Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อาณาจักรฟังไจ

อาณาจักรฟังไจ

Published by BIOLOGY M.4, 2020-06-21 02:19:35

Description: อาณาจักรฟังไจ

Search

Read the Text Version

ชดุ การสอนเร่ือง อาณาจักรฟงั ใจ (kingdom Fungi) Page | 1 ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ รายวิชาชีววิทยาเพ่ิมเติม รหสั วิชา ว 33242 ชน้ั มธั ยมศึกษาปี ที่ 6 โดย นางสาววาสนา ดวงใจ,นางสาวเกษณี พนั ธจ์ นั ทร์ โรงเรยี นศีขรภมู ิพิสยั สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 33

ชดุ การสอนเรอื่ ง อาณาจักรฟังใจ (kingdom Fungi) Page | 2 มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว1.2 เข้าใจกระบวนการและความสาคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม วิวัฒนาการของส่ิงมีชีวติ ความหลากหลายทางชีวภาพ การใช้เทคโนโลยีชวี ภาพทีม่ ี ผลกระทบต่อมนุษย์ และสิ่งแวดล้อม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ ส่ือสาร สิ่งท่ีเรียนรู้ และนา ความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์ มาตรฐาน ว8.1 ใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปญั หารวู้ า่ ปรากฏการณท์ างธรรมชาติทีเ่ กิดขึ้นส่วนใหญ่มรี ปู แบบทีแ่ นน่ อนสามารถ อธิบายและตรวจสอบไดภ้ ายใต้ข้อมูลและเครอื่ งมอื ท่ีมอี ยใู่ นช่วงเวลานั้นๆเข้าใจว่าวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี สงั คม และส่งิ แวดล้อมมีความเก่ียวข้องสัมพนั ธ์กนั ผลการเรยี นรู้ 1. สืบค้นข้อมูล ทดลอง อภิปราย อธิบายและสรุปเกณฑ์ท่ีใช้ในการจัดจาแนกสิ่งมีชีวิต ออกเป็นโดเมนและอาณาจักร ลักษณะท่ีเหมือนและแตกต่างกันของสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรมอเนอรา อาณาจกั รโพรทสิ ตา อาณาจกั รพืช อาณาจกั รฟังไจ และอาณาจกั รสัตว์ 2. สืบค้นข้อมูล อภิปราย อธิบาย และนาเสนอคุณค่าของความหลากหลายทางชีวภาพกับ การใชป้ ระโยชนข์ องมนษุ ย์ท่มี ผี ลตอ่ สังคมและสิ่งแวดลอ้ มในชุมชนท้องถ่ิน จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นกั เรยี นอธิบายลักษณะและการดารงชีวติ ของอาณาจักรฟงั ไจได้ 2. นักเรยี นสามารถสบื คน้ ข้อมลู เพ่ืออธบิ ายลักษณะของอาณาจกั รฟงั ไจได้ 3. นักเรยี นสามารถอภปิ รายและนาเสนอความหลากหลายของอาณาจกั รฟงั ไจได้

ชุดการสอนเรอื่ ง อาณาจักรฟงั ใจ (kingdom Fungi) สาระสาคญั Page | 3 อาณาจักรฟังไจ (KINGDOM FUNGI) เห็ด ราและยสี ต์มีลักษณะท่ัวไปคล้ายกบั พืชและ โปรตสิ ต์ ต่างกันตรงทีไ่ ม่มีรงควตั ถเุ พื่อใช้ในการสังเคราะห์ดว้ ยแสง สว่ นใหญจ่ ึงดารงชีพ โดยเปน็ ผู้ ย่อยสลายอินทรยี ์สาร ประกอบดว้ ยกลุ่มของเซลล์ ซึง่ มีลกั ษณะเป็นเส้นใยเรยี กว่า (HYPHA) ซงึ่ เจรญิ มาจากสปอร์ กลมุ่ ของไฮฟา เรียกวา่ ไมซีเลยี ม(MYCELIUM) โดยมีไรซอยดช์ ว่ ยยดึ ไฮฟาตดิ กับแหล่งที่ อยู่ ราแยกเปน็ กลุ่มต่างๆดังน้ี 1. DIVISION ZYGOMYCOTA ราดา(Rhizopus sp.)ทข่ี ้นึ บนขนมปงั 2. DIVISION ASCOMYCOTA ยีสต์ (Saccharocyces sp.) และราสแี ดง (Monascus sp.) 3. DIVISION BASIDIOMYCOTA เห็ดชนิดต่างๆ ตวั อย่างเช่น เห็ดฟาง เหด็ หอม และรา สนิม 4. DIVISION DEUTEROMYCOTA ราสีเขียว (Penicillium sp.) ท่ีใช้ในการผลิตยาเพนิซิลิน เราใชใ้ นการผลิตกรดซติ ริก (Aspergillus niger) เปน็ ตน้ สาระการเรียนรู้ 1. ดา้ นความรู้ 1.1 อาณาจักรฟังไจ 1.1.1 ลกั ษณะรูปรา่ งและการดารงชวี ิตของฟงั ไจ 1.1.2 ความหลากหลายของฟังไจ 1.1.3 บทบาทของฟงั ไจ 2. ดา้ นกระบวนการ 2.1 อภิปราย อธิบาย และสรุปลักษณะของส่ิงมีชีวิตในอาณาจักมอเนอรา อาณาจกั รโพรทสิ ตา อาณาจกั รพืช อาณาจกั รฟังไจ และอาณาจกั รสตั ว์ 3. คุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ 3.1 มีวินัย 3.2 ใฝ่เรยี นรู้ 3.3 มงุ่ มน่ั ในการทางาน 3.4 มจี ิตสาธารณะ 4. สมรรถนะทสี่ าคญั ของผูเ้ รยี น 4.1 ความสามารถในการสือ่ สาร 4.2 ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

ชุดการสอนเรื่อง อาณาจักรฟงั ใจ (kingdom Fungi) แบบทดสอบกอ่ นเรียน Page | 4 คาชี้แจง 1. แบบทดสอบแบบปรนัย 4 ตัวเลอื ก มีจานวนทง้ั หมด 5 ข้อ คะแนนเตม็ 5 คะแนน 2. ให้นกั เรียนทาเครื่องหมายกากบาท (X) ลงในช่องตัวเลือกที่ถูกต้องท่สี ุด 1. ฟังไจไฟลมั ใดเปน็ กลุ่มแรกทม่ี วี วิ ัฒนาการขึน้ มากอ่ น ก. ไฟลัมไซโกไมโคตา (Phylum Zygomycota) ข. ไฟลัมแอสโคไมโคตา (Phylum Ascomycota) ค. ไฟลมั เบสดิ โิ อไมโคตา (Phylum Basidiomycota ง. ไฟลมั ไคตรดิ ดิโอไมโคตา (Phylum Chytridiomycota) 2. สมาชกิ ส่วนใหญ่ของอาณาจกั รฟงั ไจมีการจดั เรยี งตัวเป็นเส้นใยแตล่ ะเส้นเรยี กวา่ อะไร ก. แซนโทฟีลล์ ข. แคโรทีน ค. ไฟโคบิลนั ง. ไฮฟา 3. ข้อใดไม่ได้จดั อยูใ่ นอาณาจักรฟังไจ ก. ราดา ข. ราแดง ค. ราเมอื ก ง. ราขนมปัง 4. ฟรุตติง บอดี (Fruiting body) ทาหนา้ ทีส่ าคัญอยา่ งไร ก. ยึดเกาะอาหาร ข. ดูดซบั สารอาหาร ค. ส่งเอนไซมไ์ ปสลายสารอาหารภายนอกเซลล์ ง. สรา้ งสปอรท์ ี่ไดจ้ ากการสืบพนั ธ์ุแบบอาศัยเพศ 5. ข้อใดไม่ใชผ่ ลติ ภัณฑท์ ่ีเกิดจากสิ่งมชี ีวิตในอาณาจักรฟงั ไจ ก. สาโท ขา้ วหมาก ข. เตา้ เจี้ยว เนยแข็ง ค. น้าปลา น้าส้มสายชู ง. เบยี ร์ ขนมปัง ข้อ ก ข ค ง 1 กระดาษคาตอบ 2 3 4 5 คะแนนทไ่ี ด้ ลงชื่อผ้ตู รวจ

ชดุ การสอนเรือ่ ง อาณาจักรฟังใจ (kingdom Fungi) บัตรกจิ กรรมท่ี 1 Page | 5 ตอน ศึกษาลักษณะของอาณาจกั รฟงั ไจ จุดประสงค์ เพอื่ ศึกษาลักษณะรปู ร่างของฟังใจ วสั ดอุ ปุ กรณ์ 1. กล้องจลุ ทรรศน์ 2. สไลดแ์ ละกระจกปิดสไลด์ 3. บกี เกอร์ขนาด 250 cm3 4. หลอดหยด วธิ ีการทดลอง 1. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาลักษณะของเห็ดฟางหรือเห็ดชนิดอื่นและราท่ีข้ึนบนขนมปัง อาหารหรือผลไม้ โดยพิจารณาลักษณะโครงสร้าง บันทึกลักษณะที่สังเกตได้ และวาดภาพประกอบ อาจใชแ้ วน่ ขยายช่วยในการสังเกต 2. กลุ่มที่เลือกศึกษาเห็ดชนดิ ต่าง ๆ ให้นาดอกเห็ดที่บานใหม่ ๆ มาฉีกตามยาวของครีบให้มี ครีบติดกัน 3-4 อัน ใช้ใบมีดโกนตัดครีบเห็ดตามขวาง นาไปวางบนสไลด์หยดกลีเซอรีน 50 % ปิดจกปิดด้วยกระจกปิดสไลด์ แล้วตรวจดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ บันทึกและวาดภาพส่ิงที่สังเกตเห็น ในกรณีท่ีสปอร์ของเห็ดท่ีศึกษามีลักษณะใสไม่มีสีให้เลือกย้อมชนิดใดชนิดหน่ึงหยดลงไปก่อนท่ีจะปิด ดว้ ยกระจกปิดสไลด์ 3. กลุ่มท่ีเลือกศึกษาราข้ึนที่ขนมปัง อาหารหรือผลไม้ ให้ใช้เข็มเขี่ย เข่ียเส้นใยและสปอร์ลง สไลด์ หยดสียอ้ มชนิดใดชนดิ หนงึ่ ลงไป แลว้ ปิดด้วยกระจกปิดสไลด์ แลว้ ตรวจดดู ้วยกล้องจุลทรรศน์ บนั ทึกและวาดภาพส่งิ ท่สี ังเกตเห็น 4. กลุม่ ทีเ่ ลือกศึกษายีสต์ ให้นายีสต์เตรียมไว้ในน้าผลไม้ มาหยดลงบนแผน่ สไลด์และปิดดว้ ย กระจกปดิ สไลด์ นาไปตรวจดูดว้ ยกลอ้ งจลุ ทรรศน์ บันทึกและวาดภาพท่ีสังเกตเหน็ 5. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มไปศกึ ษาเห็ด รา หรือยีสต์ของเพอ่ื นักเรียนกล่มุ อื่น โดยตรวจดูจาก กลอ้ งจลุ ทรรศน์ทแี่ ตล่ ะกล่มุ เตรียมไว้ บนั ทกึ และวาดภาพสิ่งทีส่ ังเกตเห็น ขอ้ ควรระวัง : ในการศึกษารานักเรยี นควรเลือกราท่ีสปอร์ยังไมแ่ ก่ โดยสงั เกตจากสีสปอร์ ถ้า สปอร์แกจ่ ัดจะเปน็ สีดา สปอรอ์ าจแตกและแพร่กระจาย เพ่ือปอ้ งกันไม่ให้สปอรข์ องราปลิวเขา้ สู่ จมูกและปากใหใ้ ชผ้ ้าคาดจมูกและปากในขณะท่ีศึกษา

ชดุ การสอนเร่ือง อาณาจักรฟังใจ (kingdom Fungi) Page | 6 บันทึกผล สรปุ ผล

ชดุ การสอนเร่อื ง อาณาจักรฟงั ใจ (kingdom Fungi) บัตรเน้ือหา Page | 7 อาณาจักรฟังไจ (Kingdom Fungi) เห็ดราเป็นสิ่งมีชีวิตเล็กๆ ท่ีอยู่ใกล้ชิดกับมนุษย์ สามารถพบได้ทั้งภายในร่างกายและรอบๆ ตัวเรา สามารถพบไดท้ ั้งตามพื้นดิน น้า อากาศ ต้นไม้ สัตว์ และสิ่งไมม่ ีชีวติ แม้ว่าในปี 1991 จะมี รายงานการศึกษาเกี่ยวกับเห็ดราเพียง 65,000 ชนิด แต่คาดวา่ จริง ๆ แล้วน่าจะมีถงึ 1.5-2.5 ล้าน ชนิดโดยเฉพาะในแถบร้อน เห็ดรามีท้ังประโยชน์และโทษต่อส่ิงมีชีวิตอ่นื และหลายครั้งที่เห็ดราเป็นตัว ต้นเหตขุ องการผุพัง เสอื่ มสลายของวัตถทุ ่ีไม่มชี ีวิต โรคหลาย ๆ โรคของมนุษย์มีสาเหตุมาจาก “เช้ือรา” เช่น กลาก เกลื้อน ฮ่องกงฟุต เชื้อ ราในร่มผ้า และรังแค เป็นต้น แต่บทบาทการก่อโรคนี้เป็นเพียงบทบาทเล็ก ๆ ของเห็ดรา บทบาท สาคัญของเห็ดราเป็นบทบาทที่มีต่อระบบนิเวศ ไม่ว่าจะเป็นบทบาทในการเป็นผู้ย่อยสลายในธรรมชาติ ก่อให้เกิดระบบหมุนเวียนแร่ธาตุต่าง ๆ เช่น คาร์บอน (C) ไนโตรเจน (N) ออกซิเจน (O) และ ฟอสฟอรัส (P) จากซากสัตว์สิ่งมีชีวิตให้กลับคืนสู่ธรรมชาติ เพ่ือให้สิ่งมีชีวิตอ่ืน ๆ ได้ใช้ประโยชน์ ต่อไป หรือบทบาทการเป็น “แหล่งอาหาร” ของส่ิงมีชีวิตอ่ืน ๆ ในห่วงโซ่อาหารแบบที่เรียกว่า Detritus food chain หรือ Saprophytic food chain ภาพท่ี 1 (ซ้าย) หว่ งโซ่อาหาร (ขวา) สายใยอาหาร ทเ่ี รมิ่ ต้นจากผ้ยู อ่ ยสลาย (ท่ีมาภาพ : http://jimswan.com/111/niches/detritus_chain.gif http://www.econguru.com/fundamentals_of_ecology/image/detritusfoodweb.gif) เห็ดรามีท้ังที่เป็นเส้นใย และเป็นกลุ่มเส้นใย ถ้ามีขนาดเล็กมักถูกเรียกว่า “รา” แต่ถ้ามีขนาด ใหญ่มองเห็นชัดด้วยตาเปล่ามักเรียกว่า “เห็ด” ซ่ึงการพัฒนารูปร่างของเห็ดรานั้น จะแตกต่างกันไป ตามชนิดของเห็ดราน้ัน ๆ ส่วนลักษณะพิเศษของมันก็คือ สามารถสืบพันธุ์ได้ท้ังแบบอาศัยเพศและไม่

ชดุ การสอนเรื่อง อาณาจักรฟงั ใจ (kingdom Fungi) อเพาื่อศสัยเรพ้าศงอาแหตา่มรันดจ้วะยไตม่ัสวเาอมงาเรหถมสือรน้ากงับอาพหืชารเแอตง่เไหด็ด้ รเานกื่อ็มงีวจิธาีทก่ีจไมะด่มีารรงงคชวีวัติตถอุทยี่จู่ดะ้วชย่วยกใานรกรัาบรสสาังรเอคารหาะาหร์จแสากงPage | 8 ภายนอกในรูปแบบการเกาะกนิ หรือเบียดเบียนส่ิงมีชวี ิตชนิดอน่ื เรียกว่าเปน็ “ปรสิต” (Parasite) หรือ เปน็ ผู้ยอ่ ยสลายซากสิ่งมีชวี ิต (Saprophyte) การศึกษาด้านเห็ดราหรือวิทยาเช้ือราหรือกิณวิทยา (Mycology : Mykes (mushroom) และ logos (discourse)) เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับเห็ดราและ yeast ต่าง ๆ มนุษย์รู้จักเช้ือรามาตั้งแต่ โบราณกาลนับเป็นพันๆ ปี โดยเฉพาะอย่างย่ิงพวกท่ีสร้าง fruit-body ที่มีขนาดใหญ่และเห็นได้ง่าย เชน่ พวกเห็ดต่างๆ เปน็ เวลานานหลายศตวรรษมาแล้วที่ชาวจีนรู้จกั น้าราบางชนิดมาใช้ประโยชน์ในการ ผลิตอาหาร และยารักษาโรค ชาวโรมันรู้จักแยกเห็ดชนิดท่ีใช้รับประทานได้และเห็ดชนิดที่เป็นพิษ การศกึ ษาทางด้านราอย่างจรงิ จังน้ัน เพ่ิงเริ่มตน้ เม่ือประมาณ 200 – 300 ปที ่ีผ่านมา หลังจากท่ีได้ มีการประดิษฐ์กล้องจุลทรรศน์ในศตวรรษที่ 17 โดย Antony van Leewenhoek (1632-1732) จึง มีผู้สนใจศึกษาจุลินทรีย์และราที่มีขนาดเล็กกันอย่างกว้างขวาง โดยเริ่มจากงานของ Pier’ Antonio Micheli (1679-1739) ซ่งึ อาจกล่าวไดว้ า่ เปน็ บิดาแหง่ “เหด็ รา” ภาพท่ี 2 (ซ้าย) Pier’ Antonio Micheli และ (ขวา) หนังสือ Nova Plantorum Genera (ทีม่ าภาพ : http://www.webalice.it/mondellix/Storia_della_micologia.htm) Micheli เป็นนักพฤกษศาสตร์ชาวอิตาเลียน นับเป็นคนแรกท่ีได้น้ากล้องจุลทรรศน์มาใช้ใน การศึกษารา (กล้องจุลทรรศน์ในยุคน้ันมีก้าลังขยายต้่ามาก) งานของ Micheli ท่ีสาคัญได้แก่ หนังสือชือ่ “Nova Plantorum Genera” ซ่ึงเขียนเป็นภาษาละติน และพิมพ์ในปี 1729 ได้เขียนถงึ รา ไว้ประมาณ 900 ชนิด และพืชต่าง ๆ อีก 1,000 ชนิด จึงถือได้ว่า Micheli เป็นผู้ที่ศึกษาราได้ อย่างละเอียดลึกซ้ึงมากกว่าผู้ใดในสมัยน้ัน และยังเป็นคนแรกที่อธิบายลักษณะของ ascus และ ascospore ใน lichen และ truffle และ Micheli ได้จัดทาคู่มือภาพประกอบคาบรรยายในการ จาแนกเห็ดราจนถึงระดับ species อีกด้วย ตัวอย่างชื่อ genus ที่ Micheli ใช้เรียกรา และยังคงใช้ กนั จนดงึ ปัจจุบันไดแ้ ก่ Mucor Aspergillus Botrytis Lycoperdon Geastrum และ Tuber เป็นตน้

ชุดการสอนเรื่อง อาณาจักรฟงั ใจ (kingdom Fungi) อาจนับไดน้วอ่ากเปจ็นากคจนะทแร้ากกาทรี่พศยึกาษยาารมาเลท้ียี่มงีขเนช้ืาอดรใาหญแ่ละเชแ่นสดงพใวหก้เเหห็น็ดวต่า่าใงนอๆากดาังศกมลีส่าปวอมรา์ขแอลง้วราMกiรchะจelาiยอยยังPู่ age | 9 โดยท้าการทดลองน้าผล squash มาผ่าเป็น 2 ซีก แล้วโรยด้วยสปอร์ของรา Botrytis จากน้ันนา ครอบแก้ว (bell jar) มาครอบช้นิ ส่วนหนึ่งไว้ ส่วนอีกช้ินหน่ึงวางไว้โดยไม่มอี ะไรปิด เม่ือเวลาผ่านไป 2-3 วัน เขาพบวา่ ช้ินส่วนที่ถูกครอบไว้น้ันมีรา Botrytis เจรญิ ปกคลุมเพียงชนิดเดยี วเท่านั้น แต่ช้ินที่ ไมไ่ ด้ครอบนอกจากจะพบรา Botrytis แล้ว ยังพบราชนิดอ่ืน ๆ เช่น Mucor และ Rhizopus เจริญ ปะปนอยู่ด้วย ซ่ึง Micheli ได้อธิบายว่าเป็นเพราะมีสปอร์ของราอ่ืนในอากาศมาตกลงบนช้ิน squash ท่ีไม่ได้ครอบดว้ ยครอบแกว้ ปัจจุบันมีผู้ศึกษาเกี่ยวกับอนุกรมวิธานของราในทุกมุมโลก การศึกษาวิจัยทางราท่ีมีผู้ให้ความ สนใจกันมากในระยะหลังน้ี ได้แก่ การศึกษาทางด้านชีพจักร สรีรวิทยา ลักษณะการสืบพันธ์ุทาง เพศการเปล่ียนแปลงทางพันธุกรรม ultrastructure เซลล์วิทยา การผลิตสารปฏิชีวนะ และสารพิษ ต่าง ๆ ของรา รวมถึงการน้าราไปใช้ประโยชน์ต่าง ๆ เช่น การแปรรูปผลิตภัณฑ์ การควบคุม ศัตรูพชื และการใชเ้ ปน็ อาหาร เป็นตน้ ศัพท์ท่ีใช้เรียกรานั้นได้แก่ ค้าว่า Fungus ซึ่งเป็นเอกพจน์ ส่วนค้าว่า Fungi เป็นพหูพจน์ Fungus เดิมมีความหมายว่า Mushroom แต่ในปัจจุบันความหมายจะกินความไปถึงราท้ังหมด ไม่ใช่แต่ เฉพาะเหด็ หรอื Mushroom เท่าน้ัน ลกั ษณะพ้นื ฐานของราโดยทั่วไป 1. เซลล์เป็นแบบ Eukaryotic cell (มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส) ท่ีอาจพบว่าในหนึ่งเซลล์มีมากกว่า หนึ่งนิวเคลียส 2. ไม่มคี ลอโรฟลิ ล์ จึงด้ารงชีวติ แบบ Heterotroph โดยดูดซับสารจากส่ิงแวดล้อม อาจเป็น ผยู้ ่อยสลายสารอนิ ทรยี ์ หรอื เปน็ ปรสติ หรือ Symbionts 3. ผนังเซลล์ประกอบด้วย เซลลูโลส (Cellulose) (พบเฉพาะใน Zygomycota) หรือ เฮมิ เซลลโู ลส (Hemicellulose) หรือ ไคติน (Chitin) อยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ 4. มีท้ังเซลล์เดีย่ ว (Yeast) และเป็นเสน้ ใยเลก็ ท่เี รียกวา่ ไฮฟา (Hypha/Hyphae) หรือเส้นใย รวมกลุ่ม ที่เรียกว่าขยุ้มรา (Mycelium/Mycelia) ลักษณะของเส้นใยแบ่งออกเป็น 2 ชนิด 4.1 เส้น ใยมีผนังก้ัน (Septate hypha) 4.2 เส้นใยที่ไม่มีผนังกั้น (Nonseptate hypha หรือ Coencytic hypha) ภาพท่ี 3 (ซ้าย) เส้นใยราแบบมผี นังกน้ั (ขวา) เส้นใยราแบบไมม่ ีผนังก้นั (ที่มาภาพ : http://www.rogers.k12.ar.us/users/ehutches/hypha1.gif)

ชุดการสอนเรอ่ื ง อาณาจักรฟังใจ (kingdom Fungi) ราเส้นใยเด่ียวหรือเส้นใยแตกแขนงจะเรียกว่า mold ส่วนราที่เส้นใยรวมเป็นมัด fruitingPage | 10 body จะเรียกว่า mushroom ส่วนยีสต์ เป็นสิ่งมีชีวติ เซลล์เดียว แต่อาจมีการต่อกันเป็นสาย เรียกว่า Pseudomycelium หรอื Pseudohyphae ภาพท่ี 4 รูปรา่ งของเห็ดรา (ทม่ี าภาพ : http://www.sparknotes.com/biology/microorganisms/fungi/section2.rhtml) ภาพท่ี 5 (บน) Pseudohyphae และ Pseudomycelium (ลา่ ง) Pseudohyphae ของยีสต์ (ทม่ี าภาพ : http://www.volny.cz/microbiology/cesky/scripta/obrazky/20.JPG http://www.uni-duesseldorf.de/WWW/MathNat/mikrobio/ernst/intere4.gif) ห าก พิ จ าร ณ าเส้ น ใย ขอ ง ร าใน ช่ วง Somatic phase (Vegetative phase) แ ล ะ Reproductive phase จะพบว่าเส้นใยราในระยะ Somatic phase จะมีผนังเซลล์ห่อหุ้ม ยกเว้นในรา ชน้ั ต่าบางชนิดอาจมเี ซลล์เพียงเซลลเ์ ดียว และไม่มี cell wall ห่อหุ้ม Thallus (หมายถึง ตัวของราท้ัง หน่วย) ราส่วนใหญ่ไม่สามารถเคล่ือนที่ได้เอง (non-motile) สาหรับราพวก Ascomycetes หรือรา ชนั้ สูง ผนังท่ีก้ันหรือ Septum น้ัน ไม่ปิดทบึ หมด แต่มชี ่องหรือรูเปิดอยู่ตรงกลาง ท้าให้ออร์แกเนล บางอย่างเคลือ่ นทีข่ า้ มจากเซลล์หน่ึงไปสูอ่ กี เซลล์หนึ่งได้ เส้นใยของราหลายชนิดมีสีใสหรือไม่มีสี (Hyaline) แต่ราบางชนิดมีเส้นใยสีดา ซ่ึงเกิดจาก การสะสมของเม็ดสี melanin ท่ีผนังเส้นใย เส้นใยอาจมีความหนาเท่ากันตลอด หรืออาจค่อย ๆ เรียวเล็กลงจากส่วนที่ใหญไ่ ปหาสว่ นที่เลก็ กว่าในเส้นใยเดียวกัน อาจมกี ารแตกกงิ่ หรือไม่แตกกงิ่ ความ หนาของเส้นใยมีแตกต่างกันไปตั้งแต่ที่มีเส้นผ่าศูนย์กลางเล็กกว่า 0.5 µm จนถึงใหญ่กว่า 100 µm (เช่น ในพวก Saprolegniales บางชนิด) และอาจมีความยาวเพียง 2-3 µm จนกระทั่งเจริญสร้าง

ชดุ การสอนเร่ือง อาณาจักรฟงั ใจ (kingdom Fungi) เภปา็นยแนผอ่นกหโดรือยรกวามรกดันูดเซปึม็นสเสาร้นผใ่าหนญเ่ข้า(ทHาyงpผhaนlังขstอrงanเสd้)นใทยี่ยาสว่หวนลปายลาๆยสเุดมขตอรงเสเส้น้นใใยยเปได็น้รสับ่วอนาหท่ีาสราจคาัญกPage | 11 เกยี่ วข้องกับการเจริญเตบิ โตของรา ผนังของเส้นใย (Hyphal wall) ในราส่วนใหญ่ประกอบด้วย Microfibril ของไคติน มีรา บางพวกเท่านั้นท่ีพบว่า ผนังของเส้นใยประกอบด้วยเซลลูโลส โครงสร้างของไคติน คือ N-acetyl D-glucosamine จบั ต่อกันเป็น Polymer ส่วนของเซลลูโลส เปน็ Polymer D-glucose โครงสร้างของเซลลูโลสและไคตินนั้น มีลักษณะใกล้เคียงกันมากหากแต่มคี วามแตกต่างกันที่ ไคติน มี N-acetyl group จับกับ Carbon ในตาแหน่งที่ 2 แทนที่จะเป็น OH group อย่างใน เซลลูโลส ปริมาณไคตนิ ที่พบในผนังเส้นใยของรามปี ระมาณ 2.6 – 22.2 % ของน้าหนักแห้งของ ผนังสารอ่ืน ๆ ที่พบนอกจากนี้ก็มีพวก Protein Glycan และ Polysaccharide อื่น ๆ อีกหลาย ชนดิ เส้นใยของฟังไจอาจเปล่ียนแปลงแปลงรปู รา่ งเพื่อทา้ หน้าท่พี ิเศษ ไดแ้ ก่ พบในราท่ีเป็นปรสิต ราจะแทงเส้นใยเข้าเซลล์เจ้าบ้าน เพื่อดูดอาหารจาก เซลลเ์ จ้าบ้าน มีลักษณะคล้ายรากพืชยื่นออกจากไมซีเลียม เพ่ือยดึ ให้ติดกับผิวอาหารและช่วยดูด ซึมอาหารด้วย เชน่ ราขนมปงั ภาพที่ 6 Haustorium ของรา (ที่มาภาพ : http://www.uni-kl.de/FB-Biologie/AG-Hahn/Research/Rost-Entwicklg.jpg http://bugs.bio.usyd.edu.au/Mycology/images/glossary/haustorium.gif) ภาพที่ 7 Rhizoid ของรา (ทีม่ าภาพ : http://www.saber.ula.ve/micosis/contenido/capitulo15/figuras/15-0010.jpg http://www.mc.uky.edu/oaa/curriculum/iid98/manual/5-12.JPG) เส้นใยราบางชนิดมคี วามจ้าเพาะ และมีความสาคัญตอ่ ส่ิงมีชีวติ บางอยา่ ง ทาใหเ้ กดิ การมีชวี ิตอยู่ ร่วมกันที่เป็นรปู แบบเฉพาะขึ้นเช่น การสรา้ ง Fungus garden ของมด ปลวก การอยู่ร่วมกันระหว่าง รากพืชกับราทเี่ รียกวา่ Mycorrhizas (มาจากภาษากรีก แปลว่า fungus root) เช่นTruffle ซงึ่ เป็นรา

ชุดการสอนเรอื่ ง อาณาจักรฟงั ใจ (kingdom Fungi) ในกลุ่มAscomycetes (เช่นเดียวกับยีสต์หมักขนมปัง และเห็ด morel นเสั่น้นคใือยเรปา็นเหเหล็ด่านที้จ่ีไะมช่ใ่วชย่พเพวกิ่มPage | 12 Basidiomycetes) จะสร้างเส้นใยราโอบล้อมขนรากของพืชพวกโอ๊คและบีช ความสามารถในการดูดซึมเกลือแร่ และอาจให้สารบางอย่างท่ีจ้าเป็นต่อต้นไม้ ขณะเดียวกันต้นไม้ก็ให้ สารบางอย่างแก่ราเช่นกัน นอกจากพวกโอ๊คแล้วMycorrhizas ยังพบได้ที่รากของกล้วยไม้ทั่วๆไปอีก ด้วย ภาพที่ 8 Fungus garden ของปลวก (ทม่ี าภาพ : http://www.tolweb.org/tree/ToLimages/termitomyces_aanen2.200a.jpg http://www.gen.wur.nl/NR/rdonlyres/4719B48A-B47A-4C1D-88DF- 419DF1C41679/22782/STFig192.jpg) ภาพที่ 9 (ซา้ ย) Mycorrhiza ของ Truffle ทรี่ ากของต้นโอ๊ค (ขวา) Truffle (ทม่ี าภาพ : http://www.truffleconsulting.com/oakmyco.jpg http://www.frenchgardening.com/p/PCft8.jpg) เส้นใยราบางชนดิ ถกู น้ามาใชป้ ระโยชนใ์ นเชงิ Biological control เช่นใชใ้ นการจ้าจัดหนอนตัวกลม และแมลงศตั รูพชื บางชนิด ภาพท่ี 10 หนอนตวั กลมถูกจับโดยเสน้ ใยของรา Arthrobotrys oligospora http://gouli.110mb.com/images/work/nematode2.jpg

ชดุ การสอนเรื่อง อาณาจักรฟังใจ (kingdom Fungi) Page | 13 ภาพท่ี 11 การกาจัด Colorado potato beetles โดยใช้ราเปน็ ตัวควบคุม (ทม่ี าภาพ : http://www.ars.usda.gov/images/docs/4821_5005/CPB1H&D.jpg) 5. อาหารสะสมของรา (Storage nutrient) พบได้ในรูปของ Glycogen และ Lipid เท่าน้ัน (Glycogen เป็นอาหารสะสมท่ีพบใน Cytoplasm ของราและสัตว์ แต่จะไม่พบในเซลล์ของพืช เลย) 6. การสบื พนั ธุ์ของสง่ิ มชี วี ิตในอาณาจักรฟังไจ (Reproductive system) ภาพที่ 12 วงชวี ิตและการสืบพันธุ์ของรา (ท่มี าภาพ : http://www.biology.lsu.edu/heydrjay/1002/Chapter24/lifecycles/lifecycle.html) 6.1 Fragmentation เกิดจากเส้นใยหักเป็นส่วน ๆ แต่ละส่วนเรียก oidia สามารถเจริญ เปน็ เส้นใยใหมไ่ ด้ 6.2 Budding (การแตกหน่อ) เป็นการสืบพันธุ์ท่ีพบได้ในยีสต์ท่ัวไป เกิดจากเซลล์ตั้งต้น แบ่งเซลล์ โดยนิวเคลียสของเซลล์ต้ังต้นแบ่งออกเป็นสองนิวเคลียส นิวเคลียสอันหน่ึงจะเคล่ือนย้าย ไปเป็นนิวเคลียสของเซลล์ใหม่ที่มีปริมาณไซโทพลาซึมน้อยกว่า (เซลล์ใหม่จะเล็กกว่าและติดอยู่กับเซลล์

ชดุ การสอนเรือ่ ง อาณาจักรฟงั ใจ (kingdom Fungi) ต้ังต้นเรียกเซลล์หรือหน่อนี้ว่า Blastospore) เมื่อเซลล์ใหม่เจริญเต็มที่จะคอดเว้าขาดจากเซลล์ต้ังต้นPage | 14 และเจรญิ ตอ่ ไปได้ 6.3 Binary fission การแบ่งตัวออกเป็น 2 ส่วนท่ีเท่า ๆ กัน แต่ละเซลล์จะคอดเว้าตรง กลางและหลุดออกจากกนั เปน็ 2 เซลล์พบในยสี ต์บางชนิดเทา่ นน้ั 6.4 การสร้างสปอร์แบบไม่อาศัยเพศ (Asexual sporulation) เป็นการสืบพันธ์ุแบบไม่อาศัย เพศที่พบมากทส่ี ุด สปอร์แต่ละชนดิ จะมชี ่ือและวธิ ีสรา้ งทแี่ ตกต่างกันไป เช่น - Conidiospore หรือ conidia เป็นสปอร์ที่ไม่มีส่ิงหุ้ม เกิดท่ีปลายเส้นใยท่ีท้าหน้าท่ีชูสปอร์ (Conidiophore) ท่ีปลายของเส้นใยจะมีเซลล์ที่เรียกว่า Sterigma ท้าหน้าที่สร้าง Conidia เช่น Aspergillus sp. และ Penicillium sp. - Sporangiospore เป็นสปอร์ที่เกิดจากปลายเส้นใยพองออกเป็นกระเปาะ แล้วต่อมามีผนังกั้นเกิดขึ้น ภายใน กระเปาะจะมีผนังหนาและเจริญเป็นอับสปอร์ (Sporangium) นิวเคลียสภายในอับสปอร์จะมี การแบ่งตัวหลาย ๆ ครั้ง ก่อนที่จะมีการแบ่งไซโทพลาซมึ มาโอบล้อมนิวเคลียส และสร้างผนังหนามา ห้มุ กลายเปน็ สปอร์ที่เรียกวา่ Sporangiospore จานวนมากมาย ภาพที่ 13 สปอร์แบบไม่อาศัยเพศของรา (ซ้าย) Sporangiospore (ขวา) Conidiospore (ทมี่ าภาพ : http://www.apsnet.org/education/IllustratedGlossary/PhotosS-V/sporangiospore .jpgSpores.gif http://www.apsnet.org/Education/IllustratedGlossary/PhotosA-D/conidium.jpg) 6.5 การสืบพันธ์ุแบบอาศัยเพศ มีการผสมกันระหว่างเซลล์สืบพันธ์ุและมีการรวมตัวของ นิวเคลียส ซึ่งรวมแล้วเป็น diploid (2n) และมีการแบ่งตัวในขั้นตอนสุดท้ายแบบ meiosis เพื่อลด จ้านวนโครโมโซมลงเปน็ haploid (n) ตามเดมิ กรรมวิธีในการรวมของนวิ เคลยี สมี 3 ระยะ ดงั น้ี 1. Plasmogamy เป็นระยะท่ีไซโตพลาสซึมของท้ังสองเซลล์มารวมกันท้าให้นิวเคลียสในแต่ละ เซลลม์ าอยรู่ วมกันดว้ ย นวิ เคลยี สในระยะนมี้ ีโครโมโซมเป็น n 2. Karyogamy เป็นระยะท่ีนิวเคลียสทั้งสองมารวมกัน ในฟังไจช้ันต่าจะเกิดการรวมตัวของ นิวเคลียสอย่างรวดเร็วในทันทีท่ีมีนิวเคลียสทั้งสองท้ังสองอันอยู่ในเซลล์เดียวกัน ส่วนในฟังไจช้ันสูง จะเกดิ การรวมตวั ของนิวเคลียสชา้ มาก ทา้ ให้เซลลร์ ะยะนมี้ สี องนิวเคลียส เรยี กวา่ Dikaryon 3. Haploidization หรือไมโอซิส (Meiosis) เป็นระยะท่ีนิวเคลียสซ่ึงมีโครโมโซมเป็น 2n จะ แบ่งตัวแบบไมโอซสิ เพือ่ ลดจา้ นวนโครโมโซมเปน็ n การสืบพันธ์ุแบบมีเพศในเห็ดราแต่ละชนิดจะมีโครงสร้างที่เรียกว่า Gametangium ท้าหน้าท่ี สร้างเซลล์สืบพันธ์ุ (Gamete) เพศผู้และเพศเมีย เหด็ ราที่ Gametangium ซึ่งสร้างเซลล์สืบพันธเุ์ พศ ผู้และเพศเมียอยู่ในไมซิเลียมเดียวกันและสามารถผสมพันธ์ุกันได้เรียกว่า Monoecious แต่เห็ดราท่ีมี

ชุดการสอนเรือ่ ง อาณาจักรฟังใจ (kingdom Fungi) Gametangium สร้างเซลล์สืบพันธ์ุเพศผู้และเพศเมียอยู่ต่างไมซีเลียมกันเรียกว่า Dสiปoอecรi์ทo่ีuไดs ้จใานกกกาารรPage | 15 สืบพันธุ์แบบมีเพศของเห็ดราต่าง ๆ น้ี จะมีการสร้างสปอร์เกิดขึ้นเช่นเดียวกัน สืบพันธ์ุแบบอาศัยเพศมีขนาดเล็กและจ้านวนน้อยกว่า เช่น Ascospore Basidiospore Zygospore และ Oospore ภาพท่ี 14 สปอรท์ ่ไี ดจ้ ากการสบื พนั ธุ์แบบอาศยั เพศ (บน) Zygospore (กลาง) Ascospore (ที่มาภาพ : http://xoomer.alice.it/gmg /Microonline/M) การเปรยี บเทยี บรากับสง่ิ ทมี่ ีชวี ติ ชนิดอื่น เห็ดรามีความแตกต่างจากพืชชั้นสูงอย่างเด่นชัดหลายประการเช่น Vegetative body หรือ Thallus ของเห็ดรา ไม่มีการ Differentiate เป็นล้าต้น (Shoot) ราก (Root) และท่อสาหรับล้า เลยี งน้าและอาหาร (Vessel) นอกจากยงั ไมม่ ี Chlorophyll รวมไปจนถึงการสังเคราะหอ์ าหารด้วยแสง เห็ดราจึงไม่สามารถน้า CO2 มาใช้เป็นแหล่งของ Carbon ได้ จึงต้องการ Organic carbon จาก ภายนอก เม่ือเปรียบเทียบกับพืชช้ันต่า (Sporophyta) หรือ Cryptogam เช่น เฟิร์น มอส และ Algae อาจมีข้อโต้แย้งในความแตกต่างได้ไม่มาก เพราะพืชเหล่าน้ีสร้างสปอร์เพ่ือใช้ในการสืบพันธ์ุได้ เช่นเดียวกับเห็ดรา และ Algae บางชนิดก็ไม่มี Chlorophyll และใช้ Organic carbon ในการ ดารงชวี ิตเชน่ กัน ส่ิงท่ีแตกต่างระหวา่ งเหด็ รา และพืชรวมถึงโปรตสิ ต์ต่าง ๆ น่าจะเปน็ ลักษณะการหา อาหารเนื่องจากเห็ดราจะใช้การปล่อยเอนไซม์ออกจากเซลล์เพ่ือย่อยสารอินทรีย์ต่าง ๆ ให้มีขนาดเล็ก ลงก่อนน้าเข้าสู่ร่างกาย (Extracellular digestion) ซึ่งโปรติสต์ส่วนใหญ่จะย่อยอาหารในเซลล์ (Intracellular digestion) และพืชจะดดู ซึมสารอาหารทผ่ี ูย้ อ่ ยสลายยอ่ ยให้แล้ว เห็ดราจัดเป็นพวก Eukaryote จึงแตกต่างไปจากพวกแบคทีเรีย และ blue green algae ซ่ึงเป็นพวก Prokaryote เห็ดรามี Chromosome และ Nuclear membrane ที่เด่นชัด ซ่ึงเป็นจุดท่ี ท้าให้สามารถแยก Actinomycetes ซ่ึงเป็นแบคทีเรียท่ีมีลักษณะคล้ายเส้นใยของราออกจากราได้ เนื่องจาก Actinomycetes ไม่เพียงแต่จะเป็น Prokaryote เท่าน้ัน ยังมลี ักษณะอื่น ๆ ของแบคทีเรีย เช่น ผนังเซลลป์ ระกอบด้วย Glycosaminopeptide complex มีความไวต่อสารปฏิชีวนะ เช่น เพนนิซิ ลิน และเตตราไซคลิน อกี ท้ังยังเป็นเจ้าบ้านของ bacteriophage ได้อกี ดว้ ย เม่ือเปรียบเทียบเห็ดรากับสัตว์ข้ันต่าพวก Protozoa จะเห็นได้ว่า Protozoa ก็มีลักษณะเป็น heterotrophic เช่นกัน นอกจากน้ี protozoa หลายชนิดยังมีลักษณะทางสัณฐานวิทยา และความ เป็นอยู่ใกล้เคียงกับรา แต่ราแตกต่างไปจากพวกสัตว์โดยท่ี Thallus ของรามีผนังเซลล์ห่อหุ้ม ประกอบด้วย ไคติน และ/ หรือเซลลโู ลส

ชดุ การสอนเรอ่ื ง อาณาจักรฟงั ใจ (kingdom Fungi) การแยกเจหะ็ดเหร็นาไดA้วlg่าเaปe็นกแาลระยาPกrมoาtoกzใoนaกาเรนท่ือ่ีจงะจจา้ากกสัด่ิงขมอีบชีวเขิตตเหลลง่ไาปนอ้ีมยีล่าักงษเดณ็ดขะาบดาถงึงอลยั่กางษทณ่ีคะาบเเพก่ือ่ียใวชก้ใันนPage | 16 การจาแนกจงึ ท้าได้ในขอบท่ีกว้าง และมีความแตกตา่ งกันไปตามเกณฑ์หลักท่ีผจู้ าแนกน้ันยึดถอื Phylogeny การศึกษาความสัมพันธท์ าง Phylogeny และการคาดคะเนตน้ กาเนิดของเหด็ ราทาได้ยากกว่าที่ ทาการศึกษาในพวกพืชชั้นสูงหรือสัตว์ เพราะหลักฐานทาง Fossil ของรามีน้อยมาก เป็นไปได้ว่ามีรา หลายพวกท่ีสูญพันธุ์ไปแล้ว โดยไม่ปรากฏหลักฐานให้เห็นได้เลยในปัจจุบัน อย่างไรก็ตามมีหลักฐาน บางอย่างเก่ียวกับตน้ กาเนิด(Ancestor) ของรา ท่ีแสดงให้เช่ือได้ว่าน่าจะเป็นพวก Algae ท่ีสังเคราะห์ แสงได้ เขา้ ใจกันว่าราท่ีจัดอยูใ่ นต่างพวก (Class) กัน ไดม้ ีววิ ฒั นาการแยกสายกนั คอื มาจาก Algae ท่ีตา่ งพวกกนั นัน่ เอง เห็ดราชั้นต่าส่วนใหญ่ จะสร้างสปอร์ที่เคล่ือนที่ได้และมี Flagellum เส้นเดียวหรือ 2 เส้น กล่าวโดยท่ัวไปแล้ว ราท่ีจัดอยู่ในพวกช้ันต่าได้แก่ พวกที่อาศัยอยู่ในน้า (Aquatic fungi) หรืออย่าง น้อยก็ต้องการสภาพแวดล้อมที่ชุ่มช้ืน ราที่อยู่บนบก (Terrestrial fungi) จัดเป็นพวกท่ีมีวิวัฒนาการ สูงกว่า ในราบางพวก เช่น Oomycetes อาจสังเกตเห็นว่า มีลักษณะทางสัณฐานวิทยา นิเวศวิทยา ของการเจรญิ ทบี่ ง่ ถึงการเปล่ียนแปลง จากการอาศยั อยูใ่ นนา้ มาเป็นอาศยั อยู่บนบก ภาพที่ 15 Phylogeny ของเห็ดรา (ทม่ี าภาพ : http://science.kennesaw.edu/biophys/biodiversity/fungi/pictures/phylogeny.gif) ลาดบั การจัดหมวดหมู่ของรา ในการลาดับการจัดหมวดหมู่ของราตาม Ainsworth ราอยู่ใน Kingdom Fungi ซึ่งแบ่ง ออกเป็น 2 Division คือ Division Myxomycota ได้แก่ ราเมือกต่าง ๆ และ Eumycota ได้แก่ True fungi สาหรับราชั้นต่า (Lower fungi) นั้น หมายถึง ราใน Subdivision Mastigomycotina และ Zygomycotina ซึ่งราใน 2 Subdivision ดังกล่าวนี้ แต่เดิมนัก Mycologist มักกล่าวรวมไว้ใน Class Phycomycetes ส่ ว น ร า ชั้ น สู ง (Higher fungi) ห ม า ย ถึ ง ร า ใ น Subdivision

ชดุ การสอนเรอ่ื ง อาณาจักรฟงั ใจ (kingdom Fungi) Deuteromycotina Ascomycotina และ Basidiomycotina จากราทีม่ ีประมาณ 5,100 genus 45,000Page | 17 species ปรากฏวา่ 90% จดั เปน็ พวกราชั้นสงู ส่วนการจัดหมวดหมู่ของราตามความสัมพันธ์ทางวิวัฒนาการ (Phylogenetic classification) จะจัดราไว้ใน 3 Kingdom คือ Kingdom Fungi Kingdom Stramenopila และ Kingdom Protists ซง่ึ แตล่ ะ Kingdom จะแยกยอ่ ยเปน็ ไฟลัมต่าง ๆ ดังน้ี Kingdom Fungi Ascomycota Kingdom Stramenopila Kingdom Protista ข้อควรสังเกต : ใน taxon ของรา Division มกี ารลงท้ายด้วย –mycetes Subdivision ลงทา้ ยดว้ ย –mycotina Class ลงท้ายด้วย –mycetes Sub-class ลงทา้ ยดว้ ย –mycetidae Order ลงทา้ ยด้วย –ales Family ลงทา้ ยด้วย –aceae ส่วน Genus และ species ไมม่ ีค้าลงท้ายทแ่ี นน่ อน Phylum Chytridiomycota จุลชีพในกลุ่มของ Chytrids เป็นราท่ี Primitive กว่าราอ่ืน จึงถูกเรียกว่าเป็นราชั้นต่า สว่ นมากจะอยู่ในน้า บางชนิดเป็น saprophyte บางพวกเป็น parasite ของพวก protists พืช และ สัตว์ต่าง ๆ (จุลินทรีย์พวกนี้มีส่วนอย่างมากในการลดจ้านวนของสัตว์จ้าพวก amphibians ในโลก) แต่เดิมการจัดหมวดหมู่ของเชื้อราไม่มีการรวมเอาพวก chrytrids ไว้ในอาณาจักร fungi เน่ืองจากยึด ถือเอาว่า อาณาจักรน้ีจะไม่สร้างสปอร์ที่มี flagella ในขณะที่ chrytrids จะมี flagella 1 เส้น ที่ เรียกว่า zoospore อย่างไรก็ตาม ในทศวรรษท่ีผ่านมา การเปรียบเทียบในระดับโมเลกุลในเรื่องของ โปรตีน และกรดนิวคลีอิค ได้แสดงให้เห็นถึงความใกล้ชิดระหว่าง chrytrids กับเช้ือราอ่ืน ๆ

ชดุ การสอนเร่ือง อาณาจักรฟงั ใจ (kingdom Fungi) คุณลักษณะท่ีพ้องกันกับเชื้อราคือ hคyวpาhมaสeามแามร้วถ่าใมนีบกาางรชดนูดิดซทับี่เอปา็นหเาซรลแลล์เะดผี่ยนวังเๆซลนล์ปอกระจกาอกบนด้ี ้วcยhไyคtrตidินsPage | 18 พวก chytrids ส่วนใหญ่จะสร้าง ยงั สร้างเอนไซม์และมี metabolic pathway แบบเดียวกันกับเชื้อราอื่น ๆ (ต่างจาก protist ท่คี ล้าย เชื้อรา เช่น ราเมือก และราน้า) จากหลักฐานในระดับโมเลกุลได้แสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่า chrytids เป็นเช้ือราที่ primitive ที่สุด และมีลักษณะท่ียังมี flagella ซึ่งอาจอยู่ในช่วงของการ เปลี่ยนแปลงมาจาก protist ในระยะต้นของวิวัฒนาการ Chytrids ที่สาคัญได้แก่ Olpidium Synchytrium และ Physoderma ภาพที่ 16 Chytrids และวงจรชีวิต (ท่มี าภาพ : http://www.clarku.edu/faculty/dhibbett/TFTOL/images/fungi/chytrid_csa.jpg http://www.educa.aragob.es/iescarin/depart/biogeo/varios/BiologiaCurtis/Seccion%205/5%20- %20Capitulo%2029.htm) Phylum Zygomycota (Conjugation Fungi) Mycologist ได้ศึกษาเชอ้ื ราในไฟลัมน้ีแล้วประมาณ 600 ชนดิ เชอื้ ราพวกนส้ี ่วนมากจะอยู่บน บก ในดิน และส่ิงของท่ีเน่าเป่ือย กลุ่มที่มีความสาคัญและรจู้ ักกันดีคือ Mycorrhiza ซ่ึงจะอยู่ร่วมกับ พืชในลักษณะของ mutualism เส้นใยของเช้ือราพวกนี้จะสร้าง septa ในขณะท่ีสร้างเซลล์สืบพันธ์ุ เท่าน้ัน เชื้อราที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายอีกชนิดหนึ่งคือ ราดา (Rhizopus stolonifer) ราชนิดน้ีจะ งอกเส้นใย แผ่ครอบคลุมอาหารและงอเส้นใยเจริญลงไปในอาหาร เมอื่ เจริญเต็มที่จะสร้างอับสปอร์รูป กลม สีดา ชูขึ้นมาเหนือผิวของอาหาร ภายในมีสปอร์จ้านวนมากมาย เม่ือปลิวไปตกในที่เหมาะสมก็จะ เจริญเป็นเส้นใยใหม่ได้ การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของ zygomycota จะเกิดข้ึนจาก mycelium ท่ีมี ลักษณะของ mating type ท่ีแตกต่างกัน (รูปร่างดูจากภายนอกไม่ออก แต่ส่วนประกอบทางเคมี ต่างกัน) ต่างงอกหลอดมาชนกัน แลว้ จงึ เกิดการรวมเซลล์ขนึ้ บริเวณปลายของส่วนท่ียนื่ มาติดกนั แล้ว เซลล์ที่รวมกันน้ีจะค่อย ๆ สร้างผนังท่ีทนต่อสภาพแวดล้อมท่ีไม่เหมาะสมได้เรียกว่า zygosporangium เมื่อเกิดการรวมนิวเคลียสแลว้ จึงเกิดการแบ่งเซลล์แบบ meiosis อีก และเม่อื สิ่งแวดล้อมเหมาะสมจะ มีการสรา้ งสปอร์ และปล่อย haploid spore จ้านวนมากออกมาสู่ substrate ใหม่ สปอร์ลักษณะนี้

ชดุ การสอนเรอื่ ง อาณาจักรฟงั ใจ (kingdom Fungi) เรียกว่า สปอร์พักตัวหรือ Zygospore การสืบพันธุ์ส่วนใหญ่เป็นแบบไม่อาศัยเพศ SporangiosporePage | 19 ท่ีถกู สร้างอาจอย่ใู นลกั ษณะ Conidia Chlamydospore Oidia หรือ Arthrospore ภาพท่ี 17 (ซ้าย) Zygospore (ขวา) Sporagiophore ของ Rhizopus (ทม่ี าภาพ : http://www.apsnet.org/Education/IllustratedGlossary/PhotosW-Z/zygospore.jpg http://www.apsnet.org/education/IllustratedGlossary/PhotosS-V/sporangiophore.jpg) ภาพที่ 18 วงชวี ติ ของราในกลมุ่ Zygomycota (ทีม่ าภาพ : http://www.biology.lsu.edu/heydrjay/1002/Chapter24/lifecycles/lifecycle.html) Phylum Ascomycota (Sac fungi) เชื้อราในไฟลัมนี้จัดเป็นราชั้นสูง ถูกค้นพบแล้วราว 60,000 ชนิด มีอยู่บนบก ในน้า ท้ัง น้าจืดน้าเค็ม พวกท่ีอยู่เป็นเซลล์เด่ียว ๆ เช่น ยีสต์ บางชนิดก่อโรคให้พืชเช่น เช้ือโรคใบจุด และที่ สร้าง fruiting bodies ขนาดใหญ่ เช่น cup fungi และเห็ดหิ้ง Morel และเห็ด Truffles พวก Ascomycetes หลายชนิด จะอาศัยอยู่ร่วมกับสาหร่ายที่เรียกว่า ไลเคน (Lichens) บางชนิดก็เป็นไม คอไรซาของพืช ลักษณะโดยเฉพาะของ Ascomycetes ก็คือการสร้างสปอร์แบบอาศัยเพศ (ascospore) ในส่วนท่ีมีลักษณะคล้ายกับถุงที่เรียกว่า ascus/asci และส่ิงที่ต่างจาก zygomycota อย่างหน่ึงคือ ระยะการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศจะเกิดข้ึนใน fruiting bodies ขนาดใหญ่ ที่เรียกว่า ascocarp และ asci ก็จะเกิดขึ้นภายใน ascocarp Ascomycetes สามารถสร้างสปอร์แบบไม่อาศัย เพศได้มากมาย

ชดุ การสอนเร่อื ง อาณาจักรฟงั ใจ (kingdom Fungi) โดยเกิดขึ้นทป่ี ลายของ hyphae ท่มี ีลักษณะพิเศษที่เรียกว่า conidiophore สปอร์จะถูกสร้างขนึ้ เป็น Page | 20 สายโดยไม่อย่ใู นอับสปอร์ สปอร์แบบนี้ เรียกว่า conidia ซงึ่ มาจากภาษากรีกท่ีหมายถึงฝุ่นละออง ราในกลุม่ น้ีจะมี 2 สภาพคือ สภาพท่ีสร้างถุง ascus ซ่ึงเป็นระยะที่มีการสืบพันธ์ุแบบอาศัย เพศเรียกว่า Ascigerous หรือ Perfect stage และสภาพที่มีการสร้าง Conidia ซึ่งเป็นระยะท่ีมีการ สืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ เรียกว่า Imperfect stage (ราบางชนิดอาจมีแต่การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัย เพศเรียกว่าพวก Fungi Imperfecti ซ่ึงถ้าเป็นการแบ่งแบบเก่าจะหมายถึงพวก Deuteromycota อัน ได้ แ ก่ Trichophyton (Athlete's foot) Penicillium (Penicillin) Candida albicans (\"Yeast\" infections) Aspergillus wendtii และ A. oryzae) ดังน้ันราในกลมุ่ นจ้ี ึงมีทั้งราทีเ่ ป็นเซลลเ์ ด่ียว ราท่ีมเี ส้นใยแบบมีผนังกั้นแบบปิดไมส่ นิด เซลล์ ในเสน้ ใยบางชนิดมีนวิ เคลยี ส 1 อนั (Homokaryotic hypha) บางชนิดมีหลายอัน (Heterokaryotic hypha) และเส้นใยเทยี ม (Pseudomycelium) ภาพท่ี 19 Ascospore 8 อันในแต่ละ Ascus (ท่มี าภาพ : http://www.forestpathology.org/fungi.html http://www.biodiversity.ac.psiweb.com/pics/0000308a.jpg ภาพท่ี 20 Conidia ของ (ซา้ ย) Penicillium (ขวา) Aspergillus (ท่มี าภาพ : http://fungifest.com/wp-content/images/aspergillus_niger.jpg http://www.saber.ula.ve/micosis/contenido/capitulo20/capitulo20F/figuras/20F-0003.jpg)

ชดุ การสอนเร่อื ง อาณาจักรฟงั ใจ (kingdom Fungi) Page | 21 ภาพท่ี 21 วงชวี ิตของราในกลุ่ม Ascomycota (ที่มาภาพ : http://www.biology.lsu.edu/heydrjay/1002/Chapter24/lifecycles/lifecycle.html) Phylum Basidiomycota (Club fungi) เชื้อราในไฟลัมน้ีมีประมาณ 25,000 ชนิด รวมท้ังพวกเห็ดชนิดต่าง ๆ เช่น เห็ด puffballs และ rust ชื่อไฟลัมมาจากค้าว่า basidium ซึ่งเป็นระยะที่มีลักษณะเป็น diploid ของวัฏจักรชีวิต ลักษณะของ basidium จะมีรูปร่างคล้ายกระบอง (club like shape) จึงถูกเรียกอีกชื่อหน่ึงว่า club fungi Basidiomycetes เป็นเชื้อราที่มีความสาคัญในการย่อยสลายไม้และช้ินส่วนของพืช ก่อให้เกิดการ ผุพังอย่างรวดเร็ว เห็ดราสามารถท่ีจะย่อยสลาย lignin ซึ่งเป็นสาร polymer ท่ีซับซ้อน อันเป็น ส่วนประกอบที่พบมากในเน้ือไม้ นอกจากน้ี Basidiomycetes หลายชนิดจัดเป็น mycorrhiza บาง ชนิดเป็น parasite เช่น โรคราสนิม และโรค smuts วัฏจักรชีวิตของ club fungi จะประกอบด้วย dikaryotic mycelium ที่ไวต่อสิ่งแวดล้อม เมื่อสิ่งแวดล้อมเหมาะสม จะมีการสร้าง fruiting bodies ท่ีเรียกว่า basidiocarp ซึ่งเป็นที่อยู่ของ basidia จ้านวนมาก สปอร์แบบอาศัยเพศจะเกิดบน basidia น้ี ส่วนการสร้างสปอร์แบบไม่อาศัยเพศ จะเกิดน้อยกว่าสมาชิกของไฟลัม Ascomycetes ดอกเห็ดเป็นตัวอย่างของ basidiocarp หมวกของดอกเห็ดจะเป็นส่วนท่ีป้องกันและยึดส่วนท่ีเป็นครีบ ทางด้านล่างท่ีเป็นที่อยู่ของ basidia จ้านวนมาก พ้ืนที่ผิวของครีบของดอกเห็ดแต่ละดอกอาจมากถึง 200 ตารางเซนติเมตร เห็ด 1 ดอกสามารถทีจ่ ะปล่อยสปอร์ออกมาได้ถึงพันล้านสปอร์ ซ่ึงจะร่วงลง ทางด้านใต้ดอกเห็ดและถกู ลมพดั พาไป

ชดุ การสอนเรอื่ ง อาณาจักรฟงั ใจ (kingdom Fungi) Page | 22 ภาพท่ี 22 วงชีวติ ของราในกลุ่ม Basidiomycota (ที่มาภาพ : http://www.biology.lsu.edu/heydrjay/1002/Chapter24/lifecycles/lifecycle.html) ภาพท่ี 23 Fairy ring (ทม่ี าภาพ : http://www.topturf.net/fairyring-l.jpg) ภาพท่ี 24 โครงสร้างของเห็ด (ทีม่ าภาพ : http://www.infovisual.info/01/img_en/024%20Mushroom.jpg)

ชุดการสอนเรื่อง อาณาจักรฟงั ใจ (kingdom Fungi) Phylum Myxomycota ราPage | 23 ราใน phylum Myxomycota ได้แก่ ราที่มีช่ือเรียกโดยท่ัวไปว่า ราเมือก (slime mold) ในพวกนี้มีลักษณะก่าก่ึงกันระหว่าง fungus และ animal มีช่วงชีวติ คล้ายสัตว์และพืชปนกัน ด้วยเหตุ นี้การจ้าแนกราเมือกจึงสามารถพบได้ท้ังใน Kingdom Animal โดยรวมเข้าไว้กับพวก protozoa ใน class Myxomycota ใน Kingdom Protista และใน Kingdom Fungi ลักษณะสาคัญของราเมือกก็ คือ เป็นเซลล์ยูคาริโอต ไม่มีผนังเซลล์ ไม่มีคลอโรฟิลล์ ประกอบด้วยกลุ่มของโพรโทพลาซึมที่ แผ่ กระจายมลี ักษณะเป็นเมอื ก มี somatic phase ประกอบด้วย เซลล์ท่ีไม่มีผนังห่อหุ้ม เซลล์เหลา่ น้ีอาจ อยู่เดี่ยวๆ มีการเคลื่อนท่ีแบบ amoeboid movement หรืออาจอยู่รวมกันในลักษณะกลุ่มก้อนที่ เรียกว่า pseudoplasmodium หรือ plasmodium ซ่ึงมีลักษณะคล้ายร่างแห ซึ่งอาจมีขนาดใหญ่หลาย เซนติเมตร แต่ไม่สามารถจัดเป็นพวก multicellular เนื่องจากไม่มีการแบ่ง cytoplasm เป็นเซลล์ ย่อยๆ แต่เป็นเซลล์ขนาดใหญ่ที่มีการแบ่งนิวเคลียสอย่างเดียวซ้า ๆ ซ่ึงอาจเรียกได้วา่ เป็น super cell และแต่ละนิวเคลียสของ plasmodium ส่วนมากจะเป็น diploid ภายในท่อเล็กๆ ของ plasmodium จะมีการไหลของ cytoplasm ไปทางใดทางหน่ึง และต่อมาก็จะไหลย้อนกลับ ซ่ึงจะเป็นการน้าเอา อาหารและออกซิเจนไปสู่ส่วนต่าง ๆ การกินอาหารของ plasmodium จะเกิดข้ึนด้วยกระบวนการ phagocytosis โดยยื่น pseudopodia ไปล้อมรอบอาหาร เช่น ส่วนของพืชที่เน่าเป่ือยผุพัง และเมื่อ อาหารหมดไปแล้ว การเจริญแบบ Plasmodium ก็จะส้นิ สุดลง และจะเปลย่ี นรูปแบบของการเจริญเข้า สู่การสืบพันธ์ุแบบอาศัยเพศ ซึ่งมีรูปแบบคล้ายคลึงกับเช้ือรา การสืบพันธุ์คล้ายสัตว์กับพืช พอระยะ สบื พันธ์ุ ราเมือกจะสร้างอับสปอร์ ภายในสปอร์มีผนังเซลล์ เป็นเซลลูโลสเช่นเดียวกับพชื ราในกลุ่ม นี้ท้ังหมดเป็น heterotrophic อาหารที่ได้รับส่วนใหญ่โดยการ ingest เซลล์ของแบคทีเรีย หรือ protozoa ราเมอื กดารงชีวิตแบบภาวะมกี ารย่อยสลาย (saprophytism)

ชุดการสอนเรอ่ื ง อาณาจักรฟงั ใจ (kingdom Fungi) กจิ กรรมท่ี 2 Page | 24 ตอนท่ี 1 ลักษณะทัว่ ไปของฟังใจ คาช้ีแจง ให้นักเรียนเขียนเครื่องหมายถกู (/) หนา้ ขอ้ ความท่ีกลา่ วถูก และเขยี นเครอื่ งหมาย ผิด (x) หน้าข้อความท่ีกลา่ วผิด ….…..(1) ส่ิงมชี วี ิตในอาณาจักรฟังไจเป็นมลี กั ษณะเซลลแ์ บบยูคารโิ อต ….…..(2) ….…..(3) ผนงั เซลลข์ องฟังไจเปน็ สารประกอบที่เรยี กวา่ เซลลูโลส (Cellulose) ….…...(4) ลกั ษณะเส้นใยของฟงั ไจมี 2 แบบ คือ เสน้ ใยทีม่ ีผนังก้นั (Septate hypha) และ ….…..(5) เส้นใยทไี่ ม่มีผนงั ก้ัน (Non septate hypha) ส่ิงมีชีวติ ในอาณาจกั รฟังไจมีรูปแบบการสบื พันธท์ุ งั้ แบบอาศัยเพสและไม่อาศัยเพศ …..…..(6) ไมซีเลียม (Mycelium) ในฟังไจบางชนิดจะพฒั นาเป็นโครงสรา้ งโผลข่ ้ึนมาเหนือดิน ….……..(7) เรียกวา่ ฟรตุ ตงิ บอดี (Fruiting body) ….……..(8) ฟังไจบางชนดิ มคี ลอโรฟลิ ล์ จงึ สามารถสงั เคราะหด์ ้วยแสงได้ ….……..(9) สิ่งมชี วี ติ ในอาณาจกั รฟังไจบางชนดิ ดารงชีวิตแบบปรสิต ….…….(10) ฟังไจส่วนใหญ่มีบทบาทการดารงชีวิตเป็นผูย้ ่อยสลายในระบบนิเวศ ไลเคน (Lichen) เป็นรปู แบบการดารงชีวิตแบบภาวะพึง่ พาของส่ิงมีชวี ติ 2 ชนดิ คือ ราและแบคทีเรีย ยีสต์ส่วนใหญส่ บื พันธ์ดุ ว้ ยวธิ ีการแตกหน่อ (Budding) ตอนท่ี 2 ปรศิ นาฟังไจ คาชแี้ จง ใหน้ ักเรยี นอา่ นขอ้ ความทก่ี าหนดให้ แล้ววงรอบคาตอบของข้อความแต่ละขอ้ ในตาราง ดังน้ี แนวตงั้ แนวนอน 1. การสร้างสปอรท์ ่ีเกิดจากการแบ่งเซลล์แบบไม โทซิสในเหด็ รา 1. สารประกอบหลกั ในผนังเซลล์ของเห็ดรา 3. ไฟลมั ที่มยี ีสต์เป็นสมาชกิ อยู่ 2. กลมุ่ ส่ิงมชี ีวติ ท่มี ีเยื่อหมุ้ นิวเคลยี ส 4. สปอรข์ องรา Phylum Chitridiomycota 4. สปอร์ของรา Phylum Zygomycota 6. ฟงั ไจที่มีวิวฒั นาการมาจากโพรทิสต์ 5. ขยุ้มรา 7. รปู ร่างคลา้ ยกระบองเป็นท่ีอาศยั ของสปอร์ 8. ดอกเหด็

ชดุ การสอนเรอ่ื ง อาณาจักรฟังใจ (kingdom Fungi) Page | 25 ปรศิ นาฟงั ไจ C h i t in B O Eukaryote a na s i i Zygospore d cd o oi I C o mu a h s yMycelium p ct o ro i et d as Fruiti ngbody

ชดุ การสอนเรือ่ ง อาณาจักรฟังใจ (kingdom Fungi) กิจกรรมท่ี 3 Page | 26 คาช้ีแจง ใหน้ ักเรียนคาตอบลงในชอ่ งวา่ งให้ถูกตอ้ ง 1. ผนงั เซลล์ของราแตกตา่ งจากพืชอยา่ งไร 2. รามรี ปู แบบในการดารงชีวิต 3 ลกั ษณะ คือ 3. สงิ่ มีชีวติ ในอาณาจักรฟงั ไจสามารถจัดจาแนกแกเปน็ 4 ไฟลัม โดยอาศยั ความแตกต่างของ 4. ยกตวั อยา่ งราใน ไฟลมั ไคตริดดโิ อไมโคตา 5. ลกั ษณะเส้นใยของส่งิ มชี ีวิต Phylum Zygomycota มีลักษณะเปน็ อยา่ งไร 6. ไซโกสปอร์ (Zygospore) คอื 7. ลกั ษณะเซลล์ของส่ิงมีชีวติ Phylum Ascomycota มลี ักษณะเป็นอยา่ งไร 8. สิ่งมชี ีวิต Phylum Ascomycota มีการสบื พันธ์ุก่ีแบบ อะไรบ้าง 9. อธิบายลกั ษณะของราใน Phylum Basidiomycota 10. Basidium คอื 11. จงยกตัวอยา่ งประโยชน์ของรา 3 อย่าง 12. จงยกตัวอยา่ งโทษของรา 3 อยา่ ง

ชดุ การสอนเรอื่ ง อาณาจักรฟังใจ (kingdom Fungi) แบบทดสอบหลงั เรียน Page | 27 คาชแี้ จง 1. แบบทดสอบแบบปรนัย 4 ตัวเลอื ก มจี านวนทง้ั หมด 5 ข้อ คะแนนเตม็ 5 คะแนน 2. ให้นกั เรียนทาเครื่องหมายกากบาท (X) ลงในชอ่ งตัวเลือกทถ่ี ูกต้องทส่ี ุด 1. ข้อใดไมไ่ ด้จัดอยใู่ นอาณาจักรฟงั ไจ ก. ราดา ข. ราแดง ค. ราเมอื ก ง. ราขนมปงั 2. สมาชกิ ส่วนใหญข่ องอาณาจักรฟงั ไจมีการจัดเรียงตัวเปน็ เส้นใยแต่ละเส้นเรียกวา่ อะไร ก. แซนโทฟลี ล์ ข. แคโรทนี ค. ไฟโคบิลัน ง. ไฮฟา 3. ฟรตุ ตงิ บอดี (Fruiting body) ทาหนา้ ท่สี าคัญอยา่ งไร ก. ยดึ เกาะอาหาร ข. ดดู ซับสารอาหาร ค. สรา้ งสปอรท์ ีไ่ ดจ้ ากการสืบพันธุ์แบบอาศยั เพศ ง. สง่ เอนไซม์ไปสลายสารอาหารภายนอกเซลล์ 4. ฟังไจไฟลัมใดเป็นกลมุ่ แรกทีม่ วี วิ ัฒนาการขึ้นมาก่อน ก. ไฟลมั ไซโกไมโคตา (Phylum Zygomycota) ข. ไฟลมั แอสโคไมโคตา (Phylum Ascomycota) ค. ไฟลมั เบสิดิโอไมโคตา (Phylum Basidiomycota ง. ไฟลัมไคตรดิ ดโิ อไมโคตา (Phylum Chytridiomycota) 5. ข้อใดไมใ่ ช่ผลติ ภัณฑท์ ่เี กิดจากส่งิ มีชีวิตในอาณาจักรฟงั ไจ ก. สาโท ข้าวหมาก ข. เตา้ เจี้ยว เนยแขง็ ค. นา้ ปลา นา้ ส้มสายชู ง. เบียร์ ขนมปัง ขอ้ ก ข ค ง 1 กระดาษคาตอบ 2 3 4 5 คะแนนท่ีได้ ลงชื่อผู้ตรวจ

ชดุ การสอนเรอื่ ง อาณาจักรฟังใจ (kingdom Fungi) เอกสารอ้างอิง Page | 28 นงลกั ษณ์ สุวรรณพินจิ และปรชี าสุวรรณพินจิ . (2548). จลุ ชีววทิ ยาทว่ั ไป. พิมพ์ครงั้ ที่ 5. พิมพท์ ่ี โรงพิมพ์แหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย. กรงุ เทพ. โครงการต้าราวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์มลู นิธิ สอวน. (2548). ชวี วิทยา 1. พิมพค์ รั้งที่ 2. พมิ พท์ ี่บริษัท ด่านสทุ ธาการพิมพ์. กรุงเทพ. Mader S. Sylvia. (2007). Biology. The ninth edition. The McGraw-Hill Companies, Inc. McGraw-Hill International edition. USA. 1016 p. http://coursewares.mju.ac.th/PP400/main/005lecture/main/allchapter/fungi001.htm และ web site อน่ื ๆ ท่ีระบุใต้ภาพ

ชดุ การสอนเรื่อง อาณาจักรฟังใจ (kingdom Fungi) Page | 29


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook