Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Books-Small patipan jekjan (1)

Books-Small patipan jekjan (1)

Published by KPN Fighter, 2020-09-19 14:31:36

Description: Books-Small patipan jekjan (1)

Search

Read the Text Version

ความรโู้ รค 2 ความรเู้ รื่องโรคเอด HIV

ความรูโ้ รค 3 บทน�ำ ความเป็นมาและความสำ�คญั ของเน้อื หา การระบาดของเชื้อเอชไอวใี นปัจจบุ ัน ไดส้ ่งผลกระทบต่อสังคมตงั้ แต่ระดับครอบครัว จนถึงระดับสังคม เป็นโรคที่สะทอ้ นใหเ้ หน็ พฤติกรรมของมนุษยไ์ ดอ้ ยา่ งชัดเจน อกี ท้ังเป็นปญั หา สาธารณสุขที่ส าคญั ปญั หาหนึ่ง ในวงการแพทยม์ เี พยี งยาตา้ นไวรสั ทยี่ บั ย้ังการเพม่ิ จ านวนเชอ้ื ในร่างกาย ท่ีจะช่วยประคับประคองและชะลอการเสียชีวติ ของผูท้ ่ไี ดร้ บั เชือ้ เอดส์ให้ยาวนาน ออกไประยะหนงึ่ นอกจากนีเ้ ช้อื เอชไอวี ท าให้ระบบภูมคิ มุ้ กนั โรคภายในรา่ ยกายเกดิ การบกพร่อง หมายถึงว่าผู้ป่วยมีโอกาสเป็นโรคแทรกซ้อนไดอ้ ีกมากมาย และเสยี ชีวติ ด้วยโรคแทรกซ้อน จงึ ต้องเสียค่ารกั ษาพยาบาลในอตั ราที่สงู ในการดูแลผู้ป่วย จากขอ้ มลู การให้บรกิ ารผู้ตดิ เชอื้ เอช ไอวี ระดับประเทศ ณ วนั ที่ 30 กันยายน 2556 พบวา่ จงั หวดั ชลบรุ ี มสี ัดส่วนของผตู้ ดิ เช้ือเอชไอวี รายใหม่ คือกลมุ่ วัยร่นุ ทมี่ อี ายุ 10 – 24 ปี ซ่งึ มีแนวโน้มเพมิ่ สูงขน้ึ อย่างต่อเน่อื งจากรอ้ ยละ 1.77 ในปี 2548 เพิม่ เป็น ร้อยละ 8 ในปี 2556 พรอ้ มทัง้ พบวา่ อัตราการใช้ถงุ ยางอนามยั เพยี ง 51.61 เท่านน้ั จากขอ้ มูลดา้ นพฤตกิ รรมในกลมุ่ วยั ร่นุ ดงั กล่าวขา้ งตน้ สอดคลอ้ งกับอตั ราการป่วยด้วย โรคตดิ ตอ่ ทางเพศสมั พันธ์ต่อแสนประชากร ในกลมุ่ วัยร่นุ อายุ 15 -24 ปี พบว่ามแี นวโน้ม เพ่มิ สูงขึน้ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง จาก 90.62 ตอ่ แสนประชากร ในปี 2553 เป็น 113.68 ต่อแสนประชากร ในปี 2555 (ส านักงานสาธารณสขุ จงั หวดั ชลบุร,ี 2556) สาเหตุของพฤติกรรมเส่ยี งต่อการตดิ เช้อื เอชไอวีในวัยร่นุ อาจเกิดจากปจั จยั หลายประการ อาทิ ขาดความรู้ และทกั ษะเก่ยี วกับเร่ืองเพศ การจดั การอารมณ์ทางเพศตนเอง การแกไ้ ขปัญหาตา่ ง ๆ ในชวี ิต การปฏิเสธอันตราย และความเสี่ยงต่อการติดเชือ้ เอชไอวี เนอ่ื งจาก เนอื้ หาทรี่ ะบบการศกึ ษาใชเ้ ป็นแนวทางการเรยี นการสอนนน้ั ยังไม่สอดคล้อง และไม่ครอบคลมุ พฤตกิ รรมทางเพศทว่ี ยั รุน่ ในสังคมเผชิญหรือปฏบิ ัติอยู่จริง หรอื ขาดความตระหนัก วัยร่นุ ทม่ี ี ความรู้ และทักษะในการป้องกนั ความเส่ียง แต่ยังขาดความตระหนัก และจรงิ จังตอ่ การป้องกนั ตนเอง ไมเ่ ห็นประโยชนข์ องการป้องกัน และไมเ่ ห็นโทษหรือพิษภยั จากพฤติกรรมเสย่ี ง จนยดึ เป็นหลัก ในจิตใจท่ีจะไมป่ ้องกนั ตนเอง วยั ร่นุ บางคนขาดการควบคุมตนเอง ก็อาจคล้อยตามเพอ่ื น

ความรู้โรค 4 แนะนำ�ผูจ้ ดั ท�ำ นาย ปฏิภาณ เจก๊ จันทร์ ปวช 2/14 เลขท่ี 3 อายุ 17 ไดท้ ำ�งานสมุดเล่มเล็กหัวขอ้ เร่ือง ความรู้โรคเอดส์

ความรู้โรค 5 สารบญั เอชไอวีคอื อะไร หนา้ 5 ผลกระทบต่อร่างกายมนูษย์ หนา้ 6 การติดเช้อื เอชไอวี หนา้ 7 การตดิ เช้ือเอชไอว3ี ระยะ หนา้ 8 อาการของโรคเอดส์ หนา้ 9 การรกั ษาการติดเชื้อเอชไอวี หนา้ 10 ตาราง หน้า11 รูปภาพ หนา้ 12 resume หน้า19 อา้ งอิง หน้า20

ความรโู้ รค 6 เน้อื หา 5-10 เอชไอวีและเอดสค์ ืออะไร โรคเอดส์เปน็ ระยะสดุ ท้ายของการตดิ เช้ือเอชไอวี เอชไอวีซึง่ ยอ่ มาจากค�ำ ว่า human immunodeficiency virus เป็นเชือ้ ไวรัส ในขณะทโี่ รคเอดส์ หรือ acquired immune deficiency syndrome คอื กลุ่มอาการของโรค ทเ่ี กิดจากการติดเชอ้ื เอชไอวีซง่ึ เกิดขึ้นเม่ือระบบภูมคิ มุ้ กันของรา่ งกาย ถกู เชอื้ ไวรสั ทำ�ลายจนรา่ งกายของผู้ป่วยไม่สามารถตอ่ สกู้ บั เชอื้ โรคท้ัง หลายที่เขา้ สูร่ ่างกายได้ ผตู้ ดิ เช้อื เอชไอวีอาจไมพ่ ัฒนาอาการจนเปน็ ผ้ปู ว่ ยโรคเอดสเ์ ต็มขนั้

ความรโู้ รค 7 ผลกระทบของเอชไอวีและเอดสท์ ม่ี ตี อ่ ร่างกายมนษุ ย์ เมือ่ รา่ งกายตดิ เช้ือเอชไอวี เช้อื เอชไอวีจะโจมตีระบบภูมิคุม้ กนั ของ ร่างกาย ท�ำ ใหร้ ะบบภูมคิ ุม้ กนั ของร่างกายอ่อนแอลงจนไม่สามารถตอ่ สู้ กับเชื้อโรคที่เขา้ สรู่ า่ งกายได้ จนในท่ีสุดเชื้อไวรัสจะโจมตีร่างกายทง้ั หมด เป้าหมายของเอชไอวคี ือการท�ำ ลายเซลล์ท่มี ีหนา้ ท่ีตอ่ ส้กู ับเชื้อโรคและ การติดเช้ือไวรสั ตา่ งๆ เซลล์นี้มีชอ่ื วา่ CD4 (หรือเซลล์ T-helper) เปน็ เซลลเ์ ม็ดเลอื ดขาวท่มี คี วามส�ำ คญั ต่อการทำ�งานของระบบภมู คิ มุ้ กันของ ร่างกาย เอชไอวีท�ำ ให้ระบบภูมิคุ้มกันรา่ งกายของผตู้ ิดเชอ้ื ออ่ นแอลงจน ทำ�ให้เกิดโรคต่างๆไดง้ า่ ย ในขณะที่คนทมี่ ีระบบภมู คิ มุ้ กนั รา่ งกายทีแ่ ข็ง แรงจะสามารถต่อสู้กับเช้ือโรคเหลา่ น้ีไดด้ ีกว่า ความชา้ เร็วของการด�ำ เนินโรคและผลกระทบทีเ่ ช้อื เอชไอวมี ีต่อรา่ งกาย ขึน้ อยู่กบั ผู้ติดเชอ้ื แต่ละคน ปจั จยั หลายอย่างเช่น สขุ ภาพและอายุ รวมถึง ความช้าเร็วในการได้รบั การรักษา ลว้ นเป็นปจั จัยทม่ี ีผลต่อการดำ�เนนิ โรค ท้ังสิ้น คนบางคนสามารถติดเชือ้ เอชไอวนี านหลายปีโดยไมม่ อี าการของ โรคเอดส์ ปัจจยั ที่อาจท�ำ ให้การติดเชอ้ื เอชไอวีพฒั นาเป็นอาการของโรค เอดสร์ วดเร็วขึน้ น้นั ยงั คงรวมถึงปัจจยั ทางกรรมพนั ธ์ุ การมีอายมุ าก ขน้ึ ภาวะโภชนาการไม่ดี หรอื ตดิ เช้อื ร่วมกบั โรคอื่น เชน่ ตับอกั เสบซหี รอื วัณโรค

ความรู้โรค 8 การติดเชือ้ เอช คนสามารถติดเชือ้ เอชไอวโี ดยการสมั ผัสกบั เลอื ด น�ำ้ อสุจิ ของเหลว จากช่องคลอด หรือแมแ้ ต่นำ้�นมแม่ สาเหตกุ ารแพร่เชือ้ สว่ นใหญ่มาจาก การมเี พศสัมพนั ธ์และการใชเ้ ข็มฉดี ยาร่วมกนั หรือสง่ ผา่ นจากแม่สลู่ ูก ระหวา่ งการต้งั ครรภ์ ดงั นนั้ จึงเปน็ เรอ่ื งสำ�คญั ทคี่ นควรมีเพศสมั พนั ธอ์ ย่างปลอดภยั และ หลกี เล่ียงการสัมผสั กบั เข็มฉีดยาท่ไี มไ่ ดผ้ า่ นการฆ่าเชอื้ โรค ไม่ว่าจะ ระหว่างการไปพบแพทยห์ รอื การใช้เพอื่ นันทนาการ ยงั มีความเข้าใจผดิ เกี่ยวกบั สาเหตขุ องการตดิ เชอ้ื เอชไอวี ไม่ว่าจะ เป็นการตดิ เชื้อเอชไอวีจากการจบั มือทกั ทาย การกอด การจูบ การจาม การใชห้ อ้ งน้ำ�ร่วมกนั การใช้ภาชนะและช้อนสอ้ มรว่ มกนั หรือการสมั ผสั ในรปู แบบอื่นๆท่ไี มท่ ำ�ใหต้ ิดเช้อื เอชไอวี การทำ�กจิ กรรมทก่ี ล่าวมาน้ี ไม่ สามารถทำ�ให้ตดิ เชอ้ื เอชไอวไี ด้

ความรูโ้ รค 9 การตดิ เช้อื เอชไอวี 3 ระยะเฉยี บพลัน (Acute HIV Infectious) เป็นระยะแรกของการตดิ เช้อื เอชไอวี เกิดขน้ึ ระหว่าง 2-4 สัปดาหห์ ลังจากติดเชอื้ ในระยะนผี้ ้ตู ิดเช้ือจำ�นวนมากจะ เร่ิมมีอาการคล้ายเปน็ ไขห้ วดั ใหญ่ เช่น มไี ข้ เจบ็ คอ ต่อมน้ำ�เหลืองโต ปวดเมื่อย ตามร่างกาย มีผน่ื และปวดหัว อาการเหลา่ นเ้ี รียกวา่ acute retroviral syn- drome หรือ ARS เกิดขนึ้ จากการที่รา่ งกายตอบสนองต่อการตดิ เช้ือเอชไอวี ในระยะนี้ เชือ้ ไวรัสจะเพ่ิมจำ�นวนอย่างมากในรา่ งกาย ท�ำ ให้เซลล์ CD4 ใน รา่ งกายลดจ�ำ นวนลงอย่างรวดเร็ว เป็นระยะท่ีมีความเสย่ี งสงู มากท่ีผู้ติดเชือ้ จะแพรก่ ระจายไวรัสไปยังผอู้ นื่ ดงั นัน้ จงึ จ�ำ เป็นต้องปอ้ งกนั การแพรก่ ระจาย ของเชอ้ื เอชไอวี อย่างไรกต็ าม หลงั จากระยะเฉียบพลนั ระบบภูมคิ มุ้ กนั ของรา่ งกายจะค่อยๆ ท�ำ ใหป้ ริมาณของเชอ้ื ไวรัสอยใู่ นระดบั คงท่ี หรือเรียกว่า viral set point หมายความว่าเชอื้ ไวรสั มปี รมิ าณทค่ี งทใ่ี นรา่ งกายและปริมาณเซลล์ CD4 เริ่ม เพม่ิ ข้นึ อีกครั้งหนง่ึ แตจ่ ะไม่สูงเท่ากบั ก่อนตดิ เช้ือ ระยะถดั มาคือ ระยะสงบทางคลินิก (Clinical Latency Stage) เปน็ ระยะที่ เช้ือไวรัสอยู่ในร่างกายโดยไมแ่ สดงอาการใดๆ หรอื อยา่ งมากที่สดุ คือมอี าการ เพยี งเลก็ น้อย บางครัง้ เรียกระยะนีว้ า่ ระยะตดิ เชอ้ื เร้อื รัง (chronic HIV infec- tion) หรือ ระยะตดิ เช้ือโดยไม่มอี าการ (asymptomatic HIV infection) ใน ระยะนไี้ วรัสจะเพิม่ ปรมิ าณมากขึน้ ในระดับตำ�่ และมักจะใชเ้ วลานานถงึ 10 ปี แต่ ส�ำ หรับผตู้ ิดเช้อื บางคนอาจใชเ้ วลาน้อยกว่านน้ั ระยะสุดทา้ ยคือ ระยะโรคเอดส์ (AIDS) เปน็ ระยะทกี่ ารตดิ เชอ้ื เอชไอวีไดพ้ ฒั นา เปน็ โรคเอดส์ ระบบภูมิคมุ้ กันที่แข็งแรงมีปริมาณเซลล์ CD4 อยรู่ ะหวา่ ง 500 ถงึ 1,600 ใน ขณะทผ่ี ู้ป่วยโรคเอดสม์ ี CD4 ต�ำ่ กวา่ 200 เม่อื ถึงจดุ นี้ระบบภมู คิ ุ้มกนั ไดถ้ กู ท�ำ ลายอยา่ งรุนแรงจนผูป้ ว่ ยมีอาการติดเชอ้ื ฉวยโอกาส (opportunistic infections) ซ่ึงเกิดจากเช้อื โรคทีไ่ ม่ก่อใหเ้ กิดโรคในคนท่ีมีระบบภูมคิ ุ้มกนั ที่ แข็งแรง แตจ่ ะทำ�ให้เกิดโรคกับผูท้ ่ีระบบภมู ิคุ้มกันอ่อนแอ แต่ไมว่ ่าผตู้ ดิ เช้ือมี ปริมาณ CD4 เท่าใดก็ตาม หากมีอาการตดิ เชื้อฉวยโอกาสอย่างใดอย่างหน่ึง หรือมากกว่าถอื ว่าผตุ้ ิดเชอื้ น้นั เป็นโรคเอดส์

ความรโู้ รค 10 อาการของโรค อาการของโรคเอดส์มีดงั น้ี อาการของโรคเอดสม์ ีดังน้ี ปอดอกั เสบ สูญเสียความจำ� อาการซมึ เศรา้ และอาการทางระบบประสาทอื่นๆ ท้องเสยี เรือ้ รังนานกวา่ หนง่ึ สัปดาห์ เหนอื่ ยผดิ ปกติ อาการไข้ทก่ี ลับมาเป็นซำ�้ ๆ เหงื่อออกตอนกลางคืน นำ�้ หนกั ลดอย่างรวดเร็ว มผี ่ืนตามผิวหนัง ในช่องปาก จมกู และเปลือกตา แผลท่ีรมิ ฝีปาก อวัยวะเพศและทวารหนัก อาการบวมทต่ี ่อมน�ำ้ เหลืองบริเวณคอ รกั แรแ้ ละขาหนบี อาการของโรคเอดส์อาจเปน็ อาการของโรคอืน่ ที่ไมใ่ ชโ่ รคเอดสก์ ไ็ ด้ ดงั นนั้ วิธกี ารทีด่ ที ่สี ุดที่จะร้วู า่ ตดิ เชือ้ เอชไอวีหรอื ไม่ ควรทำ�การตรวจ เลอื ดหาเชอ้ื เอชไอวี (HIV test)

ความรู้โรค 11 การรักษาการติดเชอ้ื เอชไอวแี ละ ในปัจจบุ ันยงั ไมม่ วี ิธีการรกั ษาการตดิ เช้ือเอชไอวแี ละโรคเอดสใ์ ห้ หายขาดได้ แตม่ ยี าหลายชนิดทีช่ ว่ ยรกั ษาอาการติด เช้อื เอชไอวี มียารกั ษาอาการตดิ เชอื้ เอชไอวแี ละโรคเอดสท์ ี่ได้รับการรับรองมาก กกว่า 25 ชนดิ เรียกว่า ยาตา้ นรโี ทรไวรัส (antiretroviral drugs หรอื เรยี กยอ่ ว่า ARV) ซึ่งทำ�หน้าทย่ี ับย้งั หรอื ตา้ นการแบง่ ตัวของเชือ้ เอชไอวี รวมถึงชว่ ยลดความเสย่ี งในการแพร่กระจายโรคสคู่ นอน่ื การรักษาอาการติดเชือ้ เอชไอวีประกอบดว้ ยการใชย้ าตา้ นไวรัส ในกลมุ่ ARV หลายชนิดรวมกันเพอื่ ตอ่ ส้กู ับการติดเชอื้ หรือเรยี ก ว่า Antiretroviral therapy (ART) วธิ กี ารน้เี ป็นการรักษาโรคโดย การควบคุมไวรสั ไม่ใหข้ ยายพันธุ์ ทำ�ใหผ้ ตู้ ดิ เชอ้ื มีชวี ติ ทีย่ นื ยาวขน้ึ นอกจากน้ียงั ชว่ ยลดความเส่ียงในการแพร่กระจายเชอื้ สคู่ นอน่ื ใน ปัจจบุ นั วงการแพทยแ์ นะน�ำ ใหผ้ ้ตู ิดเชอ้ื เอชไอวีทุกคนรับการรักษา ดว้ ย ยา ARV หากกงั วลวา่ ตัวเองอาจตดิ เช้อื เอชไอวภี ายในระยะเวลา 72 ชวั่ โมง (3 วนั ) สามารถใช้ยา ARV หลังสัมผัสโรค (post-exposure prophy- laxis หรอื ชื่อยอ่ วา่ PEP) เพอื่ ลดโอกาสในการติดเชื้อ ผูม้ คี วามเส่ียง ในการตดิ เช้อื จ�ำ เปน็ ตอ้ งได้รบั ยาใหเ้ ร็วที่สดุ ภายในเวลา 3 วันหลัง จากสัมผสั เชือ้ เอชไอวีเพอื่ ใหก้ ารป้องกนั มปี ระสทิ ธผิ ล นอกจากน้ี ยา ARV สามารถใช้ปอ้ งกนั การตดิ เชอ้ื เอชไอวกี ่อนสัมผสั โรค (Pre-exposure prophylaxis หรือชอ่ื ย่อว่า PrEP) ใชใ้ นผู้ไม่มี เช้ือเอชไอวีแตม่ ีความเสีย่ งตอ่ การตดิ เชื้อเอชไอวีสงู และตอ้ งการ ปอ้ งกันการตดิ เช้อื เอชไอวี ผูม้ ีความเสย่ี งในการติดเชอื้ ตอ้ งรบั ประทานยาทกุ วันเพอ่ื ลดความเสย่ี งในการติดเช้ือ

ปี2533 ความรู้โรค ป2ี 535 12 ปี2540 ปี2545 ตาราง ปี2549 ยอดคนติดเชื้อเอชไอวตี ่อปี 180000คน 430000คน 680000คน 640000คน 550000คน

ความรโู้ รค 13 รูปภาพไมม่ เี นอ้ื หาเน้อื หา

ความรู้โรค 14

ความรูโ้ รค 15 ขอ้ มลู และภาพ ระยะเฉยี บพลนั เป็นระยะทีเ่ กดิ ขน้ึ ในชว่ ง 2-4 สัปดาห์หลงั จากติดเช้อื เอ ชไอวี ผู้ปว่ ยในระยะนี้จะมเี ชอ้ื อยใู่ นเลอื ดเป็นจำ�นวนมาก และแพร่กระจาย เช้ือไปสผู่ ู้อื่นไดง้ ่าย ในชว่ งแรกอาจมอี าการคล้ายกบั โรคไข้หวดั ใหญ่ ซ่งึ เปน็ การตอบสนองของร่างกายจากการติดเชื้อ โดยอาจมอี าการดงั น้ี มีไข้ เจบ็ คอ ปวดศรี ษะ หนาวส่ัน ออ่ นเพลยี มากผิดปกติ ตอ่ มน้ำ�เหลืองบวม มีผื่นแดงและนูนท่ีผวิ หนัง ปวดกล้ามเนือ้

ความรโู้ รค 16 ระยะอาการสงบ เปน็ ระยะที่เชอ้ื ยังคงอยู่ในรา่ งกาย แตม่ อี ัตราการเพิ่ม จำ�นวนของเชอ้ื อยูใ่ นปริมาณต่ำ� ท�ำ ใหผ้ ้ปู ่วยอาจไม่แสดงอาการใด ๆ ออกมาใหเ้ ห็น แต่สามารถแพร่เชือ้ ใหผ้ ู้อ่นื ไดห้ ากไมร่ ะมดั ระวงั ทัง้ นี้ ระยะ อาการสงบนีอ้ าจเกดิ ข้ึนเปน็ เวลายาวนานกว่า 10 ปี ข้นึ อยกู่ บั ภมู ิคุม้ กนั ของแต่ละบคุ คล เพราะผูป้ ่วยในระยะอาการสงบบางรายอาจตอ้ งรบั ประทานยาต้านไวรสั อยา่ งสม่ำ�เสมอเพ่อื ควบคุมอาการและลดโอกาสใน การแพร่เช้อื ใหผ้ ูอ้ ่ืน

ความร้โู รค 17 ระยะเอดส์ เปน็ ระยะทภี่ มู คิ ุ้มกันถูกทำ�ลายจนเสียหายหนกั ทำ�ใหเ้ กดิ การ ติดเชอ้ื และเจบ็ ปว่ ยด้วยโรคต่าง ๆ และเสยี่ งต่อการเสยี ชีวติ โดยเอดสม์ ี อาการส�ำ คญั เชน่ มไี ขอ้ ยู่ตลอดเวลา เหนือ่ ยลา้ หมดแรง น้ำ�หนักลด มี

ความรโู้ รค 18 สาเหตุของเอดส์ เอดส์เกิดจากการติดเชื้อเอชไอวซี ึ่งเป็นเช้ือไวรสั ที่ท�ำ ลายเมด็ เลอื ดขาว ทำ�ใหร้ ะบบภมู คิ ุม้ กนั ท่ีอย่ใู นเม็ดเลือดขาวทำ�งานบกพร่อง โดยเช้อื เอช ไอวีสามารถติดตอ่ กนั ได้ผา่ นทางการรับของเหลวอย่างเลอื ด และผ่าน ทางการมีเพศสัมพันธก์ ับผูท้ ต่ี ิดเชื้อ การติดเชอ้ื จากแมส่ ู่ลูกผ่านการ ตงั้ ครรภ์ การคลอด การใหน้ ม การใช้เข็มฉดี ยาหรอื ส่ิงของท่ีมเี ลอื ดและ ของเหลวของผู้ท่ีติดเชื้ออยู่ เป็นตน้

ความรู้โรค 19 การป้องกนั เอดส์ นอกจากจะสามารถป้องกันการพฒั นาโรคหลังได้รับเชอ้ื ไมใ่ ห้ พัฒนาไปสภู่ าวะเอดส์ได้ดว้ ยการรบั ประทานยาควบคมุ อาการอย่าง ถกู ต้องสม่ำ�เสมอแลว้ วธิ กี ารสำ�คัญในการป้องกนั เอดส์ คอื ปอ้ งกนั ไม่ใหไ้ ด้รับเชอ้ื เอชไอวีเขา้ สรู่ ่างกาย หรือปอ้ งกนั ไม่ใหม้ ีการแพร่ กระจายติดต่อไปยงั บคุ คลอ่ืน เชน่ การรบั ประทานยา PrEP เป็นการ รบั ประทานยาเพือ่ ป้องกันการติดเชือ้ ส�ำ หรับผูท้ ม่ี คี วามเสี่ยงสงู ที่ จะได้รบั เช้ือเอชไอวเี ข้าสู่รา่ งกาย ตอ้ งรบั ประทานยาทุกวนั เพอื่ ลด โอกาสในการตดิ เช้ือ การป้องกันระมดั ระวงั ในเรือ่ งเพศสมั พันธ์ หาก จ�ำ เปน็ ตอ้ งใช้เขม็ ฉดี ยา ตอ้ งใชเ้ ข็มที่สะอาด และไม่ใช้เขม็ ฉีดยารว่ ม กบั ผู้อ่นื และหากคุณแม่ทตี่ ง้ั ครรภม์ ีเช้อื เอชไอวี ตอ้ งปรกึ ษาแพทย์ เพอ่ื รับยาหรอื รกั ษาตามทแ่ี พทย์แนะนำ�อยา่ งเครง่ ครัด

ความรู้โรค res2u0me นาย ปฏภิ าณ เจก๊ จันทร์ อายุ 17 โทรศพั ท์ 0956863023 บ้านเลขท่ี 5/100 เขตสายไหม ถนนสายไหม จงั หวดั กรงุ เทพมหานคร อเี มล [email protected] ประสบการณ์ ในการท�ำ งาน ยงั ไม่มี ทกั ษะการท�ำ งาน ยังไม่มี ประวตั ิการศึกษา ปจั จุบันศึกษาอยทู่ ่วี ิทยาลยั สยามบรหิ ารธรุ กิจ จุดมงุ่ หมาย เพื่อต่อยอดการออกแบบ เกดิ วนั ท่ี 16 เมษายน พ.ศ.2546

ความรโู้ รค 21 อา้ งอิง โดย นพ. อนุวฒั น์ กีระสนุ ทรพงษ์ แพทย์ผเู้ ชี่ยวชาญด้านโรคตดิ เชอ้ื ศนู ยอ์ ายรุ กรรม โรงพยาบาลบ�ำ รงุ ราษฎร์ https://www.bumrungrad.com/th/health-blog/novem- ber-2016/hiv-aids-infection-treatment


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook