants/NonvascularPlants.htm) พืชในกลุ่มนี้สามารถสืบพันธ์ุแบบอาศัยเพศไดเ้ นอ่ื งจากมีอวัยวะสร้างเซลล์สบื พันธ์ุ โดยอวัยวะสร้าง เซลล์สืบพันธเ์ุ พศเมียเรียกว่า Archaegonium และอวัยวะสร้างเซลล์สืบพันธเ์ุ พศผเู้ รียก Antheridium ไบรโอ ไฟทเ์ ปน็ พืชท่ีมีประโยชน์มากมาย ทงั้ ในการชว่ ยคลมุ ดิน ป้องกนั การพังทลายของหน้าดิน นอกจากน้นั Sphagnum moss ยงั ถกู ใช้ในทางเกษตร และเช่อื วา่ การเติบโตลม้ ตายทับถมกันของมันทาให้ดนิ เป็นกรด การสลายตวั ค่อนขา้ งยากทาให้เกิด พที (Peat) ที่ใชเ้ ปน็ เชื้อเพลงิ พืชไมม่ ที ่อลาเลียงมปี ระมาณ 23,000 ชนดิ แบง่ ออกเป็น 3 Divisions ดังนี้ (ช่อื division ทั้ง 3 น้ีบางตาราท่ีจัด Bryophyta เปน็ division จะใชเ้ ปน็ ช่ือ class) Phylum Hepatophyta (หรอื Class Hepaticopsida หรอื Hepaticae) พชื ในกลมุ่ น้ไี ด้แก่ Liverworts ซึง่ ไดช้ ือ่ มาจากความเชอื่ วา่ จะสามารถนามารักษาโรคตบั ได้ เนอื่ ง ด้วยมีรปู ร่างคลา้ ยตับของมนษุ ย์ (liver = ตบั wort = พชื สมุนไพร) มปี ระมาณ 6,000-10,000 ชนิด ลักษณะของ Liverworts พบได้ทง้ั แบบทเี่ ป็นแผ่นแบน ๆ สีเขียวเรียกวา่ Thallus ที่ด้านลา่ งจะมี Rhizoid ทาหนา้ ทย่ี ดึ เกาะและดดู แรธ่ าตุ แต่บางชนดิ มีลกั ษณะคลา้ ยมอสเช่น Leafy liverwort ซง่ึ มตี ง้ั แตข่ นาดเล็ก อาจมีเส้นผ่าศนู ย์กลางเล็กกวา่ 5 มิลลเิ มตร ตน้ ทพ่ี บท่วั ไปจะเป็นต้นแกมมีโตไฟต์ บางครง้ั จะพบชัน้ cuticle และสปอร์ท่ีมีผนังหนาซ่งึ เป็นลกั ษณะการปรับตวั ของ Liverworts เพื่อท่จี ะสามารถอาศัยอยู่บนบก ได้ แกมมีโตไฟต์ แบง่ เป็น 2 แบบ คอื

ชุดการสอนเรอื่ ง อาณาจักรพชื (kingdom Plantae) 1. Leafy liverworts เป็น Liverworts ที่เป็นเส้นสาย มลี ักษณะคลา้ ยมอส มใี บ 3 แถว มี Page | 12 สมมาตรแบบ Bilateral symmetry Leafy ลเิ วอร์เวิรท์ ประมาณ 80 % จะเป็น leafy-liverworts อาศัย ในบรเิ วณท่มี ปี ริมาณนา้ มากเช่น Porella 2. Thallus liverworts เป็น Liverworts ที่มลี กั ษณะเปน็ แผ่นแบนคลา้ ยรบิ บนิ้ (Ribbon-like) เชน่ Marchantia แผ่นทัลลัสสามารถแตกเป็นคซู่ ึ่งเรียกการแตกแขนงแบบนี้ว่า Dichotomous branching สปอรโ์ รไฟต์ สปอรโ์ รไฟต์ไม่มปี ากใบ รูปรา่ งค่อนขา้ งกลม ไม่มกี ้าน ยึดตดิ กับแกมมโี ตไฟต์จนกว่าจะ แพร่กระจายสปอร์ (Shed spores) ภาพท่ี 9 (ซ้าย) Thallus liverworts และ (ขวา) Leafy liverworts (ที่มาภาพ : http://www.dkimages.com/discover/previews/878/20239114.JPG http://www.ubcbotanicalgarden.org/potd/porella_cordaeana.jpg) การสืบพนั ธ์ุ สามารถสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศได้โดย แกมมีโตไฟต์ของลิเวอร์เวิร์ทหลายชนิดจัดเป็น Unisexaul เชน่ Marchantia สรา้ ง Archegoniophores รูปร่างคล้ายร่ม บริเวณด้านล่างของ Archegoniophores จะ มี Archegonium ย่ืนออกมา ส่วน Antheridium สร้างบรเิ วณดา้ นบนของ Antheridiophores ส่วนลิเวอร์ เวิร์ทชนิดอ่ืนมีโครงสร้างง่ายกว่า Marchantia เช่นใน Riccia สร้าง Antheridium และ Archegonium ในทัลลัสเดียวกัน ส่วนการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศทาโดยการสร้าง Gemma cup ภายในมี Gemma หรือ Gemmae มีรูปร่างคล้ายไข่ หรือรูปดาว หรือคล้ายเลนส์ซ่ึงจะหลุดจาก Gemma cup เม่ือได้รับน้า ฝน เม่ือ Gemmae หลุดไป สามารถเจริญเป็นต้นใหม่ได้ หรืออาจเกิดจากการขาดของต้นเดิมเนื้อเยื่อที่ หลดุ จากตน้ สามารถเจริญเป็นต้นใหมไ่ ด้เช่นกัน

ชุดการสอนเรื่อง อาณาจักรพชื (kingdom Plantae) Page | 13 ภาพที่ 10 ระยะ Sporophyte ของ Liverworts (ทม่ี าภาพ : http://cber.bio.waikato.ac.nz/courses/226/Liverworts/Liverworts_files/image001.jpg http://www.biology.iastate.edu/Courses/211L/Bryoph/marchantia.jpg) ภาพท่ี 11 (ซา้ ย) Antheridiophores และ (ขวา)Archegoniophores (ที่มาภาพ : http://www.biology.iastate.edu/Courses/211L/Bryoph/%20BryoINDX1.htm) Phylum Anthocerophyta หรือ Class Anthocerotopsida พืชในกล่มุ นี้ เรยี กรวมว่า Hornworts เป็นกลมุ่ ทเี่ ล็กที่สดุ ในไบรโอไฟต์ มปี ระมาณ 6 สกุล 100 ชนดิ ชนิดทมี่ ักถูกใช้เป็นตวั อยา่ งในการศกึ ษาในประเทศไทย คือ Anthoceros Hornworts มีลักษณะทีแ่ ตกต่างจากไบรโอไฟตอ์ ่ืน ๆ คือ 1. สปอรโ์ รไฟตร์ ปู รา่ งเรียวยาวคล้ายเขาสตั ว์สีเขียว และมี intercalary meristem ซง่ึ ทาให้สปอร์ โรไฟต์สามารถเจริญไดอ้ ย่าง ไมจ่ ากดั 2. Archegonium ฝังตวั อยใู่ นแกมมโี ตไฟต์ มีโครงสร้างทคี่ ลา้ ยกบั ปากใบ (stomata like structure) ซง่ึ จะไมพ่ บในกลุ่มอืน่ 3. เซลลท์ ที่ าหนา้ ท่ใี นการสงั เคราะห์ด้วยแสงมีคลอโรพลาสต์ 1 เม็ด และมีอาหารสะสมเป็น pyrenoid เหมือนกบั สาหรา่ ยสเี ขียวและ Isoetes (vascular plant) ระยะแกมมโี ตไฟต์ จะพบแกมมโี ตไฟต์รปู รา่ งกลมหรือค่อนข้างรี แบน สีเขียว เป็นโครงสรา้ งท่งี ่าย ๆ เมอ่ื เทยี บกบั แกมมโี ตไฟตใ์ นกล่มุ Bryophyte ดว้ ยกัน Hornworts สว่ นใหญ่เป็น unisexual สรา้ ง อวยั วะสบื พันธ์บุ ริเวณด้านบนของทลั ลสั การสบื พันธ์ุแบบไม่อาศัยเพศเกิดขึน้ โดยการขาดเป็นทอ่ น (Fragmentation)

ชดุ การสอนเรอ่ื ง อาณาจักรพืช (kingdom Plantae) ระยะสปอรโ์ รไฟต์ จะพบสปอร์โรไฟตข์ องฮอร์นเวิรท์ มีความแตกตา่ งจากสปอร์โรไฟต์ของชนิดอน่ื Page | 14 มาก มีลักษณะเฉพาะคอื รปู ร่างคลา้ ยกับเขาสตั ว์ สเี ขียว ยาวประมาณ 1-4 cm ภายมเี น้ือเยอ่ื ที่แบ่งตัวให้ spores ภาพท่ี 12 ระยะ Sporophyte ของ Hornworts (ทม่ี าภาพ : http://botit.botany.wisc.edu/images/130/Bryophytes/Anthocerophyta/ Hornwort_w_sporophytes.low.jpg) ภาพที่ 13 Anthoceros sp. (ท่มี าภาพ : http://home.manhattan.edu/~frances.cardillo/plants/nonvas/antho1.gif http://botit.botany.wisc.edu/images/130/Bryophytes/Anthocerophyta/Anthoceros.low.jpg) Phylum Bryophyta หรอื Class Musci หรอื Bryopsida พชื ในกลุ่มนไ้ี ดแ้ ก่มอส (True moss) ซง่ึ มมี ากกวา่ 14,000 ชนดิ สามารถเจริญได้ทวั่ ไป เช่น ตามเปลอื กไม้ พน้ื ดิน ก้อนหิน แกมมโี ตไฟต์ มอสมีวงชีวติ แบบสลับ โดยมรี ะยะแกมมโี ตไฟต์เด่นกวา่ สปอร์โรไฟต์ ดังนั้นต้นท่ีพบท่ัวไป จึงเป็น ตน้ แกมมโี ตไฟตซ์ ่งึ ส่วนใหญม่ ีทลั ลสั สีเขยี วเป็นตน้ ต้ังตรงเรียก Leafy shoot อัดตัวกันแนน่ คลา้ ยพรม ไมม่ ี ใบ ลาต้นและรากท่ีแทจ้ ริง แต่มีส่วนทคี่ ล้ายลาตน้ และใบมาก มี Rhizoid ทาหน้าท่ียึดกับพ้นื ดนิ หรอื วัตถทุ ่ี เจริญ สปอร์โรไฟต์ สปอร์โรไฟตอ์ าศัยอยู่บนแกมมีโตไฟต์ตลอดชีวิต ประกอบดว้ ยส่วนสาคญั คอื Foot ใช้ยึดกับแกมมี โตไฟต์ มี Seta หรือ Stalk เป็นก้านชู ยาว เพ่ือชู Sporangium หรือ capsule ส่วน capsule เป็น

ชุดการสอนเรอ่ื ง อาณาจักรพชื (kingdom Plantae) ส่วนท่ีมีความสาคัญท่ีสุด มีฝาเปิดหรือ operculum อยู่ด้านบน และจะเปิดออกเม่ือแคปซูลแก่ operculumPage | 15 จะถูกห่อหุ้มด้วย calyptra เป็นเยื่อบาง ๆ ช่วยป้องกันอันตรายให้กับ capsule แต่มักจะหลุดไปเมื่ออายุ มากขึ้น ถัดจาก operculum จะเป็นเนื้อเยื่อท่ีมีการสร้าง spore เซลล์ในช้ันนี้แบ่งตัวแบบไมโอซิสได้สปอร์ เมื่อสปอร์โรไฟต์แก่ operculum จะเปิดให้เห็น peristome teeth ลักษณะคล้ายซี่ฟัน มีคุณสมบัติไวต่อ ความชื้น (Hygroscopic) เม่ืออากาศแห้ง ความชื้นในอากาศน้อย peristme teeth จะกางออก ทาให้ดีด สปอร์ออกมาด้วย และจะม้วนตัวเข้าไปภายใน capsule เม่ือความชื้นในอากาศมาก เม่ือสปอร์ตกไปในที่ ๆ มีสภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสม ก็จะงอกได้ทันที ซึ่งจะงอกเป็นเส้นสาย สีเขยี วที่เรียกว่า protonema ลักษณะ คลา้ ยสาหรา่ ยสีเขยี วมาก พืชตัวแทนท่ีใช้ในการศึกษาพืชกลุ่มน้ีคือ มอส Sphagnum หรือ Peat moss หรือ Box moss หรือ ข้า ตอกฤษี ข้าวตอกพระร่วง พืชชนิดนี้ประกอบด้วยเซลล์สองแบบคือเซลล์ท่ีมีชีวิตทาหน้าที่ในการสังเคราะห์ อาหารด้วยแสง และเซลล์ทตี่ ายแลว้ ซึ่งทาหนา้ ทีใ่ นการเก็บกักน้า ซึง่ อาจเก็บได้มากถึง 200 เทา่ อย่างไรก็ตามมีส่ิงมีชีวิตท่ีถูกเรียกว่ามอสแต่ไม่ได้อยู่ในกลุ่มน้ีมากมายเช่น Sea moss (สาหร่ายสี แดง) Reindeer moss Oak moss (Lichens) Club moss (Lycopodium) และ Spanish moss (พืช ดอก) ภาพท่ี 14 โครงสรา้ งของมอส (ทม่ี าภาพ : http://www2.auckland.ac.nz/info/schools/nzplants/images/moss/moss_major_parts1.jpg)

ชดุ การสอนเรื่อง อาณาจักรพชื (kingdom Plantae) Page | 16 ภาพท่ี 15 วงชีวิตของมอส (ท่ีมาภาพ : http://kentsimmons.uwinnipeg.ca/16cm05/1116/29-16-PolytrichumLifeCyc-L3.gif) ภาพที่ 16 Sphagnum moss (ทีม่ าภาพ : http://www.fs.fed.us/wildflowers/regions/pacificnorthwest/ToolboxMeadow/ images/sphagnum_squarrosum_lg.jpg) สรุป พืชในกลุ่มน้ีไม่มีเนื้อเยื่อลาเลียง จะดูดน้าและแร่ธาตุจากดินโดยโครงสร้างคล้ายรากเรยีกว่า ไร ซอยด์ มีการลาเลียงน้าและแร่ธาตุด้วยการแพร่ ส่วนที่เป็นแผ่นคล้ายใบมีช้ันคิวทิเคิลบางมากปกคลุม การ ปฏิสนธิต้องอาศัยน้าเป็นตัวกลาง สเปิร์มจะว่ายน้าไปผสมกับเซลล์ไข่ภายในต้นแกมีโทไฟต์เพศเมีย จากนั้น ไซโกตจะเจริญเป็นต้นสปอร์โรไฟต์ซ่ึงจะเจริญและต้องอาศัยอาหารจากต้นแกมีโทไฟต์และมีอายุส้ันดังน้ันจึง พบตน้ สปอโรไฟตอ์ าศัยอยูบ่ นตน้ แกมีโไทไฟต์

ชดุ การสอนเร่ือง อาณาจักรพชื (kingdom Plantae) ประโยชน์ของพชื ไม่มเี น้ือเยื่อลาเลียง Page | 17 ก ลุ่ ม พื ช พื ช ไ ม่ มี เน้ื อ เยื่ อ ล า เลี ย ง เช่ น ข้ า ว ต อ ก ฤ า ษี ห รื อ ส แ ฟ ก นั ม มอส (Sphagnum sp.) เป็นพืขที่ทนทานต่อการสูญเสียน้าได้ดีและเกษตรกรนิยมนามาใช้เป็นวัสคลุมหน้า ดนิ เพื่อรกั ษาสภาพความช้ืนในดนิ และนามาใชใ้ นการเพาะปลกู พืช พชื มีทอ่ ลาเลียง (Vascular Plants) พชื ทมี่ ที ่อลาเลยี งเปน็ พชื กล่มุ ท่ีพบมากที่สุดคือ ประมาณ 250,000 ชนดิ พืชกลุ่มนีแ้ ตกต่างจาก กลมุ่ ไบรโอไฟตค์ ือ มีขนาดใหญ่ อาศัยอยบู่ นพื้นดินทไ่ี ม่จาเป็นต้องชน้ื แฉะมากเป็นส่วนใหญ่ มีการพัฒนา เนอ้ื เยอื่ ไปเป็นใบท่ที าหนา้ ที่รบั พลงั งานแสง มรี ากทีช่ ว่ ยในการยดึ เกาะและดูดน้าและแร่ธาตุตา่ งๆ มกี าร พัฒนาระบบท่อลาเลียง (Vascular system) และเพ่ือเปน็ การช่วยค้าจุนทอ่ ลาเลยี งของพชื จึงตอ้ งมีเนอื้ เยอื่ ที่ เสรมิ ให้ความแข็งแรงคือ Ligninified tissue ซ่งึ พบในผนังเซลล์ช้ันทีส่ อง (Secondary wall) เน้ือเยื่อ ลาเลียงสามารถลาเลียงนา้ และสารอาหารไปยงั ส่วนต่าง ๆ ของพชื ไดต้ ลอดทกุ ส่วนของพชื นอกจากนนั้ เนอื้ เยอ่ื ผิวยงั ทาหนา้ ทแ่ี ลกเปลยี่ นแก๊สและปอ้ งการสูญเสียน้าไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ พชื ใน Division Tracheopphyta มีมากมายหลายชนดิ จงึ แบง่ ย่อยเปน็ 5 Subdivision คอื 1. Subdivision Locopsida (ตนี ตกุ๊ แก) 2. Subdivision Psilopsida (หวายทะนอย) 3. Subdivision Sphenopsida (หญ้าหางมา้ ) 4. Subdivision Pteropsida (เฟนิ ) 5. Subdivision Spermopsida (พชื มเี มล็ด) กลุ่มพืชมีเนอ้ื เยอื่ ลาเลียงท่ีไม่มีเมล็ด พืชมีเนื้อเย่ือลาเลียงท่ไี มม่ เี มล็ด ประกอบด้วยเฟินแท้ และกลุ่มใกลเ้ คยี งเฟิน บางทเี รียกวา่ พืชท่มี ีทอ่ ลาเลยี งชนั้ ตา่ (Lower vascular plant or seedless plant) พืชกลุ่มนม้ี ีราก ลาตน้ และใบที่แทจ้ รงิ ภายในรากมีเนื้อเย่อื ลาเลยี งเหมอื นในลาต้น มตี ้นแกมีโทไฟตแ์ ละตน้ สปอโรไฟตเ์ จริญแยกกัน หรืออยู่ร่วมกัน ในช่วงสั้น ๆ โดยต้นแกมีโทไฟต์จะมชี ว่ งชีวติ ส้ันกว่าตน้ สปอโรไฟต์ Phylum Lycophyta พืชใน Subdivision น้ีมีท่อลาเลียงในส่วนของ ลาตน้ ใบ และราก ซ่ึงเกิดตั้งแต่ยุคดีโวเนียน แม้ จะสูญ พันธุ์ไปแล้วหลายชนิ ดแต่ยังสามารถพบได้บ้างในปัจจุบัน เช่น Lycopodium Selaginella Phylloglossum Isoetes ชนิดพันธุ์ท่ีพบในประเทศไทยเช่น สามร้อยยอด (Lycopodium cernuum L.) ช้องนางคล่ี (Lycopodium phlegmaria L.) หางสิงห์ (Lycopodium squarrosum Forst.) Selaginella involuta Spreng. Selaginella roxburghii Spreng. Lycopodium หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า Club moss Ground pine หญ้าสามร้อยยอด และ ช้องนางคล่ี มกั พบตามชายป่าดิบแลง้ หรอื ดิบชน้ื ท่ีเห็นทั่วไปเป็นตน้ ในระยะสปอรโ์ รไฟต์ อาจดารงชีวติ เป็น อีพิไฟต์ (Epiphyte) หรือข้ึนบนดิน ลาต้นมีท้ังลาต้นใต้ดิน และเหนือดิน ลาต้นเหนือดินมีขนาดเล็กเรียว มีทั้งตรงหรือคืบคลานแผ่ไปตามผิวดิน แตกกิ่งแบบ 2 แฉก มีราก แตกก่ิงแบบ 2 แฉก มีใบขนาดเล็ก (Microphyll) จานวนมาก เรียงตัวติดกับลาต้นแบบวนเป็นเกลียว หรือวนเป็นวง หรือตรงข้าม สืบพันธุ์

ชุดการสอนเรอื่ ง อาณาจักรพืช (kingdom Plantae) โดยการสร้างสปอร์เป็นสปอร์ชนิดเดียวเหมือนกันหมด สปอร์อยู่ภายในอับสปอร์ซ่ึงอยู่บนใบสปอโรฟีลPage | 18 (Sporophyll) โดยอย่ใู นซอกใกล้กับฐานใบ สปอโรฟีลมีขนาดต่าง ๆ กัน ถา้ มีขนาดเล็กมากกจ็ ะอยู่รวมอัด กันอยู่บนแกนเดียวกัน เกิดเป็นโครงสร้างเรียกว่า สโตรบิลัส (Strobilus หรือ Cone) ซ่ึงอาจมีก้านชู หรือไม่มีก้าน สปอร์มีจานวนมาก ขนาดเล็ก ผนังสปอร์มีลวดลายคล้ายตาข่าย อาจมีการสืบพันธ์ุแบบไม่ใช้ เพศโดยการสร้าง Gemmae คอื กลุ่มเซลล์ ซ่งึ จะเจรญิ งอกขน้ึ เปน็ ต้นสปอโรไฟต์ตน้ ใหม่ ส่วนสปอร์จะปลิว ไปตกตามดินแล้วเจริญเป็นต้นแกมีโตไฟต์ ซึ่งมีการสร้างท้ังแอนเทอริเดียม ซ่ึงทาหน้าที่สร้างสเปิร์ม และมี อาร์คโี กเนียม ซึ่งสร้างไข่ เม่ือมีการผสมพนั ธุ์กันก็จะได้ต้นสปอโรไฟต์ต้นใหม่ แกมมีโตไฟต์ที่อยู่ใต้ดินจะอยู่ ร่วมกบั ราไมคอร์ไรซา ส่วนที่อยูเ่ หนอื ดนิ เรียกวา่ Prothallus ภาพท่ี 17 Lycopodium (ทมี่ าภาพ : http://flora.nhm-wien.ac.at/Bilder-G-O/Lycopodium-annotinum-2.jpg http://www.kingsnake.com/westindian/lycopodiumsp1.JPG) ส่วน Selaginella เป็นพืชขนาดกลางหรือขนาดเล็ก มีลักษณะคล้ายคลึงกับ Lycopodium มีการ แตกกิ่งก้านมากแตกกิ่งแบบ 2 แฉก ลาต้นอาจตั้งตรงหรือแผ่ปกคลุมดิน ใบมีขนาดเล็ก เรียงตัวติดกับ ลาต้นแบบวนเป็นเกลียว หรือเรียงเป็นแถว 4 แถว มีลิกิวล์ (Ligule) อยู่ท่ีฐานของใบแต่ละใบและที่ ด้านบนใบด้วย มีรากเป็นรากวิสามัญ รากแตกแขนงแบบ 2 แฉก แตกออก จากกิ่งเพื่อทาหน้าที่ยึดพยุง ลาต้นซ่ึงเรียกว่า ไรโซฟอร์ (Rhizophore) สืบพันธุ์โดยการสรา้ งสปอร์ สปอร์มี 2 ชนิด (Heterospore) คือ ไมโครสปอร์ (Microspore) ซ่ึงมีขนาดเล็ก และเมกาสปอร์ (Megaspore) ซึ่งมีขนาดใหญ่ สปอร์ท้ัง สองชนิดนี้จะสร้างอยู่ภายในอบั สปอร์คนละอับ อบั สปอรอ์ ยู่ที่ซอกใบ สปอโรฟีล ซึ่งจะเรียงตวั อยู่บนแกนที่ ปลายก่ิง สปอโรฟีลอาจเรียงกันหลวม ๆ หรือเรียงติดกันแน่นก็ได้ โดยติดท่ีแกนกลางเรียงตัวเป็น 4 แถว แต่ละแถวจะเห็นเป็นสันออกมาเป็น 4 สันเปน็ โครงสรา้ งท่เี รียกว่า สโตรบิลัส ในแต่ละสโตรบิลัสจะ มีทั้งอับสปอร์ที่สร้างเมกาสปอร์ ซ่ึงมักจะอยูส่ ่วนล่างของชอ่ สโตรบิลัส ส่วนอับสปอร์ท่ีสร้างไมโครสปอร์มัก อยู่ส่วนบนของช่อสโตรบิลัส อับสปอร์ที่ สร้างเมกาสปอร์ ซ่ึงมักมีสีเขียวแกมขาวจะสร้างเมกาสปอร์ทีมี ขนาดใหญ่และมีจานวน 4 เซลล์ต่อ 1 อับ ส่วนอับสปอร์ที่สร้างไมโครสปอร์ ซ่ึงมักเป็นสีส้มแดงจะสร้าง ไมโครสปอร์จานวนมากและมีขนาดเล็ก อาจมีการสืบพันธ์ุแบบไม่ใชเ้ พศโดยการสร้างบัลบิล (Buibil) หรือ เกิดการหักของลาต้นงอกเป็นต้นใหม่ ส่วนการสืบพันธุ์แบบใช้เพศ เกิดโดยสเปิร์มท่ีเกิดจากไมโครสปอร์จะ เข้าผสมกับไขใ่ นเมกาสปอร์ แลว้ ไดเ้ ป็นตน้ สปอร์โรไฟตต์ น้ ใหม

ชดุ การสอนเร่อื ง อาณาจักรพชื (kingdom Plantae) Page | 19 ภาพที่ 18 Selaginella (ทีม่ าภาพ : http://www.mygarden.me.uk/Selaginella%20braunii.jpg http://www.ustboniface.mb.ca/cusb/abernier/Plantes/selaginella.jpg) Subdivision Psilopsida พืชในดิวิชั่นย่อยน้ีส่วนใหญ่สูญพันธุ์ไปหมดแล้ว เหลืออยู่เพียง 3 ชนิด คือ สกุล Psilotum 2 ชนิดคือ Ps. nudum (L.) Pal. และ Ps. complanatum Sw. และสกุล Tmesipteris (ในประเทศไทยพบ เฉพาะ Psilotum ในชื่อของหวายทะนอย หรือ Whisk fern ส่วน Tmesipteris มักพบอิงอาศัยกับพืชอื่น เชน่ tree fern ไม่นยิ มปลูกนามาปลกู ) ทอ่ ลาเลียงในลาตน้ ของ Psilotum เป็นแบบ protostele พืชชนิด นี้มีท่อลาเลียงเฉพาะในส่วนของลาต้น จึงจัดว่าไม่มีรากและใบที่แท้จริง มีไรซอยด์ ไม่มีใบแต่จะมีใบเกล็ด หรือสเกล (Scale) เล็ก ๆ อยู่บนลาต้น มีลาต้นใต้ดินขนาดเล็ก ลาต้นแตกเป็นคู่ หรือ Dichotomous branching สร้าง Sporangia อับสปอร์เกิดอยู่บนลาต้นหรือก่ิงตรงบริเวณ มุม ซ่ึง Sporangia ประกอบดว้ ย 3 Sporangia เชื่อมติดกัน เรียก Synangium ภายในเกิดการแบ่งเซลลแ์ บบไมโอซสิ ได้สปอร์ สปอร์มีชนดิ เดยี วคือมีลักษณะเหมือนกันท้ังหมด (Homospore) เม่ือสปอรง์ อกเกิดเป็นแกมมโี ตไฟต์ขนาดเล็ก สีน้าตาลอาศัยอยู่ในดิน หรืออาจมีหลายรูปแบบเช่นรูปร่างทรงกระบอกมีการแตกแขนง และมีเชื้อราเข้ามา อาศัยอยู่ร่วมกัน โดยเชื้อราเอ้ือประโยชน์ให้กับแกมมีโตไฟต์โดยช่วยดูดซึมสารไนเตรทฟอสเฟตและ สารอินทรีย์อื่น ๆ ให้กับแกมมีโตไฟต์ แกมมีโตไฟต์จะสร้าง Antheridium ซ่ึงจะทาหน้าท่ีสร้าง Sperm และ Archegonium ซงึ่ จะทาหนา้ ท่สี ร้าง Egg แล้วมกี ารผสมพนั ธกุ์ นั ไดต้ น้ Sporophyte ต้นใหม่ ภาพที่ 19 ระยะแกมมีโตไฟตข์ องหวายทะนอย (ที่มาภาพ : http://www.siu.edu/~perspect/01_sp/pics/psilotum.jpg http://www.humboldt.edu/~dkw1/images/P01-Psilotum600Gpt(labels)t.jpg)

ชุดการสอนเรอ่ื ง อาณาจักรพชื (kingdom Plantae) Page | 20 ภาพท่ี 20 (ซ้าย) หวายทะนอยระยะสปอโรไฟต์ (ขวา) อับสปอรข์ องหวายทะนอย (ที่มาภาพ : http://www.emc.maricopa.edu/faculty/farabee/BIOBK/psi_nud_mid.jpg http://www.ucmp.berkeley.edu/plants/pterophyta/psilotales/psilosporangia.jpg) Phylum Pterophyta พืชในกลุ่มน้ีที่มีชีวิตอยู่เหลือเพียงสกุลเดียวคือ Equisetum หรือที่รู้จักกันท่ัวไปในชื่อของ Horse tail หญ้าหางม้า หรือหญ้าถอดปล้อง ชนิดที่พบในไทยคือ Equisetum debile Roxb. ซึ่งพบมากในเขต รอ้ นช่มุ ช้ืน และหนาวเย็น เนอ้ื เยอ่ื ผิวมีส่วนประกอบประเภทซิลกิ า สมยั ก่อนนามาใช้ขัดถูชามใหม้ ีความเงางาม Equisetum มีท่อลาเลียงท้ังในใบ ดอก ราก ลาต้นใต้ดินที่เป็น Rhizome สามารถแตกแขนงไปได้มาก ซ่ึงบางคร้ังพบว่าเป็นปัญหาสาหรับเกษตรกร เพราะการทาลายจะทาลายได้เฉพาะลาต้นท่ีอยู่เหนือดิน ส่วน ลาตน้ ใต้ดนิ ก็ยังคงมีชีวิตอยูแ่ ละสามารถแตกเปน็ ต้นใหม่ได้สว่ นของลาต้นมีสีเขียวใช้ในการสังเคราะห์ด้วยแสง ใบมีลักษณะเป็นเกล็ดติดกันเรียงตัวรอบข้อ หญ้าหางม้าท่ีเห็นท่ัวไปเป็นต้นสปอร์โรไฟต์ท่ีมีอายุปีเดียวหรือ หลายปี ลาต้นมที ั้งลาต้นเหนือดิน และลาต้นใตด้ ิน ลาตน้ เหนอื ดนิ เปน็ ลาตน้ ต้ังตรงมขี ้อปลอ้ งชัดเจน ตาม ผิวลาต้น จะมีรอยเว้าลึกเป็นร่องยาวตามความยาวของลาต้น ผิวของลาต้นมักสากเพราะมีทรายจับเกาะ ตรง บริเวณข้อของลาต้นจะมีสเกล ซ่ึงมีลักษณะคล้ายใบเล็ก ๆ แห้ง ๆ สีน้าตาล ติดอยู่โดยเรียงตัวรอบข้อ (Whorled) ที่ข้อยังมีการแตกก่ิงซึ่งก็แตกแบบรอบข้อเช่นเดียวกัน โดยแตกออกมาเรียงสับหว่างกับสเกล ภายในลาต้นจะกลวงยกเว้นบริเวณข้อจะตัน สืบพันธุ์โดย การสร้างสปอร์ภายในอับสปอร์ สปอร์ท่ีสร้าง เป็นชนิดเดียวกันหมด และมีจานวนมาก อับสปอร์จะเกดิ อยู่บนปลายสุดของก่ิง โดยเกิดอยู่ร่วมกันเป็นกลุ่ม บนโครงสร้างท่ีเรียกว่า สปอแรนจิโอฟอร์ (Sporangiophore) ซึ่งมีรูปร่างคล้ายโล่ ด้านหน้าเห็นเป็น 6 เหลี่ยม สว่ นด้านในจะมีอบั สปอรท์ ี่ไม่มีก้านติดอยูป่ ระมาณ 5-10 อบั ต่อ 1 สปอแรนจโิ อฟอร์ ซ่งึ สปอแรน จิโอฟอร์จานวนมากน้ีจะติดอยู่กับแกนกลางของ สโตรบิลัส (Strobilus) อับสปอร์จะแตกตามยาว สปอร์มี ขนาดเล็กภายในมีคลอโรฟีล ที่ผนังสปอร์จะมีเน้ือเยื่อยาว คล้ายริบบ้ิน 4 แถบ เจริญออกมาแล้วพันอยู่ รอบสปอร์เรียกว่า อีเทเลอร์ (Elater) จะช่วยในการกระจายของสปอร์ เมื่อสปอร์ปลิวไปตกตามพ้ืนดินก็จะ งอกเป็นต้นแกมีโตไฟต์ขนาดเล็ก ซ่ึงมีแอนเทอริเดียม ทาหน้าท่ีสร้างสเปิร์ม และอาร์คีโกเนียมทาหน้าท่ี สร้างไข่ สเปิรม์ เขา้ ผสมกบั ไขแ่ ล้วเจรญิ ขนึ้ เป็นต้นสปอรโรไฟต์ต่อไป

ชุดการสอนเรือ่ ง อาณาจักรพชื (kingdom Plantae) Page | 21 ภาพที่ 21 โครงสร้างของหญ้าหางม้า (ทีม่ าภาพ : http://www.puc.edu/Faculty/Gilbert_Muth/art0058.jpg) ภาพท่ี 22 หญา้ หางม้า (ท่ีมาภาพ : http://vltk.vuichoi.info/071108-1940-3745e805.jpg http://www.missouriplants.com/Ferns/Equisetum_hymenale_plant.jpg) เฟนิ เฟินมีสมาชิกประมาณ 12,000 ชนิด จัดเป็นกลุ่มที่ใหญ่ที่สุดในพืชกลุ่มไม่มีเมล็ด มีความ หลากหลายมาก บางชนิดพบอยู่ในเขตร้อน บางชนิดอยู่ในเขตอบอุ่นหรือแม้กระท่ังทะเลทราย จานวนชนิด ของเฟินเริ่มลดลงเน่ืองจากความช้ืนท่ลี ดลง และเนื่องจากเฟินเปน็ พืชท่ีมีความหลากหลายมาก บางสกุลมีใบ ขนาดใหญ่ท่ีสุดในอาณาจักรพืช เช่น Marattia เป็นสกุลหนึ่งของเฟินต้น มีใบยาวถึง 9 เมตร กว้าง ประมาณ 4.5 เมตร นอกจากนยี้ งั มี เฟินสกลุ อนื่ ทอ่ี าศัยอยูใ่ นนา้ เช่น Salvinia (จอกหหู น)ู

ชุดการสอนเรื่อง อาณาจักรพชื (kingdom Plantae) Page | 22 และ Azolla (แหนแดง) มีใบขนาดเล็กมาก ส่วนเฟินที่นิยมนามาเป็นตัวอย่างในการศึกษาถึงลักษณะ ทั่วไปของเฟนิ มักอยใู่ น Order Filicales มีสมาชิกประมาณ 10,000 เชน่ Pteridium aquilinum ภาพท่ี 23 Marattia salicina (ที่มาภาพ : http://www.subtropicals.co.nz/fernms.jpg ภาพที่ 24 (ซา้ ย) จอกหูหนู (ขวา) แหนแดง (ที่มาภาพ : http://www.pittwater.nsw.gov.au/__data/assets/image/7463/lg_SalviniaB.jpg http://www.dkimages.com/discover/previews/867/35000945.JPG) เฟนิ ท่ีข้นึ อยู่ทั่วไปน้ันเป็นต้นสปอร์โรไฟต์ เปน็ พืชท่ีมีท่อลาเลียงแต่ไม่มแี คมเบียมและเนื้อไม้ ลักษณะ ทั่วไปของเฟินคือ มีราก เป็นรากที่แตกออกจากลาต้นจึงเจริญเป็นรากวิสามัญ (Adventition root) มีลา ต้น เรียกว่า ไรโซม (Rhizome) ใช้เรียกทั้งต้นที่อยู่ใต้ดินหรือเหนือดินก็ได้ ไรโซมอาจมีลักษณะตั้งตรง หรือวางทอดขนานกบั ดิน หรืออาจไหลไปตามผิวดิน การเกิดใบและรากบนไรโซมจะมี 2 แบบคือแบบที่ใบ และรากเกิดอยู่คนละด้านของไรโซม โดยจะอยู่ฝั่งตรงข้ามกับบนไรโซมเรียกว่า Dorsiventral construction และแบบท่ี 2 เป็นแบบที่ไรโซมจะต้ังตรง ส่วนใบและรากจะติดอยู่รอบไรโซมน้ัน เรียกว่า Radial construction ใบเรียกว่าฟรอน (Frond) มีทั้งเส้นใบแตกแบบไดโคโทมัส และแบบร่างแห ใบเจริญจากลา ต้นใต้ดินหรือเหง้า ซ่ึงมี 2 แบบคือ ใบเดี่ยว และใบประกอบมีลักษณะพิเศษคือมีความแก่อ่อนในใบ ๆ เดียวกันนั้นไม่เท่ากัน โคนใบจะแก่กว่าปลายใบจะอ่อนกว่า ทาให้ปลายใบม้วนงอเข้าหาโคนใบเรียกว่า Circinate vernation (การเจรญิ ไม่เทา่ กนั เกิดจาก ผิวด้านลา่ งเจริญเร็วกว่าด้านบน)

ชดุ การสอนเร่ือง อาณาจักรพืช (kingdom Plantae) Page | 23 ภาพท่ี 25 Circinate vernation ในเฟิน (ทมี่ าภาพ : http://sparkleberrysprings.com/v-web/b2/images/ferns/ferncircvern.jpg http://www.eske-style.co.nz/images/Punga%20Frond.jpg) ใบเฟินบางชนดิ ทาหนา้ ท่ขี ยายพันธุเ์ ชน่ บริเวณปลายสุดของใบเกิดเป็นเนอ้ื เยื่อเจริญและแบ่งตัวให้พชื ตน้ ใหม่เรียกเฟนิ แบบนี้ว่า Walking fern (Asplenium rhizophllum) ภาพที่ 26 Walking fern (ทม่ี าภาพ : http://www.victorianvilla.com/sims-mitchell/local/nature/ferns/10-image.gif http://www.missouriplants.com/Ferns/Asplenium_rhizophyllum_plant.jpg) นอกจากนี้ใบเฟินยังมีลักษณะพิเศษอีกอย่างคือ ไม่สร้างสตรอบิลัส แต่บริเวณด้านท้องใบสร้าง สปอร์ สปอร์อยู่ภายใน Sporangia ซึ่ง Sporangia อาจอยู่รวมกันเป็นกลุ่มเรียกว่า Sorus (พหูพจน์ : Sori) บางชนิดจะมีเยื่อบางหุ้มซอรัสไว้ เรียกเยื่อนี้ว่า Indusium การสืบพันธุ์ จะมีพืชต้นสปอโรไฟต์ เด่น กว่าแกมีโตไฟต์ ต้นสปอโรไฟต์จะสร้างอับสปอร์ ซ่ึงภายในมีสปอร์ อับสปอร์เกิดอยู่ด้านหลังใบ (Abaxial surface หรือ Lower surface) สปอร์เฟินท่ีมีรูปร่างคล้ายกันเรียก Homospores แต่ละ Sporangia ล้อมรอบด้วยกลุ่มเซลล์ท่ีเรียกว่า Annulus ซ่งึ มีผนังหนาไม่เท่ากัน ผนังด้านนอกบางมาก และแตกออกเมื่อ อากาศแห้งทาให้สปอร์กระจายไปได้ สปอร์จะงอกเป็น Protonema เจริญเป็นแกมมีโตไฟต์รูปร่างคล้ายรูป หัวใจ (Heart-shaped) ยึดกับดินโดยใช้ Rhizoid แกมมีโตไฟต์สร้างอวัยวะสืบพันธ์ุทั้ง 2เพศ จึงจัดเป็น Monoecious โดย Archegonium เกิดบริเวณรอยเว้าตรงกลางของหัวใจ (Apical notch) ฝังลงในแกมมโี ต

ชดุ การสอนเรื่อง อาณาจักรพชื (kingdom Plantae) ไฟต์ ส่วน Antheridium เกิดบริเวณด้านบน สเปิร์มว่ายมาผสมกับไข่ที่ Archegonium เกิดเป็นสปอร์โรPage | 24 ไฟต์ หลงั จากน้นั แกมมโี ตไฟตจ์ ะสลายไป ภาพท่ี 27 Sori ของเฟิน (ท่ีมาภาพ : http://www.farngarten.de/images/polypodiumsori3reif.JPG) ภาพท่ี 28 วงชวี ิตของเฟิน (ทมี่ าภาพ : http://cache.eb.com/eb/image?id=72159&rendTypeId=35) เฟนิ ท่ีสรา้ ง Heterospores เชน่ Azolla (แหนแดง) มีใบขนาดเล็กมาก อีกสกุลไดแ้ ก่ Marsilea (ผักแว่น) จดั เปน็ เฟินน้า สว่ นของรากฝังอยใู่ นโคลนมีเพียงใบเทา่ นัน้ ที่ยนื่ ขึ้นมาเหนอื น้า สปอร์จะถูกสรา้ ง ในโครงสร้างทเ่ี รยี กว่า Sporocarps ภาพท่ี 29 Sporocarp ของ (ซ้าย) จอกหูหนู (ขวา) แหนแดง (ที่มาภาพ : http://salvinia.er.usgs.gov/complex_fig_4.gif http://www.bio.uu.nl/~palaeo/Azolla/images/Leaves_roots_sporocarps.jpg)

ชดุ การสอนเรอื่ ง อาณาจักรพชื (kingdom Plantae) Page | 25 ภาพท่ี 30 เฟนิ น้าในสกุล Marsilia (ผักแวน่ ) ใช้กินได้ (ทีม่ าภาพ : http://members.lycos.nl/afun210457/images/drijfplanten/marsilia%20mutica.jpg) ภาพท่ี 31 ว่านลูกไก่ทอง (Cibotium sp.) ใชข้ นดดู ซับหา้ มเลือด (ที่มาภาพ : http://www.doa.go.th/pl_data/03_REGULATION/Seed/Cites/pic%20thaiplant /cibotium%20barometz.jpg) ประโยชน์ของพืชมีเนื้อเยอ่ื ลาเลียงท่ไี มม่ ีเมล็ด พชื มีเนื้อเย่ือลาเลยี งทีไ่ มม่ เี มล็ด บางชนิดนยิ มนามาใชเ้ ป็นอาหาร เช่น ผกั แว่น กดู เก๊ยี ะ หรือบาง ชนิดนามาเป็นสมุนไพร เช่น ว่านลกู ไก่ทองใชด้ ดู ซบั ห้ามเลอื ด กูดแดงใช้เปน็ ยาแกโ้ รคผิวหนงั ยา่ นลิเภา นามาใชท้ าเคร่ืองจกั สาน เช่น กระเป๋าถอื นอกจากน้ีเกษตรกรนยิ มเลย้ี งแหนแดงในนนาข้าวเพื่อเพ่มิ ปริมาณปุ๋ยไนโตรเจนให้กบั ต้นขา้ ว มีเฟินหลายชนิดทีน่ ิยมนามาปลกู เป็นไม้ประดบั ไมต้ ัดใบ เชน่ เฟินใบ มะขาม เฟินนาคราช ขา้ หลวงหลังลายและชายผา้ สดี า เป็นต้น กูดเกี๊ยะมีประโยชน์มากมายเชน่ ใบแห้ง สามารถนามาหลงั คาและใช้ทาเปน็ ฟืนได้ด้วย นอกจากน้ีเถา้ จากใบยังเปน็ แหลง่ โพแทสในอตุ สาหกรรมแกว้ และสบู่ เหงา้ นามาใชฟ้ อกหนังและย้อมผ้าขนสัตวใ์ ห้เป็นสีเหลอื ง และยงั มีศกั ยภาพเป็นแหล่งสกัดสารฆา่ แมลงและพลังงานชีวภาพ ช่วยเพิ่มธาตุอาหารให้กบั ดิน โดยเฉพาะไนโตรเจน ฟอสเฟตและโพแทสเซียม

ชุดการสอนเร่ือง อาณาจักรพืช (kingdom Plantae) Page | 26 กลุ่มพชื มีเนอ้ื เยือ่ ลาเลยี งท่ีมีเมล็ด พืชมเี น้ือเย่ือลาเลยี งที่มีเมล็ดมีระยะสปอโรไฟต์ทเ่ี ด่นชดั และยาวนาน แต่ระยะแกมีโทไฟตจ์ ะมีขนาด เลก็ ลงมากเมื่อเทียบกบั มอสและเฟนิ ปจั จบุ นั แยกพืชมเี นือ้ เยื่อลาเลียงที่มีเมล็ดออกเป็น 2 กลุ่มย่อย คือ 1) พชื เมลด็ เปลอื ย (gymnosperm) 2) พืชดอก (angiosperm) 1) พชื เมล็ดเปลือย (gymnosperm) พืชเมล็ดเปลือยมีลักษณะร่วมกันคือ ออวุลและละอองเรณูจะติดบนก่ิงหรือแผ่นใบซึ่งจะอยู่รวมกันที่ ปลายกิ่ง เรียกว่า โคน (cone) แยกเป็นโคนเพศผู้และโคนเพศเมีย เมื่อมีการปฏิสนธิออวุลจะเจริญเป็น เมล็ดติดที่กิ่งหรือแผ่นใบน้ัน จึงเรียกว่าพชื เมล็ดเปลอื ย พชื กลุ่มน้ีมีเนื้อไม้เจริญดี มีทั้งไม้พุ่ม ไม้เลื้อยและไม้ ยืนต้น จัดเปน็ พืชกลมุ่ เด่นในยุคจแู รสซิก ซึ่งอาจเป็นแหลง่ อาหารที่สาคัญของไดโนเสาร์ซ่งึ เปน็ สตั ว์กลุ่มเด่น ในยคุ นนั้ เชน่ กนั พืชเมล็ดเปลือยในปจั จบุ นั แบ่งออกเป็น 4 ไฟลมั คอื Phylum Cycadophyta เป็นพืชที่เรียกทั่วไปว่า Cycads หรือปรง พบได้ต้ังแต่ยุค Permian และแพร่กระจายมากในยุค Jurassic ในปัจจุบันเหลือประมาณ 9 สกุล 100 ชนิด ชอบข้ึนในเขตร้อน พบท่ัวไปในป่าเต็งรัง ใน ประเทศไทยพบ 1 สกุลคือ Cycad เช่น C. rumpii (ปรงทะเล) C. siamensis (มะพร้าวเต่า) C. circinalis (มะพร้าวสดี า) C. micholitzii (ปรง) พืชในกลุ่มน้เี ป็นพืชบก มลี ักษณะคล้ายพวกปาล์ม ลาต้น ตรง ไม่มีการแตกก่ิง อาจมีลาต้นใต้ดิน หรือลาต้นอยู่ใต้ดินท้ังหมด มีแต่ใบที่โผล่ข้ึนเหนือดินเป็นกอ มี การเติบโตช้ามาก โดยทั่วไปสูงประมาณ 1 เมตรแต่บางชนิดอาจสูงถึง 18 เมตร ใบเป็นใบประกอบแบบ ขนนก ติดกับลาต้นแบบวนเป็นเกลียว ใบมักเป็นกระจุกอยู่ที่ยอดลาต้น ท่ีลาต้นส่วนล่าง ๆ จะเห็นรอย แผลเป็นท่ีก้านใบเก่าร่วงไป ใบจะมีอายุยืนติดทนนาน ใบอ่อนมีลักษณะคล้ายใบเฟิร์นคือ ม้วนงอ โดย ปลายใบย่อยจะมว้ นงอเข้าหาแกนกลางของก้านใบ มีการสร้างสปอร์ 2 ชนิดคือ ไมโครสปอร์ จะเกิดอยู่ใน ไมโครสปอแรนเจียม ซ่ึงอยู่บนไมโครสปอโรฟีล และอยู่กันเป็นกลุ่มในสโตรบิลัสเพศผู้ (Male strobilus) ส่วนเมกาสปอร์จะอยู่ในเมกาสปอแรนเจียม ซ่ึงเกิดอยู่บนเมกาสปอโรฟีลและอยู่รวมกันเป็นกลุ่มเรียกว่า สโตรบิลัสเพศเมีย (Female strobilus) จะทาหน้าที่สร้างเมกาสปอร์ ซง่ึ สโตรบิลัสเพศผู้และสโตรบิลสั เพศ เมียจะแยกกันอยู่คนละต้น (Dioecious plant) โดยมักเกิดอยู่ที่ยอดลาต้นเม่ือไข่ในเมกาสปอแรนเจียมได้รับ การผสมก็จะเจริญเป็นเมล็ด ปรงมีรากแก้วขนาดใหญ่ มีระบบรากแขน และอาจพบ Nastoc หรือ Anabaena อาศัยอยรู่ ่วมดว้ ย วงชวี ติ เปน็ แบบสลับ Sporophyte มีขนาดใหญ่เป็นทอี่ ยู่ของ Gametophyte

ชุดการสอนเร่ือง อาณาจักรพชื (kingdom Plantae) Page | 27 ภาพที่ 32 (ซา้ ย) C. circinalis (ขวา) C. siamensis (ท่ีมาภาพ : http://www.dkimages.com/discover/previews/903/718172.JPG http://www.pacsoa.org.au/cycads/Cycas/siamensis1.jpg) ภาพท่ี 33 (ซ้าย) โคนตัวผู้ (ขวา) โคนตัวเมีย (ท่ีมาภาพ : http://www.pacsoa.org.au/cycads/Cycas/revoluta04.jpg http://www.botany.uga.edu/images/greenhouses/cycad53.jpg) Phylum Ginkgophyta พืชกลุ่มนี้ได้แก่ แป๊ะก๊วย (Ginkgo biloba) หรือที่เรียกว่า Maldenhair tree จัดเป็น Living fossil อีกชนิดหน่ึงพบได้ต้ังแต่ยุค Permian ปัจจุบันพบเป็นพืชพื้นเมืองในจีน และญ่ีปุ่น และเจริญแพร่ พันธ์ุเข้าสู่ยุโรปและอเมริกาในบริเวณอบอุ่นถึงหนาว พืชในกลุ่มนี้เป็นพืชขนาดใหญ่สูงถึง 100 ฟุต มี กิง่ ก้านสาขา เนื้อไม้ไม่มีเวสเซล (Vessel) ไซเลมทีเทรคีต ใบเป็นใบเด่ียวรูปพัดท่ยี อดของปลายใบมักเวา้ ลึก เข้ามาในตัวแผ่นใบ ทาให้ดูเหมือนตัวแผ่นใบแยกเป็น 2 ส่วน (Bifid) เส้นใบเห็นชัดว่ามีการแยกสาขาแบบ แยกเปน็ 2 แฉก (Dichotomous) แตจ่ ะไมเ่ ปน็ ร่างแห ใบตดิ กับกิ่งแบบสลบั

ชุดการสอนเร่ือง อาณาจักรพชื (kingdom Plantae) Page | 28 ภาพที่ 34 ใบแป๊ะกว๊ ย (ทมี่ าภาพ : http://www.herbs.org/greenpapers/ginkgo.jpg http://www.stanford.edu/group/hopes/treatmts/antiox/f_k01ginkgo.jpg) ภาพที่ 35 การเปลยี่ นสีใบจากเขียวเปน็ เหลอื งในฤดูใบไม้รว่ งของตน้ แป๊ะก๊วย (ท่มี าภาพ : http://www.cirrusimage.com/Trees/ginkgo_tree_med.jpg http://www.rosevilletrees.org/trees/images/ginkgo.jpg) กง่ิ บนลาต้นจะมี 2 ชนดิ คือ ก่ิงยาว (Long shoot) เป็นกิ่งท่ีมใี บธรรมดาไม่มีการสร้างอวัยวะที่ใช้ ในการสืบพันธ์ุ ส่วนกิ่งอีกชนิดหน่ึงคือ ก่ิงสั้น (Spur shoot) จะเป็นก่ิงส้ัน ๆ มีใบติดอยู่เป็นกลุ่ม และ มีการสร้างอวัยวะท่ีใช้ในการสืบพันธ์ุคือ อวัยวะสร้างเซลล์สืบพันธ์ุเพศผู้เกิดบนช่องสโตรบิลัสเพศผู้ และ อวัยวะสร้างเซลล์สืบพันธ์ุเพศเมียเกิดบนช่องสโตรบิลัสเพศเมีย ซ่ึงสโตรบิลัสทั้งสองชนิดน้ีจะเกิดอยู่คนละ ต้นกนั จงึ แยกเปน็ ตน้ เพศผู้และต้นเพศเมีย สโตรบลิ ัสเพศผู้มีลักษณะเป็นช่อยาวแบบแคทกิน ไม่มแี บรค บน ช่อจะมีใบสปอโรฟีลจานวนมาก ซึ่งแต่ละใบเปล่ียนแปลงไปมีลักษณะเป็นก้านชูท่ีปลายก้านมีอับสปอร์เพศผู้ 2 อับติดอยู่ ส่วนสโตรบิลัสเพศเมียมีลักษณะเป็นก้านยาว ปลายสุดเห็นโอวูลติดอยู่ 2 อัน ซึ่งมักจะเป็น หมันเสีย 1 อัน เมื่อโอวูลน้ีได้รับการผสมก็จะเจริญเป็นเมล็ด มีลักษณะคล้ายผล เพราะภายนอกมีเนื้อนุ่ม ต้นอ่อนภายในเมลด็ มีใบเล้ยี ง 2 ใบ

ชุดการสอนเร่ือง อาณาจักรพชื (kingdom Plantae) Page | 29 ภาพท่ี 36 (ซ้าย) ผลและ (ขวา) Strobilus ของแปะ๊ กว๊ ย (ท่มี าภาพ : http://users.rcn.com/jkimball.ma.ultranet/BiologyPages/G/GinkgoLGR.jpg http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/d/dc/Ginkgo_biloba_Inflorescences.jpg) Phylum Coniferophyta พืชส่วนใหญ่ในคลาสนี้ถูกเรียกว่า Conifer ได้แก่สนชนิดต่าง ๆ ที่แพร่กระจายมาตั้งแต่ยุค Triassic และ Jurassic จนถึงปัจจุบัน พบได้ต้ังแต่เขตหนาวขั้วโลกจนถึงเขตอบอุ่น และบนภูเขาสูงในเขต ร้อนอย่างประเทศไทยเช่น สนสามใบหรือสนเก๊ียะ สนสองใบ เป็นต้น ส่วนใหญ่พืชกลุ่มนี้เป็นพืชท่ีมี ความสาคัญทางเศรษฐกิจและเป็นท่ีรู้จักกันดีหลายชนิดเช่น Pine Spruce Fir Cedar Juniper Larch Hemlock Cypress Yew Redwood พืชในกลุ่มน้ีเน้ือไม้มีการเจริญข้ันท่ีสอง ใบเรียงตัวติดกับลาต้นแบบวนเป็นเกลียวหรือตรงข้าม ใบ มักมี รูปร่างเป็นรูปเข็ม บางชนิดใบมีลักษณะเป็นเกล็ด ใบสีเขียว ระบบรากเป็นรากแก้วมักพบ Mycorhyza ท่ีรากด้วย ไซเลมประกอบด้วยเทรคีตเป็นส่วนใหญ่ คอร์เทกซืของต้นมักมีน้ามันหรือยางที่มี กลิ่นเฉพาะ ในการสืบพันธุ์พบว่า สโตรบิลัสเพศผู้และสโตรบิลัสเพศเมียมักเกิดอยู่บนต้นเดียวกัน (Monoecious) สโตรบลิ ัสเพศเมียประกอบด้วยสเกล (Megasporophyll) ทาหน้าท่ีสรา้ งโอวูล (Ovuliferous scale) ในแต่ละสโตรบิลัสมีสเกลหลายอัน แต่ละสเกลมักมีโอวูล 2 อัน ส่วนสโตรบิลัสเพศผู้จะ ประกอบด้วยสเกล (Microsporophyll) จานวนมาก แตล่ ะสเกลจะมีการ สร้างละอองเกสรตวั ผู้อยภู่ ายในถุง (Pollensac) เมื่อโอวูลได้รับการผสมจะเจริญเป็นเมล็ดท่ีภายในมีต้นอ่อนที่มีใบเล้ียงต้ังแต่ 2 ใบจนถึงเป็น จานวนมาก ภาพที่ 37 Redwood และ Larch ในฤดูตา่ ง ๆ (ที่มาภาพ : http://www.flowersociety.org/images/Essences/Research/Redwood/redwood-trunk.jpg http://www.hort.wisc.edu/mastergardener/Features/woodies/larch/larch-seasons.jpg)

ชุดการสอนเร่อื ง อาณาจักรพชื (kingdom Plantae) Page | 30 ภาพท่ี 38 (ซ้าย) ใบสน (ขวา) ใบยิว (ท่ีมาภาพ : http://www.science.siu.edu/landplants/Coniferophyta/images/Pine.needles.JPEG http://www.billcasselman.com/yew.jpg) ภาพท่ี 39 (ซ้าย) โคนตัวผู้ (ขวา) โคนตวั เมีย (ท่มี าภาพ : http://web.gccaz.edu/~lsola/NonFlwr/conif105.htm) ภาพที่ 40 วงชีวติ ของสน (ท่ีมาภาพ : http://hypnea.botany.uwc.ac.za/phylogeny/bioCycles/images/pine-cycle.gif)

ชดุ การสอนเร่อื ง อาณาจักรพชื (kingdom Plantae) Phylum Gnetophyta Page | 31 เป็นพืชกลุ่มเล็ก ๆ ท่ีมีสมาชิกเพียง 3 สกุลคือ Gnetum Ephedra และ Welwitshia มีลักษณะ บางอยา่ งคล้ายคลึงกบั พชื ดอก จงึ จดั เปน็ Gymnosperm ที่มีววิ ัฒนาการสูงสุด ส่วนใหญ่พบในเขตแห้งแล้ง หรือทะเลทราย บางชนิดพบในเขตร้อน พืชในกลุ่มน้ีมีท้ังไม้พุ่ม ไม้เลื้อย ใบเป็นใบเด่ียวติดกับลาต้นแบบตรงข้ามหรือเรียงรอบข้อ เน้ือไม้มี การเจริญข้ันที่สองและมี Vessel โดยท่ัวไปจะแยกเป็นต้นเพศผู้และต้นเพศเมีย มีการสร้างอวัยวะสร้างเซลล์ สืบพันธุ์เพศเมียบนช่องสโตรบิลัส เพศเมียซ่ึงมีโอวูลแต่ละโอวูลมีนูเซลลัส (Nucellus) ล้อมรอบเซลล์สีบ พนั ธเุ์ พศผสู้ ร้างบนชอ่ สโตรบลิ สั เพศผู้ ผสมพนั ธุ์แลว้ ไดเ้ มลด็ ทตี่ น้ อ่อนภายในเมลด็ มใี บเลย้ี ง 2 ใบ ตัวอย่างของพืชกลุ่มนี้ท่ีพบในประเทศไทยเช่น มะเม่ือย Gnetum gnemon L. วงศ์น้ีเป็นวงศ์ที่พืชมี ลักษณะเจริญท่ีสุด พืชมีลักษณะเป็นไม้เล้ือยหรือไม้ยืนต้น เน้ือไม่มีการเจริญข้ันที่สอง ใบเดี่ยวแผ่กว้าง มี เส้นใบเรียงตัวเป็นร่างแห ใบติดกับลาต้นแบบตรงข้าม ต้นแยกเป็นต้วเพศผู้และต้นเพศเมีย สโตรบิลัสมี ลักษณะคล้ายชอ่ ดอกแบบสไปค์ พชื วงศ์นีม้ ลี ักษณะใกล้เคียงคล้ายใบเลีย้ งคมู่ าก ภาพท่ี 41 มะเมอ่ื ย (ทม่ี าภาพ : http://www.botanik.uni-karlsruhe.de/garten/fotos-knoch/Gnetum%20gnemon1.jpg) ส่วน Ephedra เป็นพืชที่มีลักษณะท่ัวไปเป็นไม้พุ่ม ขน้ึ อยู่ในท่ีแห้งแล้งดินทรายอาจสูงถึง 2 เมตร ลาต้นยืดยาวมีสีเขียวเห็นขอ้ และปล้องชดั เจน ใบเป็นใบเกลด็ ที่ข้อลาตน้ ข้อละ 2 ใบ แบบตรงข้าม หรือแบบ รอบข้อ มีการสร้างเซลล์สืบพันธุ์อยู่คนละต้น โดยต้นเพศผู้จะสร้างสโตรบิลัสเพศผู้ ซึ่งประกอบด้วยแบร คซ้อนกันและมีไมโครสปอรโรฟีลท่ีสร้างอับสปอร์เพศผู้ ส่วนต้นเพศเมียจะสร้างสโตรบิลัสเพศเมียซึ่ง ประกอบด้วยแบรค ท่ีสร้างโอวูลไว้ภายใน ซ่ึงหลังจากการผสมพันธุ์ แล้วก็เจริญเป็นเมล็ด Ephedra นี้มี ความสาคัญทางการแพทยเ์ พราะเป็นแหล่งใหส่ ารเอฟฟีดริน (Ephedrine) ซ่ึงใช้รกั ษาโรคหอบหดื เพราะมฤี ทธิ์ ขยายหลอดลม พืชในสกุล Welwitschia มักข้ึนอยู่ตามทะเลทรายแห้งแล้ง ลักษณะลาต้นเป็นทรงแท่งรูปกรวย มี รากยาว มีใบ 2 ใบ ใหญ่ยาวเป็นแถบติดกับลาต้นแบบตรงข้าม เส้นใบเรียงขนาน ใบคู่น้ีจะติดกับลาต้น ไปจนตลอดชีวิต ซ่ึงอาจมากกว่า 100 ปี ใบท่ียาวประมาณ 2 เมตรนี้ จะม้วนงอเป็นริบบิ้น ปลายใบจะ เห่ียวแห้งขาดไปขณะที่ ฐานใบจะงอกออก มาใหม่ในการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ อาจแยกเป็นต้นเพศผู้ ซ่ึงจะ

ชุดการสอนเรอ่ื ง อาณาจักรพืช (kingdom Plantae) สร้างสโตรบิลัสเพศผู้ ซ่ึงมีไมโครสปอร์ ส่วนต้นเพศเมียจะสร้างสโตรบิลัสเพศเมียซ่ึงมีโอวูล เมื่อผสมพันธP์ุ age | 32 จะเจริญเป็นเมล็ด ภาพท่ี 42 (ซ้าย) Ephedra (ขวา) Welwitschia (ท่มี าภาพ : http://www.naturephoto-cz.com/photos/bilek/ephedra-0134.jpg http://www.biolib.cz/IMG/GAL/18227.jpg) ประโยชน์ของพืชเมลด็ เปลอื ย พืชกลุ่มน้ี เช่น ปรง นิยมมาจัดสวนหรือสนนามาใช้ประโยชน์ในการกอ่ สร้าง และอุตสาหกรรมอื่น เชน่ ทาเย่ือกระดาษ แป๊ะกว๊ ยใชเ้ ปน็ ยาสมุนไพรใชบ้ าบัดโรคต่าง ๆ และนอกจากนี้สารสกัดจากใบแป๊ะก๊วย จะชว่ ยป้องกันและรักษาความสมบูรณ์ของผนงั หลอดเลือดฝอยและปรับระบบหมนุ เวียนเลือด ตอ่ ต้านการ อกั เสบ การบวม และเนือ่ งจากสารสกัดจากใบแป๊ะก๊วยมีความเปน็ พษิ ตา่ มากในวงการแพทย์นยิ มใช้ในผู้ป่วย ท่เี ลือดไปเลี้ยงสมองไม่เพียงพอ ผนงั หลอดเลือดแดงทางานผิดปกติ ปอ้ งกันการเกดิ อัมพาตและใช้กับโรคที่ เกี่ยวความชรา พืชดอก (angiosperm) พืชดอก (Angiosperms) เป็นพืชที่มีสมาชิกมากที่สุดในอาณาจักรพืช ปัจจุบันพืชดอกที่ค้นพบมี ประมาณ 275,000 สปีชีส์ ที่สามารถดารงชีวิตอยู่ในบริเวณต่าง ๆ ทั่วโลก ลักษณะสาคัญคือ มี ดอก (flower) ซึ่งเปน็ ก่ิงท่ีเปลย่ี นแปลงมาเป็นโครงสร้างที่ใช้ในการสืบพันธ์ุแบบอาศัยเพศ มีออวุลเจรญิ อยู่ ในรังไข่ ซงึ่ เปน็ หน่งึ ของเกสรเพศเมีย ดังน้นั ออวลุ ของพืชดอกจึงได้รับการปกป้องไดม้ ากกว่าพืชเมลด็ เปลือย ดอกประกอบด้วย กลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสรตัวผู้ และเกสรตัว มีรังไข่ซ่ึงจะเจริญเติบโตเป็นผล ภายใน รังไข่มีออวุล (ovule) ซ่ึงเจริญเป็นเมล็ด ดังน้ันส่วนของเมล็ดจึงมีรังไข่หรือส่วนของผลห่อหุ้มเมล็ดไว้ต่าง จากพืชเมล็ดเปลือยที่ไม่มีรังไข่ห่อหุ้ม พืชดอกมีความแตกต่างกันท้ังรูปร่างและขนาด มีตั้งแต่เล็กจนถึงขนาด ใหญ่ ท้ังทีเ่ ป็นไมเ้ นื้อออ่ นและไม้เนื้อแข็ง จัดอย่ใู นไฟลมั แอนโทไฟตา (anthophyta)

ชุดการสอนเร่อื ง อาณาจักรพชื (kingdom Plantae) Page | 33 Phylum Anthophyta พชื มที อ่ ลาเลียงจาแนกออกเป็น 2 กลุ่มหรอื 2 คลาส คือ คลาส Magnoliopsida (Dicotyledons) และคลาส Liliopsida (Monocotyledons) โดยพืชทั้งสองกลมุ่ มีความแตกตา่ งกันดงั ตาราง เปรยี บเทียบ สง่ิ ทีเ่ ปรียบเทียบ Magnoliopsida Liliopsida (Monocotyledons) เอมบรโิ อ (Dicotyledons) เอมบริโอมใี บเล้ยี ง 2 ใบ เอมบรโิ อมีใบเลีย้ ง 1 ใบ รปู แบบการเจริญเติบโต ส่วนใหญ่เจริญเหนอื ดิน เมล็ด สว่ นใหญ่เจริญใตด้ นิ เมลด็ มี ใบ อาจมหี รอื ไม่มเี อนโดสเปริ ์ม เอนโดสเปิรม์ เป็นพชื ลม้ ลุกหรือพชื มีเนือ้ ไม้ สว่ นใหญ่เป็นพชื ล้มลุก ดอก เส้นใบแบบร่างแห เส้นใบแบบขนาน ระบบทอ่ ลาเลียง กลบี ดอก 4 หรอื 5 กลีบ กลีบดอก 3 กลบี หรอื หรอื ทวคี ูณของ 4 หรอื 5 ทวคี ูณของ 3 ระบบราก ส่วนใหญม่ ีแคมเบยี ม จึงมีการ ส่วนใหญ่ไม่มีแคมเบยี ม จงึ ไม่มี เจรญิ ขั้นท่ี 2 การเรียงตัวของ การเจรญิ ขั้นท่ี 2 การเรียงตวั ท่อลาเลยี งเป็นระเบียบ ของท่อลาเลียงกระจดั กระจาย ไม่เป็นระเบยี บ รากเปน็ ระบบรากแกว้ รากเปน็ ระบบรากฝอย พืชในคลาสน้ีเป็นพืชมีดอก (Flowering plants) มีประมาณ 300,000 ชนิดอยู่ได้ทั่วไปทุกแห่งหน บางชนิดมีอายุเพียงฤดูกาลเดียว บางชนิดอายุยืนหลายร้อยปี บางชนิดมีขนาดใหญ่เกือบ 10 เมตรเช่น ยคู าลิปตสั แต่บางชนิดมขี นาดเล็กมากเช่น ผา หรือไขน่ า้ (Wolffia) ภาพท่ี 43 ผา (ถ่ายภาพโดยศิริมาศ สุขประเสริฐ วนั ที่ 9 พฤศจกิ ายน 2551) ลักษณะทั่วไปของพชื กลมุ่ น้คี ือ มีราก ใบ ลาตน้ ท่ีแท้จรงิ มรี ะบบท่อลาเลยี งเจรญิ ดีมาก Xylem ประกอบดว้ ย Vessel เป็นส่วนใหญ่ ทาหนา้ ทีล่ าเลียงน้า สว่ น Phloem ทาหน้าที่ลาเลียงหาร มอี วัยวะ

ชดุ การสอนเรอื่ ง อาณาจักรพชื (kingdom Plantae) สบื พันธคุ์ ือ ดอก เจริญอยู่บนกา้ นดอก มที ง้ั ทเ่ี ป็นดอกสมบรู ณ์ และดอกไม่สมบูรณ์ ดอกสมบูรณ์ Page | 34 ประกอบดว้ ย Sepal Petal Stamen และ Pistil เมล็ดมรี ังไขห่ ่อหุ้ม เมื่อรงั ไขพ่ ัฒนาเต็มที่จะกลายเป็นผล มีการปฏสิ นธิซ้อน มีวงชีวิตแบบสลับ แกมโี ตไฟตม์ ีขนาดเลก็ อยู่บนสปอโรไฟต์ ภาพที่ 44 การปฏิสนธซิ อ้ นในพชื ดอก (ทีม่ าภาพ : http://cache.eb.com/eb/image?id=72162&rendTypeId=35) ภาพท่ี 45 วงชวี ิตแบบสลับของพชื ดอก (ที่มาภาพ : http://waynesword.palomar.edu/images/flcycle.gif)

ชุดการสอนเรื่อง อาณาจักรพชื (kingdom Plantae) Page | 35 ภาพที่ 46 ภาพตัดขวางลาต้นพชื (ท่มี าภาพ : http://cyberlab.lh1.ku.ac.th/elearn/faculty/fisher/fi15/web/images/tmp/stems%20model.jpg) ภาพท่ี 47 เปรียบเทียบพชื ดอกชนดิ ใบเล้ียงเด่ียวและใบเล้ยี งคู่ (ที่มาภาพ : http://hawaii.hawaii.edu/laurab/generalbotany/images/monocots%20vs%20dicots.jpg) ความหลากหลายของพืชดอก จากแนวคิดในอดีตพืชดอกแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ พืชใบเล้ียงเดี่ยวและพืชใบเล้ียงคู่ 1.1. พืชใบเล้ียงคู่ (Diocotyledon) 1.2. พืชใบเล้ียงเด่ียว (Monocotyledon) แต่ในปัจจุบันความรู้จากการศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยา กายวิภาคและสารชีว โมเลกุล ทาให้แนวคิดเก่ียวกับสายวิวัฒนาการของพืชดอกมีการเปลี่ยนแปลง โดยพืชที่เคยจัดอยู่

ชดุ การสอนเร่ือง อาณาจักรพืช (kingdom Plantae) ในกลุ่มของพืชใบเลี้ยงคู่ได้มีการแยกสายวิวัฒนาการเป็นพืชดอกกลุ่มอื่น ๆ เช่น วงศ์ บัว Page | 36 วงศ์จาปี เป็นต้น เน่ืองจากยังคงมีลักษณะของบรรพบุรุษ เช่ือกันว่าน่าจะมีวิวัฒนาการเกิดขึ้น ในช่วงแรกก่อนจะแยกสายวิวัฒนาการเป็นพืชใบเลี้ยงคู่และพืชใบเลี้ยงเดี่ยว ดังตัวอย่างสาย วิวัฒนาการ ภาพที่ 48 สายวิวฒั นาการของพืชดอกและตัวอยา่ งพืชดอกกลุ่มต่าง ๆ (ทมี่ า : สสวท., 2548. หน้า 199) การใชป้ ระโยชน์จากพชื ดอก พชื ดอกเปน็ พืชทมี่ ีความสาคัญต่อการคงอยขู่ องมนุษยชาตใิ นแง่ของการดารงชีวติ แหล่งอาหารสาคัญ ของประชากรโลกล้วนมาจากพืชดอก นอกจากน้ียังพบว่าพืชดอกหลายชนิดได้ก่อให้เกิดความเจริญทางด้าน วัฒนธรรมในแหล่งอารยธรรมต่างบนโลก (ศึกษาเพ่ิมเติม พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวกับการจัดการ ทรัพยากรป่าไม้) แหลง่ ทรัพยากรของพชื ปัจจุบันประชากรมนุษย์ไดเ้ พิ่มจานวนมากข้ึนจงึ ก่อให้เกิดความตอ้ งการพ้ืนท่ีในการเพาะปลูกและที่อยู่ อาศัยมากขน้ึ ทาใหเ้ กิดการสูญเสียพ้ืนที่ป่าและการสญู พนั ธ์ขุ องพชื เป็นจานวนมาก ความหลากหลายสปีชสี ์ของ พืชเปน็ ทรพั ยากรที่ไมส่ ามารถสร้างมาทดแทนได้ และยังมีผลให้สัตว์และแมลงในป่าชนื้ เขตร้อนสูญพนั ธ์ุตามไป ด้วย มีการศึกษาวิจัยพบว่าการทาลายแหล่งท่ีอยู่ในป่าชื้นเขตร้อนและระบบนิเวศในบริเวณนี้เป็นการคุกคาม ส่ิงมีชีวิตประมาณ 100 สปีชีส์ต่อไป ในขณะท่ีมนุษย์มีการทาลายป่าชื้นเขตร้อน ทาให้เกิดการสูญพันธุ์ของ พืชและสัตว์ที่อาศัยอยู่ในแหล่งท่ีอยู่นั้น แต่มนุษย์ยังมีความต้องการผลผลิตจากพืชมากกว่า 1,000 สปีชีส์ เพ่ือนามาเป็นอาหาร วัตถุดิบต่าง ๆ และนามาใช้เป็นยาอีกด้วย ได้มีการวิจัยพบว่าพืชในป่าชื้นเขตร้อนเป็น พืชสมุนไพรที่นิยมนามาใช้ต้ังแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ในประเทศไทยมีการนาสุมนไพรมาใช้เป็นยาประจาบ้าน ตั้งแต่สมัยโบราณ และในปัจจุบันได้มีการส่งเสริมการนาพืชสมุนไพรดังกล่าวมาใช้ในการผลิตยาเป็นการค้า อีกด้วย ดังนนั้ จึงควรมีการรณรงค์ป้องกันการทาลายป่าช้ืนเขตรอ้ นเพ่ือปอ้ งกันการสูญพนั ธุ์ของส่ิงมีชวี ิตและ ควรตระหนักว่าการทาให้สิ่งมีชีวิตสูญพันธ์ุน้ันเกิดข้ึนได้อย่างรวดเร็ว แต่การเกิดสปีชีส์ขึ้นมาใหม่น้ันเป็น กระบวนการทเี่ กิดขน้ึ อย่างชา้ ๆ ดังนน้ั ควรทาอย่างไรจึงจะเปน็ การอนุรักษค์ วามหลากหลายของพืชไวใ้ นโลก

ชดุ การสอนเรอ่ื ง อาณาจักรพชื (kingdom Plantae) กิจกรรมท่ี 1 Page | 37 ตอน กาเนดิ ลกั ษณะสาคญั ของส่ิงมชี ีวติ อาณาจักรพชื คาช้แี จง ใหน้ ักเรียนตอบคาถามเกี่ยวกบั กาเนดิ ลักษณะสาคญั ของสง่ิ มีชีวิตอาณาจักรพืชตามหัวข้อ ตอ่ ไปนี้ 1.พืชวิวัฒนาการมาจากสิ่งมชี ีวิตอาณาจักรใด กลมุ่ ใด และพวกใด ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... 2.พิจารณาข้อความตอ่ ไปนีว้ ่าสอดคล้องกบั การปรับตัวของพชื เม่ือมาอยู่บนบกดา้ นใด โดยบางข้อความอาจ สอดคล้องกบั การปรบั ตัวของพืชไดม้ ากกวา่ 1 ด้าน ขอ้ ความ o(A) การมีสารพวกไขมันมาเคลอื บทเี่ นือ้ เยอ่ื ผวิ (Epidermis tissue) เกดิ เป็นชนั้ คิวตเิ คิล o(B) การแบ่งหน้าท่ีของอวัยวะตา่ งๆ ไปเป็นรากเพือ่ เสาะหาน้าและธาตอุ าหาร o (C) การลดการพงึ่ พาน้าท่ีเป็นตวั กลางสาหรับการเคล่อื นที่ของเซลล์สบื พันธุ์เพศผูจ้ ากอับเซลล์ สบื พันธ์ุเพศผ้ไู ปยังเซลลส์ บื พันธ์ุเพศเมยี o(D) การเปิดปดิ ของปากใบได้โดยการเปล่ียนแปลงรูปรา่ งของเซลลค์ มุ 2 เซลล์ o (E) การมี ลาตน้ เพอื่ ชูกิ่งกา้ นและใบให้ได้รบั แสงและทาหน้าสังเคราะห์แสง o(F) การมีสารสปอโรพอเลนิน (sporopollenin) เคลอื บท่ีผิวของสปอร์ o(G) การมเี น้ือเย่อื ลาเลยี งน้าแร่ธาตแุ ละอาหาร o (H) การมีเซลล์ท่ีเปน็ หมันอยู่ล้อมรอบเซลล์สบื พันธ์ุ 2.1 การปรับตัวด้านโครงสร้าง…………………………………………………………… 2.2 การป้องกันการสูญเสียน้า…………………………………………………………… 2.3 การปรับตัวด้านการสบื พันธ์ุ………………………………………………………….. 3. หากพจิ ารณาการปรับตัวของพืชด้านสารเคมี สารต่อไปน้ี มีประโยชน์ต่อการวิวัฒนาการมาอยู่บนบกของ พืชอย่างไร 3.1 สารคิวติน (Cutin) ................................................................................................................ 3.2 สารลิกนนิ (Lignin) .............................................................................................................. 3.3 สารซูเบอริน (Suberin) ......................................................................................................... 3.4 สารเพคติน (Pectin) ............................................................................................................. 3.5 สารสปอโรพอลเลนนิ (Sporopollenin) ..................................................................................

ชดุ การสอนเรอื่ ง อาณาจักรพืช (kingdom Plantae) 4. พจิ ารณาคาและข้อความตอ่ ไปนีว้ า่ พบได้ในวงชีวติ ของพชื ในระยะใด Page | 38 คา/ขอ้ ความ o (A) เอ็มบรโิ อ o (B)แกมมตี o (C)ไซโกต o (D)สปอร์มาเทอร์เซลล์ o (E)สปอร์ o (F)กระบวนการสรา้ งสปอร์ o (G)ระยะทเี่ ซลล์มชี ุดโครโมโซมเปน็ ดพิ ลอยด์ o (H)ระยะที่เซลลม์ ีชุดโครโมโซมเปน็ แฮพลอยด์ o (I)ระยะท่ีพบการแบง่ เซลลแ์ บบไมโอซีส 4.1 วงชวี ิตของพชื ระยะสปอโรไฟต…์ ………………………………………………………… 4.2 วงชีวติ ของพืชระยะแกมโี ทไฟต์…………………………………………………………… 5. พืชท่มี กี ารสรา้ ง Homospore กบั Heterospore มคี วามแตกตา่ งกันอยา่ งไร ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………

ชดุ การสอนเร่ือง อาณาจักรพชื (kingdom Plantae) กิจกรรมท่ี 2 Page | 39 ตอน ความหลากหลายของสิ่งมชี วี ติ ในอาณาจักร คาชีแ้ จง ใหน้ ักเรียนตอบคาถามเกยี่ วกับความหลากหลายของสง่ิ มชี ีวิตในอาณาจักร พืช ตามหัวขอ้ ต่อไปนี้ 1.ใหน้ ักเรยี นพจิ ารณาแผนภาพความหลากหลายของพชื แล้วนาหมายเลขของคาเติมลงในช่องว่างในแผนภาพ ให้ถูกตอ้ งเหมาะสมตามสายวิวัฒนาการ หมายเลขของคา (1) ไฟลัมนโี ทไฟตา (11) ไฟลัมแอนโทไฟตา (21) จาปีจาปา (2) มะเมื่อย (12) หญา้ ถอดปล้อง (22) ไฟลัมโคนิเฟอโรไฟตา (3) ซแิ ลกจิเนลลา (13) แปะกว๊ ย (23) พืชไร้เมลด็ (4) พืชใบเลยี้ งคู่ (14) ไฟลัมเทอโรไฟตา (24) พืชมีดอก (5) ไฟลัมไลโคไฟตา (15) ไฟลัมไบรโอไฟตา (25)ไฟลัมกิงโกไฟตา (6) ไฟลัมแอนโทซโี รไฟตา (16) โป๊ยกั๊ก (26)พืชใบเลีย้ งเด่ียว (7) พชื มเี มล็ด (17) หวายทะนอย (27) ฮอรน์ เวิรต์ (8) ไฟลัมเฮปาโทไฟตา (18) สน (9) แอมโบเรลลา (19) ลิเวอร์เวิรต์ (10)พชื เมลด็ เปลือย (20) ไฟลัมไซแคโดไฟตา

ชุดการสอนเรือ่ ง อาณาจักรพชื (kingdom Plantae) 2. ใหน้ กั เรยี นขยายความหมายของคาต่อไปน้ี Page | 40 2.1 ไรชอยด์ (Rhizoid) 2.2 ฟลิ ลอยด์ (Phylloid) …………………….. 2.3 เคาลอยด์ (Cauloid) 2.4 แอนเทอรเิ ดยี ม (Antheridium) 2.5 อารช์ โี กเนียม (Archegonium) 2.6 แทลลสั (thallus) 2.7 ลิฟฟี (leafy) 2.8 คอสตา (Costa) 2.9 เพอริสโทมทีธ (Peristome teeth) 2.10 สโตรบิลัส (Strobilus) 2.11 สปอแรงเจียม (Sporangium) 2.12 สเกลลฟี (Scale leaf) 2.13 โฮโมสปอร์ (Homospore) 2.14 เฮทเทอโรสปอร์ (Heterospore) 2.15 Circinate vernation 2.16 โมนีเชยี ส (Monoecious plant) 2.17ไดอีเชยี ส (Dioecious plant) 2.18 อินเทกิวเมนต์ (integument)

ชดุ การสอนเร่ือง อาณาจักรพชื (kingdom Plantae) Page | 41 3.ให้นักเรียนพิจารณาพืชในกลุ่มตอ่ ไปน้วี า่ มีการสร้างสปอร์แบบใด โดยทาเครือ่ งหมาย / ในตารางใหถ้ ูกต้อง ขอ้ ท่ี กลุม่ พชื รูปแบบการสรา้ งสปอร์ สโตรบลิ สั Homospore Heterospore มี ไมม่ ี 3.1 มอส 3.2 ไลโคโพเดียม 3.3 ซีแลกเจเนลลา 3.4 หวายทะนอย 3.5 หญา้ ถอดปล้อง 3.6 เฟนิ 3.7 ปรง 3.8 แปะกว๊ ย 3.9 มะเม่ือย 3.10 สน 3.11 พืชมีดอก

ชดุ การสอนเร่ือง อาณาจักรพชื (kingdom Plantae) Page | 42 แบบทดสอบหลงั เรยี น คาชีแ้ จง 1. แบบทดสอบแบบปรนยั 4 ตวั เลอื ก มจี านวนทั้งหมด 5 ข้อ คะแนนเตม็ 5 คะแนน 2. ใหน้ ักเรียนทาเคร่อื งหมายกากบาท (X) ลงในช่องตวั เลือกท่ถี ูกตอ้ งท่ีสุด 1. ส่ิงในชีวติ ท่ีจะจัดไวใ้ นอาณาจักรพชื (Kingdom Plantac) ตอ้ งมลี ักษณะสาคญั เด่นชัดในขอ้ ใด ก.มหี ลายเซลล์ (multicellular) และมีคลอโรพลาสต์ ข.มผี นังเซลล์ มคี ลอโรพลาสต์ และมีวงจรชวี ิตแบบสลับ (alteration of generation) ค.มีระยะต้นอ่อน มีคลอโรพลาสต์และมีวงจรชีวิตแบบสลบั ง.มีเนอื้ เยื่อ มีระยะตัวอ่อน มีการสบื พันธุ์แบบใชเ้ พศ สลบั กับแบบไมใ่ ชเ้ พศ 2. ข้อใดเรียงลาดับพชื ตามหมวดหม(ู่ อนกุ รมวิธาน) จากต่าไปสงู ไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง ก.มอส ช้องนางคล่ี ผักแวน่ สนญี่ปนุ่ หญา้ แพรก ข.ลิเวอร์เวิร์ต หญ้ารงั ไก่ ปรง กดู เกี๊ยะ สนญ่ปี ุ่น ค.มอส หวายทะนอย สนทะเล ปแกว๊ ย หญา้ ขจรขบ ง.ลิเวอร์เวิร์ต เฟนิ ใบมะขาม สนปฏพิ ัทธ์ิ สนสองใบ หญา้ ถอดปล้อง 3. ถ้าพจิ ารณาเฉพาะสิง่ มชี ีวิตในอาณาจกั รพชื ลักษณะใดที่พบเฉพาะในมอสและลเิ วอรเ์ วร์ต ก.สร้างสปอร์ภายในอับสปอร์ ข.มไี รซอยด์ทาหนา้ ท่คี ล้ายราก ค.แกมีโฟตเ์ ป็นช่วงชีวิตทีเ่ ด่น ง.อาศยั นา้ เป็นตวั กลางในการปฏิสนธิ 4. พืชใดอยใู่ นกลมุ่ ไมด้ อกทั้งหมด ก. สรอ้ ยสุกรม บอน แหน ผกั แว่น ข.สาหร่ายหางกระรอก สาหรา่ ยข้าวเหนียว จอก ตะไคร้ ค.สร้อยสดี า ชายผ้าสีดา กระเข้าสีดา พลู ง.หญา้ รงั ไก่ หญา้ ถอดปลอ้ ง หญา้ แพรก หญา้ นกสีชมพู 5. ปจั จยั ใดที่ทาใหพ้ ชื มอส และลเิ วอร์เวิรต์ มีขนาดเล็กและมกั ขึ้นในท่ีชมุ ช้นื ก.แสงสวา่ ง ข.การคายน้า ค.ความแห้งแลง้ ง.ระบบลาเลียง กระดาษคาตอบ ข้อ ก ข ค ง 1 คะแนนทไ่ี ด้ 2 ลงช่ือผตู้ รวจ 3 4 5

ชุดการสอนเร่ือง อาณาจักรพชื (kingdom Plantae) เอกสารอ้างอิง Page | 43 สมบุญ เตชะภญิ ญาวฒั น์. (2537). พฤกษศาสตร์. พิมพค์ รงั้ ที่ 3. สานักพิมพร์ ั้วเขียว. พมิ พ์ที่โรง พิมพ์สหมิตร ออฟเซท. กรุงเทพ. 277 หน้า. โครงการตาราวทิ ยาศาสตร์และคณิตศาสตร์มูลนิธิ สอวน. (2548). ชีววทิ ยา 1. พมิ พค์ รั้งท่ี 2. พิมพท์ ี่บริษัท ดา่ นสทุ ธาการพิมพ์. กรงุ เทพ. Mader S. Sylvia. (2007). Biology. The ninth edition. The McGraw-Hill Companies, Inc. McGraw-Hill International edition. USA. 1016 p.

ชดุ การสอนเรื่อง อาณาจักรพืช (kingdom Plantae) Page | 44


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook