หนว่ ยท่ี 1 พฒั นาการของการจดั การศกึ ษาในจงั หวดั นครศรีธรรมราช ด.ญ.ญาณิศา จนั ทร์ประดบั ม.3 ด.ญ.อจั จิมา จนั ดี ม.3
คานา หนงั สอื อิเล็กทรอนกิ ส์ (E-Book) นี ้จดั ทาขนึ ้ เพ่ือ ประกอบการเรียนการ สอน”หลกั สตู รนครศรีธรรมราชศกึ ษา “ผ้จู ดั ทาได้รวบ รวมข้อมลู เกี่ยวกบั ประวตั ิศาสตร์การศกึ ษาของจงั หวดั นครศรีธรรมราชพร้อมทงั้ แหลง่ เรียนรู้ในท้องถ่ิน เพอื่ ให้ นกั เรียนได้มีความรู้ความเข้าใจในเนือ้ หามากยง่ิ ขนึ ้ คณะผ้จู ดั ทาหวงั เป็นอยา่ งยง่ิ วา่ จะเป็นประโยชน์ แก่นกั เรียนและผ้สู นใจได้ไมม่ ากก็น้อย
สารบญั .1 ยคุ การศกึ ษาสมยั โบราณ 2. ยคุ ปฏิรูปการศกึ ษาแบบแผนใหม่ 3.ยคุ สมยั หลงั การเปลยี่ นแปลง การปกครอง พ.ศ.2475
ยคุ การศกึ ษาสมยั โบราณ การจดั การศกึ ษาของจงั หวดั นครศรีธรรมราชมพี ฒั นา การมาตงั้ แตส่ มยั โบราณเร่ือยมาจนกระทงั่ ถึงปัจจบุ นั ด้วยความเชื่อท่ีวา่ การศกึ ษาจะสามารถกาหนดทศิ ทาง ของมนษุ ย์ เพื่อพฒั นาศกั ยภาพให้มีความพร้อมที่จะ เป็นกาลงั สาคญั สาหรับการพฒั นาประเทศชาตใิ ห้เจริญ ก้าวหน้าซงึ่ ในอดีตนนั้ สนั นิษฐานวา่ จงั หวดั นครศรีธรรม ราชได้มีการจดั การศกึ ษา 3 รูปแบบดงั ตอ่ ไปนี ้ 1.1 การศกึ ษาวชิ าชีพ ผ้ชู ายเรียนวชิ าช่างท่ีจาเป็นในการดารงชีวิต ผ้หู ญิง เรียนวชิ างานบ้านงานเรือน นอกจากนีย้ งั มีงานช่างถม ซงึ่ เชื่อวา่ ได้รับความรู้มาจากชาวโปรตเุ กสท่ีเข้ามาติดตอ่ ค้าขายกบั ชาวเมอื งนครศรีธรรมราชในรัชสมยั ของสม เดจ็ พระรามาธิบดีที่ 2 แห่งกรุงศรีอยธุ ยา บ้างก็เชื่อว่า ชาวนครศรีธรรมราชได้ ประดิษฐ์ สร้ างสรรค์รูปแบบและ คดิ ค้นเทคนิคการทาถมขนึ ้ เอง เพอื่ ใช้สอยกนั ในครัว เรือนหรือในชีวิตประจาวนั จากนนั้ จงึ ได้พฒั นาฝีมือจน กลายเป็นเอกลกั ษณ์ประจาถิ่น
1.2 การศกึ ษาวิชาหนงั สือเรียน มงุ่ เน้นเฉพาะผ้ชู าย เน่ืองจากต้องอาศยั พืน้ ท่ีวดั เป็น สถานที่เรียน โดยมีพระสงฆ์เป็นครู เช่น วดั ทา่ โพธิ์ และ วดั ตามตาบลตา่ ง ๆ ซงึ่ มกี ารเขียนตารับตา ราลงในสมดุ ขอ่ ยหรือหนงั สือบดุ 1.3 การศกึ ษาวชิ าการดารงชีวิต นบั เป็นการศกึ ษาอบรมทางอ้อม โดยมีกลมุ่ ครอบครัว กลมุ่ ญาติ กลมุ่ เพื่อน และกลมุ่ อาชีพ ซง่ึ เม่ือมนษุ ย์อยู่ ร่วมกนั ในสงั คม จงึ จาเป็นต้องเรียนรู้การดารงชีวิต ทงั้ ในด้านการประพฤตปิ ฏบิ ตั ิตนตามจารีตประเพณี วิถี ประชา กฎหมาย และศาสนา
ยคุ ปฏริ ูปการศกึ ษาแบบแผนใหม่ หากกลา่ วถงึ การศกึ ษาแบบแผนใหมใ่ นประเทศไทย ก็คงต้องขอย้อนกลบั ไปมองถึงความเปลย่ี นแปลงที่มา พร้อมกบั ลทั ธิจกั รวรรดนิ ยิ ม ทาให้ผ้นู าของแตล่ ะประ เทศต้องปรับปรุงประเทศในด้านตา่ ง ๆ อยา่ งเร่งดว่ น ซงึ่ พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจ้าอยหู่ วั (รัชกาลท่ี 4) ได้ทาการติดตอ่ กบั ชาตติ ะวนั ตกอยา่ งกว้างขวางอนั เป็น ผลมาจากการทาสนธิสญั ญาเบาว์ริง ในปี พ.ศ. 2398 และเนื่องด้วยพระองค์ทรงสนพระทยั ในภาษาองั กฤษ เป็นพิเศษ จงึ ต้องการปรับเปล่ียนนโยบายการบริหาร บ้านเมือง โดยจ้างชาวตา่ งชาติมาเป็นครูสอนภาษา ในพระราชโอรสและพระราชธิดา โดยจดั ตงั้ โรงเรียนขนึ ้ ณ พระบรมมหาราชวงั ตอ่ มาพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้าเจ้าอยหู่ วั (รัชกาลที่ 5) มีพระราชดาริทรงปฏริ ูปการศกึ ษาเพื่อผลติ คนเข้ารับราชการ และเพมิ่ พนู ความรู้แก่ราษฎร จงึ ได้มี การจดั ตงั้ โรงเรียนทหารมหาดเลก็ ขนึ ้ ในปี พ.ศ. 2424 พร้อมจดั ตงั้ โรงเรียนสาหรับราษฎรขนึ ้ เป็นครัง้ แรกท่ีวดั มหรรณพารามกรุงเทพมหานคร ในปี พ.ศ. 2427 จาก นนั้ จงึ ได้มีการจดั ตงั้ โรงเรียนในมณฑลตา่ ง ๆ
จดุ เริ่มต้นของการศกึ ษาแบบแผนใหม่ใน เมืองนครศรีธรรมราช เมืองนครศรีธรรมราชในสมยั รัชกาลที่ 5 เป็นสว่ นหนง่ึ ของมณฑลนครศรีธรรมราช ร่วมกบั เมืองสงขลาและ เมืองพทั ลงุ ซงึ่ พระยาสขุ มุ นยั วนิ ิต (ปัน้ สขุ มุ ) สมหุ เทศา ภบิ าลมณฑลนครศรีธรรมราชได้มีตราคาสง่ั ถึงกรมการ อาเภอทกุ แห่งในมณฑลนครศรีธรรมราชให้ร่วมกนั อดุ หนนุ การศกึ ษาทกุ ตาบลและจดั การเร่ียไรราษฎรตลอดถงึ ผ้วู า่ ราชการเมือง ให้ชว่ ยออกทนุ เพ่ืออดุ หนนุ โรงเรียนตามควรแก่กาลงั โรงเรียนในยคุ แรกเร่ิม 1) โรงเรียนสขุ มุ าภิบาล ในปี พ.ศ. 2436 โรงเรียนวดั ทา่ โพธ์ิ ได้แบง่ ออกเป็น 2 คณะ คือ โรงเรียนวทิ ยาภิพฑั ฒนาไลย สาหรับเรียน หนงั สอื ไทยตามแบบหลวง และโรงเรียนปะริยตั ลาไลย สาหรับเรียนหนงั สอื บาลไี วยากรณ์ตามแบบเรียนซงึ่ พระเจ้าน้องยาเธอกรมหมืน่ วชิรญาณวรโรรสทรงนพิ นธ์ ตอ่ มาในปี พ.ศ. 2442 โรงเรียนวดั ท่าโพธ์ิได้ยกฐานะมา เป็นโรงเรียนหลวงชื่อ “โรงเรียนสขุ มุ าภิบาล” มีพระมหา ไว ป.เอก และพระจอน เป็นอาจารย์ พระยาสขุ มุ นยั วนิ ิตเป็นผ้อู ปุ ถมั ภ์ ตอ่ มาเปลยี่ นช่ือมาเป็น
โรงเรียนศรีธรรมราช โดยมีความประสงค์ จะให้เป็นโรงเรียนประจาจงั หวดั จนกระทงั่ พ.ศ. 2456 ได้เปล่ียนชื่อมาเป็น “โรงเรียนเบญจมราชทู ิศ” 2) โรงเรียนราษฎร์ผดงุ วิทยา ราษฎรในพืน้ ที่ช่วยกนั เร่ียไรออกทนุ จดั ตงั้ โรงเรียน ขนึ ้ ที่วดั พระนครอาเภอกลาง(หมายถึงอาเภอเมืองนคร ศรีธรรมราชในปัจจบุ นั )มีพระครูกาชาดเป็นผ้จู ดั การ พระทอง พระเผือก และพระบงึ ้ มาศกึ ษาท่ีโรงเรียนวดั ท่าโพธ์ิเพ่ือนาความรู้มาเป็นอาจารย์ 3) โรงเรียนกระเษตราภิสจิ น์ โรงเรียนเกษตราภสิ จิ น์ใช้พืน้ ท่ีในวดั ร่อนนอกใกล้ท่ี วา่ การอาเภอร่อนพิบลู ย์เป็นที่ทาการสอนมีขนุ กระเษตร พาหนะเป็นผ้อู ปุ ถมั ภ์สนั นิษฐานวา่ คือโรงเรียนวดั พศิ าล นฤมติ ในปัจจบุ นั 4) โรงเรียนนิตยาภิรมย์ โรงเรียนนิตยาภริ มย์ใช้พืน้ ที่ในวดั โคกหม้ออาเภอทงุ่ สง เป็นที่ทาการสอนนายเท่ียงกรมการอาเภอเป็นผ้อู ปุ ถมั ภ์ ปัจจบุ นั คือโรงเรียนเทศบาลวดั ชยั ชมุ พลนบั เป็นโรงเรียน แห่งแรกของอาเภอท่งุ สงซงึ่ ได้ย้ายมาตงั้ ในสถานท่ีปัจจุ บนั เมื่อปี พ.ศ. 2463
5) โรงเรียนวทิ ยาคมนาคะวงษ์ โรงเรียนวทิ ยาคมนาคะวงษ์ใช้พืน้ ที่ในวดั วงั มว่ ง อาเภอฉวาง เป็นที่ทาการสอน มีพระทองเป็นอาจารย์ นายนาค กรมการอาเภอเป็นผ้อู ปุ ถมั ภ์ 6) โรงเรียนไพบลู ย์บารุง โรงเรียนไพบลู ย์บารุงใช้พนื ้ ที่ในวดั เสาธงทอง อาเภอเบยี ้ ซดั (อาเภอปากพนงั ในปัจจบุ นั )เป็นที่ทาการ สอน มพี ระชว่ ยและพระจนั เป็นอาจารย์ หลวงพบิ ลู ย์ สมบตั นิ ายอาเภอเบยี ้ ซดั นายผนั ผ้พู ิพากษาศาลแขวง เบยี ้ ซดั และพระทองเจ้าอธิการวดั เสาธงทองเป็นผ้อู ปุ ถมั นกั เรียนประมาณ 21 คน ปัจจบุ นั โรงเรียนไพบลู ย์บารุง ก็คือโรงเรียนปากพนงั 7) โรงเรียนวฑั ฒนานกุ ลู โรงเรียนวฑั ฒนานกุ ลู ใช้พืน้ ท่ีในวดั หมายอาเภอกลาย (อาเภอท่าศาลาในปัจจบุ นั )เป็นที่ทาการสอนมีนายแก้ว พนกั งานเก็บเงนิ คา่ นาเป็นอาจารย์นายเจริญ (หลวงนิวาศวฑั ฒนกิจ) กรมการอาเภอ เป็นผ้อู ปุ ถมั ภ์ นกั เรียนประมาณ 25 คน 8) โรงเรียนอบุ ลวหิ าร โรงเรียนอบุ ลวิหารใช้พืน้ ท่ีในวดั ใหมอ่ าเภอสิชลเป็น ที่ทาการสอน มีพระแก้วเป็นอาจารย์ นายบวั กรมการ อาเภอเป็นผ้อู ปุ ถมั ภ์ สนั นิษฐานวา่ คือโรงเรียน วดั ประทมุ ทายการาม
9) โรงเรียนทศั นาคารสโมสร โรงเรียนทศั นาคารสโมสรใช้พนื ้ ที่ในวดั เขาน้อย อาเภอสชิ ลเป็นที่ทาการสอน มีพระสงฆ์เจ้าอธิการเป็น อาจารย์ นายทดั บดิ าของพระวิเศษอกั ษรสารเป็นผ้อู ปุ ถมั ภ์ ตอ่ มาปี พ.ศ. 2446 ได้ย้ายมายงั วดั เสาเภา 10) โรงเรียนบรรจงอนกุ ิตย์ โรงเรียนบรรจงอนกุ ิตย์ใช้พนื ้ ท่ีในวดั สาพนั ธ์ (สามพนั ?) อาเภอพระแสง มีพระอธิการหนเู ป็นอาจารย์ ขนุ บรรจงสาราเป็นผ้อู ปุ ถมั ภ์ ปัจจบุ นั คือโรงเรียนวดั สาม 12) โรงเรียนน้อยประดิษฐ์ผดงุ ผล โรงเรียนน้อยประดษิ ฐ์ผดงุ ผลใช้พนื ้ ท่ีในวดั บ้านนา อาเภอลาพนู เป็นท่ีทาการสอน นายน้อย กรมการอาเภอเป็นผ้อู ปุ ถมั ภ์ ภายหลงั ได้มีการจดั ตงั้ โรงเรียนอกี มากมายหลายแห่ง ไมว่ า่ จะเป็นโรงเรียนวดั สวนป่าน โรงเรียนวดั หน้าราหู โรงเรียนวดั เพชรจริก โรงเรียนวดั เสมาเมืองโรงเรียนวดั ใหญ่ โรงเรียนวดั ศรีมงคลอาเภอเมืองโรงเรียนจกั รานกุ ลู วดั ป่าก่ิวอาเภอพรหมครี ีโรงเรียนพิศาลนฤมิตร์โรงเรียน วดั ร่อนพบิ ลู ย์ อาเภอร่อนพิบลู ย์ โรงเรียนวดั นาควารี (หลู อ่ ง)โรงเรียนวดั บางพระโรงเรียนปากแพรกอาเภอ ปากพนงั โรงเรียนวดั ท่าซอมอาเภอหวั ไทรโรงโรงเรียน วดั ทา่ สงู อาเภอทา่ ศาลา โรงเรียนวดั เสาเภา อาเภอสชิ ล ตลอดจนโรงเรียนของ
พวกมชิ ชนั นารี ดงั นนั้ จะเห็นได้วา่ แม้ การศกึ ษาจะใช้ระเบียบแบบแผนใหม่ แตก่ ารจดั การเรียนการสอนยงั คงมคี วามสมั พนั ธ์กบั วดั (หรือสถานท่ีทางศาสนา) อนั เป็นศนู ย์กลางของชมุ ชน ณ เวลานนั้ บางแหง่ ชื่อโรงเรียนอาจถกู ปรับเปลย่ี น บางแห่งถกู ยกเลกิ และบางแหง่ ดาเนินการสอนเรื่อยมา จนกระทง่ั ถงึ ปัจจบุ นั นบั เป็นเร่ืองปกติของ การเปล่ียนแปลง ระดบั ชนั้ การจดั การศกึ ษาของโรงเรียนมลู สามญั ในชว่ งปี พ.ศ. 2435 นนั้ มีการเรียนวนั ละ5 ชวั่ โมงโดยแบง่ ออก เป็น 2 ระดบั ชนั้ คือ โรงเรียนมลู สามญั ชนั้ ตา่ มกี าหนด3ปีเรียนวิชาธรรม อา่ น เขียน แตง่ ข้อความไวยากรณ์ และเลขวธิ ี โรงเรียนมลู สามญั ชนั้ สงู มีกาหนด4ปีเรียนวชิ าธรรม อา่ น เขียน แตง่ ข้อความไวยากรณ์ เลขวิธี ภมู ศิ าสตร์ พงศาวดาร วิทยากร เขียนรูปภาพ ขบั ร้อง ภาษาองั กฤษ และการค้าขาย
แบบเรียน หลกั สตู รการเรียนการสอนประกอบด้วย 4 เร่ือง คือ (1) การอา่ นและเขียนหนงั สือ โดยใช้แบบเรียนเร็ว จานวน 3 เลม่ เน้นเร่ืองพยญั ชนะมาตรากะ กา การควบกลา้ การผนั อกั ษร(สงู กลาง ตา่ ) ซง่ึ แบบเรียน เร็วถกู จดั ทาขนึ ้ เพื่อแก้ไขปัญหาความลา่ ช้าของการเรียน การสอน (2) การคดิ เลข บวก ลบ คณู หาร และทาบญั ชีงา่ ย ๆ โดยใช้แบบเรียนเลขวธิ ี (3) การเลยี ้ งชีพ เน้นเรื่องการดารงชีวติ และการรักษา สขุ ภาพอนามยั (4) ความรู้ด้านจริยธรรมเน้นเรื่องการอยรู่ ร่วมกนั ในสงั คมการประพฤตปิ ฏบิ ตั ิตนในสงั คมและความรักชาติ บก้าานรสเมอือบงไล่ การสอบไลม่ ีความคล้ายกบั การสอบเลือ่ นชนั้ ใน ยคุ ปัจจบุ นั โดยในอดีตนนั้ การสอบไลค่ วามรู้ตามชนั้ เรียนในแบบเรียนทงั้ 6 เลม่ ประกอบด้วย 2 วิชาหลกั คือ (1) วชิ าภาษาไทย ได้แก่ มลู บทบรรพกิจ, วาหนิตน์ิ ิกร (ผนั อกั ษรนา), อกั ษรประโยค (อกั ษรควบกลา้ ), สงั โยคภิธาน (ตวั สะกดใน มาตราตา่ ง ๆ ), ไวพจน์พิจารณ์
การศกึ ษาสายอาชีพ เมื่อปี พ.ศ. 2456 พระศริ ิธรรมมนุ ีได้จดั ตงั้ “โรงเรียนชา่ งถม” ขนึ ้ ท่ีวดั ท่าโพธ์ิ เปิดสอนวิชาช่างถม หลกั สตู ร 3 ปีตอ่ มาในปีพ.ศ. 2461-2464ได้รวมเข้ากบั โรงเรียนเบญจมราชทู ศิ โดยในปีพ.ศ.2463เปลย่ี นชื่อเป็น โรงเรียนปฐมบริบรู ณ์ เปิดสอนวชิ าชา่ งถม หลกั สตู ร 3ปี เชน่ เดียวกนั ก่อนจะเปล่ียนมาเป็นวิทยาลยั ศลิ ป หตั ถกรรมนครศรีธรรมราชในปัจจบุ นั โรงเรียนฝึกหดั ครู หลายคนมกั เข้าใจวา่ โรงเรียนฝึกหดั ครูนครศรีธรรม ราชเพงิ่ จดั ตงั้ ขนึ ้ เม่ือปี พ.ศ. 2500 แตท่ วา่ กลบั มีประวตั ิ มาก่อนหน้า กลา่ วคือ พระศริ ิธรรมมนุ ี ต้องการจะหาครู เพอ่ื สอนนกั เรียน และเพ่ือชว่ ยประหยดั เงินของรัฐบาล ซงึ่ จากเดมิ ต้องสง่ ครูไปฝึกหดั ท่ีกรุงเทพมหานคร ดงั นนั้ ในปีพ.ศ.2447เจ้าคณุ พระยาวสิ ทุ ธิสรุ ิยศกั ดอิ์ ธิบดกี รม ศกึ ษาธิการได้สง่ นายอดงุ ข้าหลวงธรรมการและนายเสา ไปเป็นครูชนั้ ประกาศนียบตั รประจามณฑลนครศรีธรรม ราช รวมทงั้ ตรวจดงู านในโรงเรียนทวั่ ไปและแนะนาครู ให้สอนตามระเบียบของกรมศกึ ษาธิการ จนกระทงั่ เม่ือปี พ.ศ. 2448 พระศริ ิธรรมมนุ ีได้จดั ตงั้ โรง เรียนฝึกหดั ครูขนึ ้ ท่ีวดั ท่าโพธิ์ อาศยั กฏุ พิ ระเป็นสถานท่ี เลา่ เรียนชว่ั คราว นกั เรียนครูฝึกหดั ที่สอบไล่ผา่ น
จะได้รับเงินเดอื น ๆ ละ 20 บาท เพ่ือเป็นคา่ ตอบแทนความอตุ สาหะ แตต่ อ่ มาโรงเรียนฝึกหดั ครูนครศรีธรรมราชน่าจะถกู ละเลย และมีการจดั ตงั้ โรง เรียนฝึกหดั ครูมณฑลนครศรีธรรมราชขนึ ้ ท่ีเมืองสงขลา ก่อนการปฏิวตั เิ ปลีย่ นแปลงการปกครองไมก่ ี่ปีและนามา สกู่ ารตงั้ กะท้ถู ามเพอื่ จดั ตงั้ โรงเรียนฝึกหดั ครูนครศรี ธรรมราชขนึ ้ อกี ครัง้ ในระยะเวลาตอ่ มา งบประมาณมาจากไหน? งบประมาณในการจดั ตงั้ โรงเรียนสว่ นใหญ่ได้รับ ความร่วมมือจากกรมอาเภอกานนั ผ้ใู หญ่บ้านเจ้าอธิการ วดั ตลอดจนราษฎรที่เห็นความสาคญั ของการจดั ตงั้ โรง เรียน ซง่ึ ในระยะหลงั เริ่มมีงบประมาณสนบั สนนุ ทางการ ศกึ ษาจากสว่ นกลาง โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ จากกระทรวง ธรรมการ (ปัจจบุ นั คือกระทรวงศกึ ษาธิการ)
ปัญหาของการจดั การศกึ ษา ปัญหาของการจดั การศกึ ษาในยคุ นี ้ประกอบด้วย 1ขาดผ้ทู ่ีสามารถตามแบบหลวง จาเป็นต้องคดั เลือก พระเณรมาศกึ ษาที่วดั ท่าโพธ์ิ แตไ่ มเ่ พยี งพอจงึ มีการจดั ตงั้ โรงเรียนฝึกหดั ครูเมืองนครศรีธรรมราชขนึ ้ 2) พระ เณรและราษฎรสว่ นใหญ่ในเมอื งนครศรีธรรม ราชมีความพอใจตอ่ การศกึ ษาภาษามคธมากกวา่ ภาษาไทยทาให้พระศริ ิธรรมมนุ ีต้องใช้วธิ ีการขนั้ เด็ด ขาดกลา่ วคอื หากใครไมเ่ รียนหนงั สอื ไทยให้ได้ประโยชน์ ชนั้ ต้นเสยี กอ่ นก็จะไมย่ อมให้เรียนภาษามคธแตย่ งั พบ บางแห่งยงั คงมกี ารเรียนภาษามคธ เชน่ วดั บรู ณาราม วดั วงั ตะวนั ตก และวดั จนั ทาราม 3) ราษฎรไมค่ อ่ ยให้การสนบั สนนุ แกก่ ารศกึ ษา จะมีก็ แตเ่ พยี งข้าราชการ 4) ราษฎรสว่ นใหญ่ไม่เห็นถึงคณุ คา่ ของการศกึ ษาเนื่อง จากยงั มองไมเ่ หน็ ประโยชน์ของการศกึ ษาตอ่ ชีวติ ประจาวนั ซงึ่ สว่ นใหญ่ต้องประกอบอาชีพเกษตรกรรม
Search
Read the Text Version
- 1 - 15
Pages: