ห น้ า | 1
ห น้ า | 2 คำนำ คู่มือทักษะความฉลาดทางดจิ ิทัล สำหรับครู เป็นส่วนหน่ึงของรายวิชา GD58201 การพัฒนาความเปน็ ครู โดยยึดประเด็น DQ ความฉลาดทางดิจิทัล ทั้ง 8 ทักษะ มีจุดประสงค์เพื่อสร้างความเป็นครูสู่ยุคดิจิทัลและ สื่อสังคมออนไลน์ที่เข้าใจบรรทัดฐานของการปฏิบัติตัวให้เหมาะสม และมีความรับผิดชอบในการใช้เทคโนโลยี โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การสื่อสารในยุคดิจิทัลเป็นการสื่อสารที่ไร้พรมแดน และสามารถเลือกใช้ และสร้างสื่อ เทคโนโลยีดิจิทัลได้เหมาะสมกับองค์ความรู้ที่ต้องการจะถ่ายทอด และเหมาะสมต่อพฤติกรรมการเรียนรู้ของ ผู้เรียนแต่ละช่วงวัยในบริบทที่แตกต่างกัน ร่วมทั้งมีแนวทางการพัฒนาและวิธีการป้องกันปัญหาการสื่อสารใน ยคุ ดิจิทัลและสอื่ สังคมออนไลน์ ผู้จัดทำ นางสาวธัญนนั ทน์ เสืองามเอี่ยม รหสั นกั ศึกษา 647190608 หมูท่ ี่ 6
ห น้ า | 3 สารบัญ การเปน็ ครูยุคดจิ ทิ ลั ...........................................................................................................................................4 ความฉลาดทางดิจิทลั คอื อะไร..........................................................................................................................5 8 ทกั ษะความฉลาดทางดจิ ิทัล...........................................................................................................................5 ความฉลาดทางดจิ ิทลั ประกอบด้วยทกั ษะ 8 ดา้ น.........................................................................................5 1. การแสดงตวั ตนบนโลกดจิ ิทัล .................................................................................................................5 2. การใช้เครอ่ื งมือและสอ่ื ดิจิทลั .................................................................................................................5 3. ความปลอดภยั ทางดิจิทลั .......................................................................................................................6 4. ความม่ันคงปลอดภัยทางดิจิทลั ..............................................................................................................6 5. ความฉลาดทางอารมณ์บนโลกดิจทิ ัล......................................................................................................6 6. การส่อื สารดจิ ิทัล....................................................................................................................................6 7. การรู้ดิจทิ ลั .............................................................................................................................................6 8. สิทธิทางดิจิทัล........................................................................................................................................7 ความเปน็ พลเมืองดิจิทัล คืออะไร..................................................................................................................7 1. ทักษะในการรักษาอตั ลักษณท์ ด่ี ขี องตนเอง.............................................................................................8 2. ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์มีวจิ ารณญาณท่ดี ี ................................................................................................8 3. ทักษะในการรักษาความปลอดภยั ของตนเองในโลกไซเบอร์....................................................................9 4. ทักษะในการรักษาข้อมลู ส่วนตัว.......................................................................................................... 10 5. ทักษะในการจดั สรรเวลาหนา้ จอ.......................................................................................................... 11 6. ทักษะในการบริหารจดั การข้อมูลทผ่ี ู้ใช้งานมกี ารทงิ้ ไวบ้ นโลกออนไลน์ ................................................ 11 7. ทกั ษะในการรบั มอื กบั การกล่นั แกล้งบนโลกไซเบอร์............................................................................ 11 8. ทกั ษะการใชเ้ ทคโนโลยีอยา่ งมีจรยิ ธรรม.............................................................................................. 12 สรุปความรู้................................................................................................................... .......................................13 อา้ งอิงแหล่งท่ีมา.................................................................................................................................................14 เสนออาจารย์ผู้สอน........................................................................................................................................ 15 ประวตั ิผู้จัดทำ................................................................................................................................................. 15
ห น้ า | 4 ทกั ษะความฉลาดทางดจิ ิทลั สำหรับครู การเป็นครใู นยุคดจิ ิทลั ในยุคดิจิตอล เนื้อหา ข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ มีมากล้น และได้รับการแทนด้วยดิจิตอล มีอยู่รอบ ๆ ตัว เป็น Cloud Knowledge ผู้เรียนมีขีดความสามารถเข้าถึงเนื้อหา Accesible ได้ง่ายและเร็ว ทำให้มีขีด ความสามารถในการมองเหน็ เนอ้ื หา Visibility ได้ประหน่งึ เสมอื นจดจำไวใ้ นสมอง ครูยุคดิจิตอล จึงไม่เน้นการสอนตามเนื้อหาในหลักสูตร แต่จะเน้นการนำเนื้อหามาประยุกต์ใช้ หรือต่อ ยอดทางความคดิ และต้องจัดการเรยี นรูท้ กั ษะและความรู้ทจี่ ําเปน็ ใหน้ ักเรยี น ต้องเน้นใหน้ กั เรยี นแสวงหาความรู้ ได้เอง ครูจะไม่ใช้วิธี Transfer knowledge แต่จะให้นักเรียน สามารถ Infer Knowledge หรือสังเคราะห์ ความรู้จากข้อมูลข่าวสารที่แสวงหามาได้ ต้องเป็นนักจัดการที่ดี จัดการให้นักเรียนได้เรียนรู้โดยลงมือปฏิบัติ (Action Learning) และตอ้ งเปลี่ยนการสอบเป็นการประเมินเพื่อการพฒั นาปรบั ปรุง ต้องมเี ทคนิคในการทำให้ นักเรียนเรียนรู้อยา่ งสนุก Gamification in learning รู้วิธีการใชแ้ ละประยุกต์เทคโนโลยีอบุ ตั ิใหม่ เน้นใหผ้ ู้เรยี น มีความสขุ กบั การทำกจิ กรรม เพ่อื การเรียนรู้ มีแรงจูงใจให้คิด สร้างสรรค์ นำเสนอ ความรอู้ ย่างสนกุ สนาน ในขณะที่เทคโนโลยีดิจิทัลมีการพัฒนาและก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็ว มีการใช้งานง่ายขึ้น ( User- friendly) ขนาดเล็กลงแต่ความสามารถมหาศาล หลอมรวมกับการดำรงชีวิตมากขึ้น ส่งผลให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลันทั้งในระดับบุคคลและระดับสังคมทั้งในเชิงบวกและลบ ซึ่งหากสังคมและคนในสังคม ขาดความรู้ ทักษะ โดยเฉพาะอย่างยิ่งขาดความเทา่ ทนั ตอ่ การเปลี่ยนแปลงทางสงั คมที่เกดิ จากเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั นอกจากจะไมไ่ ดป้ ระโยชนจ์ ากความก้าวหนา้ ของเทคโนโลยแี ล้ว ยงั ตกเปน็ เหยื่อทางเทคโนโลยีท่ีก่อให้เกิดผลเชิง ลบมหาศาลอีกด้วย “ครู” จึงเป็นฟันเฟืองสำคัญของการพัฒนาคนและขับเคลื่อนการศึกษาและจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสม และมีคุณภาพแก่นักเรียน การจัดการศึกษาจึงให้ความสำคัญอย่างมากต่อบทบาทของครูทำให้มีการทบทวน บทบาทของครูที่เหมาะสมกับพฤติกรรมการเรียนรู้ของนักเรียน ตลอดจนโครงสร้างทางสังคมและเศรษฐกิจท่ี เปลี่ยนไปท่ที ั้งครแู ละนกั เรียนจะตอ้ งเผชิญในชีวติ ประจำวัน อย่างไรก็ดี แม้ยุคสมัยจะเปลี่ยนไปอย่างไรก็ตาม บทบาทและหน้าที่หลักของครูยังคงไม่เปลี่ยนแปลง นั่นคือ ครูจะต้องเป็นผู้ถ่ายทอดองค์ความรู้และทักษะให้กับนักเรียนเพื่อให้นักเรียนสามารถนำองค์ความรู้และ ทักษะไปใชป้ ระโยชน์ตอ่ การทำงานและการดำรงชวี ิต สิ่งที่เพิ่มขึน้ สำหรับบทบาทของครยู ุคดิจิทลั คอื • ครูต้องเป็นเสมือนสะพานเชื่อมโยงองค์ความรู้สาระวิชาต่างๆ ประกอบกับพัฒนา ทักษะท่สี ่งเสริมและสนับสนนุ ใหเ้ กิดการเรียนรทู้ ี่เหมาะสมกับนักเรียน โดยเฉพาะทักษะดจิ ิทัลท่ีมีความสำคัญย่ิง ต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล ปัจจุบันมีรูปแบบการเรียนรู้ที่ผสมผสานเทคโนโลยีมากมายและหลากหลาย เช่น TPACK และ SAMR เปน็ ตน้ แตก่ ารจะจดั การเรยี นรใู้ นรูปแบบใดกต็ าม ครจู ำเปน็ ตอ้ งรูจ้ กั นกั เรียนเปน็ รายบคุ คล รู้จักรูปแบบการเรียนรู้ (Learning Style) และเข้าใจความเร็วในการเรียนรู้ของนักเรียน (Learning Pace) รู้ ความถนัดและความสนใจของนักเรียน และที่สำคัญคือต้องเข้าใจโลกของนักเรียนในแต่ละช่วงวัยด้วย ซึ่งในยุค
ห น้ า | 5 ดิจิทลั ทม่ี ีการเคล่ือนที่ของข้อมลู ข่าวสารมหาศาลอย่างรวดเรว็ การเข้าถงึ สอ่ื และการสื่อสารท่งี ่ายและสะดวกข้ึน ทุกทแ่ี ละทกุ เวลา ส่งผลให้นักเรียนเขา้ ไปอยอู่ ีกโลกหน่ึง เปน็ โลกเสมือนทีส่ ร้างขึ้น และทกุ คนบนโลกน้ันสามารถ สร้างตัวตนของตนเองขนึ้ ใหม่ โดยอาจเปน็ ความจริงหรือไม่ก็ดีอาจประสงค์ดหี รือรา้ ยก็ไดโ้ ลกที่มีความกว้างใหญ่ และไร้พรมแดนที่นักเรียนเข้าถึงได้ง่ายนี้หากมีภัยอันตรายจะเป็นดาบสองคม คือ ภัยนี้จะสามารถเข้าถึงตัวได้ แม้กระทั่งในห้องนอน โดยไม่ต้องเดินทางไปที่ใดเลย ครูจึงต้องทำความเข้าใจโลกแห่งยุคดิจิทัลนี้ด้วย แต่ครูซ่ึง เป็นผู้อพยพทางดิจิทัล (Digital Immigrant) จะมีความเท่าทัน เข้าใจและรู้ทันโลกดิจิทัลช้ากว่าหรือน้อยกว่า นักเรียน และบอ่ ยครง้ั ครูมักจะละเลยและไมส่ นใจสงิ่ ท่ีนกั เรยี นเผชิญอยใู่ นโลกน้นั • ครูตอ้ งเปน็ เกราะป้องกันความเสี่ยงและภัยอนั ตราย ทีอ่ าจเกดิ ข้นึ ได้จากโลกไซเบอร์ และสังคมดิจิทัล ครูต้องเป็นแบบอย่างที่ดีเท่าทันต่อการเปลี่ยนแปลง รู้ทันดิจิทัล สามารถเลือกใช้สื่อและ เทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้สนับสนุนการจัดการเรียนการสอน และบริหารจัดการการเรียนการสอนในห้องเรียนได้ อย่างมีประสิทธิภาพ เพราะแม้ว่านักเรียนจะมีความชำนาญในเรื่องดิจิทัลมากกว่าครูสามารถใช้งานเทคโนโลยี ดิจิทัลและเรียนรู้จากสื่อดิจิทัลต่างๆ ได้มากกว่าและรวดเร็วกว่าครูแต่ความเร็วดังกล่าวจำเป็นอย่างยิ่งต้องมา พร้อมด้วย การรู้เท่าทัน ซึ่งสามารถบ่มเพาะให้เกิดขึ้นได้จากการถ่ายทอดจากครูหรือ เรียนรู้จากสื่อต่าง ๆ รอบตวั ให้ตนเองรู้เท่านน้ั และสามารถสรา้ งเกราะปอ้ งกนั ภยั ของตนเองได้ ความฉลาดทางดจิ ิทัล คอื อะไร (What is Digital Intelligence Quotient ?) DQ ความฉลาดทางดิจทิ ัล (DQ: Digital Intelligence Quotient) หรือความสามารถทางสังคม อารมณ์ และการรับรทู้ ีจ่ ะทำให้แต่ละคนสามารถเผชิญกบั ความท้าทายของชวี ิตดจิ ิทลั สามารถปรับอารมณ์ ปรับตัว และ ปรบั พฤตกิ รรมให้เข้ากบั ชีวิตดจิ ิทัล ซ่งึ จะครอบคลุมท้ังความรู้ทักษะ ทัศนคติและคา่ นิยม ทจี่ ำเป็นหรือที่เรียกว่า ทักษะการใชส้ ื่อและการเข้าสงั คมในโลกออนไลนน์ ่นั เอง 8 ทักษะความฉลาดทางดิจิทัล (8 Skills of Digital Intelligence Quotient) ความฉลาดทางดิจิทลั ประกอบด้วยทักษะ 8 ดา้ น 1. การแสดงตวั ตนบนโลกดิจทิ ัล (Digital Identity) ความสามารถในการสร้างและจัดการลักษณะเฉพาะของตนเองบนโลกออนไลน์สร้างความตระหนัก ในเร่อื งของภาพลักษณ์การแสดงออกทางความคิดและสามารถจัดการผลกระทบทเ่ี กิดขึน้ จากการแสดงตัวตนบน โลกออนไลน์ทั้งในระยะสั้นและในระยะยาว ซึ่งการแสดงตัวตนบนโลกดิจิทัลจะประกอบด้วยความเป็นพลเมือง ดิจิทัล (Digital Citizen) ความเป็นผู้สร้างสรรค์ดิจิทัล (Digital Co-creator) ความเป็นผู้ประกอบการดิจิทัล (Digital Entrepreneur) 2. การใช้เครอ่ื งมือและส่ือดิจิทลั (Digital Use) ความสามารถในการใช้งาน การควบคุมและการจัดการใช้อุปกรณ์ดิจิทัลและสื่อดิจิทัลเพ่ื อให้เกิด สมดุลระหว่างชีวิตออนไลน์และออฟไลน์เพื่อให้เกิดประโยชน์และเหมาะสมกับการใช้งาน การใช้เครื่องมือและ
ห น้ า | 6 สื่อดิจิทัลประกอบด้วยการบริหารจัดการเวลาบนโลกดิจิทัล (Screen Time) สุขภาพบนโลกดิจิทัล (Digital Health) การมสี ่วนรว่ มในชุมชนดจิ ทิ ัล (Community Participation) 3. ความปลอดภยั ทางดิจิทัล (Digital Safety) ความสามารถในการจัดการความเสี่ยงในโลกออนไลน์ เช่น การกลั่นแกล้งบนอินเทอร์เน็ต (Cyberbullying) ล่อลวง คุกคาม การเข้าถึงเนื้อหาที่ผิดกฎหมายหรือเป็นอันตราย เช่น เนื้อหาที่มีความรุนแรง และความหยาบคาย สอ่ื ลามกอนาจาร และรวมถงึ การหลีกเล่ียงความเส่ียงและจดั การความเส่ยี งบนโลกออนไลน์ ประกอบด้วยความเสี่ยงจากพฤติกรรมการใช้งาน (Behavioral Risks) ความเสี่ยงจากเนื้อหา (Content Risks) ความเสยี่ งจากการตดิ ตอ่ กับคน (Contact Risks) 4. ความมน่ั คงปลอดภัยทางดิจทิ ัล (Digital Security) ความสามารถในการตรวจจับภัยคุกคามในโลกไซเบอร์เช่น การแฮก (Hacking) และมัลแวร์ (Malware) เพื่อทำความเข้าใจ และสามารถเลือกแนวทางปฏิบัติที่ดีที่สุด เลือกใช้เครื่องมือในการรักษาความ ปลอดภัยที่เหมาะสมสำหรับการป้องกันข้อมูลครอบคลุมถึงความมั่นคงปลอดภัยที่เกี่ยวข้อง กับเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร เช่น การทำธุรกรรมต่างๆ ทางอิเล็กทรอนิกส์การป้องกันภัยและควบคุมการทำ รายการผ่านระบบออนไลน์การป้องกันการละเมิดข้อมูล มาตรฐานที่เกี่ยวข้องและวิธีการจัดการความปลอดภัย และความเชื่อมั่นของผู้ใช้ความมั่นคงปลอดภัยทางดิจิทัลจะประกอบด้วยการป้องกันรหัสผ่าน (Password Protection) ความม่ันคงปลอดภยั บนอนิ เทอร์เน็ต (internet Security) ความม่นั คงปลอดภยั ทางโทรศัพท์มือถือ (Mobile Security) 5. ความฉลาดทางอารมณ์บนโลกดจิ ิทัล (Digital Emotional Intelligence) ความสามารถในการเข้าสงั คมโลกออนไลน์ได้แก่การเอาใจใส่การเขา้ ใจความรสู้ ึกของคนอืน่ การเห็น ใจการแสดงน้ำใจการช่วยเหลือและการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับบุคคลอื่น ๆในโลกออนไลน์แบ่งเป็น 3 องค์ประกอบ คือ ความเข้าใจ เห็นใจ มีน้ำใจต่อผู้อื่นบนโลกดิจิทัล (Empathy) ความตระหนักและการควบคุม อารมณ์ (Emotional Awareness and Regulation) ความตระหนักด้านอารมณ์และสังคม (Social and Emotional Awareness) 6. การส่อื สารดจิ ิทัล (Digital Communication) ความสามารถในการส่ือสารการปฏสิ ัมพันธ์และทำงานร่วมกันกับผู้อ่นื โดยใช้เทคโนโลยีและส่ือดิจิทัล แบ่งเป็น 3 องค์ประกอบ คือ รอยเท้าหรือร่องรอยดิจิทัล (Digital Footprint) การติดต่อสื่อสารออนไลน์ (Online Communication) ความร่วมมือออนไลน์ (Online Collaboration) 7. การรู้ดจิ ทิ ลั (Digital Literacy) ความสามารถในการค้นหา การประเมินผล การใช้ประโยชน์การแบ่งปัน และสร้างสรรค์เนื้อหา รวมถงึ ความสามารถในการประมวลผลการคดิ คำนวณอย่างเป็นระบบ แบ่งเปน็ 3 องค์ประกอบ คอื การคิดอย่าง มีวิจารณญาณ (Critical Thinking) การคิดสร้างสรรค์เนื้อหา (Content Creation) การคิดเชิงประมวลผล (Computational Thinking)
ห น้ า | 7 8. สทิ ธทิ างดจิ ิทลั (Digital Rights) ความสามารถในการเข้าใจและรักษาสิทธิส่วนบุคคลของตนเอง สิทธิเสรีภาพตามกฎหมาย รวมถึง สิทธิในความเป็นส่วนตัว ทรัพย์สินทางปัญญา เสรีภาพในการพูด การแสดงความคิดเหน็ และการป้องกันตนเอง จากคำพูดที่แสดงถึงความเกลียดชัง แบ่งเป็น 3 องค์ประกอบ คือเสรีภาพในการพูด (Freedom of Speech) สทิ ธิ์ในทรพั ยส์ ินทางปญั ญา (Intellectual Property Rights)ความเป็นส่วนตวั (Privacy) ความเปน็ พลเมืองดจิ ิทลั (Digital Citizenship) คอื อะไร ความเป็นพลเมืองดิจิทัลคือ พลเมอื งผูใ้ ช้งานส่ือดิจิทัลและสื่อสังคมออนไลนท์ ่ีเขา้ ใจบรรทัดฐานของการ ปฏิบัติตัวใหเ้ หมาะสมและมคี วามรับผิดชอบในการใช้เทคโนโลยี โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การสื่อสารในยุคดิจิทัลเป็น การสื่อสารที่ไร้พรมแดน สมาชิกของโลกออนไลน์คือ ทุกคนที่ใช้เครือข่ายอินเทอร์เน็ตบนโลกใบนี้ ผู้ใช้สื่อสังคม ออนไลน์มีความหลากหลายทางเชื้อชาติ อายุ ภาษา และวัฒนธรรม พลเมืองดิจิทัลจึงต้องเป็นพลเมืองที่มีความ รับผิดชอบ มีจริยธรรม เห็นอกเห็นใจและเคารพผู้อื่น มีส่วนร่วมและมุ่งเน้นความเป็นธรรมในสังคม การเป็น พลเมอื งในยุคดิจทิ ัลนน้ั มที ักษะท่ีสำคญั 8 ประการ ดังนี้
ห น้ า | 8 1. ทกั ษะในการรกั ษาอัตลักษณท์ ดี่ ีของตนเอง (Digital Citizen Identity) สามารถสร้างและบริหารจดั การอัตลักษณ์ท่ีดีของตนเองไว้ได้อยา่ งดีท้ังในโลกออนไลนแ์ ละโลกความ จริงอัตลักษณ์ที่ดีคือ การที่ผู้ใช้สื่อดิจิทัลสร้างภาพลักษณ์ในโลกออนไลน์ของตนเองในแง่บวก ทั้งความคิด ความรสู้ กึ และการกระทำ โดยมีวจิ ารณญาณในการรับส่งขา่ วสารและแสดงความคิดเห็น มคี วามเหน็ อกเห็นใจผู้ ร่วมใช้งานในสังคมออนไลน์ และรู้จักรับผิดชอบต่อการกระทำ ไม่กระทำการที่ผิดกฎหมายและจริยธรรมในโลก ออนไลน์ เช่น การละเมดิ ลขิ สทิ ธ์ิ การกลั่นแกล้งหรอื การใช้วาจาทส่ี ร้างความเกลยี ดชงั ผู้อ่ืนทางสอื่ ออนไลน์ 2. ทักษะการคิดวิเคราะห์มีวิจารณญาณทด่ี ี (Critical Thinking) สามารถในการวิเคราะห์แยกแยะระหว่างข้อมูลที่ถูกต้องและข้อมูลที่ผิด ข้อมูลที่มีเนื้อหาเป็น ประโยชน์และข้อมูลที่เข้าข่ายอันตราย ข้อมูลติดต่อทางออนไลน์ที่น่าตั้งข้อสงสัยและน่าเชื่อถือได้ เมื่อใช้ อนิ เทอรเ์ นต็ จะรู้ว่าเน้ือหาอะไร เปน็ สาระ มีประโยชน์ รู้เทา่ ทนั ส่อื และสารสนเทศ สามารถวเิ คราะหแ์ ละประเมิน ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายได้ เข้าใจรูปแบบการหลอกลวงต่างๆ ในโลกไซเบอร์ เช่น ข่าวปลอมเว็บ ปลอม ภาพตัดตอ่ เป็นต้น
ห น้ า | 9 การคิดวเิ คราะห์มีวจิ ารณญาณทดี่ ีมอี งค์ประกอบดังนี้ 3. ทกั ษะในการรกั ษาความปลอดภัยของตนเองในโลกไซเบอร์ (Cyber security Management) สามารถป้องกันข้อมูลด้วยการสร้างระบบความปลอดภัยที่เข้มแข็ง และป้องกันการโจรกรรมข้อมูล หรือการโจมตีออนไลน์ได้ มีทักษะในการรักษาความปลอดภัยของตนเองในโลกออนไลน์ การรักษาความ ปลอดภัยของตนเองในโลกไซเบอร์คือ การปกป้องอุปกรณ์ดิจิทัลข้อมูลที่จัดเก็บและข้อมูลส่วนตัวไม่ให้เสียหาย สูญหาย หรอื ถูกโจรกรรมจากผู้ไมห่ วงั ดีในโลกไซเบอร์ การรักษาความปลอดภัยทางดจิ ิทลั มคี วามสำคัญดงั นี้ 3.1 เพื่อรักษาความเป็นส่วนตัวและความลับ หากไม่ได้รักษาความปลอดภัยให้กับอุปกรณ์ดิจิทัล ขอ้ มลู ส่วนตวั และข้อมูลทเี่ ป็นความลบั อาจจะรว่ั ไหลหรอื ถกู โจรกรรมได้ 3.2 เพื่อป้องกนั การขโมยอัตลกั ษณ์ การขโมยอัตลักษณ์ เริ่มมีจำนวนที่มากขึ้นในยุคข้อมูลข่าวสาร เนื่องจากมีการทำ ธุรกรรมทางออนไลน์มากยิ่งขึ้น ผู้คนเร่ิมทำการชำระค่าสินค้า ผ่านสื่ออินเทอร์เน็ต และทำธุรกรรมกับธนาคารทางออนไลน์ หากไมม่ กี ารรกั ษาความปลอดภยั ที่เพียงพอ มจิ ฉาชพี อาจจะล้วง ข้อมูลเกี่ยวกับบัตรเครดิตและข้อมูลส่วนตัวของผู้ใช้งานไปสวม รอยทำธุรกรรมได้ เช่น ไปซื้อสินค้า กู้ยืมเงิน หรือสวมรอยรับ ผลประโยชน์และสวัสดกิ าร 3.3 เพ่ือปอ้ งกันการโจรกรรมข้อมูล เนือ่ งจากข้อมลู ตา่ งๆ มกั เก็บรกั ษาในรูปของดิจิทัล ไม่ว่าจะเป็น เอกสารภาพถ่าย หรอื คลิปวีดโิ อ ขอ้ มลู เหลา่ นอ้ี าจจะถูกโจรกรรมเพอ่ื นำไปขายต่อ แบล็คเมล์ หรือเรยี กคา่ ไถ 3.4 เพื่อป้องกันความเสียหายของข้อมูลและอุปกรณ์ ภัยคุกคามทางไซเบอร์อาจส่งผลเสียต่อข้อมูล และอปุ กรณ์ดจิ ิทลั ได้ ผไู้ ม่หวังดีบางรายอาจมุ่งหวังให้เกิดอันตรายต่อข้อมลู และอปุ กรณ์ทเี่ กบ็ รักษามากกว่าท่ีจะ
ห น้ า | 10 โจรกรรมข้อมูลนั้น ภัยคุกคามอย่างไวรัสคอมพิวเตอร์ โทรจัน และมัลแวร์สร้างความเสียหายร้ายแรงให้กับ คอมพวิ เตอรห์ รือระบบปฏบิ ัตกิ ารได้ 4. ทกั ษะในการรักษาขอ้ มลู สว่ นตวั (Privacy Management) มีดุลพินิจในการบริหารจัดการข้อมูลส่วนตัว รู้จักปกป้องข้อมูลความส่วนตัวในโลกออนไลน์ โดยเฉพาะการแชร์ข้อมูลออนไลน์เพื่อป้องกันความเป็นส่วนตัวทั้งของตนเองและผู้อื่น รู้เท่าทันภัยคุกคามทาง อินเทอรเ์ นต็ เช่น มัลแวร์ ไวรัสคอมพวิ เตอร์ และกลลวงทางไซเบอร์ แนวทางการปอ้ งกนั และแก้ไข มีดังน้ี 1. ไม่ควรตง้ั รหัสผา่ นของบัญชใี ช้งานท่งี ่ายเกินไป 2. ต้งั รหสั ผ่านหน้าจอสมารท์ โฟนอยู่เสมอ 3. แชรข์ อ้ มลู ส่วนตัวในสื่อโซเชียลมีเดียอย่างระมดั ระวงั 4. ใส่ใจกับการตั้งค่าความเป็นส่วนตัว ระมัดระวังในการเปิดเผยชื่อและที่ตั้งของเรา และปฏิเสธแอปท่ี พยายามจะเข้าถงึ ข้อมูลสว่ นตัวของเรา 5. อย่าใช้ไวไฟสาธารณะเมื่อต้องกรอกข้อมูลส่วนตัว เช่น ออนไลน์ชอปปิ้งหรือธุรกรรมธนาคาร หรือ การลงทะเบยี นในสือ่ สงั คมออนไลน์ 6. รูเ้ ทา่ ทันภยั คกุ คามทางอนิ เทอร์เน็ต
ห น้ า | 11 5. ทกั ษะในการจดั สรรเวลาหน้าจอ (Screen Time Management) สามารถในการบริหารเวลาที่ใช้อุปกรณ์ยุคดิจิทัล รวมไปถึงการควบคุมเพื่อให้เกิดสมดุลระหว่างโลกออนไลน์ และ โลกภายนอก ตระหนักถึงอันตรายจากการใช้เวลาหน้าจอนาน เกินไป การทำงานหลายอย่างในเวลาเดียวกัน และผลเสียของ การเสพติดสอื่ ดิจิทัลสำนักวจิ ัยสยามเทคโนโลยีอนิ เทอร์เนต็ โพลล์ ระบวุ า่ วยั รนุ่ ไทยเกือบ 40 % อยากใช้เวลาหนา้ จอมากกว่าออก กำลังกาย และผลการสำรวจจาก We are social พบว่า ในแต่ ละวนั คนไทยใช้เวลาหนา้ จอ ดังน้ี 6. ทกั ษะในการบรหิ ารจัดการข้อมูลท่ผี ใู้ ช้งานมีการทิ้งไว้บนโลกออนไลน์ (Digital Footprints) สามารถเข้าใจธรรมชาตขิ องการใชช้ วี ติ ในโลกดิจิทัลว่าจะหลงเหลือร่อยรอยข้อมูลท้งิ ไว้เสมอ รวมไป ถงึ เข้าใจผลลพั ธ์ที่อาจเกดิ ขึ้น เพอ่ื การดูแลสิ่งเหลา่ น้ีอยา่ งมีความรบั ผดิ ชอบ รอยเท้าดิจทิ ลั (Digital Footprints) คืออะไร รอยเท้าดิจิทัลคือ คำที่ใช้เรียกร่องรอยการกระทำ ต่างๆ ที่ผู้ใช้งานทิ้งรอยเอาไว้ในโลกออนไลน์ โซเชียลมีเดีย เว็บไซต์หรือโปรแกรมสนทนา เช่นเดียวกับรอยเท้าของคน เดินทาง ข้อมูลดิจิทัล เช่น การลงทะเบียนอีเมล การโพสต์ ข้อความหรือรูปภาพ เมื่อถูกส่งเข้าโลกไซเบอร์แล้วจะทิ้งร่อย รอยข้อมูลส่วนตัวของผู้ใช้งานไว้ให้ผู้อื่นติดตามได้เสมอ แม้ ผู้ใช้งานจะลบไปแลว้ ดังนั้น หากเป็นการกระทำที่ผิดกฎหมาย หรือศีลธรรม ก็อาจมีผลกระทบต่อชื่อเสียงและภาพลักษณ์ของผู้กระทำ กล่าวง่ายๆ รอยเท้าดิจิทัลคือทุกสิ่งทุก อย่างในโลกอินเทอร์เน็ตที่บอกเรื่องของเรา เช่น ข้อมูลส่วนตัวที่แชร์ไว้ในบัญชีสื่อสังคมออนไลน์ (Profile) รปู ภาพ/ภาพถ่าย และ ข้อมูลอน่ื ๆ ทเี่ ราโพสตไ์ วใ้ นบลอ็ กหรือเว็บไซต์ 7. ทกั ษะในการรับมือกับการกลัน่ แกลง้ บนโลกไซเบอร์ (Cyberbullying Management) การกลั่นแกล้งบนโลกไซเบอร์ คือ การใช้อินเทอร์เน็ตเป็นเครื่องมือหรือช่องทางเพื่อก่อให้เกิดการ คกุ คามล่อลวงและการกล่ันแกล้งบนโลกอินเทอร์เนต็ และสือ่ สังคมออนไลน์ โดยกลมุ่ เป้าหมายมักจะเป็นกลุ่มเด็ก จนถึงเด็กวัยรุ่น การกลั่นแกล้งบนโลกไซเบอร์คล้ายกันกับการกลั่นแกล้งในรูปแบบอื่นหากแ ต่การกลั่นแกล้ง ประเภทนี้จะกระทำผ่านสื่อออนไลน์หรือสื่อดิจิทัล เช่น การส่งข้อความทางโทรศัพท์ ผู้กลั่นแกล้งอาจจะเป็น เพ่ือนรว่ มชนั้ คนรจู้ ักในสอื่ สังคมออนไลน์ หรืออาจจะเปน็ คนแปลกหนา้ ก็ได้ แตส่ ว่ นใหญ่ผู้ทก่ี ระทำจะรู้จักผู้ที่ถูก กล่ันแกลง้ รูปแบบของการกล่นั แกล้งมกั จะเป็น
ห น้ า | 12 • การว่าร้ายหรือใชถ้ อยคำหยาบคายทำรา้ ยจติ ใจ • การคุกคามทางเพศผ่านสอื่ ออนไลน์ • การแอบอา้ งสวมรอยเป็นคนอ่นื • การแบล็คเมล์ • การสรา้ งกลุ่มทางโซเชียลเพื่อโจมตี วิธจี ัดการเมือ่ ถกู กลน่ั แกล้งบนโลกไซเบอร์ 1. หยุดการตอบโต้กบั ผูก้ ลัน่ แกล้ง Logout จากบัญชสี ือ่ สงั คมออนไลน์ หรือปิดเครื่องมือสื่อสาร 2. ปิดกัน้ การส่อื สารกับผ้กู ล่ันแกล้ง โดยการบลอ็ ก จากรายช่อื ผูต้ ดิ ต่อ 3. ถ้าผกู้ ลั่นแกล้งยงั ไมห่ ยุดการกระทำอีก ควรรายงาน 8. ทกั ษะการใช้เทคโนโลยอี ยา่ งมจี ริยธรรม (Digital Empathy) ถงึ แมห้ ลายคนที่เราพบในโลกออนไลน์ อาจเป็นคนที่ไม่ เคยร้จู ักกนั มาก่อน แต่กค็ วรปฏิบัติต่อกนั ด้วยการใหเ้ กียรติ และ เคารพซึ่งกนั และกนั สอนลูกใหร้ จู้ ักเอาใจเขาใส่ใจเราไม่ว่าจะใน สงั คมภายนอกหรอื สงั คมออนไลน์ เพราะทกุ คนต่างมีความเป็น มนุษย์ท่ีเท่าเทียมกัน แม้บางครั้งเราอาจพบความคดิ เหน็ ที่ต่างไป จากเรา แต่ก็ไม่ได้หมายความวา่ เราจะใช้ถอ้ ยคำรุนแรงต่อว่า พวกเขาได้ รวมทั้ง ไม่ด่วนตดั สนิ ผูอ้ น่ื จากข้อมูลออนไลน์แต่เพียง อยา่ งเดยี ว ก่อนทลี่ ูกจะโพสอะไร เด็กๆ ควรสอนใหใ้ ช้หลกั T.H.I.N.K ดงั น้ี • T - is it true? แน่ใจหรือไม่ว่าสิง่ ท่โี พสตเ์ ปน็ เร่อื งจรงิ ? • H - is it hurtful? ส่งิ ที่เราโพสตจ์ ะทำให้ใครเจบ็ ปวดหรอื เปลา่ ทำร้ายใครหรือไม่? • I - is it illegal? ส่ิงทเี่ ราโพสตผ์ ิดกฏหมายหรือเปลา่ ? • N - is it necessary? เร่อื งที่เราโพสตม์ ปี ระโยชน์ และจำเปน็ หรอื ไม่? • K - is it kind? ส่ิงทเี่ ราโพสต์ เกิดจากเจตนาที่ดใี ช่หรอื เปล่า? เป็นตน้
ห น้ า | 13 คิดก่อนจะโพสต์ลงสังคมออนไลน์ (Think Before You Post) ใคร่ครวญก่อนที่จะโพสต์รูปหรือข้อความลงในส่ือ ออนไลน์ ไม่โพสต์ขณะกำลังอยู่ในอารมณ์โกรธสื่อสารกับผู้อ่ืน ด้วยเจตนาดี ไม่ใช้วาจาที่สร้างความเกลียดชังทางออนไลน์ ไม่ นำลว้ งข้อมูลส่วนตัวของผ้อู นื่ ไมก่ ลัน่ แกลง้ ผอู้ น่ื ผา่ นสอื่ ดิจิทัล สรปุ ความรู้ ความฉลาดทางดจิ ิทัล เป็นคุณลักษณะท่ีพึ่งประสงค์ของคนในยุคดิจิทลั ซง่ึ สง่ิ เหล่านี้ทุกคนควร ได้รับการปลูกฝัง โดยเริ่มจากการเคารพ การเอาใจใส่ และเห็นอกเห็นใจผู้อื่น ไปจนถึงการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล อย่างรอบคอบ การพฒั นาความฉลาดทางดิจทิ ัลนี้ จะทำใหผ้ เู้ รยี นสามารถใช้เทคโนโลยีได้อย่างซาญฉลาด และมี ความรับผิดชอบต่อสังคมได้ โดยควรเริ่มปลูกฝังตั้งแตใ่ นวัยเด็กเพื่อให้พวกเขาเป็นผูค้ วบคุมเทคโนโลยีแทนที่จะ ถูกควบคุมโดยเทคโนโลยี ครู อาจารย์ ผู้ปกครอง และสถาบันการศึกษา ควรให้ความสำคัญในการปลูกฝัง และ พัฒนาความฉลาดทางดิจิทัล ทั้ง 3 ระดับ ได้แก่ พลเมืองดิจิทัล การสร้างสรรค์ทางดิจิทัล และการพัฒนาความ ฉลาดทางดิจิทัล (DQ Citizenship) ทั้ง 8 องค์ประกอบ ให้แก่ผู้เรียนในยุคดิจิทัลโดยเร็วที่สุดที่สามารถทำได้ เพ่ือให้ผูเ้ รยี นมคี วามรับผดิ ชอบต่อสงั คม สามารถใช้เทคโนโลยีอยา่ งชาญฉลาด และรูเ้ ทา่ ทันสงั คมโลกดจิ ิทลั
ห น้ า | 14 อา้ งอิงแหล่งท่มี า สถาบันส่อื เด็กและเยาวชน. (2561). การจัดทำ Fact Sheet‘ความฉลาดทางดจิ ิทัล’ (Digital Intelligence : DQ) และการศึกษาการรงั แกกันบนโลกไซเบอรข์ องวัยรุน่ . กรงุ เทพมหานคร : สถาบันส่ือเด็กและ เยาวชน สถาบันสื่อเด็กและเยาวชน. (2561). ความฉลาดทางดิจติ อล (Digital Intelligence: DQ) และการศกึ ษาการ รงั แกกันบนโลกไซเบอรข์ องวัยรุ่น. สืบคน้ เม่ือ 21 เมษายน 2562, จาก http://cclickthailand.com/contents/research/A2.-final.pdf. สถาบันส่ือเด็กและเยาวชน. (2562). การพัฒนาพลเมอื ง MILD จุดเน้นตามช่วงวัย. สืบค้นเมื่อ 21 เมษายน 2562, จาก http://cclickthailand.com/ชดุ ความรสู้ ำหรับคร/ู ความรู้/การพฒั นาพลเมือง-midl-จุดเนน้ ตาม ชว่ งวยั . ปณติ า วรรณพิรุณ. (2560). “ความฉลาดทางงดิจทิ ัล,” พัฒนาเทคนิคศึกษา. 29 (102), 12-20. สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2562). แนวปฏิบัติของการสร้างและส่งเสริมการรู้ดิจิทัลสำหรับครู. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา.
ห น้ า | 15 เสนออาจารย์ผู้สอน อาจารย์ ดร.สุธิดา ปรชี านนท์ อาจารย์ ดร.สุจติ ตรา จนั ทร์ลอย รายวิชา GD58201 การพัฒนาความเป็นครู หลกั สูตรประกาศนียบตั รบัณฑติ วิชาชพี ครู มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บา้ นจอมบงึ ประวตั ผิ ู้จัดทำ ชอ่ื – นามสกลุ : นางสาวธญั นนั ทน์ เสืองามเอีย่ ม นกั ศกึ ษาหลักสตู รประกาศนียบัตรบณั ฑติ วิชาชีพครู รนุ่ ที่ 23 มหาวิทยาลัยราชภฏั หม่บู ้านจอมบงึ รหัสนกั ศึกษา : 647190608 หมูเ่ รียนท่ี 6 วฒุ กิ ารศึกษา : สำเร็จการศกึ ษาปริญญาตรี คณะส่ือสารมวลชน มหาวทิ ยาลยั รามคำแหง
ห น้ า | 16
Search
Read the Text Version
- 1 - 16
Pages: