ประมวลองค์ความรู้ พระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก กระทรวงวัฒนธรรม จัดพิมพ์ เนื่องในมหามงคลการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พุทธศักราช ๒๕๖๒ 1
คำ� นำ� ตามโบราณราชประเพณี การเปน็ พระมหากษตั รยิ โ์ ดยสมบรู ณจ์ ะทรงรบั การบรมราชาภเิ ษก เฉลมิ พระปรมาภิไธยเปน็ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัว อนั เป็นพระราชพธิ สี �ำคญั ย่ิง แสดงใหเ้ ห็นถึง วัฒนธรรมอันงดงามและเป็นการเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ให้ทรงพระเกียรติยศสูงสุดสมกับที่ ทรงเป็นพระม่ิงขวญั ของปวงชนชาวไทยตลอดกาล สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า โปรดกระหม่อมให้ตั้งการพระราชพิธีบรมราชาภเิ ษก ระหวา่ งวันท่ี ๔ - ๖ พฤษภาคม ๒๕๖๒ เพอ่ื ความเปน็ สวสั ดมิ งคลแกบ่ า้ นเมอื ง ซงึ่ เปน็ ทป่ี ตี ยิ นิ ดแี กป่ ระชาชนทว่ั หลา้ ถอื เปน็ เหตกุ ารณส์ ำ� คญั และ ศกั ด์สิ ทิ ธอ์ิ ย่างยง่ิ ทีจ่ ะตอ้ งจารึกไวใ้ นประวัตศิ าสตรข์ องชาติ เน่ืองในมหามงคลการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พุทธศักราช ๒๕๖๒ ซ่ึงมีรายละเอียด ขั้นตอน สถานท่ีในการประกอบพระราชพิธี ทั้งพระราชพิธีเบื้องต้น พระราชพิธีเบื้องกลาง และ พระราชพิธีเบ้ืองปลาย รวมถึงจะปรากฏค�ำศัพท์ส�ำคัญต่างๆ เป็นการเฉพาะที่เก่ียวเน่ืองกับการ พระราชพธิ ีบรมราชาภิเษก ดงั นั้น เพอื่ เสรมิ สรา้ งความรู้ ความเขา้ ใจท่ีถูกตอ้ ง เก่ียวกบั การพระราชพิธบี รมราชาภเิ ษก ใหก้ ว้างขวางยงิ่ ข้นึ คณะกรรมการฝา่ ยจัดพธิ กี ารงานพระราชพิธีบรมราชาภิเษก จึงไดม้ อบหมายให้ กระทรวงวัฒนธรรม จัดพิมพ์หนังสือ ประมวลองค์ความรู้ พระราชพิธีบรมราชาภิเษก เผยแพร่แก่ ประชาชน สื่อมวลชน ตลอดจนผ้สู นใจท่ัวไป จงึ หวังว่าหนังสอื เลม่ นจ้ี ะอ�ำนวยประโยชน์ในการศกึ ษา เรยี นรโู้ บราณราชประเพณอี นั ทรงคุณคา่ ของชาติ และร่วมกนั เชดิ ชสู ถาบันพระมหากษตั ริยใ์ หม้ น่ั คง สถติ สถาพรตลอดกาลนาน (นายวิษณุ เครืองาม) รองนายกรฐั มนตรี ประธานกรรมการฝา่ ยจัดพธิ กี ารงานพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก
สารบญั ประมวลองค์ความรู้ พระราชพธิ บี รมราชาภิเษก คำ� น�ำ ๓ ความหมายของพระราชพิธบี รมราชาภเิ ษก ๘ พระราชพิธบี รมราชาภเิ ษกในสมยั ตา่ ง ๆ ๑๑ พระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษกในสมยั รัตนโกสินทร์ ๑๔ พระราชพิธบี รมราชาภเิ ษก พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ วั รัชกาลท่ี ๙ ๒๔ กำ� หนดการ พระราชพิธีบรมราชาภเิ ษก ๒๕ ๑. พธิ ีท�ำนำ้� อภเิ ษก ๒๘ ๒. การจารึกพระสพุ รรณบัฏ ดวงพระบรมราชสมภพ และพระราชลญั จกร ๒๘ ๓. ถวายราชสกั การะสมเด็จพระบรมราชบุพการี ๓๑ ๔. การพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ๓๓ ๕. บรมราชาภิเษก ๓๔ ๖. เฉลิมพระราชมณเฑยี ร ๕๔ พระราชพิธบี รมราชาภิเษก สมเดจ็ พระเจ้าอย่หู ัวมหาวชริ าลงกรณ บดนิ ทรเทพยวรางกูร ๖๐ ประกาศสำ� นกั พระราชวงั ๖๑ ๑. พธิ ที �ำนำ�้ อภเิ ษก ๖๒ ๒. การจารกึ พระสพุ รรณบฏั ดวงพระบรมราชสมภพ และพระราชลญั จกร ๖๓ ๓. ถวายราชสกั การะสมเดจ็ พระบรมราชบุพการี ๖๓ ๔. การพระราชพิธบี รมราชาภิเษก ๖๓ ๕. บรมราชาภเิ ษก และเฉลิมพระราชมณเฑยี ร ๖๔ ๖. พระราชพธิ ีเฉลิมพระปรมาภไิ ธย พระนามาภิไธย สถาปนาพระฐานันดรศักด์ิ พระบรมวงศ์ และเสดจ็ พระราชดำ� เนนิ เลยี บพระนครโดยขบวนพยหุ ยาตราทางสถลมารค ๖๔ ๗. เสดจ็ ออกทรงรับการถวายพระพรชัยมงคล ๖๕ ๘. เสดจ็ พระราชดำ� เนินเลยี บพระนครโดยขบวนพยุหยาตราทางชลมารค ๖๕
สถานท่สี �ำคัญในการพระราชพิธีบรมราชาภเิ ษก ๖๖ วดั พระศรรี ตั นศาสดาราม ๖๖ ปราสาทพระเทพบิดร ๖๗ หมพู่ ระมหามณเฑยี ร ๖๘ พระทนี่ งั่ จกั รพรรดพิ มิ าน ๗๐ พระท่ีนัง่ ไพศาลทักษณิ ๗๑ หอพระธาตมุ ณเฑียร ๗๒ หอพระสุลาลัยพมิ าน ๗๒ พระทีน่ ัง่ อมรินทรวนิ จิ ฉัยมไหสูรยพิมาน ๗๓ หอศาสตราคม ๗๔ พระทน่ี งั่ จกั รีมหาปราสาท ๗๖ พระท่นี ัง่ บรมราชสถติ ยมโหฬาร ๗๗ พระที่น่งั ดสุ ิตมหาปราสาท ๗๘ พระที่นง่ั อาภรณพ์ โิ มกขป์ ราสาท ๗๙ พระทีน่ ง่ั สทุ ไธสวรรยป์ ราสาท ๘๐ พระบรมราชานุสรณ์ รชั กาลท่ี ๕ ๘๑ ปฐมบรมราชานสุ รณ ์ ๘๒ วัดบวรนิเวศวหิ าร ๘๓ วัดราชบพิธสถติ มหาสีมาราม ๘๔ วัดพระเชตุพนวิมลมงั คลาราม ๘๕ วัดสทุ ัศนเทพวราราม ๘๖ วัดอรุณราชวราราม ๘๗
รัชกาลที่ ๙ สถานทปี่ ระกอบพธิ ที ำ� นำ้� อภิเษก ๘๘ พุทธเจดยี สถานส�ำคัญ ในภูมิภาค ๑๘ แหง่ ๙๐ รัชกาลท่ี ๑๐ แหล่งนำ้� ศักดิ์สทิ ธิ์ ๑๐๘ แหง่ และสถานทป่ี ระกอบพธิ ีทำ� น้ำ� อภิเษก ๑๐๖ ๗๖ จงั หวดั และกรุงเทพมหานคร ๑๐๖ อภิธานศพั ท ์ ๑๐๗ เกย ๑๐๗ ครอบพระกริ่ง ๑๐๘ ครอบยนั ตรนพคุณ ๑๐๙ เครอ่ื งบรมขัตติยราชวราภรณ์ ๑๑๐ เคร่ืองบรมขตั ตยิ ราชภูษติ าภรณ ์ ๑๑๑ เครือ่ งราชกกุธภณั ฑ์ ๑๑๒ พระมหาเศวตฉตั ร หรือพระนพปฎลมหาเศวตฉัตร ๑๑๓ พระมหาพิชัยมงกฎุ ๑๑๓ พระแสงขรรคช์ ัยศรี ๑๑๔ ธารพระกร ๑๑๔ วาลวิชน ี ๑๑๕ ฉลองพระบาทเชงิ งอน ๑๑๖ เครอ่ื งราชปู โภค ๑๑๗ เทยี นเท่าพระองค์ ๑๑๗ เทียนมหามงคล ๑๑๗ เทียนชยั ๑๑๘ เบญจสทุ ธคงคา ๑๑๘ ปัญจมหานที ๑๑๙ ปืนมหาฤกษ์ มหาชัย มหาจักร มหาปราบยุค ๑๑๙ พระเตา้ นพเคราะห์ ๑๒๐ พระเต้าเบญจคพั ย ์ ๑๒๐ พระแทน่ มณฑล พระแท่นราชบรรจถรณ์
พระบรมวงศานวุ งศ ์ ๑๒๑ พระบรมวงศ ์ ๑๒๑ พระอนุวงศ์ ๑๒๑ พระเบญจา ๑๒๑ พระราชบลั ลังก์ และพระราชอาสน ์ ๑๒๒ พระท่ีนัง่ พุดตานกาญจนสงิ หาสน ์ ๑๒๒ พระทน่ี ัง่ ภัทรบฐิ ๑๒๔ พระท่นี ง่ั อัฐทิศอทุ ุมพรราชอาสน ์ ๑๒๕ พระราชพาหนะ ๑๒๖ พระราชยานกง ๑๒๖ พระที่นัง่ ราเชนทรยาน ๑๒๗ พระราชพธิ ีเฉลมิ พระปรมาภิไธย ๑๒๘ พระราชลญั จกร ๑๒๘ พระสุพรรณบฏั ๑๒๙ พระแสงราชศัสตราวธุ ๑๓๐ มณฑปพระกระยาสนาน ๑๓๒ ไมช้ ยั พฤกษ์ ๑๓๓ ไม้อทุ มุ พร ๑๓๓ เศวตพัสตร์ ๑๓๔ สัปตปฎลเศวตฉัตร ๑๓๕ สระ ๔ สระ ๑๓๖ สรงพระมรุ ธาภเิ ษก ๑๓๗ สหัสธารา ๑๓๗ สวดภาณวาร ๑๓๘ เสดจ็ พระราชด�ำเนินเลียบพระนคร ๑๓๙ เสดจ็ ออกมหาสมาคม ๑๔๐ สีหบญั ชร ๑๔๒ หลัง่ ทักษโิ ณทก ๑๔๓
ความหมายของ พระราชพิธบี รมราชาภิเษก พระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก เปน็ โบราณราชประเพณที สี่ บื ทอดมายาวนาน เพอื่ การเสดจ็ ขน้ึ ครองราชยโ์ ดยสมบรู ณข์ องพระมหากษัตรยิ ไ์ ทย ดงั ความในจดหมายเหตุพระราชพิธบี รมราชาภิเษก พระราชนิพนธ์ สมเดจ็ พระรามาธบิ ดี ศรสี ินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจา้ อย่หู ัว วา่ “...ตามราชประเพณีในสยามประเทศนี้ ถอื เปนต�ำรามาแต่โบราณว่า พระมหากระษัตริย์ซึ่งเสด็จผ่านพิภพ ต้องท�ำพระราชพิธีบรมราชาภิเษกก่อน จงึ จะเปนพระราชาธบิ ดโี ดยสมบรู ณ์ ถา้ ยงั มไิ ดท้ ำ� พระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษกอยู่ ตราบใด ถงึ จะไดท้ รงรบั รชั ทายาทเมอื่ เสดจ็ เขา้ ไปประทบั อยใู่ นพระราชวงั หลวง กเ็ สด็จอยเู่ พยี ง ณ ท่พี ักแหง่ หนงึ่ พระนามท่ีขานก็คงใช้พระนามเดมิ เปนแต่ เพม่ิ คำ� วา่ ‘ซงึ่ ทรงสำ� เรจ็ ราชการแผน่ ดนิ ’ เขา้ ขา้ งทา้ ยพระนาม แลคำ� รบั สง่ั กย็ งั ไมใ่ ชพ้ ระราชโองการ จนกวา่ จะไดส้ รงมรุ ธาภเิ ษก ทรงรบั พระสพุ รรณบฏั จารกึ พระบรมราชนามาภธิ ยั กบั ทงั้ เครอื่ งราชกกธุ ภณั ฑจ์ ากพระมหาราชครพู ราหมณ์ ผ้ทู �ำพิธรี าชาภิเษกแล้ว จึงเสดจ็ ขนึ้ เฉลมิ พระราชมณเฑียร ครอบครองสิรริ าช สมบตั สิ มบูรณด์ ้วยพระเกยี รติยศแห่งพระราชามหากระษตั รยิ ์แตน่ ั้นไป...” 8
ตามต�ำราปัญจราชาภเิ ษก กล่าวว่า การราชาภเิ ษก แบ่งออกเปน็ ๕ ลกั ษณะ คอื ๑. มงคลอินทราภิเษก คือ ผู้ที่ปกครองแผ่นดินได้เข้าพิธีราชาภิเษกมีพระอินทร์น�ำเคร่ือง ปัญจกกุธภัณฑ์มาถวาย โดยมีพระบุษยพระพิชัยราชรถกับฉัตรทิพย์ได้บังเกิดขึ้น การมีสิ่งมงคล ๓ ประการนี้ เรียกวา่ อนิ ทราภเิ ษก ๒. มงคลโภคาภิเษก คือ ผู้ที่จะเข้าพิธีราชาภิเษก มีเชื้อสายเป็นตระกูลพราหมณ์ ที่เป็น มหาเศรษฐี มสี มบัตบิ รวิ ารมาก รูจ้ ักราชธรรม ตราชธู รรม กับทศกศุ ล และรจู้ กั แบง่ ปันดับรอนทกุ ข์ ของราษฎร เรียกว่า โภคาภิเษก ๓. มงคลปราบดาภเิ ษก คอื ผทู้ เี่ ขา้ พธิ รี าชาภเิ ษก มเี ชอ้ื สายตระกลู กษตั รยิ ์ มอี ำ� นาจกลา้ หาญ ในการสงคราม ไดร้ าชฐานบา้ นเมืองและราชสมบัติ มชี ยั แกศ่ ตั รู เรียกวา่ ปราบดาภิเษก ๔. มงคลราชาภเิ ษก คอื ผทู้ จี่ ะเขา้ พธิ รี าชาภเิ ษกขนึ้ เปน็ กษตั รยิ ์ ดว้ ยการไดร้ บั มอบราชสมบตั ิ จากพระราชบดิ าใหส้ บื พระวงศา เรียกวา่ ราชาภิเษก ๕. มงคลอภุ เิ ษก คอื ผทู้ เ่ี ปน็ เชอ้ื สายกษตั รยิ ์ มพี ระราชบดิ าและพระราชมารดามชี าตติ ระกลู เสมอกนั ได้อภเิ ษกสมรสกบั ผู้มีเช้ือสายกษัตริย์ แม้วา่ จะเปน็ กษัตรยิ ์จากแดนไกล แตม่ ลี ักษณะสขุ ุม ขตั ติยชาติจัดเปน็ สวัสดชิ าติ เรยี กว่า อภุ ิเษก 9
ศิลาจารกึ วัดป่ามะมว่ งภาษาไทย 10
พระราชพธิ ีบรมราชาภิเษกในสมยั ตา่ ง ๆ พระราชพธิ ีบรมราชาภิเษก เปน็ ราชประเพณคี สู่ ังคมไทยมายาวนานโดยไดร้ ับอทิ ธิพลจาก คตอิ นิ เดยี ลกั ษณะการพระราชพธิ แี ตเ่ ดมิ มแี บบแผนรายละเอยี ดเปน็ อยา่ งไรไมป่ รากฏหลกั ฐานแนช่ ดั แมแ้ ตก่ ารเรยี กชอ่ื พธิ กี แ็ ตกตา่ งกนั ออกไปในแตล่ ะสมยั เชน่ ในสมยั อยธุ ยา สมยั รตั นโกสนิ ทรต์ อนตน้ เรียกว่า “พระราชพิธีราชาภิเษก” หรือ “พิธีราชาภิเษก” ในปัจจุบันเรียกว่า “พระราชพิธี บรมราชาภิเษก” สมัยสุโขทัย ปรากฏหลักฐานในศิลาจารึกวัดศรีชุม ซ่งึ เปน็ เหตกุ ารณท์ ีเ่ กิดข้ึนเม่ือราวพุทธศตวรรษท่ี ๑๘ กลา่ วถงึ การอภเิ ษกของพอ่ ขุนบางกลางหาว ไว้ว่า “...พอ่ ขนุ ผาเมอื งจงึ อภเิ ษกพอ่ ขนุ บางกลางหาว ให้เมืองสุโขทัย ให้ท้ังช่ือตนแก่พระสหายเรียกชื่อ ศรอี นิ ทรบดนิ ทราทติ ย.์ ..” ส่วนในศิลาจารึกวัดป่ามะม่วงภาษาไทย และ ภาษาเขมรกล่าวถึงเครื่องราชกกุธภัณฑ์ในพิธีบรมราชาภิเษก พระมหาธรรมราชาที่ ๑ (ลิไทย) ว่ามี มกุฎ พระขรรค์ชัยศรี และเศวตฉตั ร ศิลาจารกึ นครชุม กลา่ วถงึ การอภเิ ษก พระยาเลอไทย กษัตรยิ อ์ กี พระองคห์ นง่ึ ของอาณาจกั รสุโขทยั 11
หนงั สอื สมดุ ไทย หมวดพระราชพธิ ี เลขท่ี ๔๖๖ มเี น้ือหาว่าดว้ ยตำ�ราราชาภิเษกครัง้ กรุงศรีอยุธยา
สมัยอยุธยา ปรากฏหลักฐานเกี่ยวกับพระราชพิธีบรมราชาภิเษกในค�ำให้การชาวกรุงเก่า ขอ้ ความตอนหน่ึงกล่าวถงึ ขน้ั ตอนของพระราชพิธนี ้วี ่า “...พระเจ้ากรุงศรอี ยุธยาจึงโปรดให้เอาไมม้ ะเด่อื นั้น มาท�ำตั่งส�ำหรับ ประทับสรงพระกระยาสนานในการมงคล เชน่ พระราชพิธีราชาภเิ ษก เปน็ ตน้ พระองคย์ อ่ มประทบั เหนอื พระทนี่ งั่ ตง่ั ไมม้ ะเดอ่ื สรงพระกระยาสนานกอ่ นแลว้ (จึงเสด็จไปประทับพระที่นั่งภัทรบิฐ) มุขอ�ำมาตย์ถวายเคร่ืองเบญจราช กกุธภณั ฑ์ คอื มหามงกฎุ ๑ พระแสงขรรค์ ๑ พัดวาลวชิ นี ๑ ธารพระกร ๑ ฉลองพระบาทคู่ ๑...” สมัยธนบุรี ไม่ปรากฏหลกั ฐานการประกอบการพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก สันนษิ ฐานว่า ท�ำตามแบบอย่างเมื่อครั้งสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ แห่งกรุงศรีอยุธยา แต่ท�ำอย่างสังเขป เพราะบ้านเมอื งยงั อยใู่ นภาวะสงคราม สมัยรตั นโกสินทร์ พุทธศักราช ๒๓๒๖ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช โปรดให้ช�ำระต�ำราว่าด้วยการราชาภิเษกในแผ่นดินสมเด็จพระเจ้าอุทุมพร แล้วเรียบเรียงข้ึนไว้ เป็นต�ำรา เรียกว่า “ต�ำราราชาภิเษกคร้ังกรุงศรีอยุธยาส�ำหรับหอหลวง” เป็นต�ำราเกี่ยวกับการ ราชาภิเษกท่ีเก่าแก่ท่ีสุดเท่าที่พบหลักฐานในประเทศไทยและโปรดให้สร้างเคร่ืองประกอบพระราช พธิ บี รมราชาภเิ ษก แบบแผนการราชาภเิ ษกดังกล่าวได้ยึดถือปฏิบัตเิ ป็นแบบอยา่ งสบื มา 13
พระราชพธิ ีบรมราชาภเิ ษกในสมัยรตั นโกสินทร์ ตั้งแตร่ ัชกาลที่ ๑ ถึงรชั กาลท่ี ๙ มกี ารประกอบการพระราชพธิ ีบรมราชาภิเษกมาแลว้ ๑๑ ครงั้ 14
พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟ้าจฬุ าโลกมหาราช ๒ ครัง้ คร้ังแรก พุทธศักราช ๒๓๒๕ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ได้ประดิษฐานพระบรมราชจักรีวงศ์ และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ประกอบการพระราชพิธี ปราบดาภเิ ษกแต่โดยสงั เขป ครัง้ ที่ ๒ พุทธศกั ราช ๒๓๒๘ เมื่อพระราชมณเฑยี รสถานทส่ี รา้ งขน้ึ ใหม่แลว้ เสรจ็ จึงทรง พระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ให้ตั้งการพระราชพิธีบรมราชาภิเษกอกี คร้ังหน่ึงให้สมบรู ณต์ ามแบบแผนอนั เคยมีมาแต่เกา่ ก่อน 15
พระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลศิ หลา้ นภาลยั ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ประกอบการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก เมื่อวันที่ ๑๗ กนั ยายน พุทธศักราช ๒๓๕๒ 16
พระบาทสมเด็จพระนง่ั เกล้าเจา้ อย่หู ัว ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหป้ ระกอบการพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก เมอื่ วนั ที่ ๑ สงิ หาคม พุทธศกั ราช ๒๓๖๗ 17
พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจา้ อยูห่ วั ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ประกอบการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก เม่ือวันท่ี ๑๕ พฤษภาคม พทุ ธศกั ราช ๒๓๙๔ 18
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยหู่ วั ๒ คร้งั ครงั้ แรก วันที่ ๑๒ พฤศจิกายน พุทธศกั ราช ๒๔๑๑ เมอื่ ทรงครองราชสมบตั ิสบื ตอ่ จาก สมเด็จพระบรมชนกนาถ ขณะมีพระชนมพรรษาเพยี ง ๑๕ พรรษา ในระยะเวลา ๕ ปแี รกของรัชกาล สมเด็จเจา้ พระยาบรมมหาศรสี ุรยิ วงศ์ (ชว่ ง บุนนาค) เปน็ ผู้ส�ำเร็จราชการแผ่นดิน คร้ังท่ี ๒ วนั ที่ ๑๖ พฤศจกิ ายน พทุ ธศกั ราช ๒๔๑๖ เมอื่ ทรงเจรญิ พระชนมพรรษาครบ ๒๐ พรรษา ทรงบรรลุพระราชนติ ิภาวะแลว้ 19
พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกล้าเจา้ อยูห่ วั ๒ ครงั้ ครง้ั แรก วนั ที่ ๑๑ พฤศจกิ ายน พทุ ธศกั ราช ๒๔๕๓ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหป้ ระกอบการ พระราชพิธีบรมราชาภิเษกเฉลิมพระราชมณเฑียร เน่ืองจากยังอยู่ในช่วงไว้ทุกข์งานพระบรมศพ พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั จึงโปรดใหง้ ดการเสด็จพระราชดำ� เนนิ เลียบพระนครและ การรนื่ เรงิ ครง้ั ที่ ๒ วนั ท่ี ๒ ธันวาคม พุทธศกั ราช ๒๔๕๔ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหป้ ระกอบ การพระราชพิธบี รมราชาภิเษกสมโภช เพ่อื เปน็ การเฉลิมฉลอง และให้นานาประเทศท่มี สี ัมพันธ์ทาง พระราชไมตรมี ารว่ มในงานพระราชพิธี 20
พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจา้ อย่หู วั ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ประกอบการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก เม่ือวันที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ พทุ ธศกั ราช ๒๔๖๘ 21
พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดนิ ทร เสด็จสวรรคตก่อนการพระราชพิธบี รมราชาภเิ ษก 22
พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ประกอบการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก เม่ือวันที่ ๕ พฤษภาคม พุทธศกั ราช ๒๔๙๓ 23
พระบาทพสรมะรเดาช็จพพริธะีบเรจมา้ รอายชหู่ าัวภิเรษัชกกาลท่ี ๙
ท่ี ๑๑/๒๔๙๓ กำ� หนดการ พระราชพิธบี รมราชาภิเษก พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช สยามินทราธิราช และพระราชพธิ ีเฉลิมพระราชมนเทียร พ.ศ. ๒๔๙๓๑ วัน เวลา รายการ ท่ี แตง่ กาย เตม็ ยศ มนี . ๑. พิธที ำ� น�ำ้ อภเิ ษก พทุ ธเจดยี ์ สถานสำ� คญั ตามภมู ภิ าค ๑๘ แหง่ ปกติ ๒๔๙๓ ในราชอาณาจกั รไทย ปกติ ๑๘ ๑๖.๐๐ น. ประธานสงฆ์ ประกาศเทวดาในการพธิ ที ำ� นำ้� วดั พระศรรี ตั น อภเิ ษก หอพระธาตุมนเทียร ๑๕.๐๖ - จดุ เทียนชยั ๑๗.๑๔ น. ๑๙ ๑๐.๐๐ น. ดบั เทยี นชัย เลี้ยงพระ ๑๒.๐๐ น. เวียนเทยี นสมโภชน�้ำอภเิ ษก เมษ. ๒. การจารกึ พระสุพรรณบฏั ๒๔๙๓ ดวงพระบรมราชสมภพ และพระราชลญั ฉกร ๒๐ ๑๖.๓๐ น. พระสงฆ์ ๑๐ รปู เจริญพระพุทธมนต์ ๒๑ ๙.๒๖ - จารกึ พระสุพรรณบัฏ ๑๐.๓๘ น. ดวงพระบรมราชสมภพ และพระราชลญั ฉกร เล้ียงพระ เวียนเทียน พฤษภ. ๓. การทรงถวายราชสักการะ ๒๔๙๓ สมเดจ็ พระบรมราชบพุ การี ๓ ๑๙.๐๐ น. ถวายบังคมพระบรมอฐั ิ และพระอฐั ิ ๑ คดั จากราชกจิ จานเุ บกษา เลม่ ๖๗ ตอนท่ี ๒๗ วนั ที่ ๙ พฤษภาคม ๒๔๙๓ หนา้ ๑๙๓๗ - ๑๙๔๑ (อกั ขรวธิ ตี รงตามตน้ ฉบบั ) 25
วนั เวลา รายการ ท่ี แตง่ กาย ๔ ๔. การพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก จากวดั พระศรีรตั น เตม็ ยศจุลจอมเกล้า ๑๐.๐๐ น. เชญิ พระสุพรรณบฏั มายงั พระราชมนเทยี ร เต็มยศ ดวงพระบรมราชสมภพ พระที่นั่งไพศาล ๑๘.๐๐ น. พระราชลญั ฉกร พระที่นั่งอมรนิ ทร นพรัตน สายสรอ้ ย ๑๘.๕๐ - เร่ิมการพระราชพธิ ี พระทน่ี ั่งไพศาล จุลจอมเกล้า ๑๙.๔๐ น. ในพระที่ ณ พระทนี่ ่งั เตม็ ยศจกั รี จดุ เทยี นชัย จกั รพรรดิ สายสร้อย พระท่ีนั่งไพศาล จุลจอมเกล้า พระภิกษุทรงสมณศกั ดิ์ประกาศการ พระทนี่ ั่งอมรินทร พระราชพิธีบรมราชาภิเษก เจริญพระพทุ ธมนต์ พระ ๕ รูป ชาลาพระท่ีนง่ั จักรพรรดิ พระที่นงั่ ไพศาล ๕ เจริญพระพทุ ธมนต์ พระ ๓๐ รปู ๑๐.๐๐ - เจรญิ พระพุทธมนต์ พระ ๔๕ รูป พระท่ีน่ังอมรนิ ทร ๑๑.๔๖ น. ๕. บรมราชาภเิ ษก พระทน่ี ัง่ อมรนิ ทร สรงพระมรุ ธาภิเษก รบั น�้ำอภเิ ษก ราชกกุธภัณฑ์ พระท่ีนัง่ ไพศาล ขตั ติยราชวราภรณ์ และพระแสง ๑๔.๐๐ น. เลย้ี งพระ พระสงฆ์ดับเทียนชยั เสด็จออกมหาสมาคม รับคำ� ถวายพระพรชัยมงคล เสด็จประทับพระทนี่ ง่ั ภทั รบิฐ สถาปนาสมเด็จพระบรมราชนิ ี ฝา่ ยในถวายพระพร 26
วัน เวลา รายการ ที่ แต่งกาย เตม็ ยศจักรี ๑๖.๐๐ น. เสด็จฯ กระบวนราบใหญไ่ ปทรงมนัสการ พระอโุ บสถ สายสร้อย พระศรีรัตนตรยั ประกาศ วัดพระศรีรตั น จลุ จอมเกล้า ๑๘.๐๐ น. พระองคเ์ ป็นอัครศาสนูปถมั ภก ๖ พระทน่ี ั่งดสุ ิต ปกติ พระสงฆ์ ๘๐ รปู ถวายพระพร เต็มยศ จักรี ๑๙.๕๔ - ถวายบงั คมพระบรมอฐั ิ และพระอัฐิ สดับปกรณ์ สภุ าพ ตามธรรมนิยม ๒๒.๐๒ น. เตม็ ยศชา้ งเผือก ๗ ๑๑.๐๐ น. เจ้าพนกั งานเวียนเทียนสมโภชพระราชมนเทยี ร พระราชมนเทียร เตม็ ยศ นพรตั น ๖. เฉลมิ พระราชมนเทยี ร เถลงิ พระแท่นพระบรรทม พระที่นัง่ จักรพรรดิ คณะทตู เฝา้ ฯ ถวายพระพรชัยมงคล พระที่นงั่ จักรี ๑๖.๓๐ น. ประชาชนเฝ้าฯ ถวายพระพรชยั มงคล หน้าพระที่นง่ั สทุ ไธสวรรย์ ๑๗.๐๐ น. ฝ่ายในถวายดอกไม้ธปู เทยี น พระทน่ี ัง่ ไพศาล ๘ ๑๖.๓๐ น. เฉลมิ พระนามสมเด็จพระสงั ฆราช และตัง้ สมณศกั ดิ์ พระท่ีนง่ั อมรนิ ทร ฝ่ายหน้าถวายดอกไม้ธปู เทยี น เทศน์ มงคลสตู ร รัตนสตู ร เมตตสตู ร รวม ๑ กณั ฑ์ ฝ่ายในถวายดอกไม้ธูปเทียน พระทน่ี ั่งไพศาล สถาปนาพระฐานนั ดรศกั ดิ์ พระบรมราชวงศ์ พระทนี่ ่งั อมรินทร ฝา่ ยหน้าถวายดอกไมธ้ ปู เทยี น เทศน์ ทศพิธราชธรรม จักรวรรดิวัตร เทวตาทิสนกถา รวม ๑ กัณฑ์ 27
พระราชพิธีบรมราชาภิเษกในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ก�ำหนดจัดขึ้นระหว่างเดือนมนี าคมถงึ พฤษภาคม พทุ ธศกั ราช ๒๔๙๓ โดยก่อนการ พระราชพธิ ีบรมราชาภิเษกมพี ิธีทำ� นำ�้ อภเิ ษก ระหวา่ งวันที่ ๑๘ - ๑๙ มีนาคม จารึกพระสุพรรณบัฏ ดวงพระบรมราชสมภพ และพระราชลัญจกรประจำ� รัชกาล วนั ท่ี ๒๑ เมษายน และการพระราชพิธี บรมราชาภิเษก ระหว่างวันที่ ๔ - ๘ พฤษภาคม มี ๖ ขัน้ ตอน๒ ดงั น้ี ๑. พิธที ำ� น้ำ� อภเิ ษก ในการพระราชพธิ ีบรมราชาภเิ ษก ตอ้ งเตรยี มการทำ� น้�ำอภเิ ษกซ่ึงก�ำหนดขน้ึ ก่อนพระราช พิธี โดยท�ำพิธีพลีกรรมตักน้�ำจากแหล่งน�้ำศักด์ิสิทธ์ิตามโบราณราชประเพณีทั่วราชอาณาจักรและ ตง้ั พิธเี สกน�้ำ ณ มหาเจดียสถานและพระอารามสำ� คัญในสว่ นภมู ิภาค ๑๘ แหง่ ระหวา่ งวันที่ ๑๘ - ๑๙ มีนาคม แลว้ จงึ เชิญมาต้งั ไวใ้ นพระอโุ บสถวดั พระศรรี ตั นศาสดาราม จนกวา่ จะถึงวันพระราชพธิ ี จงึ ท�ำพิธเี จริญพระพทุ ธมนต์ ๒. การจารึกพระสพุ รรณบัฏ ดวงพระบรมราชสมภพ และพระราชลญั จกร การจารึกพระนามใหม่ของพระเจ้าแผ่นดินลงในแผ่นทอง พร้อมกับดวงพระบรม ราชสมภพ และแกะงาช้างเป็นพระราชลัญจกรประจ�ำรัชกาล ประกอบพิธี ณ พระอุโบสถ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม วันที่ ๒๑ เมษายน โดยมีโหรหลวงเป็นผู้ก�ำหนดพระฤกษ์พิธี อาลักษณ์ จารึกพระสุพรรณบัฏพระปรมาภิไธย และโหรหลวงจารึกดวงพระบรมราชสมภพ นายช่างแกะ พระราชลัญจกรประจ�ำรัชกาลไปพร้อมกัน ในระหว่างน้ันพระสงฆ์สวดชัยมงคลคาถา พราหมณ์ เป่าสังข์ เจ้าพนักงานประโคมแตร สังข์ และพิณพาทย์ตลอดจนเสร็จการจารึก เจ้าพนักงานจะน�ำ พระสุพรรณบัฏ ดวงพระบรมราชสมภพ และพระราชลัญจกรมาประดิษฐานบนธรรมาสน์ศิลาใน พระอุโบสถวดั พระศรรี ัตนศาสดาราม ๒ ตามราชกิจจานุเบกษา เลม่ ๖๗ ตอนที่ ๒๗ วันท่ี ๙ พฤษภาคม ๒๔๙๓ หนา้ ๑๙๓๗ - ๑๙๔๑ 28
“พระบาทสมจเดกั จ็รนีพฤระบปดพรินรมะทนิสรพุทสรรรยมณาหบมาัฏินภจทูมารริพกึาลพธอิรระาดปชลุ รยบมเารดภมชไิ นธมยาหถบิตลพาติ ธริเ”บศรรามาธิบดี 29
ดวงพระบรมราชสมภพ พระราชลญั จกร 30
หอพระธาตุมณเฑยี ร พระวิมานประดิษฐานพระโกศ พระบรมอัฐิ และพระอฐั ิ ๓. ถวายราชสกั การะสมเด็จพระบรมราชบุพการี วันท่ี ๓ พฤษภาคม สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชด�ำเนินไปยังหอพระธาตุมณเฑียร ในพระบรมมหาราชวงั เพอ่ื ถวายราชสกั การะพระบรมอฐั สิ มเดจ็ พระปฐมบรมมหาชนก (ตน้ พระบรม ราชจกั รวี งศ)์ พระบรมอฐั พิ ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั รชั กาลท่ี ๑ ถงึ รชั กาลที่ ๓ และพระอฐั สิ มเดจ็ พระอมรินทราบรมราชนิ ี สมเดจ็ พระศรีสรุ ิเยนทราบรมราชนิ ี สมเด็จพระศรีสลุ าลยั 31
32
ขบวนพระราชอิสรยิ ยศเชญิ พระสุพรรณบัฏ ดวงพระบรมราชสมภพ และพระราชลญั จกรประจ�ำรชั กาล ๔. การพระราชพิธบี รมราชาภเิ ษก การเชิญพระสพุ รรณบัฏ ดวงพระบรมราชสมภพ และพระราชลัญจกร วนั ท่ี ๔ พฤษภาคม พธิ แี หเ่ ชญิ พระสพุ รรณบฏั ดวงพระบรมราชสมภพ และพระราชลญั จกร ประจำ� รชั กาล จากวดั พระศรรี ตั นศาสดาราม ขน้ึ พระราชยานกงนำ� ไปประดษิ ฐาน ณ พระแทน่ มณฑล ในพระที่นั่งไพศาลทกั ษิณ เพ่อื ทูลเกล้าฯ ถวายในการพระราชพธิ ีบรมราชาภิเษก 33
พระภกิ ษทุ รงสมณศกั ด์ปิ ระกาศการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงจุดเทียนชนวนพระราชทานเพ่ือน�ำไปจุดเครื่องนมัสการบูชา พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร ทรงจุดเทียนพระมหามงคล เทียนเท่าพระองค์ และธูปเทียนเครื่อง นมสั การ ณ พระทน่ี งั่ อมรนิ ทรวนิ จิ ฉยั จากนน้ั เสดจ็ พระราชดำ� เนนิ ขน้ึ พระทน่ี ง่ั ไพศาลทกั ษณิ เพอื่ ทรง นมสั การพระศรีรตั นตรยั เมื่อถึงเวลามหามงคลฤกษ์ พระสงฆท์ รงสมณศกั ดิ์ประกาศการพระราชพิธี บรมราชาภเิ ษก พระสงฆเ์ จรญิ พระพทุ ธมนต์ ระหวา่ งนน้ั พราหมณถ์ วายน�้ำพระมหาสังข์และใบสมิต (ใบไมส้ �ำหรับปัดส่ิงอปั มงคล ประกอบด้วยใบมะม่วง ๒๕ ใบ ใบทอง ๓๒ ใบ ใบตะขบ ๙๖ ใบ โดยนำ� ใบไม้แตล่ ะชนิดมัดรวมเปน็ ชอ่ แล้วหุ้มโคนด้วยผา้ ขาว) สมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงจดุ เทยี นชนวนพระราชทานมหาดเลก็ พรอ้ มดอกไม้ธปู เงนิ เทยี นทอง ไปจดุ บชู าพระมหาเศวตฉตั ร ๕ แห่ง ปูชนยี สถานและส่ิงส�ำคญั ๑๓ แหง่ ๕. บรมราชาภิเษก พระราชพิธีบรมราชาภิเษก วันที่ ๕ พฤษภาคม ประกอบด้วยพิธีสรงพระมุรธาภิเษก พธิ ถี วายนำ้� อภเิ ษก พธิ ถี วายสริ ริ าชสมบตั แิ ละเครอ่ื งราชกกธุ ภณั ฑ์ เสดจ็ ออกมหาสมาคม พธิ สี ถาปนา สมเด็จพระบรมราชินี พิธีประกาศพระองค์เป็นพุทธศาสนูปถัมภกและพิธีถวายบังคมพระบรมอัฐิ พิธีสรงพระมรุ ธาภิเษก สมเด็จพระเจา้ อยูห่ วั ทรงพระภูษาเศวตพัสตร์ ทรงสะพกั ขาวขลบิ ทอง ประทบั เหนอื อทุ มุ พรราชอาสน์ (ตงั่ ไมม้ ะเดอ่ื ) ภายในมณฑปพระกระยาสนาน เพอื่ ทรงรบั นำ�้ สรง จากสหสั ธารา เวลาพระฤกษ์ พระยาอนรุ กั ษร์ าชมณเฑยี ร (กา๊ ด วชั โรทยั ) ไขสหสั ธารา จากนน้ั สมเดจ็ พระสงั ฆราช ถวายนำ้� พระพทุ ธมนตด์ ว้ ยครอบพระกรงิ่ ทพ่ี ระปฤษฎางค์ (หลงั ) และครอบยนั ตรนพคณุ ทีพ่ ระหตั ถ์ พระบรมวงศ์ทลู เกลา้ ฯ ถวายน้ำ� พระพุทธมนต์ดว้ ยพระเตา้ เบญจคัพย์ทีพ่ ระหตั ถ์ พระยา โหราธิบดีทูลเกล้าฯ ถวายพระเต้านพเคราะห์ให้ทรงรับไปสรงท่ีพระอังสาซ้าย ขวา พระราชครู พราหมณถ์ วายนำ้� พระมหาสงั ข์ นำ้� เทพมนตร์ และถวายใบมะตมู ทรงทดั และใบกระถนิ ทรงถอื พระยา อนรุ ักษ์ราชมณเฑียรถวายพระมหาสังข์ทกั ษณิ าวฏั ตามขัตติยราชประเพณี ขณะทรงสรงพระมุรธาภิเษก พระสงฆ์เจริญชัยมงคลคาถา ชาวพนักงานประโคมสังข์ แตร มโหระทึกและเครอื่ งดรุ ิยางค์ ทหารยิงปนื มหาฤกษ์ มหาชัย มหาจกั ร มหาปราบยคุ ๒๑ นัด (ตามกำ� ลงั วันศุกร์) เฉลมิ พระเกียรติ 34
มณฑปประดิษฐานเจว็ดรูปเทวดา บริเวณมณฑปพระกระยาสนาน มบี ายศรีตน้ หวั หมู กล้วยนำ้� ว้า มะพรา้ วออ่ น ส�ำหรับบชู าเทวดาในพิธีสรงพระมรุ ธาภเิ ษก 35
ทรงจดุ เคร่ืองบชู าสงั เวยเทวดากลางหาว กอ่ นเสดจ็ พระราชดำ� เนินไปสรงพระมุรธาภเิ ษก 36
ทรงพระภูษาเศวตพัสตร์ ทรงสะพกั ขาวขลิบทอง ประทบั เหนืออทุ ุมพรราชอาสน์ ภายในมณฑปพระกระยาสนาน 37
หลงั จากทรงสรงสหสั ธารา สมเด็จพระสังฆราชเจา้ (ม.ร.ว. ชน่ื นพวงศ์ สจุ ติ ฺโต) ถวายน�้ำพระพุทธมนตด์ ว้ ยครอบยันตรนพคณุ ทีพ่ ระหตั ถ์ พิธีถวายน้�ำอภิเษก เม่ือสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงสรงพระมุรธาภิเษกแล้ว เสด็จฯ ไปยัง หอพระสุลาลัยพิมาน ทรงเครื่องบรมขัตติยราชภูษิตาภรณ์ เสด็จออกจากหอพระสุลาลัยพิมาน ไปยงั พระที่นงั่ ไพศาลทกั ษิณ ประทบั ณ พระท่ีน่งั อัฐทศิ อุทมุ พรราชอาสน์ แปรพระพักตรส์ ่ทู ศิ บูรพา (ทศิ ตะวันออก) เปน็ ปฐม ผ้แู ทนสมาชิกรัฐสภา ประจ�ำทิศทัง้ ๘ ถวายนำ้� อภิเษก (เดิมคือราชบณั ฑติ และพราหมณ์ถวาย ในรัชกาลที่ ๙ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมาชิกรัฐสภา เป็นนัยแสดงถึง พระมหากษัตริย์ในระบอบประชาธิปไตย) จากนั้นพระราชครูพราหมณ์ถวายน้�ำเทพมนตร์ ถวาย พระนพปฎลมหาเศวตฉตั ร 38
ทรงเคร่ืองบรมขัตติยราชภษู ติ าภรณ์ เสด็จออกจากหอพระสลุ าลยั พิมานไปยงั พระทนี่ ั่งไพศาลทักษณิ 39
ประทับพระท่นี งั่ อฐั ทศิ อุทมุ พรราชอาสน์ ภายใต้สปั ตปฎลเศวตฉัตร ทรงแปรพระพักตรส์ ู่ทิศบรู พาเปน็ ปฐม นายควง อภยั วงศ์ สมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎร ทูลเกลา้ ทลู กระหมอ่ มถวายน้ำ� อภเิ ษก 40
พระราชครูวามเทพมุนี (สวาสดิ์ รังสพิ ราหมณกุล) ทูลเกลา้ ทลู กระหมอ่ ม ถวายน�ำ้ เทพมนตร์ เวยี นไปจนครบ ๘ ทิศ 41
พระราชครูวามเทพมุนี ทลู เกลา้ ทูลกระหมอ่ มถวายพระนพปฎลมหาเศวตฉตั ร 42
พธิ ถี วายเคร่อื งราชกกุธภัณฑ์ สมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั เสดจ็ พระราชดำ� เนนิ ไปประทบั ณ พระทนี่ งั่ ภทั รบฐิ ภายใตพ้ ระนพปฎล มหาเศวตฉตั ร เพอ่ื ทรงรบั พระสพุ รรณบฏั จารกึ พระปรมาภไิ ธย เครอ่ื งราชกกธุ ภณั ฑ์ เครอ่ื งบรมขตั ตยิ ราชวราภรณ์ เครอื่ งขัตติยราชปู โภค และพระแสงราชศัสตราวุธ ทรงรับและทรงวางไวบ้ นโต๊ะ ๒ ขา้ ง พระทน่ี ง่ั ภทั รบฐิ ทรงสวมพระมหาพชิ ยั มงกฎุ จากนน้ั มพี ระปฐมบรมราชโองการพระราชทานอารกั ขา แก่ประชาชนชาวไทย ทรงหล่ังทักษิโณทก ต้ังพระราชสัตยาธิษฐานจะทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจ ปกครองราชอาณาจกั รดว้ ยทศพธิ ราชธรรมจรยิ า เสดจ็ ฯ ไปยงั พระทน่ี งั่ อมรนิ ทรวนิ จิ ฉยั ทรงประเคน จตุปัจจัยไทยธรรมแด่พระสงฆ์ ๘๐ รูป พระสงฆ์ถวายอนุโมทนา ถวายอดิเรกและถวายพระพรลา เสด็จขน้ึ พระทีน่ ง่ั ไพศาลทักษณิ พระสงฆด์ บั เทียนชยั เป็นเสรจ็ พธิ ี พระราชครวู ามเทพมุนี กราบบงั คมทลู ถวายเครอ่ื งราชกกุธภณั ฑ์ เคร่อื งบรมขัตตยิ ราชวราภรณ์ เครื่องราชปู โภค และพระแสงราชศัสตราวธุ ณ พระทีน่ ั่งไพศาลทกั ษณิ 43
พระราชครวู ามเทพมุนี ทลู เกลา้ ทลู กระหม่อมถวายพระมหาพชิ ยั มงกฎุ อนึ่ง ขณะท่ีพระราชครูวามเทพมุนีทูลเกล้าฯ ถวายพระสุพรรณบัฏจารึกพระปรมาภิไธย พระสงฆ์เจริญชยั มงคลคาถา ชาวพนกั งานประโคมสังข์ บณั เฑาะว์ ฆอ้ งชยั มโหระทึก และดุรยิ างค์ กองทหารถวายความเคารพ แตรวงบรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมี ทหารกองแก้วจินดายิงปืน มหาฤกษ์ มหาชยั มหาจกั ร มหาปราบยคุ ๒๑ นดั ตามกำ� ลงั วนั (วนั ศกุ ร)์ ทหารบก ทหารเรอื ยงิ ปนื ใหญ่ เฉลิมพระเกียรติ ฝ่ายละ ๑๐๑ นัด พระสงฆ์ในพระอารามหลวงทั่วราชอาณาจักร ย่�ำระฆังถวาย ชัยมงคล อารามละ ๗ ลา และเครอื่ งบินกองทพั อากาศบินโปรยดอกไม้ 44
พระราชครูวามเทพมนุ ี ทูลเกลา้ ทูลกระหม่อมถวาย ทรงหล่งั ทกั ษโิ ณทก พระแสงขรรค์ชยั ศรี 45
มีพระราชดำ� รสั ตอบขอบใจผมู้ าเฝ้าฯ ถวายพระพรชัยมงคล 46
เสดจ็ ออกมหาสมาคม ณ พระทีน่ ง่ั อมรนิ ทรวินิจฉัย เสด็จออกมหาสมาคม เวลาบ่าย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเคร่ืองบรมขัตติยราช ภูษิตาภรณ์ ทรงพระมหาพิชัยมงกุฎ ประทับเหนือพระท่ีน่ังพุดตานกาญจนสิงหาสน์ บนพระ ราชบลั ลงั กภ์ ายใตพ้ ระนพปฎลมหาเศวตฉัตร ณ พระทน่ี ัง่ อมรนิ ทรวินจิ ฉัย ทรงรบั การถวายพระพร ชัยมงคลจากคณะรฐั มนตรี ทูตานทุ ตู สมาชกิ วฒุ สิ ภา สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และขา้ ราชการแล้ว มีพระราชด�ำรัสตอบ 47
พระท่นี งั่ ราเชนทรยาน เทียบทเี่ กยหน้าพระที่นง่ั ดสุ ิดาภิรมย์ อนงึ่ ในการเสดจ็ ออกมหาสมาคม เจา้ หนา้ ทเี่ ชญิ พระราชพาหนะมาเทยี บทเ่ี กย และทา่ นำ้� ตามโบราณราชประเพณี ได้แก่ พระท่ีนั่งราเชนทรยาน พระยาช้างต้น เทียบท่ีเกยหน้าพระที่น่ัง ดสุ ดิ าภริ มย์ พระยามา้ ตน้ เทยี บทส่ี นามหญา้ หนา้ พระทนี่ งั่ จกั รมี หาปราสาท รถยนตพ์ ระทนี่ ง่ั เทยี บทห่ี นา้ อฒั จนั ทรพ์ ระทน่ี งั่ จกั รมี หาปราสาท เรอื พระทนี่ ง่ั สพุ รรณหงส์ เทยี บทท่ี า่ ราชวรดฐิ 48
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148