Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รูปเล่มการประเมินกศน.ตำบล 5 ดีพรีเมี่ยม

รูปเล่มการประเมินกศน.ตำบล 5 ดีพรีเมี่ยม

Published by nong.nipawan2520, 2021-05-20 15:57:16

Description: รูปเล่มการประเมินกศน.ตำบล 5 ดีพรีเมี่ยม

Search

Read the Text Version

48 เอกสารประกอบการคัดเลือก กศน.ตาบลต้นแบบ 5 ดี พรเี มย่ี ม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564  มกี ารประเมินผลการนานวัตกรรมไปใช้ กศน.ตาบลคูเต่า สังกัดศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอหาดใหญ่ สานักงาน กศน.จงั หวดั สงขลา มีการประเมนิ ผลการนานวตั กรรมการจดั กระบวนการเรียนรู้ด้วยสื่อพกพาไป ใชใ้ นการจดั กระบวนการเรียนรู้ และมีการประเมนิ ผลการนานวตั กรรมไปใช้โดยครูผ้สู อน นักศึกษา และการ ตดิ ตามผลการดาเนินการ  มีแนวทางการพัฒนาหรือต่อยอด เทคโนโลยี หรือนวัตกรรมท่ีใช้ในการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับ บรบิ ทของขุมชน กระบวนทัศน์ของการจัดการศึกษาในปัจจุบันได้เปล่ียนแปลงไปอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างย่ิงใน ยุคแห่งความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและสารสนเทศ ท่ีทาให้กระบวนทัศน์หรือรูปแบบของการจัด การศึกษาในแต่ละแห่งได้มีการพัฒนาก้าวรุดหน้าไปอย่างรวดเร็ว ส่ิงที่เกิดขึ้นกับการจัดการศึกษาหากนับ ย้อนอดีตไปไม่ถึง 10 ปีน้ัน จะถูกกระแสคลื่นแห่งความเปล่ียนแปลงซัดหายและมีนวัตกรรมใหม่ ๆ เกิด ขึ้นอยู่ เสมอในสงั คมแห่งการศึกษาเรียนรู้ท่ีเป็นอยู่ในปัจจุบันเป็นสังคมแห่งโลกในยุคดิจิตอล (Digital Age) ภายใต้อิทธิพลของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ยุค 2.0 ท่ีมีพัฒนาการก้าวรุดหน้าอย่างรวดเร็ว กระบวนทัศน์ หรอื รปู แบบของการจดั การศึกษาเรยี นรภู้ ายใตอ้ ทิ ธิพลแหง่ เทคโนโลยแี ละ ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ท่ี เกิดข้ึนน้ัน ส่งผลต่อการคิดค้นและพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาหรือ การเรียนการสอนใหม่ ๆ อยู่ ตลอดเวลา มีการศึกษาวิจัยเพ่ือพัฒนาโมเดล (Model) ทางการเรียนรู้ในหลากหลายรูปแบบ ท้ังนี้เพื่อ กอ่ ใหเ้ กิดการพัฒนาและ สร้างประสิทธิภาพของการจัดการศึกษาให้เกดิ การเรียนรู้ นวัตกรรมทางการศึกษา ทีก่ าลงั มีบทบาทค่อนข้างมากต่อการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการศึกษาของสังคมโดยรวม เป็นการ จัดการ เรียนรู้ภายใต้สถานการณ์หรือบทบาทสมมติคล้ายกับว่าเป็นสถานการณ์จริงที่เกิดขึ้นกับการเรียน การสอน ในช้ันเรียนผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ผู้เรียนสามารถเรียนรู้และสร้างปฏิสัมพันธ์ทางการ เรยี นรู้ร่วมกนั ได้ตามสถานการณ์ท่ีเกิดขึ้น ซึ่งรูปแบบดังกล่าวนี้เรียกว่า “การเรียนแบบเสมือนจริง (Virtual Learning )” ภายในสถานที่ที่เรียกว่า “ห้องเรียนเสมือนจริง ( Virtual Classroom )”จากอิทธิพลของโลก แห่งยุคดิจิตอลในปัจจุบัน (สุรศักด์ิ ปาเฮ รองผู้อานวยการสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 2)

49 เอกสารประกอบการคัดเลือก กศน.ตาบลต้นแบบ 5 ดี พรเี มยี่ ม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ระบบ Zoom ระบบ Line ห้องประชุมเสมือนจริง ช่องทางการทา Video Conference เพ่ือการ ก้าวผา่ นวิกฤตการแพร่ระบาดเชือ้ ไวรัสโควิด ด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย โปรแกรม Zoom โปรแกรม Line มี ใหเ้ ลอื กหลากหลาย แต่สว่ นใหญ่ก็จะมีการจากัดความสามารถ โดยจดั ทาไดด้ งั นี้ 1. สรา้ งห้องประชมุ Video Conference ได้ทนั ที ไม่ต้องสมัคร ไมต่ อ้ งลงทะเบียน 2. สง่ link ให้เพ่ือนเข้ามาร่วมประชมุ ได้ ต้ังรหสั ผา่ นได้ 3. เขา้ รว่ มประชุมพร้อมกนั ได้ 15 คน 4. รองรับทง้ั บนคอมพิวเตอร์ บนมอื ถือ 5. เรว็ แรง คุณภาพระดับ HD 6. ดคู ลปิ ผ่าน YouTube พรอ้ มๆ กับเพื่อนๆ ได้ 7. แชรห์ น้าจอได้ 8. ใชช้ ่องทางการติดต่อผา่ นระบบ ZOOM บุญเก้ือ ควรหาเวช (2542) กล่าวว่า การจัดการเรียนการสอนแบบที่เสมือนจริงเป็นนวัตกรรม การศึกษาที่สถาบันการศึกษาต่างๆทั่วโลกให้ความสนใจ เป็นโฉมหน้าใหม่ของการศึกษาในโลกยุคไร้ พรมแดนที่อาจกล่าวได้ว่าผู้เรียนจะเรียนท่ีไหนก็ได้ จะเป็นที่บ้านหรือท่ีทางาน โดยไม่ต้องไปนั่งเรียนใน ห้องเรยี นจริงๆ ทาให้ประหยดั เวลา ค่าเดินทางและคา่ ใชจ้ ่ายอืน่ ๆ ได้ บุญเรือง เนียมหอม ( 2540 ) ให้คาจากัดความของห้องเรียนเสมือนว่าเป็นการเรียนการสอนท่ี เรียนผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมโยงกับคอมพิวเตอร์ของผู้เรียนเข้ ากับผู้ให้บริการเครือข่ายและผู้ ให้บริการเว็บอาจเป็นการเช่ือมโยงระยะใกล้ หรือเชื่อมโยงมาจากระยะไกลผ่านระบบการส่ือสารและ อินเทอร์เน็ตดว้ ยกระบวนการสอน โดยผสู้ อนจะออกแบบระบบการเรยี นการสอน กจิ กรรมการสอน และส่ือ ต่างๆไว้ และนาเสนอผา่ นเว็บไซตป์ ระจาวิชา และดาเนินการเรียนไปตามระบบที่ออกแบบไว้ ผู้เรียนจะต้อง ส่งงาน ทาการบ้านตามที่ได้รับมอบหมายตามกาหนดเวลา ในระบบเครือข่ายมีการจาลองสภาพแวดล้อม ตา่ งๆในลกั ษณะเปน็ หอ้ งเรียนเสมอื นคล้ายกบั ห้องเรียนที่ผู้สอนสามารถตดิ ตามพฤติกรรมการเรยี นได้ ลักษณะของห้องเรียนเสมือนจริง อุทัย ภิรมย์รื่น(2540) ได้จาแนกลักษณะของการเรียนใน ห้องเรียนแบบเสมือนจริงไว้ใน 2 ลักษณะดังนี้ ข้อ 1. การจัดการเรียนการสอนในห้องเรียนธรรมดา แต่มี การถา่ ยทอดสดภาพและเสียงเกยี่ วกับบทเรยี นโดยอาศยั ระบบโทรคมนาคมและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ไปยัง ผเู้ รียนท่อี ย่นู อกห้องเรียน นักศึกษาสามารถรับฟังและติดตามการสอนของผู้สอนได้จากเครื่องคอมพิวเตอร์ ของตัวเอง อีกท้ังยังสามารถโต้ตอบกับอาจารย์ผู้สอนหรือเพ่ือนนักศึกษาในช้ันเรียนได้ ห้องเรียนแบบนี้ยัง อาศัยส่ิงแวดล้อมทางกายภาพที่เป็นจริงซึ่งเรียกว่า Physical Education Environment ข้อ 2. การจัด ห้องเรียนจากโปรแกรมคอมพิวเตอร์สร้างภาพเสมือนจริงที่เรียกว่า Virtual Reality โดยใช้สื่อที่เป็น ตัวหนังสือ (Text-based) หรือภาพกราฟิก (Graphical-based) ส่ง บทเรียนไปยังผู้เรียนโดยผ่านระบบ โทรคมนาคมและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ห้องเรียนลักษณะน้ี เรียกว่า Virtual Education Environment ซ่ึงเปน็ Virtual Classroom ทแี่ ท้จริง

50 เอกสารประกอบการคัดเลือก กศน.ตาบลตน้ แบบ 5 ดี พรเี มยี่ ม ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 Al-Hawamdeh and Hart ( 2002 ) ได้กล่าวสรุปถึงจุดเด่นหรือคุณประโยชน์ (Advantages) เกยี่ วกบั ห้องเรยี นเสมอื นจริงไวใ้ นประเดน็ ท่ีน่าสนใจดังน้ี ก.จุดเดน่ (Advantages) หอ้ งเรียนเชงิ เสมอื นจะมจี ุดเด่นซง่ึ สรา้ งคุณประโยชน์ต่อการเรยี นร้ดู งั นี้ 1. ประสิทธภิ าพในการเขา้ ถึง (Accessibility) หอ้ งเรยี นเชิงเสมือนจะส่งผลต่อการเข้าถึงแหล่งการ เรยี นรู้ได้ทุกเวลาและทกุ สถานทีจ่ ากระบบการเชือ่ มโยงเครือข่ายอินเทอรเ์ น็ต 2. ช่วยอานวยความสะดวก (Convenience) เพื่อช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามอัตรา ความสามารถของแต่ละบุคคล เกิดการเรียนรู้ได้ทุกเวลาตามความสะดวกและความต้องการ ของผู้เรียนแต่ ละคนไดใ้ นรปู แบบของการใช้โปรแกรมแบบเสมือนดังกล่าว 3. เป็นสื่อหรือเน้ือหาในเชิงผสมผสาน (Multimedia Content) โดยใช้สื่อการเรียนรู้ที่ผลิตใน รปู แบบของส่ือประสมท่ีเอ้ือตอ่ การเรียนและการสอน 4. เกิดการเรียนรู้ท่ีสนุกสานมีชีวิตชีวา (Active Learning) มีการจัดกลุ่มทางการเรียนท่ี หลากหลายท่ีเรียนผ่านสภาพการณ์ของการใช้เทคโนโลยีรูปแบบต่างๆทั้งการอภิปราย การซักถาม การ แลกเปลยี่ นประสบการณ์ การสาธติ การประชมุ ทางไกล เปน็ ตน้ 5. ใช้แหล่งทรัพยากรทางการเรียนท่ีพร้อมและสมบูรณ์ (Abundant Resources) เป็นลักษณะ ของการเรียนและสร้างองคค์ วามร้จู ากแหล่งเรียนร้ทู ่ีกว้างและสมบูรณแ์ บบโดยสอ่ื เว็บไซตเ์ พื่อ การสืบค้น 6. ประหยัดงบประมาณ (Reduced Cost) ลักษณะทางการเรียนรู้ที่เอ้ือต่อการแสวงหาผู้รู้หรือ ผูเ้ ชี่ยวชาญทางการสอนไดจ้ ากหลากหลายแหล่ง โดยใช้วิธีการประชุม Videoconference ทาให้ผู้เรียนกับ ผู้สอนเกิดปฏิสัมพันธ์ทางการเรียนร่วมกันในกลุ่มใหญ่ ซ่ึงจะเป็นวิธีการช่วยลด งบประมาณการจัด การศึกษาไดค้ ่อนขา้ งมาก 7. เพ่ิมศักยภาพในการสอน (Efficient Manpower) จากการสอนกับกลุ่มผู้เรียนจานวนมาก โดย ใช้ผสู้ อนทที่ รงคุณค่าทมี่ ีจานวนน้อย สามารถกระทาได้โดยการใช้เทคโนโลยีการเรียนการ สอนแบบเสมือน จรงิ ในอัตราส่วน 1 : 40 ของแตล่ ะช้นั เรียน 8. ผลสนองกลับที่รวดเร็ว (Rapid Response) โดยใช้ส่ือเทคโนโลยีประเภทต่างๆช่วยในการ สง่ ผลสะท้อนกลบั ในการเรยี นรู้เชน่ e-Mail , Line และ Facebook ในการอภปิ ราย ผลการวิจัยทเ่ี ก่ียวข้อง นางนงลักษณ์ อันทะเดช (2555) เร่ือง การพัฒนาห้องเรียนเสมือนจริงวิชาการใช้คอมพิวเตอร์ใน งานธุรกิจตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ สาหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรีคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลอีสาน จากการศึกษาผลสัมฤทธิ์ห้องเรียนเสมือนจริงท่ีถ่ายทอดผ่านคอมพิวเตอร์แบบ พกพามีประสิทธิภาพอยู่ท่ี 85.57/84.57 และห้องเรียนเสมือนจริงที่ถ่ายทอดผ่านห้องถ่ายทอดของ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานมีประสิทธิภาพ 83.60/82.14 ซ่ึงคะแนนสูงกว่าเกณฑ์ที่กาหนด ผู้เรียนมผี ลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นหลังเรยี นสงู กวา่ ก่อนเรยี นอยา่ งมนี ยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลคะแนน หลังเรียนท้ัง 3 รูปแบบมีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 โดยห้องเรียนเสมือนจริงที่ ถ่ายทอดผา่ นคอมพิวเตอรแ์ บบพกพา (Notebook) มคี ะแนนเฉล่ียสูงสุด รองลงมาเป็นห้องเรียนเสมือนจริง

51 เอกสารประกอบการคัดเลอื ก กศน.ตาบลตน้ แบบ 5 ดี พรเี ม่ยี ม ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ทถี่ ่ายทอดผ่านห้องถา่ ยทอดของมหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลอีสานและต่าสุดเป็นห้องเรียนปกติ มีและ ผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อห้องเรียนเสมือนจริงในด้านเน้ือหา ด้านรูปแบบของห้องเรียนและด้านเทคนิคใน ประเดน็ ต่าง ๆ อยใู่ นระดับพึงพอใจมากทส่ี ุด ตัสนีม กอแตง, วิชัย นภาพงศ์, ผ่องศรี วาณิชย์ศุภวงศ์ (2558) เรื่อง ผลของการเรียนผ่าน ห้องเรียนเสมือนจริงท่ีสร้างตามทฤษฎีการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน สาหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี การวิจัยคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือพัฒนารูปแบบการสอน ผา่ นหอ้ งเรยี นเสมือนจริงทส่ี ร้างตามทฤษฎกี ารเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน ให้มีประสทิ ธิภาพไม่ต่ากว่าเกณฑ์ 80/80 เพ่ือศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนผ่านห้องเรียนเสมือนจริง ไม่ต่ากว่าร้อยละ 80 และ เพ่ือศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียนท่ีมีต่อการเรียนการสอน ผลการวิจัยพบว่า (1) ห้องเรียนเสมือนจริงที่ สร้างตามทฤษฎกี ารเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐานมีประสิทธิภาพท่ี 87.28/85.33 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 80/80 ที่กาหนดไว้ (2) ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรียนผ่านห้องเรียนเสมือนจริงได้ร้อยละ 86.77 ซึ่งสูงกว่า เกณฑ์ รอ้ ยละ80 ท่กี าหนดไว้ อย่างมนี ยั สาคัญทางสถติ ิทร่ี ะดบั .01 (3) ความพึงพอใจของนักศึกษาท่ีมีต่อ ห้องเรยี นเสมือนจรงิ มคี วามพงึ พอใจในระดบั มาก กศน.ตาบลคูเต่า สังกัดศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอหาดใหญ่ สานักงาน กศน.จังหวัดสงขลา มีแนวทางการพัฒนาหรือต่อยอด เทคโนโลยี หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการ เรียนรู้ท่ีสอดคล้องกับบริบทของขุมชน ด้วยเหตุผลของการใช้ห้องเรียนเสมือนที่สามารถนามาใช้ในการจัด กระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ และนักศึกษามีความพึงพอใจกว่าวิธีการอื่นๆ ด้วยเหตุผลตามจุดเด่น หรือคุณประโยชน์ อีกท้ังผลการวิจัยดังกล่าวข้างต้น กศน.ตาบลคูเต่า สังกัดศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอหาดใหญ่ จึงมีแนวทางการพัฒนา ต่อยอดนวัตกรรมท่ีใช้ในการเรียนรู้ด้วยส่ือ พกพาผ่านระบบ MOOC ในภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2563 เป็นต้นไป และดาเนินการต่อยอดการ จัดการเรียนการสอนผ่านระบบออนไลน์ LMS ของ กศน.อาเภอหาดใหญ่ และจะดาเนินการวิจัยเพื่อหา ประสิทธิภาพการใช้นวัตกรรมท่ีใช้ในการเรียนรู้ด้วยส่ือพกพา โดยเปรียบเทียบกับนวัตกรรมท่ีใช้ในการ เรียนรู้ดว้ ยสอื่ พกพา ในโอกาสตอ่ ไป

52 เอกสารประกอบการคัดเลอื ก กศน.ตาบลตน้ แบบ 5 ดี พรเี มย่ี ม ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ภำคผนวก

53 เอกสารประกอบการคัดเลือก กศน.ตาบลต้นแบบ 5 ดี พรเี มยี่ ม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ภาพประกอบการร่วมกิจกรรม ของบุคลากรและนกั ศกึ ษา กศน.ตาบลคเู ต่า อบรมการใช้สือ่ ไอซีทภี ายใต้โครงการสง่ เสรมิ การรู้หนงั สอื และสอ่ื พกพาสาหรบั เด็กนอกระบบ และ รับมอบทุนการศึกษาและสอื่ การจดั การเรียนรจู้ ากมหาวิทยาลัยทกั ษิณ โดยใชร้ ะบบออนไลนผ์ ่าน MOOC

54 เอกสารประกอบการคัดเลอื ก กศน.ตาบลต้นแบบ 5 ดี พรเี ม่ียม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 กศน.ตาบลคเู ตา่ ไดม้ ีการร่วมจัดทาหลกั สตู รออนไลน์ MOOC กับมหาวิทยาลัยทักษิณสงขลา หลักสูตร “ผลิตภัณฑ์จักสานเชือกกล้วย” เพ่ือส่งเสริมให้นักศึกษาได้เรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถ่ินผ่านหลักสูตร ออนไลน์ ซึ่งเม่ือนักศึกษาได้เรียนรู้และได้รับใบประกาศนียบัตร นักศึกษาสามารถนาไปเทียบ กพช.ของ สถานศกึ ษาได้

55 เอกสารประกอบการคดั เลือก กศน.ตาบลตน้ แบบ 5 ดี พรเี มย่ี ม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ภาพกิจกรรมการตรวจเย่ยี มกล่มุ อาชีพจักสานเชือกกล้วยของผวู้ ่าราชการจงั หวดั สงขลา กศน.ตาบลคเู ต่าได้ต้อนรับทา่ นผ้วู า่ ราชการจังหวัดสงขลา เยยี่ มกล่มุ จักสานเชือกกล้วย หลักสูตรวิชาชพี ชั้น เรียน จานวน 35 ชวั่ โมง โดยมี กศน.อาเภอหาดใหญ่ และภาคเี ครอื ข่ายร่วมสง่ เสริม สนับสนุน ด้านต้าง ๆ เพ่ือเพ่ิม ประสิทธิภาพในการดาเนินงานของกลุ่มให้มีความก้าวหนา้ ยง่ิ ขึน้

56 เอกสารประกอบการคัดเลอื ก กศน.ตาบลต้นแบบ 5 ดี พรเี มยี่ ม ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ภำคเี ครอื ข่ำย ร่วมสนบั สนุน สง่ เสรมิ กลมุ่ จกั สำนเชอื กกล้วย รว่ มประชมุ กบั ภาคเี ครือขา่ ยดา้ นการส่งเสริม แกป้ ญั หา และสนับสนุนอุปกรณ์ต่าง ๆ ท่ีทาให้กลุ่ม สามารถดาเนินการได้ และร่วมออกแบบผลิตภัณฑ์ให้มีความทันสมัย เข้ากับสมัย ท่ีสามารถใช้ได้ทั้งวัยรุ่น วัยทางาน และวัยต่าง ๆ ร่วมออกแบบผลิตภัณฑ์ของตกแต่งบ้าน ของใช้ภายในบ้าน ของฝาก และอ่ืนๆ และไดร้ บั การสนับสนุนตอู้ บเสน้ เชอื กกล้วย ตู้อบผลิตภณั ฑ์ โดยใช้ระบบโซลา่ เซล และระบบใชด้ ว้ ยไฟฟา้

57 เอกสารประกอบการคัดเลอื ก กศน.ตาบลต้นแบบ 5 ดี พรเี ม่ยี ม ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สงิ่ ที่ภมู ิใจจำกงำน ONIE EXPO2020 กำรเปดิ ตลำดใหมใ่ หก้ ับกลมุ่ จกั สำนเชือกกลว้ ย

58 เอกสารประกอบการคัดเลอื ก กศน.ตาบลต้นแบบ 5 ดี พรเี มีย่ ม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ประมวลภำพในงำน ONIE EXPO2020 มหกรรมวชิ ำกำร กศน.ระดับภำคใต้

59 เอกสารประกอบการคัดเลือก กศน.ตาบลตน้ แบบ 5 ดี พรเี มีย่ ม ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สงิ่ ท่ภี ูมิใจจำกงำน กำรเปดิ ตลำดใหมใ่ ห้กับกลมุ่ จกั สำนเชือกกลว้ ย การเปิดตลาดใหม่ ณ ห้างสรรพสินค้าเซน็ ทรลั หาดใหญ่

60 เอกสารประกอบการคดั เลือก กศน.ตาบลตน้ แบบ 5 ดี พรเี มีย่ ม ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สิ่งที่ภมู ิใจจำกงำน จัดทำหลกั สตู รเชอ่ื มโยงกบั อำชวี ศึกษำและอุดมศกึ ษำ จัดทาหลกั สตู รเช่อื มโยงกบั อาชีวศกึ ษาและอุดมศึกษา หลักสูตร “ผลติ ภัณฑจ์ กั สานเชอื กกล้วย”

61 เอกสารประกอบการคดั เลือก กศน.ตาบลตน้ แบบ 5 ดี พรเี มี่ยม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สง่ิ ทภี่ มู ิใจจำกงำน จดั ทำหลักสตู รออนไลน์ MOOC จัดทาหลักสตู รออนไลน์ MOOC หลักสตู ร “ผลติ ภณั ฑจ์ กั สานเชอื กกล้วย”

62 เอกสารประกอบการคดั เลอื ก กศน.ตาบลตน้ แบบ 5 ดี พรเี ม่ยี ม ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สง่ิ ทภ่ี มู ใิ จจำกงำน ตอ้ นรับทำ่ นกมล รอดคลำ้ ย ทปี่ รึกษำรฐั มนตรชี ่วยว่ำกำรกระทรวงศึกษำธิกำร

63 เอกสารประกอบการคดั เลือก กศน.ตาบลตน้ แบบ 5 ดี พรเี มี่ยม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ส่งิ ที่ภมู ิใจจำกงำน ต้อนรับนกั ศึกษำจำกมหำวิทยำลัยทักษณิ มำศึกษำดงู ำน

64 เอกสารประกอบการคัดเลอื ก กศน.ตาบลต้นแบบ 5 ดี พรเี ม่ยี ม ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ส่งิ ทภ่ี มู ใิ จจำกงำน ต้อนรบั ผวู้ ำ่ รำชกำรจงั หวัดสงขลำเยย่ี มกลมุ่ จกั สำนเชอื กกล้วย

65 เอกสารประกอบการคดั เลอื ก กศน.ตาบลต้นแบบ 5 ดี พรเี มยี่ ม ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ส่ิงทภ่ี ูมใิ จจำกงำน นำผลติ ภัณฑ์เขำ้ ประกวดสนิ คำ้ OTOP และผำ่ นกำรคดั เลือก

66 เอกสารประกอบการคัดเลือก กศน.ตาบลต้นแบบ 5 ดี พรเี มีย่ ม ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สิ่งทภ่ี มู ิใจจำกงำน ตวั อยำ่ งสนิ คำ้ ผลิตภณั ฑ์จักสำนจำกเชือกกลว้ ย

67 เอกสารประกอบการคดั เลอื ก กศน.ตาบลต้นแบบ 5 ดี พรเี ม่ียม ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ส่งิ ที่ภูมใิ จจำกงำน จัดกจิ กรรมงำนวชิ ำกำร “ฐำนผลติ ภัณฑ์จำกเชอื กกลว้ ย”

68 เอกสารประกอบการคัดเลือก กศน.ตาบลต้นแบบ 5 ดี พรเี ม่ยี ม ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ส่งิ ที่ภูมใิ จจำกงำน จำหน่ำยผลิตภณั ฑง์ ำน OTOP จังหวัดสงขลำ

69 เอกสารประกอบการคดั เลอื ก กศน.ตาบลตน้ แบบ 5 ดี พรเี ม่ยี ม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สิ่งท่ีภมู ใิ จจำกงำน กำรรวมกล่มุ จักสำนเชอื กกล้วย โดย กศน.ตำบลคูเตำ่ ได้มีการรวมกลุ่มเพื่อเรียนรู้และรวมตัวกันจักสานเชือกกล้วย โดยมีการจัดการเรียนการสอนจาก ภูมปิ ญั ญาท้องถิ่นเป็นวิทยากร โดยใช้หลกั สูตรซึ่งทาง กศน.อาเภอหาดใหญ่ได้จัดทาขนึ้ ร่วมกับภูมิปัญญาที่มี ความเชยี่ วชาญดา้ นการจักสานเชอื กกลว้ ยในท้องถิ่น

70 เอกสารประกอบการคัดเลือก กศน.ตาบลตน้ แบบ 5 ดี พรเี มี่ยม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สงิ่ ท่ีภูมใิ จจำกงำน ผลิตภัณฑ์เชอื กกล้วยภำยใตแ้ บรนด์ ONIE

71 เอกสารประกอบการคัดเลือก กศน.ตาบลต้นแบบ 5 ดี พรเี ม่ยี ม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ส่ิงทภ่ี ูมิใจของคนในชมุ ชน ภูมิปัญญำทอ้ งถ่นิ ด้ำนกำรจักสำนเชือกกล้วย การเลอื กตน้ กล้วยตานีท่ีสมบูรณ์มาจกั สานใหเ้ กิดเป็นผลติ ภัณฑ์เชอื กกลว้ ย 1. การตดั ใชต้ ้นกล้วยทตี่ ัดเครอื แล้ว

72 เอกสารประกอบการคัดเลอื ก กศน.ตาบลต้นแบบ 5 ดี พรเี ม่ยี ม ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 2. การลอกเอากาบของลาต้นขา้ งนอก 3. การกรีด 4. การตาก

73 เอกสารประกอบการคดั เลือก กศน.ตาบลตน้ แบบ 5 ดี พรเี ม่ยี ม ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 5. เชอื กกลว้ ยทีต่ ากแห้ง 6. การอบเชือกโดยใช้ภูมิปญั ญาชาวบา้ น 7. เชอื กกล้วยที่เกดิ ข้ึนในเฉพาะฤดฝู น (เชือกจะเป็นสดี า)

74 เอกสารประกอบการคดั เลือก กศน.ตาบลต้นแบบ 5 ดี พรเี มยี่ ม ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 6. การรดี 9. การทาแลคเกอร์ (ใชแ้ ลคเกอร์ เบอร์ 6)

75 เอกสารประกอบการคดั เลอื ก กศน.ตาบลต้นแบบ 5 ดี พรเี ม่ียม ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ผลกำรตอบรบั จำกลกู คำ้ จำกกำรส่ังซื้อและกำรใช้ผลิตภณั ฑจ์ ักสำนเชอื กกลว้ ย

76 เอกสารประกอบการคัดเลอื ก กศน.ตาบลต้นแบบ 5 ดี พรเี มี่ยม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 กำรอบรมเพม่ิ เตมิ กำรอบรมเพ่ิมเติมเพ่ือต่อยอดควำมรู้ ครู กศน.ตาบล ได้เขา้ รว่ มการจดั ทาหลักสูตรเชื่อมโยงกับอาชีวและอุดมศึกษา เก่ียวกับการจักสาน เชือกกล้วย พร้อมท้ังเข้ารับการอบรมเกี่ยวกับหลักสูตรการค้าออนไลน์ เพ่ือนาความรู้มาถ่ายทอดให้กับ สมาชิกในกลุ่มจกั สานเชอื กกล้วย มกี ารอบรมการจัดทาวดิ ีโอเพื่อนาเสนอสินค้าอย่างสัน้

คณะผจู้ ัดทำ คณะทีป่ รกึ ษำ 1. นายไพโรจน์ คเชนทองสุวรรณ์ ผูอ้ านวยการ กศน.อาเภอหาดใหญ่ 2. นางธีรนุช รจุ เิ รข ครชู านาญการพิเศษ 3. นางประไพ ณ รังษี ครชู านาญการพิเศษ 4. นางชุติมา พูลเกิด ครูชานาญการพิเศษ 5. นางสพุ ทิ ย์ ลอยแก้ว บรรณารกั ษ์ชานาญการพิเศษ 6. นางสาวสาลีนา สูนสละ ครผู ชู้ ว่ ย คณะผู้เรยี บเรียงและจัดทำเอกสำร ครู กศน.ตาบล นางสาวสรุ ภา ชินสกุลเจรญิ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook