48 ตัวอย่ำงกำรบันทึกบัญชรี ำยรบั - รำยจำ่ ย วัน-เดือน-ปี รำยกำร รำยรับ(เดบติ ) รำยจ่ำย(เครดติ ) หมำยเหตุ 26 มี.ค. ๖๒ รำยได้ รับเงินบริจำคจำกโรงเรียนสำหรับกำรไปศกึ ษำ ดงู ำน 2,000.- 27 มี.ค. ๖๒ เปน็ เงนิ 2,000 บำท 1,000.- รำยได้ 28 ม.ี ค. ๖๒ คำ่ ใช้จำ่ ย รับเงินอดุ หนนุ จำกสหกรณจ์ ังหวดั เปน็ เงนิ 1,000 บำท 500.- จ่ำยคำ่ อปุ กรณใ์ นกำรจัดมมุ สหกรณ์ เปน็ เงิน 500 บำท ตวั อย่ำงกำรปดิ บัญชีรำยรับ – รำยจำ่ ย วนั ที่ รบั จำนวนเงิน จำ่ ย จำนวนเงิน 1 มี.ค. ๖๒ รับคำ่ ธรรมเนียมสมำชกิ ใหม่ 100 100 500 5 มี.ค. ๖๒ รบั เงินค่ำหุ้นจำกสมำชิก 200 7 มี.ค. ๖๒ ได้รบั เงนิ บริจำคจำกบรษิ ัทแห่งหนงึ่ 5,000 ๘ มี.ค. ๖๒ จ่ำยเงนิ คำ่ สมุดและปำกกำ ๙ มี.ค. ๖๒ จ่ำยเงินค่ำโต๊ะสำนกั งำน รวมรบั รวมจ่ำย ตวั อยำ่ งงบกำไรขำดทนุ จำนวนเงิน ประจำเดอื นมกรำคม 25๖๒ 100 รำยกำร 5,000 รำยได้ 50 รับคำ่ ธรรมเนยี มสมำชิกใหม่ 70 ได้รับเงนิ บรจิ ำคจำกบริษทั แห่งหนงึ่ 270 ขำยสมดุ 800 ขำยเกำ้ อี้เก่ำ 100 รับเงนิ ดอกเบยี้ เงนิ ฝำก 2,000 รับเงนิ ค่ำขำยกล้วย 1,000 รับดอกเบยี้ เงนิ กจู้ ำกสมำชกิ 9,390 รบั เงินบริจำคจำกโรงเรยี นเพอื่ ไปศกึ ษำดูงำน รับเงินอุดหนุนจำกสหกรณ์ 100 รวมรำยได้ 200 200 คำ่ ใชจ้ ำ่ ย 500 จำ่ ยเงนิ ค่ำสมดุ และปำกกำ 700 จำ่ ยค่ำน้ำมันรถในกำรไปซือ้ ขนม 2,000 จำ่ ยค่ำแรงงำนคนตัดกลว้ ย 200 จ่ำยค่ำอุปกรณ์ในกำรจัดมมุ สหกรณ์ 3,900 จำ่ ยค่ำวัสดุในกำรจัดนิทรรศกำรวันสหกรณ์ 5,490 มอบทุนกำรศกึ ษำใหก้ บั นกั เรยี น จำ่ ยคำ่ ใชจ้ ำ่ ยในกำรแข่งขนั กีฬำโรงเรียน รวมคำ่ ใชจ้ ่ำย กำไร
49 งบดลุ ณ วนั ท่ี 31 มกรำคม 25๖๒ สนิ ทรพั ย์ เงนิ สด และเงนิ ฝำกธนำคำร (คงเหลือ ณ วันนนั้ ) ....................... ....................... ลกู หน้ี (กรณีสหกรณ์ใหก้ )ู้ ........................ ........................ วสั ดสุ ำนักงำน (ตำมมลู คำ่ คงเหลอื ) ........................ สนิ ทรัพยอ์ ่ืนๆ (สินคำ้ คงเหลอื ,อำคำร) ....................... ....................... รวมสนิ ทรพั ย์ ....................... ....................... หนส้ี ินและทนุ ....................... หนี้สิน ....................... ...................... เจ้ำหนี้ เงินรับฝำก คำ่ ใช้จ่ำยคำ้ งจ่ำย ทนุ ห้นุ กำไร/ขำดทน รวมหนีส้ ินและทุน 4. กำรประชุม สหกรณ์เป็นเร่ืองของคนหลำยคนมำทำงำนร่วมกัน กำรจะทำงำนร่วมกันให้เป็นไปด้วยควำมเรียบร้อย ให้ประสบควำมสำเร็จได้น้ัน จำเป็นต้องมำประชุมปรึกษำหำรือ มำตกลงร่วมกันในกำรกำหนดแนวทำงกำร ทำงำน เพ่ือใหบ้ รรลุวตั ถุประสงค์ท่กี ำหนดไว้ ควำมหมำย กำรประชมุ หมำยถึง กำรทบ่ี ุคคลมำรวมกันเพ่อื พดู คยุ แลกเปล่ียน ควำมคดิ เหน็ กันอยำ่ งเป็นระบบ ระเบยี บและมีจดุ ม่งุ หมำย กำรประชุมเป็นเคร่ืองมือสำคัญในกำรบรหิ ำรและดำเนนิ กำร กำรประชุมเปน็ กลไก ท่ีสำคัญของกำรทำงำนในหน่วยงำนทกุ ระดับ เปน็ กำรทำงำนทำงควำมคดิ เปน็ จุดรวมของควำมคิด กำรตดั สินใจ นโยบำย กำรศึกษำคน้ ควำ้ วจิ ัย กำรแก้ไขปัญหำและเกดิ ควำมคดิ ริเริม่ สร้ำงสรรค์ กำรประชุมมีประโยชน์ ดงั น้ี 1. ช่วยให้เกิดกำรทำงำนทำงควำมคดิ รว่ มกัน 2. ชว่ ยให้เกิดควำมรอบคอบในกำรตดั สินใจ 3. ช่วยในกำรกระจำยข่ำวสำร 4. ชว่ ยในกำรประสำนงำน ประสำนควำมคดิ และสร้ำงควำมเข้ำใจ 5. ช่วยใหแ้ ต่ละคนมสี ่วนรว่ มในกำรทำงำน 6. ชว่ ยใหแ้ ต่ละคนมสี ่วนรว่ มในกำรทำงำน 7. ชว่ ยให้เกดิ แนวทำงใหม่ วิธีกำรหรอื กระบวนกำรใหม่ ๆ จำกกำร เสนอควำมเหน็ ในกำรประชุม
50 ศัพท์ทเี่ กย่ี วขอ้ งกับกำรประชมุ องค์ประชมุ คือ ผ้มู ีหน้ำทีต่ ้องเข้ำประชุม ไดแ้ ก่ ประธำน รองประธำน กรรมกำร เลขำนุกำรและผทู้ ี่ เก่ยี วขอ้ ง ครบองคป์ ระชมุ คือ จำนวนผู้เขำ้ ประชมุ ครบตำมทีร่ ะบุไวใ้ นระเบยี บข้อบังคับโดยท่ัวไป หมำยถึง ไม่น้อยกวำ่ ก่งึ หน่ึงของจำนวนสมำชกิ หำกไม่ครบองคป์ ระชุม มติท่ีได้ถือเปน็ โมฆะ จะดำเนนิ กำรประชุมไม่ได้ ทปี่ ระชมุ คือ บรรดำผเู้ ขำ้ ประชุมท้ังหมด ไมใ่ ชส่ ถำนท่ปี ระชมุ ระเบยี บวำระ คือ เร่อื งทีจ่ ะนำเขำ้ ปรึกษำกนั ในทีป่ ระชมุ ญตั ติ คอื ข้อเสนอซึ่งผเู้ ข้ำประชุมเสนอให้ทีป่ ระชุมพจิ ำรณำลงมติ หำกเสนอเป็นลำยลักษณ์อักษร ก่อนกำรประชมุ เลขำนุกำรจะเสนอประธำนเพ่ือบรรจุเป็นระเบยี บวำระกำรประชุม กำรอภิปรำย คือ กำรแสดงควำมคดิ เหน็ กำรกล่ำวสนบั สนนุ หรือคัดค้ำนญตั ตทิ เ่ี สนอต่อทีป่ ระชมุ มติ คือ ข้อตกลงของที่ประชุมในเร่อื งตำ่ ง ๆ มติท่ไี ด้อำจเป็นมตโิ ดยเอกฉันทห์ รือมตโิ ดยเสยี งข้ำงมำก ซึ่งกำรออกเสียงจะลงคะแนนลับหรอื ลงคะแนนโดยเปิดเผยก็ได้ องค์ประกอบของกำรประชุม ประธำน - ผทู้ ำหนำ้ ทเี่ ป็นผนู้ ำในกำรประชุม เพื่อใหก้ ำรประชมุ ดำเนนิ ไปจนบรรลุ เป้ำหมำย อยำ่ งมปี ระสิทธิภำพและประสทิ ธผิ ล รองประธำน - ทำหนำ้ ทแ่ี ทนประธำนเมื่อประธำนไมอ่ ยู่หรอื ไมส่ ำมำรถปฏบิ ตั หิ นำ้ ท่ี กรรมกำร - ผทู้ ม่ี ีหนำ้ ท่ีเขำ้ ประชมุ เพือ่ แสดงควำมคิดเห็นที่เป็นประโยชน์ และออกเสยี ง ลงมติ เลขำนกุ ำร - ผทู้ ำหน้ำท่ีจดบันทกึ กำรประชมุ และจัดเตรยี มกำรประชุม นอกเหนอื ไปจำก กำรทำ หนำ้ ทเี่ ช่นเดยี วกับกรรมกำรคนอื่น ๆ กำรประชมุ ในสหกรณ์ 1. กำรประชุมใหญ่ คือ กำรประชุมสมำชิกท้ังหมดเพื่อกำหนนโยบำยกำรบริหำรงำนสหกรณ์ พิจำรณำ ผลกำรดำเนินงำนของสหกรณ์เลือกตั้งคณะกรรมกำรดำเนินงำน จัดสรรกำไรสุทธิของสหกรณ์ตลอดจนวำง แผนกำรดำเนินงำนของสหกรณ์ โดยปกตปิ ระชมุ ปลี ะคร้ัง เรยี กวำ่ “กำรประชุมใหญส่ ำมญั ประจำปี” 2. กำรประชุมคณะกรรมกำรดำเนินกำร คือ กำรประชุมผู้ที่ได้รับเลือกตั้งจำกสมำชิกในที่ประชุมใหญ่ ใหบ้ รกิ ำรงำนสหกรณ์เพื่อกำหนดแนวทำงกำรดำเนินงำนให้เป็นไปตำมแผนงำนท่ีท่ีประชุมใหญ่กำหนดรับทรำบ ผลดำเนินงำนของสหกรณ์ ตัดสินใจในกำรดำเนินกิจกรรมต่ำง ๆ ท่ีสำคัญ ฯลฯ โดยปกติจะประชุมอย่ำงน้อย เดือนละ 1 คร้ัง โดยอำจมีตัวแทนของฝ่ำยจัดกำร (ผู้จัดกำร หรือฝ่ำยต่ำงๆ ที่เกี่ยวข้อง) เข้ำร่วมในกำรประชุม ด้วย 3. กำรประชุมกลุ่ม คือ กำรประชุมสมำชิกในกลุ่มเดียวกัน ซ่ึงประกอบด้วยสมำชิกในพ้ืนที่ใกล้เคียงกัน ที่รู้จักกันดี หรือกลุ่มของสมำชิกท่ีทำกิจกรรมอย่ำงเดียวกัน เพื่อประโยชน์ในกำรติดต่อส่ือสำรระหว่ำงส หกรณ์ กับสมำชิกและในระหง่ำงสมำชิกด้วยกันเอง เพื่อแลกเปลี่ยนควำมคิดเห็น กำหนดแนวทำงปฏิบัติงำนของกลุ่ม ตลอดจนรบั ทรำบเรอื่ งรำวต่ำงๆ ของสหกรณ์ กำรประชมุ กลุม่ จะมีมำกหรือน้อยข้นึ อยู่กบั ควำมต้องกำรของกลุม่ 4. กำรประชุมฝำ่ ยจัดกำร คือกำรประชมุ ของเจ้ำหนำ้ ท่สี หกรณ์ที่ปฏบิ ตั ิงำนในตำแหน่งต่ำงๆ เพ่ือหำรือ หรือตกลงแนวทำงปฏิบัติงำนในแต่ละด้ำน หรือประชุมเพื่อรับรู้ นโยบำยควำมรู้ใหม่ๆ ท่ีต้องนำไปปฏิบัติงำน กำรประชุมฝ่ำยจัดกำรเป็นกำรทำงำนอย่ำงหน่ึงท่ีต้องจัดให้มีเป็นประจำอย่ำงน้อยเดือนละคร้ัง และต้องประชุม
51 เฉพำะกิจ เมื่อมีเรื่องต้องแก้ปัญหำ ต้องตัดสินใจ ต้องระดมควำมคิด โดยผู้เข้ำประชุม จะเป็นไปตำมเรื่องที่จัด ประชุม 5. ประชุมอ่ืนๆ คือ กำรประชุมท่ีไม่เกี่ยวข้องกับ 4 รำยกำรที่กล่ำวมำ เช่น กำรประชุมเพื่ออบรม สมำชิก กำรจดั ประชุมประจำปี ของ 3 ฝำ่ ย คือ คณะกรรมกำรดำเนินกำร ฝ่ำยจัดกำร และสมำชิก กำรประชุม ท่ีสว่ นรำชกำรจดั ให้มขี นึ้ เป็นต้น เม่อื ใดควรเรยี กประชมุ - เม่อื ไม่สำมำรถวเิ ครำะหส์ ำเหตุ สภำพและขอบเขตของปัญหำหรือไมส่ ำมำรถแก้ปญั หำโดย ลำพัง - เมอ่ื มีเหตุกำรณท์ ีต่ อ้ งตัดสนิ ใจโดยกลุ่ม - เมอ่ื ตอ้ งกำรกำรสนบั สนุน หรือตอ้ งกำรควำมร่วมมอื จำกหลำยฝ่ำย - เมอ่ื ตอ้ งกำรหำรอื เพ่อื กำหนดเปำ้ หมำยรว่ มกนั - เมอ่ื ต้องกำรชแ้ี จงและใหข้ ้อแนะนำกำรปฏิบัตทิ ี่เปน็ มำตรฐำนเดียวกัน - เมอื่ ตอ้ งกำรกำรประนปี ระนอมขอ้ พพิ ำทหรอื ควำมขดั แยง้ - เมือ่ ต้องกำรใหเ้ ห็นควำมสำคญั ของผูท้ ไ่ี ด้รับเชิญมำเข้ำประชมุ - เมื่อต้องกำรชแ้ี จงนโยบำยหรอื ใหเ้ หตผุ ลในกำรตัดสินใจ - เมือ่ ต้องกำรทบทวนสง่ิ ที่มีมตไิ ปแลว้ - เมื่อต้องกำรจดั กำรฝึกอบรมหรอื จดั กิจกรรมใด ๆ การตดั สนิ ใจเลอื กผ้เู ข้าประชมุ - เป็นผ้ซู ึ่งจะให้ประโยชน์แกท่ ่ีประชมุ ในด้ำนควำมคิดเห็นทส่ี ำคัญ ตำมวัตถปุ ระสงค์ของกำรประชมุ - เปน็ ผูม้ ขี ้อมูลและรอบรู้ในสิ่งที่จะเป็นประโยชนต์ อ่ กำรประชุม - เปน็ ผทู้ ม่ี ีสว่ นไดเ้ สียเก่ียวข้องกบั เรอื่ งท่ีประชมุ - เป็นผู้อยใู่ นฐำนะต้องใหก้ ำรรบั รองมตหิ รอื ผลของกำรประชมุ - เปน็ ผู้ท่ตี อ้ งมสี ่วนรบั ผิดชอบในเรอื่ งท่ีประชมุ - เป็นผมู้ อี ำนำจตัดสนิ ใจหรอื อนมุ ตั ใิ หม้ ีกำรดำเนนิ กำรได้ตำมมตขิ องทีป่ ระชมุ - เป็นผู้ที่จำเปน็ ตอ้ งรูส้ ำระทน่ี ำเสนอในที่ประชมุ จานวนผู้เขา้ ประชมุ ทเ่ี หมาะสม - กำรประชุมเพอ่ื กำรตัดสนิ ใจควรมจี ำนวนประมำณ 5 คน - กำรประชมุ เพอื่ กำรแก้ปัญหำ ควรมจี ำนวนประมำณ 7 คน - กำรประชุมคณะกรรมกำรเฉพำะกจิ ควรมจี ำนวนประมำณ 7 คน - กำรประชุมเพ่อื กำรบรหิ ำร ควรมีจำนวนประมำณ 10 - 15 คน - กำรประชมุ เพื่อฝกึ อบรม ควรมจี ำนวนประมำณ 20 - 25 คน - กำรประชุมชแ้ี จง ควรมจี ำนวนประมำณไม่เกิน 30 คน - กำรประชุมเพอ่ื แจง้ ข่ำวสำรตำ่ ง ๆ มีจำนวนเทำ่ ใดกไ็ ดต้ ำมจำนวนของผู้ที่จำเป็นต้อง รายงานการประชุม รำยงำนกำรประชุม คือ ข้อควำมบันทึกควำมคิดเห็นของผู้มำประชุม ผู้เข้ำร่วมประชุม โดยระบุมติของที่ประชุม เพ่ือเก็บไว้เป็นหลักฐำนอ้ำงอิง เพื่อยืนยันกำรปฏิบัติงำน เพ่ือแสดงกิ จกำร ที่ดำเนนิ กำรมำแล้ว และเพอ่ื แจ้งผลกำรประชุมให้บคุ คลทเ่ี กีย่ วข้องได้ทรำบและปฏบิ ัติต่อไป
52 รำยงำนกำรประชุมคณะกรรมกำรกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนโรงเรยี นบำ้ นปวงคำ(ประชำอุทศิ ) คร้งั ท่ี ๑/25๖๒ ปกี ำรศกึ ษำ 255๒ วนั ที่ ๑๖ เดอื น พฤษภำคม พ.ศ.25๖๒ ณ ห้องประชุมสหกรณร์ ำ้ นคำ้ โรงเรียนบำ้ นปวงคำ(ประชำอุทศิ ) ผ้เู ขำ้ ประชุม ท่ี ช่ือ-สกุล ตำแหน่ง ลำยมอื 1 เดก็ หญงิ แกว้ คำดี ประธำน 2 เด็กหญงิ พำ มำยอง รองประทำน 3 เดก็ หญงิ เงิน คำใหญ่ เหรัญญกิ 4 เดก็ หญงิ มำนิต มีคำ เลขำนุกำร 5 เด็กหญิงจนี ดำ พำสี กรรมกำร 6 เดก็ หญงิ หนดู ี มเี งิน กรรมกำร 7 เด็กหญิงจนั ทร์ คำใหญ่ กรรมกำร 8 เด็กหญิงงำมผอ่ ง ยองใย กรรมกำร 9 เดก็ หญงิ ปวิ ิภำ มำนะ กรรมกำร 10 เด็กหญิงก้อย มำน้อย กรรมกำร ผไู้ มเ่ ข้ำประชมุ ชอ่ื -สกลุ ตำแหน่ง ลำยมือ ที่ ไม่มี ผู้เขำ้ รว่ มประชมุ ตำแหน่ง ลำยมอื ท่ี ช่ือ-สกลุ ครู ครู 1 นำงนกน้อย ปล่อยใจ ครู 2 นำงวรรวิภำ แก้วคำ 3 นำงสำวดวงใจ ไปนำ
53 เริม่ ประชุมเวลำ...........................น. เมอื่ คณะกรรมกำรมำครบองค์ประชมุ แล้ว เดก็ หญิง.......................... ประธำนกรรมกำรทำหนำ้ ที่ ประธำนในที่ประชุม กล่ำวเปดิ ประชมุ และดำเนนิ กำรประชมุ ตำมระเบยี บวำระต่ำงๆ ดงั น้ี ระเบียบวำระที่ 1 เรื่องประธำนแจง้ ใหท้ รำบ 1.1 ............................................................................................................................. ............ 1.2 ............................................................................................................................. ........... มติ ทป่ี ระชมุ รับทรำบ ระเบียบวำระที่ 2 เร่ืองรับรองรำยงำนกำรประชุมครั้งทแ่ี ล้ว ประธำนในที่ประชมุ ได้มอบหมำยให้ .............................. ตำแหนง่ เลขำนกุ ำร อำ่ นรำยงำน กำรประชมุ คร้งั ท่ี ...................... วันที่ .......................น ใหท้ ี่ประชมุ ฟังโดยละเอยี ด เพื่อใหท้ ี่ประชุมพิจำรณำ รบั รอง มติ เมื่อไม่มผี ู้ใดแก้ไขรำยงำนกำรประชุม จึงพจิ ำรณำรับรองรำยงำนกำรประชมุ คร้ังทแ่ี ล้ว ระเบยี บวำระที่ 3 เรือ่ งเพือ่ ทรำบ สหกรณน์ กั เรยี นโรงเรยี น................................................ รำยรับ - รำยจ่ำย ประจำเดอื น ............................................... มติ ทปี่ ระชุมรบั ทรำบ ระเบยี บวำระที่ 4 เร่อื งเพือ่ พจิ ำรณำ 4.1 ............................................................................................................................. ......... 4.2 ............................................................................................................................. ........ ระเบียบวำระที่ 5 เร่อื งอ่ืนๆ ไม่มี ......................................................................................................................................................... ……………………………………….……………………………………………………………………………………………….. เลกิ ประชุมเวลำ ............................. น. (ลงชอ่ื ) ............................. ประธำนที่ประชมุ (...............................................) (ลงชือ่ ) ............................. เลขำนกุ ำรผจู้ ดบันทึก (...............................................) (ลงช่ือ) ............................. ผู้ตรวจบญั ชี (.............................................)
54 สว่ นประกอบของรำยงำนกำรประชุม 1. รำยงำนกำรประชุมของใคร ให้ลงชื่อคณะทีป่ ระชุมหรือชือ่ กำรประชุมน้นั 2. ครั้งท่ี ให้ลงครั้งที่ประชุมว่ำ เป็นกำรประชุมคร้ังท่ีเท่ำใดของปีนั้น เรียงลำดับไปตำม ปปี ฏิทนิ และทับ ( / ) ดว้ ยปีพุทธศักรำช เมือ่ ขึน้ ปีใหมใ่ หเ้ ริ่มตน้ นับ 1 ใหม่ 3. วัน เดือน ปี ใหล้ งวนั เดือนปที ่ปี ระชุม อำจขน้ึ ต้นดว้ ยคำว่ำ เมือ่ 4. สถำนท่ีประชุม ให้ระบุสถำนท่ที ใ่ี ชด้ ำเนินกำรประชุม 5. ผู้มำประชุม ให้ลงชอ่ื หรือตำแหนง่ ของผู้ที่ไดร้ บั แต่งตงั้ เป็นคณะท่ปี ระชุมและได้มำประชุม หำกมผี ู้มำประชุมแทน ใหล้ งชือ่ ผมู้ ำประชุมแทนพร้อมทง้ั ระบวุ ่ำแทนผู้ใดหรือตำแหน่งใด 6. ผูไ้ ม่มำประชุม ให้ลงชอ่ื หรือตำแหนง่ ของผู้ที่ไดร้ ับแตง่ ต้ังเปน็ คณะท่ปี ระชุมซ่งึ ไม่ได้มำ ประชมุ พร้อมทั้งระบุเหตผุ ล (ถำ้ มี) ท้ังนี้ กำรระบุเหตผุ ลนิยมใชว้ ำ่ ลำปว่ ย ลำกจิ หรอื ติดรำชกำร 7. ผู้เข้ำร่วมประชุม ใหล้ งชื่อและตำแหน่งของผูท้ ่ีไม่ไดร้ ับกำรแตง่ ตง้ั เป็นคณะที่ประชมุ แต่ ไดเ้ ข้ำร่วมประชมุ 8. เร่ิมประชมุ เวลำ ให้ลงเวลำที่เริ่มประชุมตำมเวลำจริง ไมใ่ ช่เวลำนดั ประชุมเพรำะกำร ประชมุ อำจลำ่ ช้ำกว่ำกำหนด 9. ข้อควำม กำรจดรำยงำนกำรประชุมมี 3 วธิ ี คอื 1) จดละเอยี ดทกุ คำพดู พร้อมท้งั มติ 2) จดยอ่ คำพูดท่เี ปน็ ประเดน็ สำคัญพร้อมทง้ั มติ 3) จดเฉพำะเหตผุ ลและมติของท่ีประชุม ระเบยี บงำนสำรบรรณ สำนักนำยกรฐั มนตรี แบง่ ระเบียบวำระกำรประชมุ เป็น 5 วำระ ดังน้ี 1) เรื่องทปี่ ระธำนแจ้งให้ทปี่ ระชมุ ทรำบ 2) กำรรบั รองรำยงำนกำรประชุม 3) เรื่องท่ีเสนอให้ที่ประชมุ ทรำบ 4) เร่อื งทีเ่ สนอใหท้ ี่ประชมุ พจิ ำรณำ 5) เรอ่ื งอื่น ๆ (ถ้ำมี) 10. เลกิ ประชมุ เวลำ ให้ลงเวลำเลกิ ประชุมตำมเวลำจรงิ 11. ผู้จดรำยงำนกำรประชุม ให้ลงชอ่ื ผจู้ ดรำยงำนกำรประชมุ
Search