Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Unit1 เรื่อง การต่อหลอดเรืองแสงหรือหลอดฟลูออเรสเซนต์

Unit1 เรื่อง การต่อหลอดเรืองแสงหรือหลอดฟลูออเรสเซนต์

Published by polsawat_bat, 2018-05-13 00:48:07

Description: Unit1 เรื่อง การต่อหลอดเรืองแสงหรือหลอดฟลูออเรสเซนต์

Search

Read the Text Version

๒๕๖๑ ใบความรู้เรื่อง การตอ่ หลอดเรืองแสงหรือหลอดฟลอู อเรสเซนต์ ศึกษา www.polsawat_bat@hotmai l.com 15/5/2561

ใบความรู้เรื่อง การตอ่ หลอดเรอื งแสงหรอื หลอดฟลูออเรสเซนต์การปฏบิ ัติงานไฟฟ้า งานไฟฟ้าเปน็ งานชา่ งในบ้านท่ีมีความสาคัญต่อการดารงชีวติ ของมนุษย์ในยุคปจั จุบันน้ี มาก เพราะการนาเอา พลังงานไฟฟ้ามาใช้ในรปู แบบต่างๆ เช่น พลังงานกล พลงั งานความร้อน พลังงานแสงสว่าง พลงั งานเสียง ทาให้มนุษย์ มีความสะดวกสบายในการประกอบกิจกรรมการ ดาเนนิ ชวี ิตประจาวนั ขอบข่ายของงานไฟฟา้ เปน็ การนาความรู้ความเขา้ ใจเบือ้ งตน้ เกย่ี วกับงานไฟฟ้า โดยใช้ ทกั ษะกระบวนการทางาน ไฟฟา้ มาปฏบิ ัตเิ กีย่ วกับการเดนิ สายไฟฟ้า การต่อวงจรไฟฟ้า สวติ ช์ ปลกั๊ ดวงโคมสอ่ งสว่าง การซ่อมแซมเคร่ืองมือ เครื่องใชไ้ ฟฟ้า การเลือกซ้ือเครื่องมือ เครอื่ งใช้ไฟฟ้าได้อยา่ งปลอดภัยประโยชนท์ ี่ได้รบั จากการปฏิบัตงิ านไฟฟ้า มดี ังน้ี 1. สามารถใชเ้ ครื่องมืองานชา่ งไฟฟา้ ได้ถูกตอ้ ง ถกู วิธี และปลอดภยั 2. สามารถชว่ ยเหลอื ตนเองได้ เมอ่ื มปี ญั หาเกย่ี วกับงานไฟฟ้าภายใน ภายนอกบ้าน 3. สามารถสรา้ งหรือผลติ ซอ่ มแซมปรบั ปรุงแก้ไขช้ินงาน เครือ่ งมอื เครื่องใช้ไฟฟ้าได้ ถกู ต้องและปลอดภัย 4. ส่งเสริมการเรียนรูเ้ ร่ืองราวของเทคโนโลยี และเสรมิ สร้างการใช้ไฟฟา้ ได้อย่าง ประหยดั มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล 5. ช่วยลดปัญหาการเกดิ อัคคภี ัยจากไฟฟา้ ลดั วงจร 6. เป็นพนื้ ฐานในการศึกษาต่อ เพื่อการประกอบอาชีพต่อไป ตวั อย่างการปฏบิ ัตงิ านไฟฟ้าในบา้ น การซอ่ มดวงโคมส่องสว่าง (หลอดฟลูออเรสเซนต)์ ปัญหาหรือความต้องการ คือ เปดิ สวติ ช์แลว้ ดวงโคมส่องสว่าง (หลอดฟลอู อเรสเซนต)์ ไมส่ ่องสว่าง การวิเคราะห์งาน

1. ตรวจสอบระบบไฟฟา้ ทง้ั ระบบ ได้แก่ แผงเมนสวิตช์ สวิตชเ์ ปิด-ปดิ และระบบสายไฟฟา้ และองคป์ ระกอบของดวงโคมสอ่ งสว่าง (หลอดฟลูออเรสเซนต์) 2. สรปุ สาเหตุ คือ ดวงโคมส่องสวา่ ง (หลอดฟลูออเรสเซนต)์ ไม่ส่องสว่าง เพราะในระบบใด ระบบหนง่ึ เกิดการบกพร่อง 3. ประเมนิ ทางเลือก คือ ตัดสินใจซ่อมดวงโคมสอ่ งสวา่ ง (หลอดฟลูออเรสเซนต์) ดว้ ยตนเอง การวางแผนการทางาน 1. ศกึ ษาหาความรู้เก่ยี วกับการซอ่ มดวงโคมสอ่ งสวา่ ง (หลอดฟลูออเรสเซนต์) 2. จดั เตรยี มเคร่ืองมือ วสั ดอุ ุปกรณ์ เช่น ไขควงเชค็ ไฟ ไขควงปากแฉก ไขควงปากแบน มีดคตั เตอร์ คีมปอกสายไฟฟา้ เป็นต้น3. ศกึ ษาวธิ ีการซ่อมดวงโคมส่องสวา่ ง (หลอดฟลูออเรสเซนต์) จากคู่มือขัน้ ตอนการปฏิบัตงิ าน1. ตรวจสอบแผงเมนสวติ ช์ สายไฟฟา้ เข้า-ออก2. ตรวจสอบสวติ ชเ์ ปิด-ปดิ ของดวงโคมส่องสว่าง (หลอดฟลูออเรสเซนต์) ดว้ ยไขควงเช็คไฟปรากฏวา่ มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน3. ตรวจสอบองคป์ ระกอบของดวงโคมส่องสวา่ ง (หลอดฟลอู อเรสเซนต์) ไดแ้ ก่ บัลลาสต์สตาร์ตเตอร์ และตวั ดวงโคมส่องสวา่ ง (หลอดฟลูออเรสเซนต์) ถ้าที่ขวั้ สตาร์ตเตอร์ไม่มกี ระแสไฟฟ้าไหลผา่ น แสดงว่าสตาร์ตเตอรเ์ สยี4. ถอดสตารต์ เตอรอ์ อกจากช่องสตารต์ เตอร์ โดยการหมนุ ทวนเข็มนาฬิกา และนาสตาร์ตเตอร์ตวั ใหม่ใสเ่ ขา้ แทนที่ โดยหมนุ ตาม เข็มนาฬิกา ทดสอบการไหลของกระแสไฟฟ้า ถา้กระแสไฟฟา้ ไหลตามปกติ แต่หลอดไฟยงั ไมส่ วา่ งใหเ้ ปลย่ี นหลอดไฟใหม่5. ประเมินผลการทางาน ทดลองเปดิ สวิตช์ไฟฟา้ ของดวงโคมส่องสวา่ ง (หลอดฟลอู อเรสเซนต์)หลอดไฟมแี สงสว่าง6. จัดเก็บเคร่ืองมอื วสั ดุอุปกรณ์ และทาความสะอาดบรเิ วณสถานที่ ปฏิบตั ิงานสาเหตุและวธิ แี ก้ไขในกรณีทดี่ วงโคม (หลอดฟลูออเรสเซนต์)ไม่สอ่ งสวา่ ง1. อาการหลอดสั่น หรือกระพรบิ ตลอดเวลา เกิดจาก •ตวั starter เสีย วิธที ดสอบกค็ ือให้ถอด starter ออกขณะที่หลอดติดอยู่ ถ้าหลอดหยดุกระพริบแสดงวา่ start เสยี เปลีย่ นใหม่ไดเ้ ลย •หลอดเพ่ิงซื้อมาใหม่ ทาไมถงึ กระพริบ?สาเหตุเกิดจากหลอดใหมเ่ กินไปครับ ก๊าซท่ีอยใู่ นหลอดอาจจะยงั ไมค่ งที่ ให้ลองเปดิ ท้งิ ไว้สกั 15-30 นาทกี ค็ วรจะหายครับ •แรงดันไฟฟ้าตา่ เกนิ ไป เมอื่ ไฟตก หรือมใี นพ้ืนที่มีการจา่ ยกระแสไฟไม่ถึง 200V จะทาให้หลอดกระพริบได้ วิธีแกค้ ือให้ตดิ หมอ้ แปลงไฟ หรอื Line Stabilizer ท่คี อยรกั ษาแรงดันไฟให้คงท่ี ก็

จะชว่ ยใหห้ ลอดหายกระพริบได้ นอกจากนี้ ยังช่วยยืดอายุของอุปกรณ์ไฟฟ้าของคุณด้วย เหมาะสาหรบั เขตท่ีมีไฟตกหรอื ไฟดับบ่อยๆ2. ใชเ้ วลานานกวา่ หลอดจะสวา่ ง เกิดจาก •Starter เสอื่ มหรอื เสีย ใหล้ องเอา starter จากหลอดอ่ืนมาลองเปลย่ี นดู •หลอดเสอ่ื ม ใหส้ ังเกตทุ ี่ไส้หลอด (ตรงปลายทั้ง 2 ข้าง) ถ้าดามากๆก็ควรจะเปลยี่ นได้แล้ว •แรงดันไฟต่า ลองใช้ meter วดั ไฟดวู า่ กระแสคงท่ี 200~220V หรือไม่3. มเี สียงดังหง่ึ ๆเวลาเปิด เกดิ จาก •สาเหตสุ ่วนใหญจ่ ะมาจาก ballast เพราะเปน็ เสยี งจากแกนแม่เหลก็ ในตัว ballast สนั่4. ขว้ั หลอดดาเร็วกวา่ ปกติ •ตวั ballast จ่ายกระแสไฟมีปญั หา ลองเปลี่ยน ballast ดู หรือใช้ ballast electronic กไ็ ด้ราคาแพงกวา่ ไม่มาก แตค่ ุณภาพดกี วา่ เยอะครบัหลอดไมต่ ดิ - ไม่มีไฟเข้าหลอด - ขาหลอดหรอื ขวั้ สต็าร์ทเตอร์หลอม - สตารท์ เตอรเ์ สือ่ ม - หลอดเส่อื มคุณภาพ - บลั ลาสต์เส่อื ม - ตรวจสอบจุดตอ่ ของวงจร - ขันยึดสกรูใหแ้ น่น - เปลยี่ นอุปกรณ์ - เปลีย่ นอุปกรณ์ - เปลย่ี นอุปกรณ์หลอดไฟฟา้ ใหแ้ สงสว่างไมส่ มา่ เสมอ - แรงดนั ไฟฟ้าตก

- หลอดเส่อื มคุณภาพ - บลั ลาสต์เสอื่ มคุณภาพ - ไม่ใชก้ ระแสไฟฟ้าพร้อมกนั หลาย ๆ จดุ - เปลย่ี นอปุ กรณ์มีเสียงครางขณะเปดิ ไฟ - ติดตงั้ บาลาสต์ไม่แนน่ - อปุ กรณ์ในตวั บัลลาสต์หลวม - ขายดึ หลอดหลวม - บัลลาสตเ์ สื่อมคณุ ภาพ - ขนั ยดึ สกรตู ามจุดตา่ ง ๆ - ขันยึดสกรตู ามจุดต่าง ๆ - ขนั ยดึ สกรูตามจดุ ตา่ ง ๆ - เปลย่ี นอปุ กรณ์หลอดตดิ ๆ ดบั ๆ - ขาหลอดหลวม - สตาร์ทเตอรเ์ สีย - บลั ลาสต์เสยี หรอื ใชผ้ ดิ ขนาด - หลอดเส่ือมคุณภาพ - แรงดันไฟตก - ขันสกรยู ึดขาหลอดให้แนน่ - เปลย่ี นอุปกรณ์ - เปล่ียนอปุ กรณ์ - เปลย่ี นอปุ กรณ์ - ไม่ใชก้ ระแสไฟฟ้าพร้อมกันหลายจดุหลอดขาดทันทีเม่ือเปดิ สวิทช์ - ตอ่ วงจรผดิ - ใชบ้ ลั ลาสต์ผิดขนาดของหลอด

- แรงดันไฟฟ้าสูงกวา่ ขนาดของหลอด - ตรวจสอบการต่อวงจร- เปลย่ี นบัลลาสต์ใหถ้ กู ต้อง- เปล่ียนหลอดใหถ้ ูกต้องกบั แรงดนั ไฟฟา้หลอดติดช้า - หลอดเสือ่ ม- บัลลาสตห์ รอื สตาร์ทเตอร์เสื่อม - ขันยดึ สกรูทขี่ าหลอดใหแ้ น่น- กระแสไฟฟ้าตก- ขาหลอดหลวม - เปล่ียนอปุ กรณ์- เปลย่ี นอปุ กรณ์- ไม่ใช้กระแสไฟพร้อมกนั หลาย ๆจุดหลอดเสีย หรอื หลอดเสอื่ มเรว็ - ปดิ เปดิ บอ่ ยเกนิ ไป- สตาร์ทเตอร์เสื่อม - ใช้ไฟฟา้ เมอื่ จาเปน็- ใช้บลั ลาสต์ผดิ ขนาด - เปลย่ี นอุปกรณ์- บลั ลาสตเ์ สอ่ื มคุณภาพ - ทาความสะอาดหรอื เปลี่ยนสวิทช์- หนา้ สัมผสั สวทิ ช์สกปรก – ใช้ไฟฟ้าเมื่อจาเป็นสรปุ หลอดฟลอู อเรสเซนต์(Fluorescent Lamp) เปน็ หลอดไฟฟา้ ทน่ี ิยมใช้กนั ท่ัวไป เพราะวา่ให้แสงสว่างนวลสบายตา และมีอายกุ ารใชง้ านทยี่ าวนาน กว่าหลอดไส้ถึง 8 เท่า ลกั ษณะของหลอดเปน็ รปู ทรงกระบอก รูปวงกลมและตัวยู มขี นาดอัตราทนกาลงั 10 วัตต์ 20 วตั ต์ 32 วัตต์และ 40 วตั ตเ์ ป็นตน้ ขนาด 40 วตั ต์มอี ายุการใชง้ าน 8,000 ถงึ 12,000 ช่วั โมง ให้ความสว่างของแสงประมาณ 3,100 ลเู มนhttps://sites.google.com/site/thrngxphinanth/phaenkar-cadkar-reiyn-ru/bi-khwam-ruใบความรู้ - ทรงอภนิ ันท์ - Google Sites

https://sites.google.com/site/thrngxphinanth/phaenkar-cadkar-reiyn-ru/bi-khwam-ruตรวจสอบระบบไฟฟา้ ทัง้ ระบบ ได้แก่ แผงเมนสวิตช์ สวิตชเ์ ปิด-ปดิ และระบบสายไฟฟา้ ... ตรวจสอบสวติ ชเ์ ปดิ -ปดิ ของดวงโคมส่องสวา่ ง (หลอดฟลูออเรสเซนต์) ด้วยไขควงเช็คไฟ ปรากฏว่ามีกระแสไฟฟา้ ไหลผา่ น ... แรงดนั ไฟฟา้ สงู กว่าขนาดของหลอด - ตรวจสอบการต่อวงจร.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook