Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นาฏศิลป์พื้นเมือง (ภาคกลาง)

นาฏศิลป์พื้นเมือง (ภาคกลาง)

Published by Aunchaya chaiwong, 2021-07-16 03:06:13

Description: นาฏศิลป์พื้นเมือง (ภาคกลาง)

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการสอนฉบับนจ้ี ัดทาขน้ึ เพอื่ ประกอบการสอนรายวิชา นาฏศลิ ป์พื้นเมือง ไดร้ วบรวมเนือ้ หาเก่ยี วกบั นาฏศิลปพ์ นื้ เมอื งของไทย ทงั้ 4 ภาค ประกอบดว้ ยเน้ือหาสาระความรเู้ บือ้ งต้น ได้เรยี บเรยี งเนอ้ื หาความรูแ้ ละตวั อยา่ งการแสดง พนื้ บ้านในภาคกลาง ทง้ั นกี้ ารจัดทาหนงั สอื อิเล็กทรอนกิ ส์ (E-book) ประสบความสาเร็จได้ ก็โดยได้รับการช่วยเหลอื จาก ทกุ ฝ่าย ไม่วา่ จะเปน็ หอ้ งสมุด หอ้ งคอมพวิ เตอร์ ห้องนาฏศิลป์ แหลง่ เรียนรตู้ ่างๆ ฝา่ ยวชิ าการ และผู้บรหิ ารโรงเรยี นวัดพชิ ัย จึงขอขอบคณุ ไว้ ณ ท่ีนด้ี ว้ ย อัณณ์ชญาณ์ ไชยวงค์ ตาแหน่ง ครผู ชู้ ่วย

เรอ่ื ง หนา้ คานา ความหมายของนาฏศิลป์พ้ืนเมือง 1 ที่มาของการแสดงนาฏศิลปพ์ ้ืนเมอื ง 2 นาฏศลิ ป์พนื้ เมืองภาคกลาง 3 การแสดง ระบาชาวนา 4 การแสดง ราวงมาตรฐาน 5 การแสดง ราเถดิ เทิง 6 การแสดง ราสนี วล 7 การแสดง เพลงเรือ 8 บรรณานกุ รม

1 นาฏศิลป์พนื้ เมอื ง หมายถงึ ศลิ ปะการแสดง ราประกอบดนตรี ได้แก่ ระบา รา ฟอ้ นต่าง ๆ ท่ีนยิ มเล่นกัน หรอื แสดงกนั ในแต่ละท้องถ่ินที่มคี วาม แตกต่างกันไปตามลกั ษณะสภาพแวดลอ้ ม ของแต่ละภาค

2 พิธีกรรมและความเชอื่ ของคนไทย ในท้องถนิ่ ท่ีมกั ประกอบพิธกี รรม บูชาส่ิง ศกั ดส์ิ ิทธ์ิ การละเลน่ พ้นื เมือง จงึ เกิดการ รา่ ยราเพ่อื ใหง้ านหรอื เทศกาลน้ันมีความ สนกุ สนาน การแสดงนาฏศิลป์ มีจดุ มุ่งหมาย เพือ่ สรา้ งความบนั เทิง และใชป้ ระกอบพธิ ีกรรม ต่าง ๆ ในท้องถน่ิ อาชพี พธิ ีกรรมศาสนา บูชาสงิ่ ศกั ดิส์ ทิ ธิ์ การละเลน่

3 ลักษณะเฉพาะของนาฏศิลปพ์ ื้นเมอื งภาคกลาง ลักษณะของการแสดงนาฏศิลป์ พ้นื เมืองภาคกลางจะมีความสนกุ สนาน เรียบง่ายสะทอ้ น วิถชี วี ิตของคนใน ภาค บางการแสดงอาจมวี ัฒนธรรม หลวงเขา้ มาเก่ยี วขอ้ งดว้ ย วงดนตรีท่ใี ช้ บรรเลง เชน่ วงกลองยาว วงปพ่ี าทย์

4 เปน็ การแสดงถึงอาชีพทานาของคนในภาคกลาง มจี ังหวะสนกุ สนาน และมอี ุปกรณ์ประกอบการแสดง ทา่ ราเปน็ ท่าทางขน้ั ตอนการทานา การแต่งกาย จะแตง่ ชุดพ้ืนบ้านท่เี รียบง่าย

5 ราวงมาตรฐาน เปน็ การแสดงท่ีมวี ิวฒั นาการมาจาก “ราโทน” เป็นการราและรอ้ งของชาวบ้าน ซึ่งจะมผี ู้รา ทั้งชายหญงิ รากนั เป็นคู่ ๆ ราวงมาตรฐาน ประกอบดว้ ยทงั้ หมด ๑๐ เพลง

6 “เถิดเทงิ ”กาหนดแบบแผนลลี าทา่ รา โดยกาหนด ใหม้ ีกลองรา กลองยืน เป็นจังหวะทีส่ นกุ สนาน นักแสดงมีทัง้ ชายและหญงิ

7 ศลิ ปะแบบพ้นื เมืองของไทย บทรอ้ งมีความหมายถึง สสี นั ของธรรมชาติท่สี วยงาม เป็นการแสดงพื้นเมอื ง ภาคกลางทีอ่ วดลีลา อ่อนชอ้ ยงดงาม เปน็ กิริยา อาการของหญงิ สาวแรกรุ่นทสี่ นกุ สนานรน่ื เรงิ

8 เปน็ เพลงพ้ืนบา้ นท่ีสบื ทอดกนั มาชา้ นานเก่ียวเนอื่ ง กบั ขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงาม บง่ บอกถงึ ความผูกพันที่ชาวบ้านมตี อ่ สายน้า ใชข้ บั รอ้ ง ขณะพายเรือในขบวนแหช่ กั พระทางน้า

15 นาฏศิลป์ พ้ืนเมือง-เรียนนาฏศิลป์ ครูอารยา (ระบบออนไลน์) แหล่งที่มา : https://sites.google.com/site/reiynnatsilpkhruxariya/natsilp- phun-meuxng (13 มิถุนายน 2564) ภาคกลาง-นาฏศลิ ป์ ไทย https://sites.google.com/site/natsilpthiy39/6 (19 มิถนุ ายน 2564)

นางสาวอณั ณช์ ญาณ์ ไชยวงค์ ตาแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย โรงเรยี นวัดพิชัย สานักงานเขตบงึ กุม่ กรุงเทพมหานคร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook