Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เรื่องโขน

เรื่องโขน

Published by neszhee1802, 2022-01-26 03:34:52

Description: เรื่องโขน

Search

Read the Text Version

โขน เปน็ ศลิ ปะการแสดงชน้ั สูงของไทยที่มีความสง่างาม อลังการและอ่อนช้อย การแสดงประเภทหนึ่งที่ ใชท้ า่ ราตามแบบละครใน แตกต่างเพยี งท่าราที่มกี ารเพมิ่ ตวั แสดง เปลี่ยนทานองเพลงท่ีใช้ในการดาเนินเรื่องไม่ เหมือนกับละคร แสดงเป็นเรื่องราวโดยลาดับก่อนหลังเหมือนละครทุกประการ ซ่ึงไม่เรียกการแสดงเหล่านี้ว่า ละครแต่เรียกว่าโขนแทน มีประวัติยาวนานต้ังแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา จากหลักฐานจดหมายเหตุลาลู แบร์ เอกอคั รราชทูตฝร่ังเศสในสมยั สมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช ไดม้ ีการกล่าวถงึ การแสดงโขนวา่ เปน็ การเตน้ ออกท่าทาง ประกอบกับเสียงซอและเครื่องดนตรีประเภทต่าง ๆ ผู้แสดงจะสวมหน้ากากปิดบังใบหน้าตนเอง และถอื อาวุธ โขนเปน็ จุดศูนยร์ วมของศาสตร์และศลิ ปห์ ลากหลายแขนงเช่น วรรณกรรม วรรณศิลป์ นาฏศิลป์ คีตศิลป์ หัตถศลิ ป[์ 4] โดยนาเอาวิธีเลน่ และการแต่งตัวบางชนิดมาจากการเล่นชักนาคดึกดาบรรพ์[5] มีท่าทางการต่อสู้ท่ี โลดโผน ท่ารา ท่าเต้นเช่น ท่าปฐมในการไหว้ครูของกระบ่ีกระบอง รวมท้ังการนาศิลปะการพากย์ การเจรจา หน้าพาทย์และเพลงดนตรีเข้ามาประกอบการแสดง[6] ในการแสดงโขน ลักษณะสาคัญอยู่ที่ผู้แสดงต้องสวม หัวโขน ซ่ึงเป็นเครื่องสวมครอบหุ้มต้ังแต่ศีรษะถึงคอ เจาะรูสองรูบริเวณดวงตาให้สามารถมองเห็น แสดง อารมณ์ผ่านทางการร่ายรา สร้างตามลักษณะของตัวละครน้ัน ๆ เช่น ตัวยักษ์ ตัวลิง ตัวเทวดา ฯลฯ ตกแต่ง ด้วยสี ลงรกั ปดิ ทอง ประดับกระจก บา้ งกเ็ รยี กวา่ หน้าโขน ในสมยั โบราณ ตัวพระและตวั เทวดาต่างสวมหัวโขนในการแสดง ตอ่ มาภายหลังมีการเปล่ยี นแปลงไม่ต้อง สวมหัวโขน คงใช้ใบหน้าจริงเช่นเดียวกับละคร แต่งกายแบบเดียวกับละครใน เครื่องแต่งกายของตัวพระและ ตัวยักษ์ในสมัยโบราณมักมีสองสีคือ สีหน่ึงเป็นสีเส้ือ อีกสีหนึ่งเป็นสีแขนโดยสมมุติแทนเกราะ เป็นลายหนุน ประเภทลายพุม่ หรือลายกระจังตาอ้อย ส่วนเคร่ืองแต่งกายตัวลิงจะเป็นลายวงทักษิณาวรรต[7] โดยสมมุติเป็น ขนของลิงหรือหมี ดาเนินเรื่องด้วยการกล่าวคานาเล่าเร่ืองเป็นทานองเรียกว่าพากย์อย่างหนึ่ง กับเจรจาเป็น ทานองอย่างหน่ึง ใช้กาพย์ยานีและกาพย์ฉบัง[8] โดยมีผู้ให้เสียงแทนเรียกว่าผู้พากย์และเจรจา มีต้นเสียงและ ลูกคู่ร้องบทให้[9] ใช้วงป่ีพาทย์เคร่ืองห้าประกอบการแสดง นิยมแสดงเรื่องรามเกียรติ์และอุณรุท ปัจจุบัน สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์มีหน้าที่หลักในการสืบทอดการฝึกหัดโขน และกรมศิลปากร มีหน้าท่ีในการจัดการ แสดง[10]

โขน เป็นนาฏศลิ ปช์ ้ันสงู อย่างหนึ่งของไทย ปรบั ปรุงจากการเลน่ 3 ประเภท คอื หนงั ใหญ่ ชกั นาคดกึ ดาบรรพ์ และกระบก่ี ระบอง เรอ่ื งทใี่ ช้โขนคอื เรอ่ื งรามเกียรต์ิ เน้อื เร่ืองส่วน ใหญเ่ ปน็ การทาสงคราม ระหวา่ ง พระราม กษตั ริยธ์ รรมกิ ราชแห่งนครอโยธยา กับ ทศกณั ฐ์ พญายักษแ์ หง่ กรุงลงกา

การแสดงโขนในขนั้ แรกนา่ จะแสดงกลางสนามกวา้ ง ๆ เหมอื นกับการแสดงชกั นาคดกึ ดาบรรพ์ ตอ่ มาการแสดงกเ็ จริญกา้ วหนา้ มากข้นึ มกี ารปลกู โรงไวใ้ ชแ้ สดง จนมีฉากประกอบ ตามทอ้ งเรื่อง จากนน้ั โขนกม็ กี ารวิวฒั นาการดดั แปลงการเลน่ ดว้ ยวิธกี ารต่าง ๆ เราจึงเรยี ก แยกประเภทของโขนตามลักษณะการแสดงนน้ั ๆ ไดแ้ ก่ 1. โขนกลางแปลง 2. โขนโรงนอก หรือโขนนง่ั ราว 3. โขนหน้าจอ 4. โขนโรงใน 5. โขนฉาก

1. โขนกลางแปลง คอื การแสดงโขนบนพ้ืนดิน ไม่มกี ารสรา้ งโรง ผู้แสดงเลน่ กลาง สนาม คล้ายเชน่ ชักนาค ดึกดาบรรพท์ ี่บนั ทึกไว้ในกฎมณเฑยี รบาล การเลน่ ชักนาคดึก ดาบรรพเ์ ป็นการเลน่ ตานานกวนเกษียรสมทุ รของพราหมณ์ เล่นในพิธอี นิ ทราภเิ ษก โขน กลางแปลงส่วนใหญเ่ ลน่ เก่ยี วกบั การยกทัพ และการรบระหวา่ งฝ่ายพระรามและฝ่าย ทศกัณฐ์ ดนตรีที่ใชป้ ระกอบเปน็ วงปพี่ าทย์อย่างน้อย 2 วง บรรเลงเพลงหนา้ พาทย์ บท ท่ีเลน่ ส่วนมาก มีแค่คาพากย์และบทเจรจา

โขนนงั่ ราว สว่ นราวไม้กระบอก ทพี่ าดอย่หู น้าจอโขนน่ังราวนี้ จะตอ้ งทาขาหย่ังสูง ประมาณ คร่งึ เมตร ต้งั รบั ไม้ กระบอก เป็นระยะ ๆ เพอ่ื ใหไ้ ม้กระบอก ทรงตวั อยู่ และ สามารถ รบั น้าหนกั ตวั โขน ท่นี ง่ั ลงไปได้ ถึงกระน้นั เวลา ตัวโขนหลาย ๆ คนน่งั ลง ไปบน ราวไม้กระบอกในเวลาเดยี วกัน ไมก้ ระบอกกส็ ่งเสียง ดังล่นั ออดแอด ๆ ได้ ยินไปถงึ ผูช้ ม เอกลกั ษณท์ สี่ าคญั อกี อย่างหนง่ึ ของโขนนง่ั ราว กค็ ือ ผแู้ สดงโขน ทกุ คน จะตอ้ งสวมหัวโขน ปิดหน้าท้งั หมด แมแ้ ตต่ ัวพระราม พระลักษณ์ ยกเวน้ แต่ ตัวนางเทา่ นั้น

โขนหน้าจอในช่วงระยะเวลา ที่เป็นลักษณะหัวเล้ียวหัวต่อระหว่าง การแสดงหนัง ใหญ่ จะเปลี่ยนมาแสดงโขนนัน้ ได้ มีการแสดง\"หนังติดตัวโขน\" เกิดข้ึน เป็นการแสดง โขน แทรกเขา้ ไป ในการแสดง หนังใหญ่ เป็นบาง ตอน เลือกเอาเฉพาะ ตอนที่สาคัญ ๆ เพ่ือการแสดงลีลา กระบวนราที่สวยงาม เช่น ตอน ทศกัณฐ์ลงสวน เมื่อแสดงหนัง ใหญ่มาถึงตอนทศกัณฐ์ จะไปหานางสีดาท่ีอุทยาน ก็ปล่อยตัว โขน คือ ทศกัณฐ์ ออกมารา เพลงฉุยฉาย จนไปพบและเกี้ยวนางสีดา นางสีดาไม่สนใจใยดีกลับแช่งด่า ทาให้ ทศกัณฐโกรธ เสด็จออก จากตาหนัก ของนางสีดาต่อจากนี้ไป ก็จะแสดงเป็น แบบหนังใหญ่ ตามเดิม เม่ือนาโขน มาแสดง แทรก บ่อย ๆ เข้า ในท่ีสุดก็เลยเลิกหนัง ใหญ่แสดง แต่โขนอย่างเดียว การแสดงโขน ท่ีมา แทนหนังใหญ่ ก็ยัง คงแสดงอยู่บน พ้ืนดิน หน้าจอหนังใหญ่ตามเดิม ต่อมาจึงมีการปลูกโรงยกพื้นสูงระดับสายตาผู้ชม และขึง จอผ้าขาว แบบจอหนังใหญ่ แต่แก้ไขให้ มีประตูเข้าออก ๒ ข้าง ทั้งด้ายซ้าย และด้านขวาต่อจากขอบ ประตูออกมาทางด้านขวาของประตูออกมาทางด้านขวา ของเวทีเขียนเป็นรูปพลับพลาพระราม ทางด้าน ซ้ายของเวทีเขียนเป็นรูปปราสาท ราชวงั สมมตเิ ปน็ กรุงลงกา หรือเมอื งยกั ษ์ การแสดงโขนแบบนี้ เรียกว่าโขนหน้าจอ ดาเนินเร่ือง โดยการพากย์ และเจรจา ผู้แสดงเป็นตัวเทวดา และตัวพระ เช่น พระราม และพระลักษณ์ สวมเครื่องประดับ ศีรษะที่เรียกว่าชฎา ไม่ต้องสวมหัวโขน ปดิ หนา้ ท้ังหมด

โขนโรงใน เป็นโขนท่ีได้รับการปรับปรุงผสมผสานกับละครใน โดยการนาท่ารา ท่าเต้น และบทพากย์เจรจาตามแบบโขนมาผสมกับการขับร้อง เพลงต่างๆ และระบา ราฟ้อนของละครใน ภายหลังจึงเรียกว่า “โขนโรงใน” โขนท่ีกรมศิลปากรนา ออกแสดงในโรงละครแห่งชาติปัจจุบันน้ีมักเป็นลักษณะโขนโรงใน หรือที่นา ออกแสดงกลางแจง้ กเ็ ปน็ การแสดงแบบโขนโรงในทัง้ สิน้

โขนฉาก การแสดงโขนแต่เดิมน้ัน จะไม่มีการสร้างฉากประกอบเรื่อง การแสดงจะดาเนินเร่ือง ติดต่อกันไปโดยผู้ดูจะต้องจินตนาการถึงฉากหรือสถานที่ในเรื่องราวขณะนั้นเอาเอง การจัดฉากในการแสดงเป็นส่ิงท่ีรับมาจากตะวันตก โขนฉากเกิดข้ึนในสมัยรัชกาล ที่ 5 นี้เอง โดยคดิ สรา้ งฉากประกอบการแสดงโขนบนเวทีขึน้ คล้ายกบั การแสดง ละครดึกดาบรรพ์ ท่ีสมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ทรงคิดข้ึน การแสดงโขนฉากเป็นแบบเดียวกับโขนโรงใน แต่มีการจัดฉากแบบละครดึกดาบรรพ์ โดยแบ่งเป็นฉากเป็นองก์ การสร้างฉากก็ให้เข้ากับเหตุการณ์ และสถานที่ตาม ท้องเร่ือง เชน่ การแสดงโขนของกรมศิลปากรในปจั จบุ นั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook