Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิจัย 64

วิจัย 64

Published by ora arjjai, 2022-08-05 06:39:54

Description: วิจัย 64

Search

Read the Text Version

47 (2) การสัมภาษณห์ รือการสนทนา ซึ่งมักเปน็ การพูดระหว่างบุคคลสองคน โดยฝา่ ยหน่ึงเปน็ ผู้ดำเนินการ สอบ เป็นผู้ป้อนคำถามให้นักเรียนได้แสดงทักษะการพูดของตน การสนทนามักเริ่มต้นด้วยการทักทาย เพื่อให้ นักเรยี นได้คลายเครยี ดหรือความวิตกกังวลท่ีเกิดข้นึ และช่วยให้คนุ้ กบั สถานการณ์การสอบได้ดขี ้ึน ต่อจากน้ันจะ เปน็ การเขา้ สู่เรอื่ งท่มี ุ่งทดสอบ ซ่ึงอาจเป็นเร่ืองท่ัวไปตามบทบาทสมมุติที่กำหนดให้นักเรยี น เชน่ การถามทิศทาง การจองบัตรชมดนตรี การสั่งอาหารในภัตตาคาร หรือเป็นการพูดแสดงความเห็นในเรื่องต่างๆ เช่น การศึกษา เหตกุ ารณป์ ัจจบุ นั การพดู เก่ียวกับแผนการในอนาคตของตนเอง เช่น การศึกษาต่อ การทำงาน เปน็ ตน้ (3) การอภิปรายหรือโตว้ าที ซึง่ มีการแสดงความคิดเห็นเป็นกลุ่ม โดยมกี รรมการให้คะแนนนักเรียนเป็น รายบุคคล อย่างไรก็ตามการพูดเปน็ กลุม่ แบบนี้ มีการพูดของผู้อืน่ เป็นตวั แปรสำคญั ที่มีอิทธิพลต่อความสามารถ ในการพูดของแต่ละคนเนื่องจากการพูดเป็นการสือ่ สารที่อาศัยท่วงทวี าจา ความชัดถ้อยชัดคำน้ำเสียง ประกอบ กับการใช้ภาษา การประเมนิ ความสามารถในการใชท้ ักษะพดู จงึ ควรคำนงึ ถึงสิ่งเหลา่ นี้ ได้แก่ (1) การออกเสยี ง วา่ ชัดเจนหรอื ไมเ่ พยี งใด การลงเสียงหนักเบา การใชเ้ สยี งขึ้นลงการเว้น จงั หวะในการพดู (2) ท่วงที สีหนา้ การสบตากับผูฟ้ ังว่าสอดคล้องและเหมาะสมกบั การแสดงออกทางการพดู หรือไม่ และผพู้ ูดสามารถใช้อยา่ งไดผ้ ลหรือไม่ (3) ศัพท์สำนวนทีใ่ ช้ว่าเหมาะสมและได้ความหมายหรือไม่ (4) โครงสรา้ งประโยคทใ่ี ช้ว่าถูกต้องหรือไม่ (ข้อ 1-4 อาจมีน้ำหนักนอ้ ยกว่าการประเมนิ ขอ้ 5-8 เช่น อาจเปน็ สดั ส่วน 2:3) (5) ใจความสำคัญของการพูด (6) รายละเอียดสนบั สนุนหรอื โต้แย้งพร้อมทงั้ การใหเ้ หตุผล (7) การสรุปประเด็นหรอื การขมวดท้ายการพูด (8) การรักษาสัมพันธภาพกับผูท้ ี่พดู ด้วยโดยการใช้ปฏิสมั พันธ์ทางภาษาทีเ่ หมาะสม เช่นกลวธิ ี การสอดแทรกคำพดู ของผู้อ่นื การนำเขา้ ส่กู ารพดู ของตนเองอย่างราบรน่ื ไมห่ ว้ นไม่ใช่การขัดคออย่างไม่สภุ าพ กลวธิ ีการข้นึ ตน้ และลงทา้ ยการพดู ท่ีเหมาะสม Heaton (1990) ได้ใหค้ วามคิดเหน็ เกีย่ วกบั วธิ ีการทดสอบความสามารถในการพูดเพ่ือการสื่อสารไว้ดงั น้ี (1) การออกเสียง (Pronunciation) มีการทดสอบความสามารถในการพดู ออกเสยี งในลักษณะกจิ กรรม ดงั นี้

48 (1.1) การอา่ นออกเสยี ง (Read aloud) เรือ่ งทีน่ ำมาอ่านควรเป็นประโยชน์ในชีวติ ประจำวนั เช่น อา่ นคำแนะนำ หรอื จดหมายใหผ้ ู้อ่ืนฟงั วิธีการทดสอบคือครูใหเ้ วลานกั เรยี นดเู นื้อหาท่ีต้องอ่าน 2-3 นาที ซง่ึ เป็นเน้ือหาทีเ่ หมาะสมที่ครูเห็นว่าจะใช้ได้ในชวี ิตประจำวัน (1.2) การเลา่ เรื่องซำ้ ๆ (Re-telling stories) การทดสอบย่อยนี้ใหป้ ระโยชนม์ ากกวา่ การอ่าน ออกเสยี ง คือ นกั เรียนจะได้อ่านในใจจากเร่ืองที่ครูเตรยี มประมาณ 2-3 นาที แล้วนำมาเลา่ ใหผ้ ู้อื่นฟงั จุดประสงค์ ของการทดสอบน้ีจะให้คะแนนผสู้ อบในสว่ นทเี่ ปน็ การออกเสียงเทา่ น้ัน จะไม่คำนึงว่าผูท้ ดสอบจะเล่าเร่ืองถูก หรอื ไม่ (2) การใชภ้ าพ (Using pictures) ภาพมปี ระโยชนม์ ากสำหรบั การทดสอบทกั ษะการพูด ส่ิงแรกที่ครคู วร คำนึงถึงคือ การเลือกภาพ เพราะภาพจะมีผลต่อการใช้ภาษาของผู้ทดสอบ ขั้นตอนต่อมาครูควรแน่ใจว่า ผู้ ทดสอบได้เหน็ ภาพประมาณ 2-3 นาที ก่อนพูดบรรยายเหตุการณจ์ ากภาพ สดุ ทา้ ยครูควรระลกึ เสมอว่าภาพเป็น การทดสอบย่อยที่ดีที่สุดสำหรับการประเมินผลในส่วนหนึ่งของบทเรียน มากกว่าเป็นส่วนหนึ่งของการทดสอบ เพราะการใช้ภาพในการทดสอบการพูด จะเสียเวลามาก ซ่ึงการทดสอบโดยใช้ภาพมีหลายลกั ษณะ ดังน้ี (2.1) ภาพเพื่อการบรรยาย (Pictures for description) เป็นการทดสอบโดยผู้ทดสอบใหผ้ ู้เข้า รับการทดสอบบรรยายรูปภาพง่ายๆ เช่น รูปถ่ายหรือโปสเตอร์ โดยอธิบายว่าคนในภาพกำลังทำอะไร สิ่งของใน ภาพอยูท่ ี่ใด เกดิ อะไรขน้ึ ในภาพ ผเู้ ข้ารบั การทดสอบอาจพูดจากการใช้จนิ ตนาการจากภาพ ผูท้ ดสอบไม่ควรถาม คำถามจากภาพมากเกนิ ไป (2.2) ภาพเพื่อการเปรียบเทียบ (Pictures for comparison) เป็นการทดสอบที่น่าสนใจมาก ขนึ้ คือ ผูท้ ดสอบจะให้รูปภาพท่คี ลา้ ยกนั กบั ผเู้ ขา้ รบั การทดสอบ 2 คนๆ ละหน่ึงใบให้ผเู้ ข้ารับการทดสอบพูดเพื่อ หาส่ิงทีแ่ ตกต่างจากภาพท่ตี นเองถืออยู่ (2.3) การลำดับภาพ (Sequences of pictures) เป็นวิธีการทดสอบ โดยผู้ทดสอบให้ผู้เข้ารับ การทดสอบเล่าเร่อื งจากภาพตามลำดับเหตกุ ารณ์ ซึ่งเปน็ การทดสอบรายบุคคล ถ้าผทู้ ดสอบต้องการทดสอบเป็น คู่ กส็ ามารถทำไดโ้ ดยนำภาพทัง้ หมดมาปนกนั ให้ผูเ้ ข้ารับการทดสอบท้งั คู่ชว่ ยกันพดู ลำดับเหตุการณจ์ ากภาพ (2.4) ภาพกับวงคำพูดสนทนา (Pictures with speech bubbles) เป็นการทดสอบการพูดที่ ต้องการให้ผู้เข้ารับการทดสอบเดาส่วนที่อยู่ในวงคำพูด ซึ่งเป็นประโยคหรือคำที่คนในภาพสนทนา แต่ผู้ทดสอบ ตัดส่วนนั้นทิ้งไป อาจเป็นภาพการ์ตูนขำขนั การ์ตูนทั่วไป หรือภาพทีเ่ ป็นเรือ่ งราวต่างๆ การทดสอบน้ีใช้ทดสอบ ได้ทั้งรายบุคคลและรายคู่ จุดประสงค์ของการทดสอบแบบนี้คือ ผู้ทดสอบจะให้คะแนนคำพูดที่ผู้เข้ารับการ ทดสอบพดู แต่จะไมห่ ักคะแนนถา้ ผู้ทดสอบเดาคำพูดของคนในภาพไม่ถูกตอ้ ง

49 (2.5) แผนที่ (Maps) เป็นการทดสอบทีต่ ้องการให้ผูท้ ดสอบบอกทิศทาง โดยผู้ทดสอบเตรยี ม แผนที่ และคำสั่ง สำหรับทดสอบรายบุคคล ในกรณีที่เป็นการทดสอบรายคู่ผู้ทดสอบให้ผู้เข้ารับการทดสอบคน หน่งึ เปน็ ผูถ้ ามทาง อกี คนหนง่ึ เปน็ ผูบ้ อกทาง (3) การสมั ภาษณ์ปากเปลา่ (Oral interview) เปน็ การทดสอบความสามารถในการพูดที่ดีมาก โดย ครจู ะถามผู้ทดสอบเก่ยี วกับข้อมูลส่วนตวั เชน่ ช่ือ งานอดิเรก สิง่ ท่ชี อบทำ สง่ิ ท่ีไมช่ อบทำ ซงึ่ จะช่วยให้ผู้ทดสอบ รู้สึกสบายใจที่จะตอบ อีกทั้งผู้สัมภาษณ์ยังได้รับข้อมูลเกี่ยวกับตัวผู้ทดสอบอีกด้วย ในการทดสอบโดยการ สัมภาษณ์นน้ั มีสิง่ ทค่ี วรคำนึงถึง ดังนี้ (3.1) การถามคำถาม (Asking questions) ผทู้ ดสอบไมค่ วรทำการสัมภาษณ์กลายเปน็ การถาม คำถาม มากกว่าการทดสอบทางการศึกษา ดังนั้น ผู้ทดสอบควรเลือกคำถามที่ใช้ในการสัมภาษณ์ที่จะนำไปสู่ คำถามทน่ี ่าสนใจ และเตรยี มพร้อมท่ีจะโต้ตอบสนทนาในสิ่งทผ่ี ู้เข้ารบั การทดสอบตอบกลับมา กล่าวคือ ให้ผู้เข้า รับการทดสอบไดร้ บั บรรยากาศของการสนทนาพูดคุยและเปิดโอกาสใหผ้ ู้เขา้ รบั การทดสอบพูดใหม้ ากๆ (3.2) การให้คะแนน (Marking) ไม่ควรใหค้ ะแนนต่อหน้าผู้เข้ารับการทดสอบเพ่ือลดความต่ืนเต้น และความเครียดของผู้เข้ารับการทดสอบ ซงึ่ มผี ลต่อความสามารถในการพูด (3.3) การทดสอบผู้เรียนเป็นคู่ (Testing students in pairs) เป็นการทดสอบที่จะช่วยลด ความเครยี ดให้กับผู้เข้ารับการทดสอบ อีกทัง้ ผ้ทู ดสอบจะได้ทดสอบความสามารถระหว่างผ้เู ข้ารับการทดสอบใน ระดับเดียวกัน เช่น นักเรียนกับนักเรียน โดยผู้ทดสอบอาจให้ผู้เข้ารับการทดสอบเตรียมคำถามของตนเอง แล้ว นำมาสมั ภาษณ์คสู่ นทนาของตนเอง กาญจนา ปราบพาล (2530) ได้เสนอแนะวิธีการวัดความสามารถทางการพูดไว้ 3 แบบ คือ การพูดคุย การสัมภาษณ์ และการแสดงบทบาทสมมติ ขณะท่ี ศุลรี ตั น์ ภัทรานนท์ (2532) ได้สรปุ ว่า การวัดและประเมิน ผล ทักษะการพูดสามารถวดั ดว้ ยวิธกี ารตา่ งๆ ดังน้ี (1) วัดเฉพาะทกั ษะการพดู เช่น พูดตามหวั ข้อที่กำหนดให้ (2) วัดทักษะการพูดสัมพนั ธ์กับทกั ษะอืน่ เช่น ฟงั -พูด อ่าน-พดู เขยี น-พดู เป็นต้น (3) วัดทักษะการพูดโดยตรงคอื ใหพ้ ดู ในสภาพที่เป็นจริงหรอื ในสถานการณจ์ ำลองทีส่ มจริง (4) วัดทักษะการพูดทางอ้อม ใช้วิธีการสัมพันธ์กับการพูดโดยตรง เช่น การระลึก โดยการใช้ ผู้เรียนอ่านบทสนทนาที่ข้อความบางตอนที่ขาดหายไปแล้วเลือกคำตอบที่ให้มาเติมหรือเขียนสมบูรณ์โดยถือว่า กอ่ นตอบผู้เรียนตอ้ งออกเสยี งในใจก่อน

50 (5) วัดจุดย่อยขององค์ประกอบต่างๆ ทางภาษาได้แก่ ระบบเสียง ศัพท์ โครงสร้างไวยากรณ์ เปน็ การวดั ความสามารถทางภาษา (6) วัดทักษะรวมสรุป เป็นการวัดความสามารถในการสื่อความหมายด้วยการพูดซึ่งต้องใช้ความรู้ ทางภาษา และความสามารถทางอ่ืนๆ เช่น การให้ทำกจิ กรรมดงั ต่อไปนี้ (6.1) สนทนาเป็นกลุม่ หรอื เป็นคู่ (6.2) แสดงบทบาทสมมติ เชน่ พดู โทรศพั ท์ แสดงละครสน้ั ๆ (6.3) พดู บรรยายภาพ หรอื อ่านขอ้ ความแล้วเลา่ หรือพูดสรุป (6.4) พดู ตามหวั ขอ้ ที่กำหนดให้ (6.5) พูดอธบิ าย พดู บรรยาย รายงาน พูดโนม้ นา้ ว โต้แยง้ (6.6) พดู ภาษาอังกฤษจากเร่ืองราวภาษาไทย 6.7) ครสู ัมภาษณ์ผู้เรยี น หรือผู้เรียนจบั คูส่ ัมภาษณ์กันเอง (6.8) ตอบแบบทดสอบแบบเติมคำในชอ่ งวา่ ง (6.9) ตอบคำถามที่เกี่ยวกับภาพการ์ตูนเป็นชุดเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นสามารถใช้ เหตผุ ลและสรุปอา้ งอิงไดจ้ ากเน้ือเรื่อง ในการวดั และประเมินผลความสามารถในการพดู ภาษาองั กฤษของนักเรียนน้ัน เห็นได้วา่ มหี ลายรูปแบบ และวิธกี าร ผปู้ ระเมินสามารถเลอื กใชแ้ ละปรบั ใชเ้ พื่อใหส้ อดคลอ้ งกับวัตถปุ ระสงคข์ องการประเมินทต่ี ้ังไว้ 6.5.2 เกณฑ์การวัดและการประเมินความสามารถในการพดู ภาษาอังกฤษ นักวชิ าการศึกษาได้กล่าวถึงเกณฑ์การวัดและการประเมินความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษ ไวด้ ังนี้ Clark (1972 อ้างถึงใน กมลวรรณ โดมศรฟี า้ , 2551) เสนอเกณฑก์ ารใหค้ ะแนนตามระดบั ความ สามารถทางการพูด 4 ระดับ เริ่มจากระดับ 1 ซึ่งเป็น ระดับเริ่มเรียนไปจนถึงระดับ 4 ซึ่งเป็นระดับการสื่อสาร โดยแบ่งหวั ขอ้ ดงั น้ี การออกเสยี ง (1) ยังพดู โตต้ อบไม่ได้ (2) ออกเสยี งผิด ๆ พดู เข้าใจยาก (3) ออกเสยี งผิดเป็นครั้งคราว (4) ออกเสียงถูกต้อง

51 คำศัพท์ (1) ใช้คำศพั ท์ผิดและโต้ตอบไมไ่ ด้ (2) ใชศ้ ัพท์ผดิ บอ่ ย ๆ แต่ยงั ใชศ้ ัพทใ์ นเหตุการณ์นั้นได้ (3) สอ่ื ความหมายไดเ้ ปน็ ส่วนใหญ่ ใช้ศพั ท์ได้เหมาะสม (4) ใชศ้ พั ทไ์ ด้เหมาะสมในทุกสถานการณ์ โครงสร้างไวยากรณ์ (1) โครงสร้างไวยากรณผ์ ิดไม่สามารถสื่อสารได้ (2) ใชไ้ วยากรณ์เบื้องต้นผดิ (3) ใชโ้ ครงสร้างไวยากรณไ์ ด้ถกู ตอ้ งมีข้อผดิ พลาดเลก็ น้อย (4) ไม่มขี อ้ ผดิ พลาดทงั้ การใช้ศัพท์หรือโครงสร้างไวยากรณ์ ความคล่อง (1) พูดแลว้ หยดุ นาน พูดไมจ่ บประโยคหรือโตต้ อบไมไ่ ด้ (2) พูดแล้วพดู ต่อไปไม่ได้ พยายามพดู ต่อโดยเรม่ิ ต้นใหม่ (3) บทสนทนาเป็นธรรมชาตแิ ละตอ่ เนื่อง บางครงั้ หยุดตดิ ตะกุกตะกกั (4) บทสนทนาเป็นธรรมชาติ หยดุ บ้างเช่นเดียวกับเจ้าของภาษา การแสดงทา่ ทางประกอบการพูด (1) แสดงท่าทางการพูดไม่เป็นธรรมชาติ ติดขัด เขินอาย พูดไม่ตรงตามบทบาทและ สถานการณ์ ไมก่ ลา้ สบตากบั ผฟู้ งั (2) แสดงท่าทางการพูดไม่เป็นธรรมชาติ ติดขัด เขินอาย พูดไม่ตรงตามบทบาทและ สถานการณ์ สบตากับผูฟ้ ังบางครัง้ (3) แสดงทา่ ทางการพูดไมเ่ ปน็ ธรรมชาติ ตดิ ขัด เขินอายเล็กนอ้ ย พูดได้ตรงตามบทบาทและ สถานการณ์ สบตากับผู้ฟังบางครง้ั (4) แสดงทา่ ทางการพดู เปน็ ธรรมชาติ ไมต่ ิดขัด เขินอาย พูดได้ตามบทบาทและสถานการณ์ สบตากบั ผู้ฟังบางคร้ัง (5) แสดงทา่ ทางการพดู เป็นธรรมชาติ ไม่ตดิ ขัด เขินอาย พดู ไดต้ ามบทบาทและสถานการณ์ สบตากบั ผู้ฟงั อย่างมนั่ ใจ ปิยธดิ า วงศ์ไข่ (2547) ไดเ้ สนอแนวทางการประเมินความสามารถทางการพูดของผู้เรียนตาม สภาพจริง โดยใช้แบบประเมินความสามารถตามมาตราสว่ น 6 ระดับ แบบ The Schulz Communicative Competence Scale และ The Bartz scale ดงั น้ี

52 ความคล่องแคลว่ (1) พูดตะกุกตะกกั ไม่ปะตดิ ปะต่อกนั จนไมส่ ามารถสื่อสารได้ คะแนน 0 (2) พดู ช้ามากไม่สม่ำเสมอ ยกเว้นประโยคส้ันๆหรือประโยคท่ใี ช้กันอย่เู ปน็ ประจำ คะแนน 1 (3) มคี วามลงั เลบ่อย และพดู ตะกกุ ตะกัก บางประโยคไมส่ มบรู ณ์ คะแนน 2 (4) มีความลังเลในการพูดบางคร้ังบางคราว มีตะกกุ ตะกักบา้ งเพราะพูดประโยคใหม่และต้อง จดั เรียงคำ คะแนน 3 (5) พดู ไดอ้ ยา่ งสบายและราบรน่ื แต่ยงั รวู้ า่ ไม่ใช่เจา้ ของภาษาเมือ่ พจิ ารณาจากความเรว็ และ ความสม่ำเสมอของการพดู คะแนน 4 (6) พูดได้ทุกหวั เรื่องอยา่ งสบายและราบร่ืนคลา้ ยเจ้าของภาษา คะแนน 5 ความสามารถพูดใหผ้ ูอ้ ่ืนเข้าใจ (1) ไม่สามารถเข้าใจส่งิ ท่ีผเู้ รียนพูดเลย คะแนน 0 (2) เข้าใจเพยี งเล็กน้อยท่เี ป็นสว่ นย่อยๆ หรอื คำเดี่ยวๆ คะแนน 1 (3) เข้าใจบางกลุ่มคำและบางวลี คะแนน 2 (4) เข้าใจเอกตั ถประโยค (Simple sentences) ทส่ี ้ันๆ คะแนน 3 (5) เขา้ ใจคำพูดทผี่ ู้เรียนพูดเป็นสว่ นใหญ่ คะแนน 4 (6) เข้าใจคำพูดทีผ่ ู้เรียนพดู มาทง้ั หมด คะแนน 5 ปริมาณของข้อความในการสอ่ื สาร (1) ผู้เรียนมไิ ดน้ ำขอ้ ความท่ีเกยี่ วข้องมาพูดเลย คะแนน 0 (2) ผ้เู รยี นนำข้อความที่เก่ียวข้องมาพดู น้อยมาก คะแนน 1 (3) ผูเ้ รียนนำข้อความท่ีเก่ยี วข้องมาพูดบ้าง คะแนน 2 (4) ผู้เรียนนำข้อความทเี่ กี่ยวข้องมาพูดพอสมควร คะแนน 3 (5) ผู้เรียนนำข้อความทีเ่ กี่ยวขอ้ งมาพูดเป็นส่วนมาก คะแนน 4 (6) ผู้เรียนนำข้อความที่เกยี่ วขอ้ งมาพดู ท้ังหมด คะแนน 5 คุณภาพของข้อความที่นำมาส่อื สาร (1) คำพูดท่ผี ู้เรยี นพูดไม่ถูกตอ้ งเลย คะแนน 0 (2) มคี ำพูดท่ีถูกต้องตามโครงสร้างน้อยมาก คะแนน 1 (3) มีคำพูดที่ถูกต้องบา้ งแต่มปี ัญหาด้านโครงสร้างทางภาษาอยมู่ าก คะแนน 2 (4) มคี ำพดู ท่ีถกู ต้องมากแต่มีปัญหาดา้ นโครงสร้างทางภาษาอยมู่ าก คะแนน 3 (5) มีคำพูดท่ีถูกต้องเปน็ สว่ นมาก มปี ญั หาดา้ นโครงสร้างน้อยมาก คะแนน 4 (6) คำพูดถกู ต้องเกือบทัง้ หมด คะแนน 5

53 สำเนยี ง (1) ออกเสียงผดิ ๆ จนผูฟ้ ังไมส่ ามารถเขา้ ใจบ่อยครั้ง คะแนน 0 (2) ออกเสียงผดิ มากบ่อยคร้ัง และลงเสียงหนกั ผดิ คะแนน 1 (3) สำเนียงยงั เปน็ ไทย ทำให้ตอ้ งต้งั ใจฟงั และการออกเสียงผิดบางครั้งทำใหเ้ ข้าใจผิดด้าน ไวยากรณแ์ ละคำศัพท์ คะแนน 2 (4) สำเนยี งยงั เป็นไทยอยู่บ้างและออกเสยี งผิดบางคร้ัง แต่ก็ยังสามารถเข้าใจไดค้ ะแนน 3 (5) ออกเสยี งไมผ่ ดิ เด่นชัด แต่ยังไมเ่ หมือนเจ้าของภาษา คะแนน 4 (6) ออกเสียงคล้ายเจา้ ของภาษาแทบจะไม่มีสำเนียงไทย คะแนน 5 ความพยายามในการส่ือสาร (1) หยุดเงยี บเป็นเวลานานโดยไม่ใช้ความพยายามพูดใหจ้ บความ คะแนน 0 (2) พยายามทีจ่ ะสื่อสารน้อยมาก แตย่ ังขาดความกระตือรือร้น คะแนน 1 (3) พยายามท่ีจะส่ือสารบา้ งแต่ยังแสดงความไมส่ นใจ คะแนน 2 (4) พยายามทจ่ี ะสื่อสารแต่ไมร่ จู้ ักใชท้ า่ ทางช่วย คะแนน 3 (5) พยายามทจ่ี ะส่ือสารและรจู้ ักใช้ท่าทางช่วย คะแนน 4 (6) พยายามเป็นพเิ ศษที่จะสอ่ื สารโดยใช้ท้งั ภาษาพูดและท่าทางเพื่อการแสดงออกคะแนน 5 ในส่วนของการประเมินความสามารถในการพูดในทางปฏิบัติงาน Willis (1996) กล่าวว่า เมื่อผู้เรียนมี ส่วนร่วมในงานการพูด การประเมินผลหรอื การทดสอบจึงต้องเน้นด้านการพูดสนทนาติดต่อสือ่ สาร และภาษาที่ พบในการปฏิบัติงานไว้ คือ ภาษาที่เกิดทันทีในขณะที่ปฏิบัติงาน (Spontaneous language) และภาษาที่ เตรียมพร้อมเพอื่ การนำเสนอหน้าช้ันเรียน (Planned language) จากการจดั ระดบั ความสามารถในการพูด เห็นไดว้ า่ ความสามารถในการพดู มีหลายระดับ ต้ังแต่ระดับที่ ผู้พูดสามารถพูดได้อย่างมีประสิทธิภาพจนถึงระดับที่ผู้พูดไม่สามารถพูดได้เลย ทั้งนี้โดยเ กณฑ์การประเมิน ความสามารถในการพูดมีหลากหลายเกณฑ์ ได้แก่ คำศัพท์ การออกเสียง ไวยากรณ์ ความซับซ้อน ความ คลอ่ งแคลว่ ความถูกตอ้ ง ความพยายามในการสื่อสาร สำเนยี ง เปน็ ตน้ ขน้ึ อยกู่ บั เกณฑ์พิจารณาของนักวิชาการ แตล่ ะคน ซึง่ ผสู้ อนก็ตอ้ งพจิ ารณาเลือกใชเ้ กณฑ์ทเ่ี หมาะสมกับจุดประสงค์ของตนเองใหม้ ากที่สุด

54 8. งานวจิ ัยทเี่ กีย่ วขอ้ ง 8.1 งานวิจัยทเ่ี ก่ียวข้องกับการจดั การเรยี นรโู้ ดยใช้งานปฏบิ ัติเป็นฐาน (TBL) เรณู รื่นยุทธ (2554) ทำการวิจัยเพื่อศึกษาผลการใชก้ ิจกรรมมุ่งงานปฏิบัติเพ่ือพัฒนาทักษะการฟัง- พูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบางขุนเทียนศึกษา สำนักงานเขตบางขุนเทียน กรงุ เทพมหานคร กลมุ่ ตัวอย่างเป็นนกั เรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 จำนวน 40 คน ผลการวิจัยพบว่าความสามารถ ด้านการฟัง-พูดภาษาอังกฤษของนักเรียนหลังได้รับการสอนโดยใช้กิจกรรมมุ่งงานปฏบิ ัติสูงกว่าก่อนการทดลอง อยา่ งมีนัยสำคัญทางสถติ ทิ รี่ ะดบั 0.01 สุเพญ็ พรรณ ลบั โกษา (2553) ศึกษาวิจยั การพัฒนาทักษะการเขียนภาษาองั กฤษโดยใชก้ ิจกรรมการ เรียนรูแ้ บบเน้นงานปฏิบตั ิ ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 50 คน ผลการศึกษาพบว่า ประสทิ ธิภาพของการพัฒนา ทักษะการเขียนภาษาอังกฤษโดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบเน้นงานปฏิบัติ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 มีค่าเท่ากับ 79.58/78.90 และมีค่าดัชนีประสิทธิผลของการพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษโดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้ แบบเน้นงานปฏบิ ัติ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 เท่ากับ 0.7329 สรุปผลได้ว่า การพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบเน้นงานปฏิบัติ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 ช่วยส่งเสริมให้การเขียนภาษาอังกฤษของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มีการพัฒนาขึ้น รวมทั้งส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาทั้ง 4 ทักษะ คือ ฟัง พูด อ่านและเขียน สามารถนำไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อให้นักเรียนบรรลุผลตามวัตถุประสงค์ซึ่งการจัด กจิ กรรมการเรียนรูใ้ นครั้งนี้ Borisovna (2009) วิจัยเรื่องกิจกรรมใช้งานปฏิบัติเป็นฐาน : ผลของการสร้างแรงจูงใจและการมี ส่วนร่วมก่อนการปฏิบัติงานในการพูดภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาที่ 2 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของแรงจูงใจ และกระบวนการมีส่วนร่วมกอ่ นการปฏบิ ัติงานในการพูดภาษาฝรั่งเศสเปน็ ภาษาที่ 2 ปฏบิ ตั ิภาระงานดว้ ยการพูด ปากเปล่าของนักศึกษาที่เรียนภาษาฝรั่งเศสระดับกลางและระดับสูงที่เรียนในมหาวิทยาลัยขนาดใหญ่ของรัฐใน สหรัฐอเมริกา การสร้างแรงจูงใจและการมีส่วนร่วมก่อนปฏิบัติงานด้วยกิจกรรมช่องว่างระหว่างข้อมูลในการ สนทนาด้วยภาษาฝรั่งเศส แล้วสรุปขั้นตอนกิจกรรมปฏิบัติงานด้วยภาษาแม่อีกครั้งก่อนทำกิจกรรมปฏิบัติงาน ขณะท่กี ลมุ่ ควบคุมจะดำเนนิ กจิ กรรมโดยการอภิปรายกลุ่ม และไมไ่ ดป้ ฏิบตั ิกจิ กรรมก่อนปฏิบตั ิงาน นอกจากน้ัน ไมใ่ หม้ ีความแตกต่างใดๆ ระหว่างกลมุ่ ทดลองทงั้ 2 กลุ่ม การควบคมุ ในดา้ นความถูกต้อง ความคลอ่ งแคล่ว หรือ ความซับซ้อนในการพูด การให้ข้อมูลและการอภิปราย โดยเฉพาะการใชก้ ลยทุ ธ์ในการสร้างแรงจูงใจและใหก้ าร สนับสนุนการมีส่วนร่วมในการปฏิบัติงานในการเรียนภาษาต้องควบคู่ไปกับการมุ่งเน้นเนื้อหา งาน และหรือ

55 รูปแบบ การใช้ภาษาเป้าหมายได้อย่างเหมาะสม ความถกู ตอ้ งและด้านความซับซ้อนในการพูดภาษาท่ี 2 ในเวลา เดียวกัน กลุ่มที่สร้างแรงจูงใจมีรายงานว่าให้ความสนใจในกิกรรมงานปฏิบตั ิสงู รู้คุณค่าและเกิดองค์ความรู้ด้วย ตนเอง การศึกษาครั้งนี้ได้ให้ข้อเสนอแนะว่าควรส่งเสริมและสนับสนุน ให้สร้างแรงจูงใจในทางบวกในชั้นเรีย น ภาษาแม้จะใชเ้ วลานาน แต่ผลที่ได้รับเหน็ เดน่ ชัด กค็ อื ความสามารถทางการพูดของนักเรยี นสงู ขึน้ นเรศ เปลี่ยนคำ (2551) ทำการวิจัยเพื่อศึกษาและเปรียบเทียบความสามารถด้านการอ่าน ภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจโดยใช้การเรียนรู้แบบเน้นงานปฏิบัติ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ก่อนเรียน และหลังเรียน และศึกษาเจตคติต่อการสอนอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจโดยใช้การเรียนรู้แบบเน้นงาน ปฏิบัติ กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านนาสีนวล จังหวัดสกลนคร จำนวน 25 คน พบว่า นักเรียนมีคะแนนความสามารถด้านการอ่านภาษาอังกฤษเพ่ือความเข้าใจก่อนเรียนเฉลี่ยร้อยละ 48.90 และหลังเรียนเฉลี่ยร้อยละ 75.90 เมื่อทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ย พบว่า ความสามารถด้านการอ่าน ภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และนักเรียนมีเจต คตติ ่อการสอนอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจโดยใชก้ ารเรยี นรแู้ บบเน้นงานปฏิบตั อิ ยู่ในระดับคอ่ นข้างดี บัญชา อยู่ยง (2551) ได้ทำการศึกษาพัฒนาการความสามารถด้านการพูดภาษาอังกฤษโดยใช้การ จดั การเรยี นรู้แบบเน้นงานปฏิบัติ ของนักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านหมากแข้ง อำเภอเมือง จังหวัด อุดรธานี จำนวน 20 คน ผลการศึกษา พบว่า ความสามารถด้านการพูดภาษาอังกฤษ โดยใช้การจัดการเรียนรู้ แบบเนน้ งานปฏิบัติของนกั เรยี นหลังการทดลองสูงกวา่ ก่อนการทดลอง อย่างมีนยั สำคญั ทางสถติ ิที่ระดับ 0.1 สุปรียา เตจ๊ะตา (2551) ทำการวิจัยเพื่อศึกษาความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษและแรงจูงใจ ของผู้เรียนด้วยกิจกรรมที่เน้นภาระงานด้านการท่องเที่ยว กลุ่มเป้าหมาย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/3 โรงเรียนสันกำแพงที่เรียนวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ผลการวิจัยพบว่า ความสามารถในการพูด ภาษาอังกฤษระหว่างการเรียนที่เน้นภาระงานด้านการท่องเที่ยวของผู้เรียนทั้งหมดผ่านเกณฑ์ ครึ่งหนึ่งของ ผู้เรียนมีความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษอยู่ในระดับดีถึงดีมาก และอีกครึ่งหนึ่งอยู่ในระดับปานกลาง และ แรงจงู ใจของผเู้ รียนสูงขน้ึ หลังการเรยี นดว้ ยกิจกรรมทีเ่ นน้ ภาระงานดา้ นการท่องเท่ียว ชินณเพ็ญ รัตนวงศ์ (2547) ทำการวิจัยเพื่อศึกษาผลของการสอนโดยใช้งานปฏิบัติเป็นฐานในการ เรียนรู้ที่มีต่อความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียน อนุบาลพระนครศรีอยุธยา จำนวน 98 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม จำนวนกลุ่มละ 49 คน ผลการวจิ ยั พบวา่ ค่าเฉลย่ี ของคะแนนความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสารทเี่ พ่ิมขึ้นของนักเรียน ที่ใช้การเรียนโดยใช้งานปฏิบัติเป็นฐานในการเรียนรู้ สูงกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนความสามารถในการใช้

56 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารท่ีเพิ่มขึ้นของนักเรียนที่ได้รับการเรียนการสอนตามปกติ อย่างมีนัยสำคญั ทางสถติ ทิ ่ี ระดับ .05 และค่าเฉลยี่ ของคะแนนความสามารถในการใช้ทักษะการฟงั การพูด การอา่ นและการเขียน ทเี่ พิ่มข้ึน ของนกั เรียนกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคญั ทางสถิตทิ ่ีระดับ .05 Murphy (2003) ได้ศึกษาเกี่ยวกับวิธีการสอนที่มีรูปแบบเน้นงานปฏิบัติ เรื่อง การมีปฏิสัมพันธ์ ระหว่างงานปฏบิ ตั ิกับนักเรียน มวี ัตถปุ ระสงค์ในการศึกษา 2 ประการ คือ 1. เพือ่ ศกึ ษาวา่ ลักษณะของงานและวิธีการใน การทำงานปฏิบัติเป็นผลให้นักเรียนสามารถบรรลวุ ัตถุประสงค์ในด้านการใชภ้ าษาได้อย่างคลอ่ งแคล่ว ถูกต้องตามหลัก ไวยากรณ์ทางภาษาและใช้ประโยคที่ซับซ้อนได้หรือไม่ 2. เพื่อศึกษาว่าความแตกต่างของนักเรียนมีผลต่อการมี ปฏสิ ัมพนั ธ์กับงานปฏิบัติและผลสำเร็จของงานหรือไม่ กลุ่มตัวอย่าง คอื นักเรียนประเทศต่างๆ 7 ประเทศ จำนวน 8 คน ที่เรียนในวิชาภาษาอังกฤษทั่วไป ผลการศึกษาพบว่า 1. ลักษณะของงานปฏิบัติและวิธีการในการปฏิบัติงานส่งผลให้ ผู้เรียนบรรลุวัตถุประสงค์ท้ัง 3 ด้าน คือ ความถูกต้องของการใช้ภาษา ความคล่องแคล่วในการใชภ้ าษา และการใช้ภาษา ที่มีความซับซ้อน 2. ความแตกต่างของนักเรียนมีผลต่อการปฏิสัมพันธ์กับงานปฏิบัติ กล่าวคือ นักเรียนจะมีวิธีในการ ปฏิบัตงิ านทแ่ี ตกต่างกัน Massi (2001) ที่ใช้กิจกรรมเน้นภาระงานกับนักศึกษามหาวิทยาลัยในประเทศอาร์เจนตินา ใน หลักสูตรภาษาอังกฤษทั่วไป (English for General Purpose) ผลการวิจัยพบว่าผู้เรียนประสบความสำเร็จใน การสื่อสารอย่างคลอ่ งแคล่ว นอกจากนี้การเรียนโดยใช้กิจกรรมเน้นภาระงานยังชว่ ยส่งเสริมการเปน็ ผู้ที่สามารถ เรยี นรู้ด้วยตนเองไดอ้ กี ด้วย Nunan (1991) ได้ทำการศึกษากิจกรรมที่มุ่งเน้นกิจกรรมเพื่อการสื่อสาร และได้สรุปแนวคิดจาก การศึกษาไว้ว่า งานเป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตร แบบเรียนและวิธีการที่ช่วยให้นักเรยี นได้เรียนรู้ภาษา ทั้งนี้งานท่ี ให้นักเรียนได้ปฏิบัติควรสะท้อนสถานการณ์ที่นักเรียนจะต้องเผชิญในโลกแห่งความเป็นจริง และงานควรต้อง เหมาะสมกับระดับของผู้เรียน และสอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของหลักสูตร ผลการศึกษายังพบอีกว่า นักเรียนยัง ช่วยแก้ไขในสิ่งท่ีนกั เรียนคนอื่นทำผิดในการใช้ภาษา นักเรียนใช้ภาษาในการปฏิสมั พันธ์ระหว่างกันอย่างมากใน ชั้นเรียน แสดงให้เห็นว่าการเรียนแบบเป็นกลุ่มย่อยมีประสิทธิผลในการกระบวนการสื่อสารโดยใช้ ภาษาเป้าหมายมากกว่าการให้ผเู้ รียนมปี ฏิสมั พันธ์กับครูเพียงอย่างเดยี ว จะเห็นไดว้ ่าตวั ป้อนท่ีใช้เป็นปัญหาหรือ งานนนั้ จะต้องมคี วามหมายต่อนักเรยี น เหมาะกบั ระดบั และใกล้ตวั นักเรียนสามารถทำความเขา้ ใจได้ไม่ยาก และ สร้างความตระหนักแก่นักเรียนได้ว่าสิ่งที่เรียนรู้สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้จริงในโลกภายนอกห้องเรียน ทั้งนี้ กิจกรรมที่ได้ปฏิบัติในห้องเรียนต้องถือว่าเป็นการฝึกฝนก่อนนำไปใช้จริงมากกว่าที่จะเป็นกิจกรรมสำหรับการ เรยี นการสอนเพยี งอยา่ งเดียว

57 โดยสรุป ในการศกึ ษางานวิจัยเก่ียวกับการทดลองใช้กิจกรรมจัดการเรียนรูโ้ ดยใช้งานปฏิบตั ิเป็นฐาน ในการสอนภาษาต่างประเทศ พบว่า งานปฏิบตั สิ ามารถช่วยพัฒนาผลสัมฤทธิ์ในการเรียนภาษาต่างประเทศของ นักเรียนให้สูงขึน้ ได้ อีกทั้งยังส่งผลต่อทักษะในชีวิตประจำวัน คือ นักเรียนมีการปรับตวั ในการแสดงบทบาทมาก ข้ึนและสามารถใชภ้ าษาไดใ้ นการปฏบิ ัตงิ านกลุม่ ยอ่ ย 8.2 งานวจิ ัยทีเ่ กีย่ วข้องกบั กลวิธเี สริมตอ่ การเรียนรู้ (Scaffolding Strategies) ทิพาพร สุจารี (2553) ทำการวิจัยเพื่อพัฒนารูปแบบการสอนอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ โดยการใช้ยุทธศาสตร์การเสริมต่อการเรียนรู้ประสบการณ์อ่าน และศึกษาประสิทธิภาพของรูปแบบการสอนน้ี สำหรับนักศึกษามหาวิทยาลยั ราชภัฏ ผลการวิจัยแสดงว่ารูปแบบการสอนอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจโดย การใช้ยุทธศาสตร์การเสริมต่อการเรียนรู้ประสบการณ์อ่าน และศึกษาประมิทธิภาพของรูปแบบการสอนนี้ สำหรับนกั ศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏมี 2 ระยะ คือ การวางแผนที่ศึกษาข้อมูลพื้นฐานและพิจารณาปัจจัยสำคัญ เกี่ยวกับตัวผู้เรียน บทอ่าน และจุดประสงค์ในการอ่าน การประเมินผลการเรียนรู้และรูปแบบการสอนมี ประสิทธิภาพผ่านเกณฑ์ที่กำหนด นักศึกษาที่ได้รับการสอนด้วยรูปแบบการสอนนี้มีความสามารถในการอ่าน ภาษาองั กฤษเพื่อความเข้าใจสูงกวา่ กล่มุ ท่ีได้รบั การสอนตามปกติอย่างมีนยั สำคญั ทางสถติ ิที่ระดับ .01 เพ็ญนภา บำรุงสุข (2553) ศึกษาวิจัยเรื่องการพัฒนาบทเรียนภาษาอังกฤษที่เน้นเนื้อหาในท้องถิ่น โดยบูรณาการกิจกรรมมุ่งปฏบิ ัติงานกบั กลวธิ ีเสริมต่อการเรยี นรู้เพื่อสง่ เสริมความสามารถในการพดู ภาษาอังกฤษ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 4 โดยมวี ัตถปุ ระสงค์เพื่อพฒั นาและหาประสิทธภิ าพของบทเรียนภาษาอังกฤษที่ เน้นเนื้อหาในท้องถิ่น โดยการใช้กิจกรรมการเรียนการสอนภาษาอังกฤษท่ีบูรณาการกิจกรรมมุ่งปฏิบัติงานกับ กลวิธีเสริมต่อการเรียนรู้ เพื่อส่งเสริมความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษให้ได้ตามเกณฑ์ 80/80 และ เปรียบเทียบความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษของผู้เรียนก่อนเรียนและหลังเรียน และศึกษาความพึงพอใจ ของผู้เรียนต่อบทเรียน ผลการวิจัยพบว่า บทเรียนภาษาอังกฤษมีประสิทธิภาพเท่ากับ 90.02/93.20 สูงกว่า เกณฑ์ที่ตั้งไว้คือ 80/80 คะแนนความสามารถทางการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อยา่ งมนี ยั สำคญั ทางสถิตทิ รี่ ะดบั .01 และนักเรียนมีความพงึ พอใจต่อบทเรียนอยู่ในระดับมากทสี่ ดุ Danli (2008) ได้ศึกษาวิธีเสรมิ ตอ่ การเรียนรแู้ ละผลของการใชว้ ธิ เี สริมต่อการเรยี นรู้ต่อรูปแบบการ เรียนรู้ไวยากรณ์ในระดับอุดมศึกษาของนักศึกษาจีนในการเรียนภาษาอังกฤษในฐานะภาษาต่างประเทศ (EFL) การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาว่ากลวิธีเสริมต่อการเรียนรู้แบบใดที่ส่งเสริมการเรียนรู้ไวยากรณ์ใน ระดบั อดุ มศึกษาของนักเรียนจีนในช้ันเรียนอเี อฟแอล และความพยายามในการสื่อสารในวิธีการใดท่ีส่งเสริมการ มปี ฏสิ ัมพนั ธก์ นั ในช้ันเรยี น การวจิ ัยนีเ้ ปน็ การวจิ ยั กึ่งทดลองซึ่งศึกษาจากกลุ่มนักศึกษาระดับอุดมศึกษาชาวจีนท่ี

58 มีคุณลักษณะใกล้เคียงกัน โดยทั้ง 2 ห้องเรียนนี้ ต่างได้รับภาระงานเป็นการแก้ไขงานเขียนของนักศึกษาในการ เรียนรู้ประโยคเปรียบเทียบ โดยแบ่งกลุ่มการมีปฏิสัมพันธ์ 3 รูปแบบ ในสถานการณ์ต่างๆ ดังนี้ นักศึกษา– นกั ศึกษา (S–S) คร–ู นกั เรียน (T–S) ครู นักศกึ ษา–นักศึกษา นกั ศกึ ษา (T–S + S–S) การวิเคราะหผ์ ล พบวา่ การ เสริมต่อการเรียนรู้ระหว่าง T–S + S–S มีประสิทธิภาพสูงสุดและการเรียนรู้แบบ T–S และ S–S ตามลำดับ ผลการวิจัยครั้งนี้สนับสนุนแนวคิดเรื่องขอบเขตของการพัฒนาของผู้เรียน ZPD ว่าสามารถส่งเสริมให้เกิดการ เรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด นอกจากนี้ยังพบว่าประสิทธิภาพของการเสริมต่อการเรียนรู้ ได้แก่ การ แนะนำ การทำภาระงานให้ง่ายขึ้น การชี้แนะ การทำสัญลักษณ์ การสาธิต และการให้ข้อมูลย้อนกลับ และจาก ความสัมพันธ์ T–S + S–S ดูเหมือนจะเป็นการเพิ่มความสามารถด้านการเรยี นไวยากรณ์ของนักศึกษาให้สูงมาก ขน้ึ ที่สำคัญยง่ิ กวา่ น้นั คอื ผลการศึกษามีสว่ นสำคญั ในการที่ชว่ ยเติมเต็มช่องวา่ งของความรู้ ส่งเสริมรูปแบบการ ควบคุมการเรียนรู้ด้วยตนเองและการกระตุ้นให้เกิดองค์ความรู้ด้วยตนเองเมื่อครูให้การสนั บสนุนที่เหมาะสม สุภาพร พันธุ์ซื่อ (2550) ทำการวิจัยเพื่อศึกษาพัฒนาการทางความสามารถในการเขียน ภาษาอังกฤษของนักเรียนเมื่อได้เรียนด้วยกลวิธีเสริมต่อการเรียนรู้และเปรียบเทียบความวิตกกังวลในการเขียน ของนักเรียนก่อนและหลังเรียนด้วยกลวิธีเสริมต่อการเรียนรู้ กลุ่มเป้าหมายในการศึกษาครั้งนี้เป็นนักเรียนช้ัน มัธยมศึกษาปีที่ 4/13 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ผลการวิจัยพบว่าความสามารถใน การเขียนภาษาอังกฤษก่อนระหว่างและหลงั เรียนโดยกลวิธีเสริมต่อการเรยี นรูส้ งู ขึ้นอย่างตอ่ เนื่องและความวิตก กังวลในการเขียนของนกั เรยี นลดลงหลงั เรยี นดว้ ยกลวิธเี สรมิ ต่อการเรยี นรู้ ศุภธิดา ศรีวิชัย (2549) ศึกษาวิจัยเรื่องการใช้โครงสร้างระดับยอดและกลวิธีการเสริมต่อการ เรียนรู้เพื่อส่งเสริมความเข้าใจในการอ่านและความสามารถในการเขียนภาษาอังกฤษ มีวัตถุประสงค์เพื่ อ เปรยี บเทียบความเขา้ ใจในการอ่านภาษาอังกฤษ และความสามารถในการเขียนภาษาองั กฤษของผู้เรยี นก่อนและ หลังการใช้โครงสร้างระดับยอดและกลวธิ ีการเสริมต่อการเรียนรู้ กลมุ่ เปา้ หมายคือ นักเรยี นช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 45 คน โรงเรียนสาธติ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จงั หวัดเชียงใหม่ กลมุ่ เป้าหมายแบ่ง เป็น 3 กลมุ่ คือ ดีมาก ดี และดีพอใช้ ผลการวิจัยพบว่า ความเข้าใจในการอ่านภาษาอังกฤษของนักเรียนในแต่ละกลุ่มสูงขึ้นหลังการใช้ โครงสรา้ งระดับยอดและกลวิธเี สริมต่อการเรยี นรูแ้ ละความสามารถในการเขยี นภาษาอังกฤษขอนกั เรียนในแต่ละ กลุ่มสงู ขน้ึ หลงั การใช้โครงสร้างระดับยอดและกลวิธีการเสริมต่อการเรยี นรู้ จากการศึกษางานวิจัยเกี่ยวกับการทดลองใช้กลวิธีเสริมต่อการเรียนรู้ในการเรียนการสอน ภาษาต่างประเทศ พบว่า กลวิธีเสริมต่อการเรียนรู้สามารถช่วยพัฒนาผลสัมฤทธิ์ในการเรียนภาษาต่างประเทศ

59 ของผู้เรียนให้สูงข้ึนได้ ซึ่งผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง เกิดแรงจูงใจในการเรียน ลดความวิตกกงั วลในการ เรียน นอกจากนนั้ ผู้เรียนยังมคี วามพึงพอใจต่อกลวิธเี สริมตอ่ การเรยี นรนู้ ้ีอีกด้วย 9. กรอบแนวคิดในการวิจยั การวิจัยเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษและความเชื่อมั่นในตนเองของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้งานปฏิบัติเป็นร่วมกับกลวิธีเสริมต่อการเรียนรู้ ดำเนินการทดลองโดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้งานปฏบิ ัติเปน็ ฐานร่วมกบั กลวธิ ีเสริมต่อการเรียนรู้ ตาม รูปแบบของ Willis (1996); Lipscomb, Swanson, and West (2004) สามารถเขียนเป็นกรอบแนวคิดได้ดัง ภาพที่ 1 ตวั แปรต้น ตวั แปรตาม การจัดการเรียนร้โู ดยใชง้ านปฏบิ ัติเปน็ ฐานร่วมกบั ความสามารถในการพูด ซง่ึ มขี ้ันตอนการจดั การเรียนรู้ 3 ข้นั ดงั น้ี ภาษาอังกฤษของนกั เรียน 1. ขัน้ ก่อนปฏบิ ตั ิงาน (Pre-Task) ประกอบดว้ ย ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นของ 1.1 การถามคำถาม (Questioning) นกั เรียน 1.2 การระดมความคิด (Brainstorming) 1.3 การเขยี นรายการ (Listing) 1.4 การจบั คู่ (Matching) 1.5 การชนี้ ำ (Modeling) 2. ขัน้ ปฏิบัติงาน (Task Cycle) ประกอบด้วย 2.1 การปฏบิ ตั งิ าน (Task) 2.2 การเตรยี มนำเสนอ (Planning) 2.3 การทบทวน (Rehearsal) 1) การชว่ ยกนั ระหวา่ งบุคคล (Peer Feedback) 2) ปรกึ ษากับผู้สอน (Consulting) 2.4 การรายงานตอ่ ชัน้ เรยี น (Report) 3. ขั้นมุ่งเนน้ ภาษา (Language Focus) ประกอบดว้ ย 3.1 ข้นั วเิ คราะห์ (Analysis) 3.2 ขัน้ ฝึก (Practice)

60 บทที่ 3 วธิ ีดำเนินการวจิ ยั การวิจัยเร่ือง การพัฒนาผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 3 โดย ใชง้ านปฏิบัตเิ ปน็ ฐานร่วมกบั กลวิธีเสริมต่อการเรียนรู้ ผ้วู ิจัยไดด้ ำเนินการตามหวั ข้อดังนี้ 1. ระเบียบวิธวี จิ ยั การวิจัยนี้เป็นวิจัยกึ่งทดลอง One Group Pretest - Posttest Design (Fitz-Gibbon, 1987 : 113) วัดผลก่อนเรยี นและหลงั เรยี น มรี ูปแบบการวิจยั ดังน้ี T1 X T2 เมื่อ T1 หมายถงึ การทดสอบกอ่ นการจดั การเรียนรู้ X หมายถงึ การจัดการเรยี นรู้โดยใช้งานปฏบิ ตั เิ ป็นฐานร่วมกับกลวธิ ีเสรมิ ต่อการเรยี นรู้ T2 หมายถงึ การทดสอบก่อนการจัดการเรียนรู้ 2. กลุ่มเปา้ หมายทใ่ี ชใ้ นการวิจยั กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนดงมันพิทยาคม อำเภอน้ำพอง จงั หวดั ขอนแกน่ สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษามัธยมศึกษาขอนแก่น ท่กี ำลังศกึ ษาในภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 31 คน 3. เคร่อื งมอื ที่ใชใ้ นการวิจยั การวิจัยเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นวิชาภาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้ งานปฏบิ ตั ิเปน็ ฐานร่วมกับกลวิธเี สรมิ ตอ่ การเรยี นรู้ ใชเ้ ครอ่ื งมือดังตอ่ ไปน้ี 3.1 เครอื่ งมือทใ่ี ช้ในการทดลอง 3.1.1 แผนการจดั การเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน อ23102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 3 หน่วยการเรียนรู้ ได้แก่ หน่วยที่ 1 เรื่อง Day after day หน่วยที่ 2 เรื่อง Let’s Celebrate! และหน่วยที่ 3 เรื่อง Characters larger than life รวมแผนการจัดการเรยี นรทู้ ั้งหมดจำนวน 10 แผน 20 ชว่ั โมง

61 3.2 เคร่ืองมือทีใ่ ชใ้ นการเกบ็ รวบรวมข้อมูล 3.2.1 แบบทดสอบวดั ความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษ แบบทดสอบวัดความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษเป็นแบบทดสอบอัตนัยเพื่อประเมิน ความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียน โดยให้นกั เรยี นเป็นผู้ถูกสัมภาษณ์และนักเรียนพูดสนทนาเป็น คูต่ ามสถานการณท์ ีก่ ำหนดให้ ทำการทดสอบโดยครูผสู้ อนหลงั การทดลองเสร็จสิ้น 3.2.2 แบบประเมนิ ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น แบบประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน เป็นแบบทดสอบวัดผลปลายภาคเรียน วิชา ภาษาอังกฤษ อ23102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เป็นแบบทดสอบ จำนวน 30 ข้อ ประกอบด้วย ข้อสอบแบบปรนัย จำนวน 25 ขอ้ ขอ้ สอบอัตนยั จำนวน 5 ข้อ 3.2.3 แบบบนั ทกึ พฤติกรรมการเรยี นของนักเรยี น แบบบันทึกพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลพฤติกรรม การเรียนของนักเรียนโดยครูสังเกตและบันทึกพฤติกรรมของผู้เรียนหรือเหตุการณ์ต่างๆ ในขณะที่ผู้เรียน ปฏบิ ัตงิ าน 4. การสร้างและหาประสทิ ธิภาพของเครื่องมือทใ่ี ช้ในการวจิ ัย เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองและเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล มีขั้นตอนในการสร้างและการ ประสทิ ธิภาพ ดงั นี้ 4.1 แผนการจดั การเรยี นรู้ แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ชั้น มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 โดยใชง้ านปฏบิ ัตเิ ป็นฐานรว่ มกบั กลวธิ ีเสริมต่อการเรียนรู้ มีข้ันตอนการสร้าง ดังนี้ 4.1.1 ศึกษาหลักการ รูปแบบ เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้งาน ปฏบิ ัตเิ ป็นฐาน 4.1.2 ศกึ ษาหลกั สตู รกลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาตา่ งประเทศ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 และหลักสตู รสถานศกึ ษา 4.1.3 วิเคราะห์ตัวชี้วดั และสาระการเรยี นรู้ และศกึ ษาเนอ้ื หา กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ภาษาต่างประเทศ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3

62 4.1.4 กำหนดและเลือกเนื้อหาเพื่อจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ คือ เนื้อหากลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สำหรับนักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 3 จำนวน จำนวน 3 หน่วย ได้แก่หน่วยที่ 1 เรื่อง Day after day หน่วยที่ 2 เรื่อง Let’s Celebrate! และหน่วยที่ 3 เรอื่ ง Characters larger than life จำนวน 10 แผน ซงึ่ มีเนอื้ หาดงั ตารางท่ี 3 4.1.5 สร้างแผนการจัดการเรียนรู้ โดยใช้ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้งานปฏิบัติเป็น ฐานรว่ มกับกลวิธเี สรมิ ตอ่ การเรียนรู้ ซงึ่ มี 3 ข้ันตอนและกลวธิ ีเสรมิ ตอ่ การเรียนรู้ 6 วธิ ี ดังนี้ (1) ขั้นก่อนปฏิบัติงาน (Pre-Task) คือ ขั้นที่ผู้สอนเตรียมความพร้อมทางภาษาให้แก่ นักเรียน และแนะนำหัวข้อและอธิบายชิ้นงาน โดยใช้กลวิธีเสริมต่อการเรียนรู้ เพื่อช่วยให้นักเรียนได้ทบทวน ความรู้เก่าที่ต้องใช้ในการปฏิบัติงานและเข้าใจในงานที่จะทำนั้นก่อนที่จะดำเนินการต่อไป ดังนี้ การสอนและ ทบทวนคำศัพท์ท่ีจำเป็นในการปฏิบัติงาน ได้แก่ การถามคำถาม (Questioning) การระดมความคิด (Brainstorming) การเขยี นรายการ (Listing) การจบั คู่ (Matching) และการชน้ี ำ (Modeling) (2) ขั้นปฏิบัติงาน (Task Cycle) คือ ขั้นที่นักเรียนได้ปฏิบัติงานโดยมีผู้สอนคอยสังเกต และช้ีแนะอยู่ห่างๆ ทั้งนี้ผู้สอนได้ลดบทบาทเป็นเพียงผู้ช่วยทางภาษาระหว่างที่นักเรียนปฏิบัติงาน (Task) และ เตรยี มงาน นักเรยี นจะทำการวางแผน (Planning) ในการนำเสนอผลงานของตนเป็นคู่หรือกลมุ่ ขนึ้ อยู่กับรูปแบบ การทำงานในแตล่ ะคร้ัง ในการนำเสนอผลงานของแตล่ ะกลุ่มตอ่ ชั้นเรยี น เพื่อนรว่ มชน้ั เรยี นและผู้สอนสามารถให้ ขอ้ เสนอแนะคำปรกึ ษา (Consulting) เกย่ี วกบั งานทไ่ี ด้นำเสนอนั้น (3) ขั้นมุ่งเน้นภาษา (language Focus) ประกอบด้วย ขั้นแรก ขั้นวิเคราะห์ (Analysis) นักเรียนอภิปรายและสรุปลักษณะสำคัญของเนื้อหาภาษา จากนั้นจึงเข้าสู่ขั้นฝึก (Practice) เพื่อให้ผู้เรียน ทำแบบฝึกหัดเสริมทางด้านไวยากรณ์ และทำงานปฏิบัติเพื่อการสื่อสารหลังจากที่เข้าใจความถูกต้องของ กฎเกณฑ์ทางไวยากรณ์ 4.1.6 จัดทำแบบประเมินแผนการจัดการเรียนรู้และนำแผนการจัดการเรียนรู้ที่สร้างขึ้นไปปรึกษา หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้เพื่อตรวจสอบความถกู ต้องและความเหมาะสมของแผนและแกไ้ ขตามขอ้ เสนอแนะ 4.1.7 นำแบบประเมินแผนการจัดการเรียนรู้และแผนการจัดการเรียนรู้เสนอต่อผู้เชี่ยวชาญเพ่ือ ตรวจสอบความถูกต้องและประเมนิ ความเหมาะสมของแผน ผลการประเมินพบว่า แผนการจดั การเรยี นรู้มีความ เหมาะสมอยใู่ นระดับมากที่สดุ (X = 4.67) 4.1.8 จัดทำแผนการจดั การเรยี นรฉู้ บับสมบรู ณ์และนำไปใช้ปฏบิ ตั ิการสอนกับกลุ่มเปา้ หมายต่อไป

63 จากขน้ั ตอนการสรา้ งและหาประสทิ ธิภาพของแผนการจัดการเรยี นรู้ สามารถสรปุ ได้ดังภาพที่ 2 ศกึ ษาหลักการ เอกสารและงานวิจัยทีเ่ กยี่ วขอ้ งกบั การจดั กิจกรรมการเรียนรโู้ ดยใช้งานปฏบิ ัติเป็นฐาน ศกึ ษาหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 และหลักสูตรสถานศึกษา วเิ คราะห์ตวั ชวี้ ดั และสาระการเรยี นรู้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศ ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 3 มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 กำหนดและเลือกเนื้อหาเพ่อื จัดทำแผนการจัดการเรยี นรู้ สร้างแผนการจัดการเรยี นรู้ โดยใชข้ ้ันตอนการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้โดยใช้งานปฏบิ ัติ นำแผนการจัดการเรียนรปู้ รึกษาหัวหน้ากลุม่ สาระการเรยี นรู้เพื่อตรวจสอบและแก้ไขตาม ข้อเสนอแนะ นำแผนการจัดการเรยี นรู้เสนอตอ่ ผูเ้ ชี่ยวชาญเพื่อตรวจสอบและประเมินความเหมาะสมของ แผนการจดั การเรยี นรู้ พบวา่ มีความเหมาะสมอยูใ่ นระดับมากที่สุด (X = 4.67) จัดทำแผนการจดั การเรยี นร้ฉู บบั สมบรู ณ์และนำไปใชป้ ฏบิ ัติการสอนกับกลุม่ เป้าหมาย ภาพท่ี 2 ขน้ั ตอนการสร้างและหาประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรยี นรู้

64 4.2 แบบทดสอบวัดความสามารถในการพดู ภาษาอังกฤษ แบบทดสอบวัดความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษ มีขั้นตอนในการสรา้ งและหาประสิทธิภาพ ดังนี้ 4.2.1 ศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และคู่มือการวัดผลและ ประเมนิ ผล เพ่อื เป็นแนวทางในการสร้างแบบวดั ความสามารถในการพูดภาษาองั กฤษ 4.2.2 ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสร้างแบบวัดความสามารถในการพูด ภาษาองั กฤษ 4.2.3 กำหนดขอบเขตและพฤติกรรมที่ต้องการวัดเพ่อื สร้างแบบวัดความสามารถในการพูด ภาษาองั กฤษโดยกำหนดประเดน็ การวัดออกเป็น 5 ดา้ น ได้แก่ (1) ความคล่องแคลว่ (2) ความสามารถพดู ให้ผูอ้ ื่นเขา้ ใจ (3) ขอ้ ความในการส่ือสาร (4) สำเนียง (5) ความพยายามในการสอื่ สาร 4.2.4 สร้างแบบวัดความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษ โดยให้ครอบคลุมเนื้อหาและ จุดประสงค์การเรียนรู้ ใช้ในการทดสอบก่อนเรียนและหลังการเรียน เป็นแบบทดสอบอัตนัยเพื่อประเมิน ความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษของนักเรยี น โดยให้นกั เรียนเป็นผู้ถูกสัมภาษณ์และนักเรียนพูดสนทนาเป็น คตู่ ามสถานการณ์ท่ีกำหนดให้ โดยแบ่งแบบวดั ออกเปน็ 2 ตอน ดังนี้ ตอน ที่ 1 เป็นการสมั ภาษณเ์ กย่ี วกับข้อมูล ส่วนตัว ประสบการณ์ และความคิดเห็นต่างๆ ของนักเรียน ประกอบด้วยข้อคำถาม 10 ข้อ 25 คะแนน ตอนท่ี 2 เป็นการแสดงบทบาทสมมติระหว่างผู้เรียนด้วยกันตามสถานการณ์การใช้ภาษาในการเชิญชวนและนัดหมาย จำนวน 1 ข้อ 25 คะแนน ส่วนเกณฑ์ที่ใช้ประเมินความสามารถในการพูด ผู้วิจัยปรับมาจากเกณฑ์การประเมิน สมรรถภาพทางการสื่อสารของ Schulz (The Schulz Communicative Competence scale) และ Bartz scale ประกอบดว้ ยเกณฑ์ 5 ดา้ นตามประเด็นการประเมนิ มีรายละเอียดดังตารางท่ี 4

65 ตารางที่ 4 เกณฑ์การใหค้ ะแนนการทดสอบวดั ความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษ องคป์ ระกอบ คะแนน เกณฑก์ ารประเมนิ ความสามารถในการพดู ภาษาองั กฤษ ความคลอ่ งแคลว่ 0 พูดตะกุกตะกักไมป่ ะติดปะต่อกันจนไม่สามารถส่อื สารได้ 1 พดู ช้ามากไม่สม่ำเสมอ ยกเวน้ ประโยคส้นั ๆหรือประโยคที่งา่ ยๆ ความสามารถพูด 2 มคี วามลังเลบอ่ ย และพดู ตะกุกตะกัก บางประโยคไม่สมบูรณ์ ใหผ้ อู้ น่ื เขา้ ใจ 3 มีความลงั เลในการพดู บางครงั้ บางคราว มตี ะกกุ ตะกกั บ้าง เพราะพูดประโยคใหม่และต้องจดั เรยี งคำใหม่ ข้อความในการ 4 พูดได้อยา่ งราบรน่ื สม่ำเสมอ แต่ตดิ ขัดเล็กน้อย สอ่ื สาร 5 พดู ไดเ้ รว็ อยา่ งราบรื่น สมำ่ เสมอและไม่ตดิ ขัดเลย 0 ผ้ฟู งั ไมส่ ามารถเข้าใจคำศัพท์หรอื ประโยคท่ีผู้พูดพูดเลย 1 คำพูดถกู ต้องน้อย ผูฟ้ ังเขา้ ใจเพียงเล็กน้อยท่เี ป็นคำเดีย่ วๆ 2 คำพดู ถกู ต้องบางประโยค ผฟู้ ังเขา้ ใจเพยี งบางกลุม่ คำและบางวลี 3 คำพูดถกู ต้องบางประโยค ผู้ฟังเขา้ ใจเพยี งประโยคทสี่ ั้นๆ ง่ายๆ 4 คำพูดถกู ต้องเกอื บท้งั หมด ผู้ฟงั เข้าใจคำพดู ท่ผี ู้พูดพูดเป็นสว่ นใหญ่ 5 คำพูดถูกต้องเกือบทั้งหมด ผู้ฟงั เข้าใจคำพูดที่ผู้พดู พูดมาทั้งหมด 0 ข้อความทีพ่ ูดน้อยมาก ไม่ใหข้ ้อมลู ใจความหรือความหมายใดๆ แกผ่ ู้ฟังเลย 1 พดู ข้อความส้นั ๆ ให้ขอ้ มลู นอ้ ยมาก และไม่มกี ารพูดถึงใจความ สำคัญ 2 พูดข้อความส้นั ๆ ให้ข้อมลู น้อย มกี ารพดู ถึงใจความสำคัญแต่ไม่ สมบูรณ์ 3 พูดข้อความได้มาก ใหข้ ้อมูลเพยี งพอ แต่ใจความสำคัญยงั ไม่สมบรู ณ์ พูดข้อความได้มาก ใหข้ ้อมูลมาก ผูฟ้ ังได้ข้อมลู ใจความสำคัญแตย่ ัง 4 ไมส่ มบรู ณ์ครบถว้ นทั้งหมด พดู ข้อความที่สำคญั ครบถว้ น ผ้ฟู งั ได้ขอ้ มูล ใจความสำคัญสมบูรณ์ 5 ครบถ้วน

66 ตารางที่ 4 เกณฑ์การให้คะแนนการทดสอบวดั ความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษ (ต่อ) องค์ประกอบ คะแนน เกณฑก์ ารประเมินความสามารถในการพูดภาษาองั กฤษ สำเนียง 0 ออกเสยี งผดิ แทบทกุ คำ ไม่มกี ารใช้เสียงหนกั เบา จนผูฟ้ ังไม่สามารถเข้าใจ ความพยายาม ในการสอื่ สาร ข้อความทีพ่ ูดไดเ้ ลย 1 ออกเสียงผิดทุกประโยค ไมม่ ีการใชเ้ สียงหนักเบา ทำใหผ้ ู้ฟังไมส่ ามารถเข้าใจได้ บ่อยคร้งั 2 ออกเสยี งผิดมากกว่า 5 ประโยค มกี ารใช้เสยี งหนักเบาบ้าง 3 ออกเสยี งผิดไมเ่ กิน 5 ประโยค มกี ารใชเ้ สียงหนักเบา 4 ออกเสียงได้ถูกต้อง ผดิ ไม่เกนิ 2 ประโยค ใช้เสยี งหนกั เบาถูกต้องเกือบทงั้ หมด 5 ออกเสยี งได้ถกู ต้องชดั เจนทุกประโยค ใช้เสยี งหนักเบาถูกต้องทงั้ หมด 0 หยุดเงยี บเปน็ เวลานานโดยไม่พดู ให้จบความ 1 พูดเน้ือหาได้ไมถ่ ึงครึ่งเร่ือง ไม่สามารถพดู ให้จบความ 2 พดู เนื้อหาได้เกนิ ครึง่ เรื่อง แต่ไมส่ ามารถพดู ไดจ้ นจบความ 3 พูดจนจบความ แต่ไม่ใชท้ ่าทางช่วย 4 พดู จนจบความ และใช้ทา่ ทางช่วยในบางประโยค 5 พดู จนจบได้ใจความสมบรู ณม์ ากและใชท้ ่าทางชว่ ยประกอบการพูดจนจบ 4.2.5 นำแบบทดสอบวัดความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษปรึกษาหัวหน้ากลุ่มสาระ การเรยี นรู้เพ่ือตรวจพิจารณาประเมนิ แบบวัดความสามารถและแก้ไขปรบั ปรุงแก้ไขตามคำแนะนำ 4.2.6 นำแบบทดสอบวัดความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษที่ปรับปรุงแก้ไขแล้ว พร้อม แบบประเมินความสอดคล้อง (IOC) ระหว่างข้อสอบกับจุดประสงค์การเรียนรู้ เสนอต่อผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบ พิจารณาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา ผลการประเมินพบว่าค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อสอบกับจุดประ สงค์ (IOC) มคี า่ ระหว่าง 0.67-1.00 4.2.8 นำแบบทดสอบวัดความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษไปทดลองใช้กับนักเรียนท่ี ไม่ใช่กลุ่มเป้าหมาย และมีระดับความสามารถใกล้เคียงกับกลุ่มเป้าหมาย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรยี นบึงไทรพิทยาคม จำนวน 25 คน

67 4.2.9 นำคะแนนที่ได้มาวิเคราะห์หาความเชื่อมั่น (Reliability) ของแบบทดสอบทั้งฉบับโดยใช้สูตร การหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค (Cronbach’s Alpha Method) ได้ค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบวัด ความสามารถในการพดู ภาษาองั กฤษเท่ากับ 0.81 4.2.10 จัดทำแบบวัดความสามารถฉบับสมบูรณ์และนำไปใช้กับกล่มุ เป้าหมายต่อไป จากขั้นตอนการสรา้ งและหาประสทิ ธิภาพของแบบทดสอบวดั ความสามารถในการพูดภาษาองั กฤษ สามารถสรุป ได้ดงั ภาพที่ 3 ศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 คู่มือการวดั ผลและประเมินผล ศกึ ษาเอกสารและงานวิจัยท่เี ก่ียวข้องกบั การสรา้ งแบบวัดความสามารถในการพดู ภาษาอังกฤษ กำหนดพฤติกรรมทีต่ ้องการวัดเพื่อสร้างแบบวดั ความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษ สร้างแบบทดสอบและเกณฑ์การวดั ความสามารถในการพูดภาษาองั กฤษโดยให้ครอบคลุมเนือ้ หา และจุดประสงคก์ ารเรียนรู้ นำแบบทดสอบวัดความสามารถไปปรกึ ษาหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้เพื่อพิจารณาความเท่ยี งตรง เชงิ เนือ้ หา ปรับปรุงแก้ไขตามคำแนะนำ นำแบบทดสอบทป่ี รับปรุงแก้ไขแลว้ เสนอต่อผูเ้ ช่ยี วชาญตรวจสอบพิจารณาความเที่ยงตรงเชงิ เนือ้ หาผลการประเมินพบว่าค่าดัชนคี วามสอดคล้องระหวา่ งข้อสอบกบั จดุ ประสงค์ (IOC) มีค่า ระหว่าง 0.67-1.00 นำแบบทดสอบท่คี ดั เลือกได้ไปวิเคราะหห์ าความเชอื่ ม่ัน ได้คา่ ความเชือ่ ม่ันของแบบทดสอบ วัดความสามารถในการพดู ภาษาอังกฤษ 0.81 ภาพท่ี 3 ขั้นตอนการสรา้ งและหาประสทิ ธิภาพของแบบทดสอบวัดความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษ

68 4.3 แบบทดสอบวัดผลปลายภาคเรยี น แบบทอสอบวัดผลปลายภาคเรียนของนักเรียน มีข้ันตอนในการสร้างและหาประสิทธิภาพ ดงั น้ี 4.4.1 ศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และคู่มือการวัดผลและ ประเมนิ ผล เพือ่ เป็นแนวทางในการสร้างแบบวดั ผลปลายภาคเรยี นวิชาภาษาอังกฤษ 4.4.2 การจดั ทำตารางโครงสรา้ งแบบทดสอบ (Test Blueprint หรอื Test Specification) 4.4.3 สร้างแบบทดสอบวดั ผลการเรยี นของนักเรียนตามขอบขา่ ยรายการที่กำหนดไว้ 4.4.4 นำแบบทดสอบของนักเรียนเสนอต่อผเู้ ชย่ี วชาญเพ่ือตรวจสอบความถูกต้องเหมาะสม และ แก้ไขปรบั ปรุงตามข้อเสนอแนะ 4.4.5 จัดทำแบบวัดความสามารถฉบับสมบรู ณ์และนำไปใชก้ ับกลุม่ เป้าหมายต่อไป 4.4 แบบบนั ทกึ พฤตกิ รรมการเรยี นของนักเรยี น แบบบันทึกพฤตกิ รรมการเรียนของนักเรียน มีข้นั ตอนในการสรา้ งและหาประสทิ ธิภาพ ดังน้ี 4.4.1 ศกึ ษาเอกสารที่เกยี่ วขอ้ งกบั การสร้างแบบบันทกึ พฤตกิ รรมการเรยี นของนักเรียน 4.4.2 กำหนดขอบข่ายในการสรา้ งแบบบันทึกพฤติกรรมการเรียนของนักเรยี น 4.4.3 สรา้ งแบบบันทึกพฤตกิ รรมการเรยี นของนักเรียนตามขอบข่ายรายการทีก่ ำหนดไว้ 4.4.4 นำแบบบนั ทกึ พฤติกรรมการเรียนของนักเรียนเสนอตอ่ ผเู้ ช่ียวชาญเพ่ือตรวจสอบความ ถูกต้องเหมาะสม และแก้ไขปรับปรุงตามข้อเสนอแนะ 4.4.5 จดั ทำแบบบันทกึ พฤติกรรมการเรียนของนักเรยี นฉบบั สมบูรณ์ เพ่ือนำไปใชเ้ ก็บรวบรวม ขอ้ มลู ต่อไป 5. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล การเก็บรวบรวมขอ้ มลู ในการวิจยั มีขั้นตอนดังนี้ 5.1 ปฐมนิเทศนักเรียนกลุ่มเป้าหมายให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือ พัฒนาความสามารถทางการพูดภาษาอังกฤษและผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนโดยใช้งานปฏิบัตเิ ปน็ ฐานร่วมกับกลวิธี เสริมตอ่ การเรียนรู้ รวมถึงวิธีการวัดและประเมินผล เพ่อื ให้นักเรยี นไดท้ ราบแนวทางในการปฏบิ ตั ิ 5.2 ดำเนินการจัดการเรียนการสอน ตามแผนการจัดการเรียนรู้ทั้ง 6 แผนการจัดการเรียนรู้ ครูผู้ช่วย วิจัยทำการสงั เกตและบันทกึ พฤตกิ รรมการเรยี นของนักเรียน 5.3 ครูทำการทดสอบวัดความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนกลุ่มเป้าหมาย และทำการ ประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นของนกั เรียน

69 6. การวเิ คราะห์ข้อมูล ในการวิเคราะหข์ อ้ มลู ผ้วู จิ ัยดำเนนิ การวิเคราะห์ข้อมูล ดังนี้ 6.1 การวิเคราะห์ความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียน วเิ คราะห์จากคะแนนความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษ นำมาวเิ คราะหข์ อ้ มูลทางสถิติ โดยใช้สถิติ คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และร้อยละ แล้วนำคะแนนที่ได้ไปเปรียบเทียบกับเกณฑ์ที่ตั้งไว้ คือ ใหน้ กั เรยี นมีคะแนนความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษเฉล่ียหลังเรียนมากกว่าก่อนเรียน โดยมีท้ังคะแนนก่อน และหลงั เรยี นไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 70 และมจี ำนวนนักเรียนท่ผี า่ นเกณฑ์ร้อยละ 70 ขึ้นไป 6.2 การวิเคราะห์ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน วิเคราะห์จากแบบทดสอบวัดผลปลายภาคเรียนโดยใช้สถิติ คือ ร้อยละ โดยมีเกณฑ์ในการแปลผล แล้วนำค่าร้อยละของจำนวนนักเรียนที่ได้คะแนนการประเมินตั้งแต่ระดับสูงขึ้นไปเปรียบเทียบกับเกณฑ์ที่ตั้งไว้ คอื ใหน้ ักเรียนมีผลสัมฤทธิท์ างการเรียนในภาคเรียนท่ี 2 เพ่ิมขึน้ จากภาคเรยี นท่ี 1 คดิ เปน็ รอ้ ยละ 5 ข้ึนไป

70 บทท่ี 4 ผลการวิจยั และอภปิ รายผล การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษและผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้งานปฏิบัติเป็นฐานร่วมกับกลวิธีเสริม ตอ่ การเรียนรู้ โดยใหน้ กั เรยี นมคี ะแนนความสามารถในการพูดภาษาองั กฤษหลังเรยี นเพิ่มขึน้ จากคะแนนทดสอบ ก่อนเรียน โดยที่นักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 และมีจำนวนนักเรียนที่ผ่านเกณฑ์ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 70 ของจำนวนนักเรียนทั้งหมด และนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในภาคเรียนที่ 2 เพิ่มขึ้นจากภาค เรียนที่ 1 อย่างน้อยร้อยละ 5 ผู้วิจยั ขอนำเสนอผลการวจิ ัยและอภปิ รายผลการวจิ ยั ดงั น้ี 1. ผลการศึกษาความสามารถในการพดู ภาษาอังกฤษ 2. ผลการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3. อภิปรายผล 1. ผลการศกึ ษาความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษ ผู้วิจัยได้ดำเนินการทดลองจัดการการเรียนรูโ้ ดยการจัดการเรยี นรูโ้ ดยใช้งานปฏิบตั ิเป็นฐานร่วมกับกลวิธี เสริมต่อการเรยี นรู้ จำนวน 10 แผนการจัดการเรยี นรู้ เวลา 20 ชวั่ โมง กับนักเรียนกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 31 คน เมื่อเสร็จสิ้นการสอน ผู้วิจัยได้ดำเนินการทดสอบวัดความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนโดยใช้ แบบทดสอบวัดความสามารถในการพดู ภาษาอังกฤษ ไดผ้ ลการทดสอบดังตารางที่ 5 ตารางที่ 5 ผลการทดสอบวัดความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษ จำนวน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนนเฉลี่ย คิดเปน็ จำนวน คิดเปน็ นกั เรียน เต็ม เฉลี่ยกอ่ น เฉลย่ี หลงั หลังเรียน รอ้ ยละ นกั เรยี นท่ี ร้อยละ เรยี น (X ) เรยี น (X ) เพ่มิ ข้ึน (X ) ผ่านเกณฑ์ 31 50 37.06 74.12 77.42 30.50 6.56 24 จากตารางที่ 5 พบว่านักเรียนมีคะแนนความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษเฉลี่ยเพิ่มขึ้น 6.56 มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 37.06 คิดเป็นร้อยละ 74.12 และมีจำนวนนักเรียนที่ผ่านเกณฑ์ 24 คน คิดเป็นร้อยละ 77.42 ซ่งึ ผา่ นเกณฑท์ ่ีกำหนดไว้

71 การทดสอบวัดความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษของนักเรยี น พบว่านักเรยี นมีคะแนนความสามารถ ในการพดู ภาษาอังกฤษ เฉลี่ยเทา่ กบั 37.06 คดิ เป็นรอ้ ยละ 74.30 ซ่งึ ผ่านเกณฑ์ที่กำหนดไว้ เมื่อพิจารณาผลการ ทดสอบวัดความสามารถในการพูดภาษาองั กฤษเปน็ รายองคป์ ระกอบ ผลดังตารางที่ 6 ตารางที่ 6 ผลการทดสอบวดั ความสามารถในการพดู ภาษาอังกฤษเป็นรายองค์ประกอบ องคป์ ระกอบ คะแนนเต็ม คะแนนเฉลยี่ (X ) ส่วนเบีย่ งเบน คิดเปน็ มาตรฐาน รอ้ ยละ ความคลอ่ งแคล่ว 10 6.98 1.40 69.80 ความสามารถพดู ให้ผู้อน่ื เขา้ ใจ 10 7.35 1.45 73.50 ขอ้ ความในการส่ือสาร 10 7.87 1.33 78.70 สำเนียง 10 6.50 1.40 65.00 ความพยายามในการส่อื สาร 10 8.45 1.55 84.50 50 37.06 1.42 74.30 รวม จากตารางที่ 6 พบว่านักเรียนมีคะแนนองค์ประกอบด้านความพยายามในการสื่อสารมากที่สุด คิดเปน็ รอ้ ยละ 78.72 รองลงมา คือ ขอ้ ความในการสือ่ สาร ร้อยละ 76.56 ความสามารถพูดใหผ้ ูอ้ ืน่ เข้าใจ รอ้ ยละ 72.75 และความคล่องแคล่ว รอ้ ยละ 69.29 และมคี ะแนนองคป์ ระกอบดา้ นสำเนียงน้อยทส่ี ดุ คิดเป็นร้อยละ 61.97 2. ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นของนักเรยี น ผู้วิจัยได้ดำเนินการทดลองจัดการการเรียนรู้โดยการจัดการเรียนรู้โดยใช้งานปฏิบัติเป็นฐานร่วมกับกลวิธี เสริมต่อการเรียนรู้ จำนวน 10 แผนการจัดการเรียนรู้ เวลา 20 ชั่วโมง กับนักเรียนกลุ่มเป้าหมาย เมื่อเสร็จสิ้น การทดลองผู้วิจัยได้ดำเนินการทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยแบบทดสอบวัดประเมินผลปลายภาค วิชา ภาษาอังกฤษ อ23102 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 จำนวน 30 ขอ้ มผี ลการวจิ ัยดงั ตารางที่ 7

72 ตารางท่ี 7 ผลการทดสอบวัดผลปลายภาคเรยี น ภาคเรยี นท่ี 1 ภาคเรียนที่ 2 สว่ นตา่ งคะแนน คิดเปน็ รอ้ ยละ 66.15 71.28 5.13 7.75 จากตารางที่ 7 พบว่า นักเรียนมีร้อยละของคะแนนทดสอบปลายภาคเรียนที่ 2 สูงขึ้นจากคะแนน ทดสอบปลายภาคเรียน ภาคเรยี นท่ี 1 เท่ากับ 5.13 คะแนน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 7.75 ซงึ่ ผา่ นเกณฑ์ทตี่ ง้ั ไวค้ อื ร้อยละ 5 ขน้ึ ไป 3. อภปิ รายผล จากการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ งานปฏิบัติเป็นฐานร่วมกับกลวิธีเสริมต่อการเรียนรู้ พบว่า ผลการวิจัยเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผู้วิจัยขอ อภปิ รายผลการวิจัย ดังนี้ ผู้วิจัยได้ทำการจัดการเรียนการสอนโดยใช้งานปฏิบัติเป็นฐานร่วมกับกลวิธีเสริมต่อการเรียนรู้ กับนักเรียนกลุ่มเป้าหมาย หลังการจัดการเรียนการสอนได้ทำการทดสอบวัดความสามารถในการพูด ภาษาอังกฤษของนักเรียน ผลการทดสอบพบว่านักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยคหลังเรียนเพิ่มขึ้น คะแนนเฉลี่ย ความสามารถในการพดู ภาษาอังกฤษร้อยละ 74.12 ซ่งึ สงู กว่าเกณฑท์ ่ตี ้ังไว้ คือ ร้อยละ 70 และจำนวนนักเรียนที่ ผ่านเกณฑ์มีจำนวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 77.42 ซึ่งผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 และผลการทดสอบปลายภาคของ นักเรียนสูงขึ้นคิดเป็นร้อยละ 7.75 ซึ่งผ่านเกณฑ์ที่ตั้งไว้ จากการผ่านจุดประสงค์ที่ตั้งไว้ทั้ง 2 ข้อส่งผลให้สรุป ผลการวิจัยได้ว่า นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สูงขึ้น ผู้วิจัยขออภิปรายผลการวิจัยที่เป็นไปตาม วตั ถุประสงค์ของการวิจัยว่าท้งั นเ้ี นื่องมาจาก 3.1. กระบวนการจัดการเรียนรู้โดยใช้งานปฏิบัติเป็นฐานร่วมกับกลวิธีเสริมต่อการ เรียนรู้ การจัดการเรยี นรู้โดยใช้งานปฏิบัติเป็นฐานร่วมกับกลวธิ ีเสริมต่อการเรียนรู้เป็นการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม และเน้นผูเ้ รียนเปน็ ศนู ย์กลาง (Child-Centered Learning) ซึ่งใหค้ วามสำคญั กบั กระบวนการสรา้ งความรู้ที่ต้อง อาศัยประสบการณเ์ ดิมของผู้เรียนทำให้เกิดความรู้ จากหลักการของการสอนภาษาโดยใช้งานปฏิบัตเิ ป็นฐานนนั้ มีกระบวนการในแต่ละขั้นที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้มีโอกาสฝึกการใช้ภาษาในการสื่อสารโดยผ่านกระบวนการ ปฏิบัติงาน (Task) เพราะเชื่อว่านักเรียนจะใช้ภาษาอย่างมีเป้าหมายและสนุกสนานกับการได้ใช้ภาษา จนทำให้ นักเรียนจดจำการเรียนนั้นโดยไม่รู้ตัว สอดคล้องกับผลการวิจัยของ ชิณเพ็ญ รัตนวงศ์ (2547) ที่พบว่า นักเรียน

73 ร้อยละ 73.50 เห็นว่าตนเองได้ประสบการณ์จากการปฏิบัติงานด้วยตนเองจนเกิดความเข้าใจ สนุกสนาน และ จดจำบทเรียนได้ดียิ่งขึ้น อีกทั้งครูผู้สอนใช้กลวิธีเสริมในขั้นตอนแรก คือขั้นก่อนปฏิบัติงาน (Pre-task) ที่ ประกอบด้วย 5 กลวิธีเสริม ได้แก่ การถามคำถาม (Questioning) การระดมความคิด (Brainstorming) การ เขียนรายการ (Listing) การจับคู่ (Matching) และการชี้นำ (Modeling) เพื่อให้นักเรียนนักเรียนคุ้นเคยและเกดิ ความม่ันใจในการพูดภาษาของตนเองโดยครูผสู้ อนยังไม่ได้คำนึงถึงความถกู ต้องของการใช้ภาษาของนักเรียน ซ่ึง สอดคล้องกบั สมุ ิตรา องั วฒั นกุล (2537) ทก่ี ล่าวว่านกั เรยี นตอ้ งไม่กลัววา่ จะใช้ภาษาผดิ ดว้ ยเหตุน้ีครูผู้สอนจงึ ยัง ไม่แก้ไขข้อผิดพลาดของผู้เรียนทุกคร้ัง แตแ่ ก้ไขเฉพาะท่ีจำเป็นเทา่ นน้ั ข้นั ที่สอง ข้ันปฏิบตั ิงาน (Task cycle) ใน ขั้นตอนนี้ผู้เรียนได้ใช้ภาษาอังกฤษสื่อสารในระหว่างการปฏิบัติงาน การเตรียมเสนอผลงานและเสนอผลงาน ก่อนที่จะนำเสนอผลงาน ผู้เรียนจะมีการทบทวน (Rehearsal) เนื้อหาที่เตรียมโดยการฝึกกับเพื่อน เพื่อนจะให้ คำแนะนำและชว่ ยเหลือในการฝกึ ใหถ้ ูกต้องแม่นยำมากขึ้น นอกจากน้ันผูเ้ รียนยังปรึกษากับผสู้ อน (Consulting) ในดา้ นของการออกเสยี ง คำศัพท์ ไวยากรณ์ ซงึ่ ถือเป็นกลวิธีเสริมต่อการเรียนรู้ท่ีผู้สอนสามารถช่วยผู้เรียนได้อีก ทางหนึ่ง การที่ผู้เรียนได้ฝึกฝน ได้รับคำแนะนำ คำปรึกษาจากเพื่อนและครู ทำให้ผู้เรียนสามารถพัฒนา ความสามารถในการพูดและความมั่นใจในการสื่อสาร ซึ่งสอดคล้องกับทฤษฎีขอบเขตพัฒนาการเรียนรู้ ของ Vygotsky ที่ว่าการพัฒนาทางปัญญาจะเพิ่มขึ้น ถ้าผู้ได้รับการช่วยเหลือจากผู้เชี่ยวชาญ เช่น พ่อ แม่ หรือ ครู และในขั้นที่สาม ขั้นมุ่งเน้นภาษา (Language focus) เป็นขั้นตอนที่นักเรียนวิเคราะห์ภาษา ปรับปรุงแก้ไขให้ ถูกต้องโดยมีครูเป็นผู้ชี้นำในการวิเคราะห์และสรุปองค์ความรู้ เพื่อให้นักเรียนสามารถนำรูปแบบและโครงสร้าง ภาษาไปใช้ในการปฏิบัติงานในครั้งต่อๆ ไปได้ด้วยตนเอง กล่าวได้ว่าการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้งานปฏบิ ัติ เป็นฐานร่วมกับกลวิธีเสริมต่อการเรียนรู้ มีขั้นตอนและกลวิธีที่ช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถใช้ภาษาในการ สอ่ื สารได้ และครูผู้สอนมีบทบาทในการเป็นผชู้ ว่ ยเหลือ แนะนำ ชี้แนวทาง ใหค้ ำปรกึ ษาในทุกข้ันตอน สอดคล้อง กับกิตดา ปรัตถจริยา (2540) ที่กล่าวว่าสิ่งที่ผู้เรียนต้องการในกระบวนการการเรียนการสอนคือการได้รับการ ชี้แนะ และกล่าวว่า บทบาทของผู้สอนตอ้ งเตรียมความพรอ้ ม คอยชี้แนะและให้แนวทาง การใช้ภาษาของผ้สู อน ในห้องเรยี นจึงเปน็ สิง่ สำคัญ เพราะเป็นวิธีการที่ทำให้การส่ือสารระหว่างผู้สอนกับผู้เรียนและระหว่างผู้เรียนด้วย กันเองเป็นไปอย่างต่อเนื่องและจะเป็นการกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการการเรียนรู้ทางสมองซึ่งเป็น กระบวนการพัฒนาความคิดรวบยอด

74 3.2 กิจกรรมการจัดการเรียนรูโ้ ดยใชง้ านปฏิบัติเปน็ ฐานรว่ มกบั กลวธิ เี สรมิ ตอ่ การเรียนรู้ เป็นกิจกรรมการเรียนการสอนที่มีลักษณะเป็นการเรียนรู้อย่างมีส่วนร่วม (Cooperative Learning) ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้และเกิดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้การใช้ ภาษาและฝึกฝนการใช้ภาษาอย่างถูกต้อง สม่ำเสมอ ซึ่งผู้สอนได้เตรียมความพร้อมทางด้านไวยากรณ์ รูปแบบ การใช้ภาษา และคำศัพท์เพื่อให้ผู้เรียนได้ฝึกฝน ทบทวนการใช้ภาษาในการพูดในแต่ละกิจกรรมก่อน แล้วจึงจะ ใหผ้ เู้ รียนสรา้ งสรรค์กจิ กรรมขึน้ มาเอง งานปฏิบตั ทิ ผ่ี ้เู รียนได้ปฏิบัตเิ ปน็ งานปฏบิ ตั เิ พอื่ พัฒนาความสามารถในการ พูดมีความหลากหลาย เปิดโอกาสให้นักเรียนได้ใชภ้ าษาในสถานการณ์ต่างๆ ทคี่ ล้ายคลึงกับประสบการณ์ในชีวิต จริง ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้เลือกกิจกรรมงานปฏิบัติที่ให้นักเรียนได้ฝึกฝนการใช้ภาษาเพื่อสื่อสาร ได้แก่ การบรรยายตำแหน่งสิ่งของ (Describing objects’ position) การสำรวจข้อมูลและนำเสนอ (Doing and presenting a survey) การแสดงบทบาทสมมติเพื่อเชิญชวนและนัดหมาย (Role playing) การค้นคว้าข้อมูล และนำเสนอ (Conducting report and presentation) การพูดแสดงอารมณ์ความร้สู ึก (Describing emotion and feeling) โดยมีการจัดกิจกรรมการพูดเพื่อการสื่อสารที่หลากหลาย ได้แก่ กิจกรรมแสดงบทบาทสมมติ (Role playing) กิจกรรมการแลกเปลยี่ นข้อมูล (Information-gap Activity) กจิ กรรมการแลกเปลีย่ นความคิดเห็น (Opinion-gap Activity) กิจกรรมบรรยายและวาดภาพ (Describe and Draw) แต่ละกิจกรรมมีความสนุกสนาน น่าสนใจ เหมาะสมกับวัยและระดับความสามารถของผู้เรียน เป็นกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้นักเรียนได้ฝึกใชภ้ าษา และสื่อสารกับเพื่อนในชัน้ เรียน เป็นกิจกรรมที่สามารถช่วยใหน้ ักเรยี นได้ฝกึ ฝนการใช้ภาษาในการสื่อสารได้เป็น อย่างดีส่งผลให้นักเรียนสามารถใช้ภาษาได้ดียิ่งขึ้น จากแบบบันทึกพฤติกรรมการเรียนของนักเรียน พบว่า นักเรียนมีความกระตือรือร้นและสนุกสนานในการทำกิจกรรมร่วมกับเพื่อน มีพัฒนาการด้านพฤติกรรมการพูด ภาษาอังกฤษเพิ่มขึ้นโดยลำดับจากแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 จนถึงแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 สอดคล้องกับ Harmer (1983) ที่กล่าวว่า ในการจัดกิจกรรมเพื่อการสื่อสาร ครูผู้สอนควรจัดกิจกรรมที่ทำให้นักเรียนเห็น ความสำคัญในการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร นักเรียนได้มีโอกาสใช้ภาษาได้หลายรูปแบบ มีอิสระในการเลือกใช้ ภาษาเพื่อการสื่อสาร นอกจากนี้ กมลวรรณ โดมศรีฟ้า (2551) ได้กล่าวไว้ว่ากิจกรรมที่ดีต้องน่าสนใจและ เหมาะสมกับวัยของนักเรียน ไม่ง่ายเกินไปเพราะจะทำให้นักเรียนเกิดความเบื่อหน่ายหรือรู้สึกว่ากิจกรรมไม่ท้า ทาย หากกิจกรรมยากเกินไปก็จะทำให้นักเรียนไม่อยากปฏิบัติกิจกรรมเพราะทำแล้วไม่ประสพผลสำเร็จ เกิด ความท้อแท้ กิจกรรมที่ใช้จึงควรเป็นกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้นักเรียนได้ใช้ภาษาในการสื่อสารมากที่สุด มีความ สนกุ เปน็ ขั้นเปน็ ตอน ซ่ึงจะช่วยใหเ้ ข้าใจง่าย สง่ ผลให้นกั เรียนกล้าคดิ กล้าทำ กลา้ แสดงออก กจิ กรรมงานปฏิบัติ ที่ครูผู้สอนใช้ในการจัดการเรียนรู้เนน้ การสือ่ สารที่ให้ผู้เรียนได้สื่อสารกับเพื่อนร่วมชั้น ต่างระดับชั้นเพือ่ ใหบ้ รรลุ

75 งานปฏบิ ตั ิ เป็นกิจกรรมการพูดภาษาองั กฤษทไี่ ม่ยากหรือง่ายเกินไป เหมาะสมกบั วัยของผู้เรียน เช่น การสำรวจ ข้อมลู การบรรยายภาพ การแสดงบทบาทสมมติ นักเรียนได้ฝกึ การใชภ้ าษาอย่างมีจดุ มุ่งหมาย สนกุ สนานในการ ทำกิจกรรม เกิดความภาคภูมิใจในผลงาน สามารถพัฒนาความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษจากการ ปฏิบตั ิงานได้ในทีส่ ดุ จากผลการทดสอบวัดความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษ นักเรียนผา่ นวัตถปุ ระสงคท์ ี่ตั้งไว้ เมื่อผู้วิจัย ได้พิจารณาผลการทดสอบวัดความสามารถเป็นรายด้าน จากองค์ประกอบของความสามารถในการพูด ภาษาอังกฤษ 5 ด้าน ได้แก่ ความคล่องแคล่ว ความสามารถพูดให้ผู้อื่นเข้าใจ ข้อความในการสื่อสาร สำเนียง และความพยายามในการสือ่ สารนั้น พบว่านักเรียนมคี ะแนนเฉลี่ยองค์ประกอบด้านความพยายามในการสื่อสาร มากที่สุด และมีคะแนนเฉลี่ยองค์ประกอบด้านสำเนียงน้อยที่สดุ ทั้งนี้เป็นผลมาจากการจัดการเรยี นรู้โดยใชง้ าน ปฏบิ ัตเิ ป็นฐานร่วมกบั กลวธิ ีเสริมต่อการเรยี นรู้นัน้ นกั เรยี นไดร้ บั การส่งเสริม สนบั สนนุ ให้ใชภ้ าษาอย่างเต็มที่ ให้ นักเรียนได้มีโอกาสใช้ภาษาในการสื่อสารในทุกกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้งานปฏิบัติเป็นสื่อกลาง โดยที่ให้ ความสำคัญในความพยายามและความกล้าที่จะใช้ภาษาในการสื่อความหมายก่อนความถูกต้อง (ชินณเพ็ญ รัตนวงศ์, 2547) จากข้อมูลในแบบบันทึกพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนพบว่า ในระยะแรกของการเรียน นักเรียนยงั ไม่กล้าพูด มีความพยายามน้อยในการที่ใช้ภาษาสื่อสาร แต่ในระยะหลังนักเรียนเร่ิมมีการแสดงความ คิดเห็น ใช้ภาษาในการสือ่ สารมากข้ึนเปน็ ลำดับ โดยเฉพาะเม่ือนำเสนอชิ้นงานหรอื การสนทนากับเพือ่ นมีการใช้ ท่าทาง (Body Language) ประกอบการพูดอย่างเป็นธรรมชาติเพิ่มขึ้นด้วย และในด้านสำเนียงซึ่งเป็น องค์ประกอบที่นักเรียนมีคะแนนน้อยที่สุดนั้นเป็นเพราะรูปแบบการจัดการเรียนรู้ โดยใช้งานปฏิบัติเป็นฐาน ร่วมกับกลวิธีเสริมต่อการเรียนรู้นั้นส่งเสริมองค์ประกอบอื่นๆ ของการพูดมากกว่า เช่น ด้านความคล่องแคล่ว นักเรียนได้ฝึกใช้ภาษาในทุกกิจกรรมและทุกขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ ได้ฝึกพูดร่วมกับเพื่อน มีการเตรียมความ พร้อมก่อนจะพูดในขั้นการช่วยกันระหว่างบุคคล (Peer Feedback) ในขั้นการทบทวน (Rehearsal) ทำให้ นักเรียนสามารถพูดได้อยา่ งคล่องแคลว่ มากขึ้น ด้านข้อความในการส่ือสาร งานปฏบิ ตั ทิ ่นี กั เรียนได้ทำน้ัน ผู้เรียน ไดร้ บั การเตรียมความพร้อมทางด้านเน้ือหา ไวยากรณ์ โครงสรา้ งภาษา สำนวน คำศพั ท์ทีใ่ ชใ้ นงานปฏิบัติมาก่อน แล้ว ดังนั้นเมื่อปฏิบัติงานนักเรียนสามารถสร้างข้อความในการสื่อสารด้วยตนเองได้ในระดับหนึ่ง อีกทั้ง การ ปรึกษากับผ้สู อน (Consulting) เปน็ กลวธิ ที ่ีช่วยใหน้ ักเรยี นทบทวนเน้ือหาท่จี ะพูด และขอคำปรึกษาและแนะนำ เกี่ยวกับโครงสร้างภาษาหรือการใช้ภาษาอื่นๆ ได้ สาเหตุอีกประการหนึ่ง คือ การฝึกฝนด้านสำเนียงการพูดนั้น เป็นสิ่งที่ต้องใช้เวลาพอสมควร เป็นสิ่งที่ฝึกฝนให้เปลี่ยนแปลงได้ยาก จึงทำให้นักเรียนสามารถทำคะแนนด้าน สำเนยี งได้น้อยที่สุด

76 แมว้ ่านักเรียนจะมีคะแนนการทดสอบความสามารถในการพูดภาษาองั กฤษผ่านเกณฑท์ ี่ตั้งไวน้ ั้น แต่เมื่อ พิจารณาคะแนนเฉล่ียเป็นรายองคป์ ระกอบนัน้ พบว่า คะแนนความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียน ด้านความคล่องแคล่วและสำเนียงไม่ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด คือ ร้อยละ 70 ซึ่งแสดงให้เห็นว่านักเรียนมี ความสามารถในการพูดด้านความคล่องแคล่วและสำเนียงน้อย เนื่องมาจาก เดิมนักเรียนมีความสามารถด้าน ความคล่องแคลว่ และสำเนียงน้อย การปฏิบตั ิงานเพ่ือการส่ือสารสามารถชว่ ยพัฒนาความสามารถในการพูดได้ดี แต่การพัฒนาความคล่องแคล่วและสำเนยี งการพดู นั้น ต้องใชเ้ วลาในการฝึกฝนนานกวา่ องคป์ ระกอบอ่นื ๆ สรุปได้ว่า การจัดการเรียนรู้โดยใช้งานปฏิบัติเป็นฐานร่วมกับกลวิธีเสริมต่อการเรียนรู้นั้น เป็น รูปแบบการสอนที่มีกระบวนการและกิจกรรมการเรียนรู้ที่ช่วยส่งเสริมความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษ รวมถึงความเชื่อมั่นในการพูดของนักเรียนด้วย ซึ่งทำให้คะแนนความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษและความ เชือ่ มนั่ ในตนเองของนักเรยี นผ่านเกณฑ์ท่ตี ั้งไว้ สอดคล้องกับผลการวิจยั ของ เรณู รน่ื ยุทธ (2554) ที่ศึกษาการใช้ กิจกรรมงานปฏิบัตเิ พ่ือพัฒนาทักษะการฟัง-พูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบางขุน เทียนศึกษา ผลการวิจัยพบว่าความสามารถด้านการฟัง-พูดภาษาอังกฤษของนักเรียนหลังได้รับการสอนโดยใช้ กิจกรรมมุ่งงานปฏิบัติสูงกวา่ ก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิตทิ ี่ระดับ 0.01 สอดคล้องกับงานวิจัยของสุ ปรียา เตจ๊ะตา (2551) ที่ศึกษาความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษและแรงจูงใจของผู้เรียนด้วยกิจกรรมที่เน้น ภาระงานด้านการท่องเที่ยวของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/3 ผลการวิจัยพบว่า ความสามารถในการพูด ภาษาอังกฤษระหว่างการเรียนที่เน้นภาระงานด้านการท่องเที่ยวของผู้เรียนทั้งหมดผ่านเกณฑ์ ครึ่งหนึ่งของ ผู้เรียนมีความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษอยู่ในระดับดีถึงดีมาก และอีกครึ่งหนึ่งอยู่ในระดับปานกลาง และ แรงจูงใจของผูเ้ รียนสงู ขึน้ หลงั การเรียนด้วยกิจกรรมที่เน้นภาระงานดา้ นการท่องเทีย่ ว และยังสอดคล้องกับเพ็ญ นภา บำรุงสุข (2553) ศึกษาวิจัยเรื่องการพัฒนาบทเรียนภาษาอังกฤษที่เน้นเนื้อหาในท้องถิ่นโดยบูรณาการ กิจกรรมมุ่งปฏิบัติงานกับกลวิธีเสริมต่อการเรียนรู้เพื่อส่งเสรมิ ความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษของนักเรยี น ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 โดยมวี ตั ถุประสงค์เพ่ือส่งเสริมความสามารถในการพดู ภาษาองั กฤษให้ได้ตามเกณฑ์ 80/80 และเปรียบเทียบความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษของผู้เรียนก่อนเรียนและหลังเรียน และศึกษาความพึง พอใจของผู้เรียนต่อบทเรียน ผลการวิจัยพบว่า คะแนนความสามารถทางการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนหลัง เรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถติ ิท่ีระดับ .01 และนักเรียนมีความพึงพอใจต่อบทเรียนอยู่ในระดบั มากทสี่ ดุ

77 บทท่ี 5 สรปุ ผลการวจิ ัยและข้อเสนอแนะ การวิจัยเรื่องการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้งานปฏิบัติเป็นฐานร่วมกับกลวิธีเสริมต่อการเรียนรู้ มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย คือ 1) เพื่อพัฒนา ความสามารถในการพดู ภาษาองั กฤษของนักเรยี นชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ทไี่ ดร้ ับการจัดการเรยี นรู้โดยใช้งานปฏิบัติ เป็นฐานร่วมกับกลวธิ ีเสริมต่อการเรียนรู้ โดยให้นักเรียนมีคะแนนความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษเฉล่ียหลัง เรียนเพิ่มขึ้นกว่าก่อนเรียน และมีคะแนนเฉลี่ยไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 และมีจำนวนนักเรียนที่ผ่านเกณฑ์ไม่น้อย กว่าร้อยละ 70 ของจำนวนนกั เรียนทัง้ หมด 2) เพื่อพัฒนาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้งานปฏิบัติเป็นฐานร่วมกับกลวธิ ีเสริมต่อการเรียนรู้ โดยให้ นกั เรียนมผี ลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นในภาคเรียนท่ี 2 เพิ่มขน้ึ จากภาคเรยี นที่ 1 ไมน่ อ้ ยกว่ารอ้ ยละ 5 การวิจัยนี้เป็นการทดลองกึ่งทดลอง One Group Pretest - Posttest Design (Fitz-Gibbon, 1987 : 113) กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการทดลองครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนดงมันพิทยาคม อำเภอ น้ำพอง จังหวัดขอนแก่น สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชอนแก่น ที่ศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564 จำนวน 31 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน อ23101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 10 แผน 20 ชว่ั โมง ซงึ่ มคี วามเหมาะสมอยใู่ นระดบั มากท่ีสดุ (X =4.67) แบบทดสอบวดั ความสามารถใน การพูดภาษาอังกฤษ เป็นข้อสอบแบบอัตนัย 2 ตอน ตอนที่ 1 เป็นการสัมภาษณ์ จำนวน 10 ข้อ 25 คะแนน ตอนที่ 2 เป็นการแสดงบทบาทสมมติ 1 ข้อ 25 คะแนน ค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อสอบกับจุดประสงค์ (IOC) มคี ่าระหว่าง 0.67-1.00 คา่ ความเช่อื ม่นั ของแบบทดสอบเท่ากับ 0.81 แบบประเมนิ ความเชื่อม่ันในตนเอง เปน็ แบบประเมินแบบมาตราส่วนประมาณคา่ จำนวน 20 ขอ้ มีค่าความสอดคล้อง (IOC) อยรู่ ะหว่าง 0.67-1.00 ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.97 และแบบบันทึกพฤติกรรมการเรียนของนักเรียน เป็นแบบบันทึกพฤติกรรมของ นักเรียนในระหว่างทำกิจกรรมการเรียนรู้ ทำการสังเกตและบันทึกโดยครูผู้ช่วยวิจัย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่าเฉล่ีย (X ) สว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) และร้อยละ

78 1. สรุปผลการวิจัย จากการดำเนินการพฒั นาความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษและความเชื่อม่ันในตนเองของนักเรยี นที่ โดยใช้งานปฏบิ ตั ิเป็นฐานร่วมกบั กลวิธีเสรมิ ต่อการเรียนรู้ ผวู้ ิจัยสามารถสรปุ ผลการวิจยั ได้ดงั นี้ 1.1 ความสามารถในการพูดภาษาองั กฤษ นักเรียนที่ไดร้ บั การจดั การเรียนรู้โดยใชง้ านปฏิบัติเป็นฐาน ร่วมกับกลวิธีเสริมตอ่ การเรียนรู้ มีคะแนนเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 74.12 และมีจำนวนนักเรียนที่ผ่านเกณฑ์ 24 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 77.42 ผ่านเกณฑ์ท่ตี ง้ั ไว้ 1.2 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน นักเรียนมีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนในภาคเรยี นที่ 2 เพมิ่ ขึน้ จากภาคเรียน ท่ี 1 เพมิ่ ขึ้น คดิ เปน็ ร้อยละ 7.75 ผา่ นเกณฑท์ ี่ตัง้ ไว้ 2. ข้อเสนอแนะ 2.1 ขอ้ เสนอแนะในการนำผลการวิจยั ไปใช้ 2.1.1 การใช้การเสริมแรงในการชมเชยหรือให้รางวัล สามารถช่วยกระตุ้นให้นักเรียนใช้ภาษาใน การพดู ไดด้ ี ในการจดั การเรยี นรคู้ รูสามารถใช้การเสริมแรงเพื่อกระตุ้นใหน้ ักเรียนได้ใชภ้ าษาในการสื่อสารให้มาก ท่สี ดุ และบอ่ ยครัง้ ท่ีสดุ 2.1.2 การให้ผู้เรียนได้อภิปรายถึงจุดเด่นและจุดด้อยของแต่ละกจิ กรรมงานปฏิบัติ ทำให้ครูผู้สอน ได้ขอ้ มูลท่เี ปน็ การสะทอ้ นผลของงานปฏบิ ตั ิเพือ่ ใช้ในการออกแบบกิจกรรมงานปฏิบตั ทิ ี่เหมาะสมกับผู้เรยี นต่อไป 2.1.3 เพื่อให้ครูผู้สอนสามารถนำรูปแบบการสอนนี้ไปใช้ให้สอดคล้องกับธรรมชาติของวิชาที่ทำ การจัดการเรียนรู้ ครูผู้สอนจะต้องศึกษาและทำความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้งานปฏิบัติเป็นฐาน และกลวิธีเสริมตอ่ การเรียนรู้ใหช้ ัดเจนกอ่ นการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ 2.1.4 จากผลการศึกษาความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนเป็นรายองค์ประกอบ พบว่า นักเรียนมีคะแนนด้านความคล่องแคล่วและสำเนียงน้อยกว่าด้านอื่นๆ ดังนั้นในการจัดการเรียนรู้โดยใช้ งานปฏิบัติเป็นฐานร่วมกับกลวิธีเสริมต่อการเรยี นรู้ ครูผู้สอนควรเพิ่มกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีช่วยสง่ เสริมและพัฒนา ความคล่องแคลว่ และสำเนยี งในการพูดภาษาอังกฤษของนกั เรียนต่อไป 2.2 ข้อเสนอแนะสำหรบั การทำวิจัยครงั้ ต่อไป 2.2.1 จากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยทเ่ี กี่ยวข้อง และผลการวจิ ยั ที่พบว่า การจดั การเรยี นรโู้ ดย ใช้งานปฏิบัติเป็นฐานร่วมกับกลวิธีเสริมต่อการเรียนรู้ทำให้นักเรียนมีความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษและ

79 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนผ่านเกณฑ์ที่กำหนดไว้ จึงควรมีการศึกษาวิจัยโดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้ งานปฏิบัติเป็นฐานร่วมกับกลวิธเี สริมต่อการเรยี นรูก้ ับความ สามารถด้านอื่นๆ ในวิชาภาษาอังกฤษ เช่น การฟัง การอ่าน และการเขียน 2.2.2 จากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องท่ีพบว่า รูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้งาน ปฏิบัติเป็นฐานและกลวิธีเสริมต่อการเรียนรู้สามารถนำไปใช้กับกลุ่มสาระอื่นนอกเหนือจากกลุ่มสาระ ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ได้ จึงอาจมีการศึกษาวิจัยโดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้งานปฏิบัติ เป็นฐานร่วมกับกลวธิ เี สรมิ ต่อการเรียนรู้กับสาระการเรียนรูอ้ ่ืนๆ เช่น ภาษาไทย วทิ ยาศาสตร์ เป็นตน้

80 บรรณานุกรม กมลวรรณ โดมศรีฟ้า. (2551). การศกึ ษาการใช้กจิ กรรมการพูดเพอ่ื การส่ือสารในการพฒั นาความสามารถ ดา้ นการพดู ภาษาองั กฤษของนักเรียนชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1. วิทยานพิ นธ์ ปริญญาศลิ ปศาสตรมหา บณั ฑติ สาขาวชิ าการสอนภาษาองั กฤษในฐานะภาษาต่างประเทศ บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยศรนี คริ นทรวโิ รฒ. กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). พระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแหง่ ชาติ พ. ศ. 2542 และทแี่ กไ้ ขเพ่มิ เติม (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2545 พร้อมกฎกระทรวงทเี่ ก่ียวขอ้ งและพระราชบัญญัตกิ ารศึกษาภาค บงั คบั พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินคา้ และพัสดภุ ณั ฑ์ (ร.ส.พ.). _______. (2551). หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: ชุมนมุ สหกรณ์ การเกษตรแหง่ ประเทศไทย. กาญจนา ปราบพาล. (2530). การทดสอบและการประเมินผลการเรยี นการสอนภาษา. กรุงเทพฯ: สถาบัน ภาษาจฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย. กติ ดา ปรตั ถจริยา. (2540). การเปรยี บเทยี บความเข้าใจในการอา่ น ความสามารถในการเขยี นภาษาอังกฤษ เจตคติต่อการอา่ น และการเขยี นของนักเรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 ทีไ่ ด้รับการสอนอ่านโดยใช้ โครงสรา้ งiะดับยอด (TOP-LEVEL STRUCTURE) ประกอบกบั กลวิธีการเสรมิ ต่อการเรยี นรู้ (SCAFFOLDING) กบั การสอนอา่ นตามคู่มือครู. ปรญิ ญานิพนธก์ ารศึกษามหาบัณฑติ สาขาวชิ าการ มธั ยมศึกษา บัณฑติ วทิ ยาลยั มหาวิทยาลยั ศรีนครนิ ทรวิโรฒ. ขนษิ ฐกัญญา วินิจฉยั กุล, อรณุ ี วริ ยิ ะจิตรา, และวันเพญ็ ชัยกจิ มงคล (2545). รายงานการวจิ ยั โครงการศึกษา แนวทางการจัดการเรียนการสอนภาษาองั กฤษในหมวดวิชาศกึ ษาท่ัวไปในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. มหาวิทยาลัยศรีนครนิ ทรวิโรฒ. จติ ตรี แตงริด. (2550). ผลของการปรึกษาเชิงจติ วิทยาแบบกลมุ่ ตามแนวทฤษฎีของ Rogers ตอ่ ความ รบั ผดิ ชอบและความเช่ือมน่ั ในตนเองของนกั เรียนช้นั มัธยมศึกษาตอนปลาย. การค้นควา้ อิสระ ปรญิ ญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาจติ วิทยาการปรึกษา บัณฑติ วทิ ยาลัย มหาวิทยาลยั เชยี งใหม.่

81 ชนติ สริ ี ศภุ พมิ ล. (2544). การพฒั นาความสามารถทางการพูดภาษาอังกฤษและความเชื่อม่ันในตนเองของ นักศึกษาระดับอุดมศึกษาโดยใช้กจิ กรรมกระบวนการกลุม่ สมั พนั ธ.์ วทิ ยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตร มหาบัณฑติ สาขาวชิ าการสอนภาษาอังกฤษ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลยั เชียงใหม.่ ชินณเพญ็ รตั นวงศ.์ (2547). ผลของการสอนโดยใช้งานปฏิบตั เิ ปน็ ฐานในการเรียนรทู้ มี่ ีตอ่ ความสามารถใน การใช้ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารของนักเรยี นชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 6. วทิ ยานพิ นธ์ปริญญาครุศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวชิ าประถมศกึ ษา บัณฑิตวทิ ยาลัย จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . ไชยยันต์ โตเทศ. (2551). การใช้กิจกรรมมุ่งปฏิบัตงิ านทเ่ี น้นประสบการณเ์ พ่ือส่งเริมความสามารถในการพูด ภาษาองั กฤษและความเช่ือมั่นในตนเองของนกั ศึกษาวชิ าการโรงแรมและการท่องเที่ยว. วิทยานิพนธ์ ปรญิ ญาศึกษาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษ บัณฑิตวิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม.่ ณัฐนนั ท์ สุ่มมาตย์. (2552). การใช้กิจกรรมการสอนแบบมุ่งภาระงานในการพฒั นาการเรียนคำศัพท์ของ นักเรียนโรงเรียนเทศบาลวดั สระทอง. รายงานการศึกษาอิสระปริญญาศิลปะศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่ . ณฐั ดิ า กุลศร.ี (2553). การใหค้ ำปรึกษารายบุคคลตามทฤษฎีโรเจอร์ส เพื่อพฒั นาความเชอื่ ม่ันในตนเองของ นกั เรียน. วทิ ยานพิ นธ์ปริญญาศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าจิตวทิ ยาการศึกษาและการให้ คำปรกึ ษา บณั ฑติ วทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน่ . ดรณุ ี บริจาค. (2551). การใชแ้ นวการสอนภาษาแบบองค์รวมเพื่อสง่ เสริมความเขา้ ใจในการอา่ น ภาษาอังกฤษความสามารถในการเขียนสรุปความและความม่นั ใจในตนเองของนักศึกษา ระดบั ประกาศนียบัตรวิชาชพี ชัน้ สูง. วิทยานิพนธ์ปริญญาศกึ ษาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าการสอน ภาษาอังกฤษ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ทพิ าพร สุจารี (2553). การพัฒนารูปแบบการสอนอ่านภาษาองั กฤษเพ่ือความเข้าใจโดยการใช้ยุทธศาสตร์ การเสรมิ ต่อการเรียนรูป้ ระสบการณก์ ารอา่ นสำหรบั นกั ศึกษามหาวทิ ยาลยั ราชภฏั . วิทยานพิ นธ์ ศึกษาศาสตรดุษฎบี ัณฑติ สาขาวิชาหลกั สตู รและการสอน บณั ฑติ วิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ . นฤมล กลนั่ เจริญ. (2530). การเปรยี บเทยี บผลสัมฤทธ์ิวิชาภาษาองั กฤษของนกั เรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนขอนแก่นวิทยายนท่ีเรยี นโดยใชแ้ ละไม่ใชก้ จิ กรรมท่ีม่งุ งานปฏบิ ัติ. วิทยานิพนธ์ศลิ ปะศาสตร มหาบัณฑติ สาขาวิชาการสอนภาษาองั กฤษ บัณฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์.

82 นนทพัทธ์ เมืองยศ. (2551). การพฒั นาความสามารถทางการฟัง พดู ภาษาอังกฤษและความเชื่อม่นั ในตนเอง โดยการเรียนแบบเนน้ ภาระงานด้านการท่องเท่ียวของนักเรยี นระดบั ก้าวหนา้ . วิทยานิพนธ์ปรญิ ญา ศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าการสอนภาษาองั กฤษ บัณฑิตวทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่. นารถนรนิ ทร์ หลงเจรญิ . (2551). ผลการใหค้ ำปรกึ ษาแบบกลุ่มตามแนวทฤษฎีของโรเจอร์เพอื่ พฒั นาความ เช่ือมนั่ ในตนเองของนักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 3 โรงเรยี นเทศบาลวัดกลาง. วิทยานิพนธป์ รญิ ญา ศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาจิตวิทยาการศึกษาและการใหค้ ำปรึกษา บัณฑติ วิทยาลยั มหาวิทยาลยั ขอนแก่น. บญั ชา อยยู่ ง. (2551). การจัดการเรยี นรูแ้ บบเน้นงานปฏบิ ัติ เพ่อื พัฒนาความสามารถดา้ นการพดู ภาษาองั กฤษของนกั เรียนชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรียนบ้านหมากแข้ง จังหวดั อดุ รธานี. วิทยานพิ นธป์ ริญญาศิลปศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษในฐานะภาษาตา่ งประเทศ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒ. ปรชี า ศรีเรอื งฤทธ์ิ. (2536). การเปรียบเทียบความสามารถในการใช้ภาษาองั กฤษทักษะการฟัง การพดู เพ่ือการสื่อสารและแรงจูงใจในการเรียนวิชาภาษาองั กฤษของนกั เรยี นชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 3 ทไี่ ดร้ ับการสอนโดยใชส้ ถานการณจ์ ำลอง การสอนโดยใช้กลวธิ เี สริมต่อการเรยี นรู้ประกอบ สถานการณ์จำลอง และการสอนตามคู่มือครู. ปริญญานิพนธก์ ารศึกษามหาบณั ฑติ สาขาวชิ าการ มัธยมศกึ ษา บัณฑติ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยศรนี ครนิ ทรวิโรฒ. ปยิ ธิดา วงศ์ไข.่ (2547). การพัฒนาบทเรยี นภาษาอังกฤษทใี่ ชก้ จิ กรรมมงุ่ ปฏิบัติงานเพื่อสง่ เสริมความสามารถ ทางการพูดภาษาองั กฤษของผ้เู รียนผใู้ หญ่. วิทยานิพนธศ์ ึกษาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาการสอน ภาษาอังกฤษ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่. พชิ ญ์สินี ชมพูคำ และ ยุทธศิลป์ ชมู ณี. (2553). การสรา้ งและพฒั นาแบบทดสอบ. รายงานวชิ าการวิจัยช้นั สงู เพอ่ื พัฒนาการศึกษา. หลักสตู รศึกษาศาสตรดษุ ฏบี ณั ฑิต สาขาวิชาการวิจยั และพัฒนาการศกึ ษา บณั ฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม.่ เพญ็ นภา บำรุงสุข. (2553). การพฒั นาบทเรยี นภาษาองั กฤษทเ่ี นน้ เน้ือหาในทอ้ งถ่ินโดยบูรณาการมุ่ง ปฏิบัติงานกบั กลวิธเี สรมิ ต่อการเรียนร้เู พอื่ สง่ เสรมิ ความสามารถในการพูดภาษาองั กฤษของนักเรียน ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 4. วิทยานพิ นธป์ รญิ ญาครุศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าหลักสตู รและการสอน บัณฑิตวทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสกลนคร.

83 ฟาฏินา วงศเ์ ลขา. (2553, 7 ธนั วาคม). พัฒนาภาษาอังกฤษ เตรยี มเดก็ ไทยส่อู าเซียนและเวทีโลก. หนงั สอื พมิ พ์เดลินวิ ส์. ยืน ภู่วรวรรณ. (2544). การสร้างเครอื ขา่ ยการเรียนรู้ : หลากหลายวิธีการใช้ ICT เพ่ือการเรียนการสอน. สถาบนั เทคโนโลยีเพ่ือการศึกษาแหง่ ชาติ สาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาต.ิ 65-69. กรุงเทพฯ. วลัยกรณ์ คำมา. (2548). การสงั เคราะห์งานวิจัยเกย่ี วกับความเชอ่ื ม่ันในตนเองในประเทศ ไทย. วทิ ยานพิ นธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าการแนะแนวและใหค้ ำปรึกษา บัณฑิต วิทยาลัยมหาวิทยาลัยขอนแก่น. วราพร ทองจีน. (2550). การเปรียบเทียบความสามารถในการใชภ้ าษาอังกฤษ ความคิดสร้างสรรคท์ างภาษา และความเชือ่ มั่นในตนเองในการเรยี นภาษาองั กฤษของนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 3 ท่ไี ด้รบั การ สอนแบบมุ่งประสบการณภ์ าษา (รูปแบบที่ 2) กับการสอนแบบเดมิ . วิทยานิพนธป์ รญิ ญาการศึกษา มหาบณั ฑติ สาขาวชิ าการมธั ยมศกึ ษา บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ. วัลนา ศรนี อ้ ย. (2534). ผลของการใช้โปรแกรมฝกึ พฤติกรรมท่ีเหมาะสมในการแสดงออกทมี่ ีต่อพฤตกิ รรม ทเ่ี หมาะสมในการแสดงออก และความเชือ่ มนั่ ในตนเองของนักเรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 6. วิทยานพิ นธป์ รญิ ญามหาบัณฑิต สาขาวิชาประถมศึกษา บัณฑติ วิทยาลยั จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. เรณู ร่นื ยทุ ธ. (2554). การศกึ ษาผลการใชก้ ิจกรรมมุง่ งานปฏิบัตเิ พือ่ พฒั นาทักษะการฟงั -พดู ภาษาอังกฤษของ นกั เรียนช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 3 โรงเรยี นบางขนุ เทยี นศึกษา สำนักงานเขตบางขนุ เทียน กรงุ เทพมหานคร. วารสารศรนี ครินทรวิโรฒและพฒั นา สาขามนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์, 3(5), 91-101. ศุภธิดา ศรีวิชยั . (2549). การใช้โครงสร้างระดบั ยอดและกลวิธเี สริมต่อการเรยี นรูเ้ พื่อส่งเสรมิ ความเข้าใจใน การอ่านและความสามารถในการเขยี นภาษาองั กฤษ. วทิ ยานพิ นธ์ศกึ ษาศาสตร มหาบัณฑติ สาขาวิชา การสอนภาษาองั กฤษ บัณฑิตวทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่. ศภุ วรรณ นาคนลิ . (2552). การพัฒนาทกั ษะการฟัง พดู ภาษาอังกฤษของนกั เรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 6 โดยใชก้ จิ กรรมการละเลน่ พ้ืนบ้าน. วิทยานิพนธ์ปรญิ ญาศึกษาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาหลักสูตร และการสอน บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวิทยาลยั ขอนแก่น. สายชล เพียรผดงุ พร. (2553). การพฒั นาทกั ษะการพูดโดยใชส้ ถานการณจ์ ำลองของนักศึกษา ปรญิ ญาตรี 2 ปีต่อเน่อื ง สาขาวชิ าการจัดการทัว่ ไป เพ่ือสง่ เสริมความสามารถทางการพูด ภาษาองั กฤษ และ ความเชอื่ มัน่ ในความสามารถของตนเอง. วทิ ยานิพนธป์ ริญญาครศุ าสตร์มหาบณั ฑติ สาขาวิชา

84 ภาษาองั กฤษ บัณฑติ วทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ลำปาง. สายฝน เกิดสวัสดิ.์ (2555). การพัฒนาความเช่อื ม่นั ในตนเองของนกั เรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรยี นศรโี คตรบูรณโ์ ดยใช้กิจกรรมกลุ่มสมั พันธ.์ วทิ ยานพิ นธ์ศกึ ษาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าหลักสูตรและนวตั กรรมการจัดการเรยี นรู้ บัณฑิตวทิ ยาลัย มหาวิทยาลยั นครพนม. สายพณิ หวั เมอื งแกว้ . (2545). การพัฒนากจิ กรรมการพูดบันทกึ โต้ตอบเปน็ ภาษาอังกฤษเพือ่ ส่งเสริม ความสามารถดา้ นการฟงั -พูดของนักเรยี นช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5. วทิ ยานิพนธศ์ ึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาองั กฤษ บณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม.่ สุภัทรา อกั ษรานุเคราะห์. (2532). การสอนทกั ษะทางภาษาและวฒั นธรรม. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. สุภาพร พนั ธซุ์ ่อื . (2550). การใชก้ ลวธิ ีเสรมิ ต่อการเรียนรเู้ พอื่ สง่ เสริมความสามารถในการเขยี นภาษาอังกฤษ และลดความวิตกกังวลในการเขยี นของนกั เรียนระดับก้าวหนา้ . วทิ ยานิพนธ์ ปริญญาศึกษาศาสตร มหาบณั ฑิต สาขาวชิ าการสอนภาษาอังกฤษ บัณฑิตวทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม.่ สุเพ็ญพรรณ ลับโกษา. (2553). การพฒั นาทกั ษะการเขียนภาษาองั กฤษโดยใชก้ จิ กรรมการเรยี นรู้แบบเน้น งาน ปฏิบตั ิ ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 4. วทิ ยานิพนธป์ ริญญาการศึกษามหาบณั ฑิต สาขาวชิ าหลักสูตรและการ สอน บัณฑิตวิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม. อดิศา เบญจรตั นานนท์และคณะ. (2552). กิจกรรมและสื่อเพื่อพัฒนาทักษะการฟังและการพดู ภาษาองั กฤษ Activities and Materials for Developing English Listening and Speaking Skills. วารสารวชิ าการคณะมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร,์ 5(2). 65-74. อัจฉรา วงศ์โสธร. (2538). แนวทางการสร้างข้อสอบภาษา : ตัวกระตุ้นในการทดสอบทักษะการพูด. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพจ์ ุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั . Bygate, M. (1995). Speaking. Oxford University Press. ________. (1999). Quality of language and purpose of task: Patterns of learners' language on two oral communication tasks. Language Teaching Research, 3(3), 185-214.

85 Candlin, C.N. (1987). Towards Task-Based Language Learning. In C.N. Candlin and D.F. Murphy (Eds.), Language-Learning Tasks. Englewood cliffs, NJ: Prentice Hall International. 5-22. Carless. (2002). Implementing task-based learning with young learners [Electronic version]. ELT Journal, 56(4), 68-83. Cotteral. (2003). Scaffolding for second language writers: producing an academic essay. ELT Journal, 57(2), 158-166. Danli, L. (2008). Scaffolding and Its Impact on Learning Grammatical Forms in Tertiary Chinese EFL Classroom. Hong Kong Baptist University. Ellis, R. (2000). Task-based research and language pedagogy. Language Teaching Research 4: 193–220. ______. (2003). Task-based language learning and teaching. Oxford: Oxford University Press. ______. (2009). Task-based language teaching: sorting out the misunderstandings. International Journal of Applied Linguistics, 19(3), 221-246. Fotos, S.S. (1993). Consciousness Raising and Noticing through Focus on Form: Grammar Task Performance versus Formal Instruction. Applied Linguistics, 14(4) 385-407. Harmer, Jermy. (1983). The Practice of English Language Teaching. 6TH ed. New York: Longman. Heaton, J.B. (1990). Classroom Testing. New York : Longman. Huong. (2010). The effect of using language games on the speaking skill of the first year students at industrial technology college in Bac Giang City school year 2008-2009. A thesis of Graduate Studies and Applied Research. Laguna State Polytechnic University. Lee. J. (2000). Tasks and Communicating in Language Classrooms. Boston, USA: McGraw- Hill. Lipscomb, L., Swanson, J., and West, A. (2004). Scaffolding. Emerging perspectives on learning, teaching, and technology. Retrieved February 3, 2013, from http://www.coe.uga.edu/ epltt/scaffolding.htm

86 Long, M. H., and Crookes, G. (1992). Three approaches to task-based syllabus design. TESOL Quarterly, 26(1), 27-56. Nunan, D. (1989). Designing tasks for communicative language. Cambridge: CUP. ______. (2004). Task-based language teaching. Cambridge, UK: Cambridge University Press. Marin, R. (2004). Modeling, coaching, and scaffolding. Encyclopedia of educational technology Retrieved January 12, 2013, from http://coe.sdsu.edu/eet/articles/learnstrategy/ start.htm Murphy , M. (2003). Task-based learning: the interaction between tasks and learners. ELT Journal, 57(4), 352-360. Pajares, F. and Valiante, G. (1997). Influence of self-efficacy on elementary students’ writing. The Journal of Educational Research, 90(6), 353-359. Peter, S. (1995). A Framework for the Implementation of Task-based Instruction. Thames Valley University. Van Der Stuyf, R.R. (2002). Scaffolding as a teaching strategy. Retrieved January 19, 2013, from http://condor.admin.ccny.edu/~group4. Vygoysky, L.S. (1978). Mind in Society. Cambridge, MA: Harvard University Press. Willis, J. (1996). A framework for task-based learning. London: Longman. ______. (2007). Task-based Language Teaching : teachers’ solutions to problems encountered. Aston University. Retrieved January 12, 2013, from http://www.tesol- france.org/Documents/Colloque06/JaneWillisHandout.pdf. Lipscomb, L., Swanson, J., and West, A. (2004). Scaffolding. Emerging perspectives on learning, teaching, and technology. Retrieved February 11, 2013, from http://www.coe.uga.edu/epltt/scaffolding.htm. Huang, S.C. and Chang, S.F. (1996). Self-efficacy of English as a second language learner, Retrieved February 11, 2013, from http://www. eric.ed.gov/PDFS/ED396536.pdf.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook