Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือโรงเรียนคุณภาพ SMT

คู่มือโรงเรียนคุณภาพ SMT

Description: คู่มือโรงเรียนคุณภาพตามมาตรฐาน สสวท. (SMT)

Search

Read the Text Version

สารบญั หนา ทม่ี าและความสาํ คัญ 1 วัตถปุ ระสงค 2 เปา หมาย 2 มาตรฐานและตัวชีว้ ดั 3 4 - มาตรฐานที่ 1 ดา นคุณภาพนักเรียน ตามมาตรฐาน สสวท. 6 - มาตรฐานท่ี 2 ดานคุณภาพครู ตามมาตรฐาน สสวท. 8 - มาตรฐานท่ี 3 ดานการบรหิ ารจัดการโรงเรยี น ตามมาตรฐาน สสวท. 11 คําอธิบายคณุ ภาพโรงเรยี นในโครงการ 11 ­ คาํ อธบิ ายคุณภาพ มาตรฐานดานคุณภาพนักเรียน 14 ­ คําอธิบายคุณภาพ มาตรฐานดา นคุณภาพครู 20 ­ คําอธิบายคุณภาพ มาตรฐานดานการบริหารจัดการโรงเรยี น 24 เครอื ขายความรวมมอื 25 - บทบาทเครือขา ยหนว ยงาน 27 - บทบาทเครือขายบุคลากร การพัฒนาและการสนบั สนุนโรงเรยี นคณุ ภาพวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยี 28 ตามมาตรฐาน สสวท. 30 กรอบการดําเนนิ งาน 31 บทบาท ภาระหนาทข่ี องโรงเรียน 31 ชองทางการติดตอ โครงการฯ 33 ภาคผนวก 35 39 อภธิ านศพั ท 55 แผนพัฒนาการศึกษาโรงเรยี นคณุ ภาพฯ รายช่ือคณะทาํ งาน

คมู อื โรงเรยี นคณุ ภาพวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยี ตามมาตรฐาน สสวท. (โรงเรยี นคณุ ภาพ SMT สสวท.) 1. ทมี่ าและความสาํ คญั การบรรลุเปาหมายประเทศไทย 4.0 และเปาหมายการพัฒนาจังหวัดตามความตองการของพ้ืนท่ี จาํ เปน ตองเพ่ิมกําลังคนท่ีมีศักยภาพดานการคิดสรางสรรค การคดิ อยา งมีวิจารณญาณ สามารถประยุกตใช ความรูทางวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยีในการแกปญหา เพ่ือนําไปใชในชีวิตประจําวันและ การประกอบอาชีพ โดยยกระดับคุณภาพการศึกษาดานวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยี ตั้งแต ระดบั ประถมศึกษาถึงระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย ในทุกอาํ เภอท่ัวประเทศ ท่ผี านมากระทรวงศึกษาธกิ ารกําลังเรงดําเนนิ การพัฒนาโรงเรียนดอยโอกาสดว ยโครงการตาง ๆ เชน โรงเรียนประชารฐั โรงเรียนดีใกลบาน โรงเรียน ICU รวมทั้งโรงเรียนคุณภาพในระดับตําบล ฯลฯ นอกจากนี้ ยังมีโครงการสงเสริมโรงเรียนศักยภาพสูงดานวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยี เชน โรงเรียน มหิดลวิทยานุสรณ โรงเรียนวิทยาศาสตรจุฬาภรณราชวิทยาลัย และโรงเรียนในโครงการของสถาบัน สง เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี (สสวท.) เชน โครงการพฒั นาและสง เสริมผูม ีความสามารถพิเศษ ทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (พสวท.) โครงการพัฒนาอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร และโครงการหอ งเรียนพิเศษวทิ ยาศาสตร อยางไรก็ตาม โรงเรียนท่ีมีระดับคุณภาพการศึกษาในระดับปานกลาง ซ่ึงนับวาเปนโรงเรียน กลุมใหญที่สุด มีจํานวนนักเรียนเกินครึ่งของนักเรียนท่ัวประเทศยังไมไดรับการพัฒนาอยางเขมแข็ง ตางจากโรงเรียนที่มุงเนนความเปนเลิศและโรงเรียนดอยโอกาสที่มีแนวทางการพัฒนาอยางชัดเจน ซึ่ง หากโรงเรียนเหลานี้ไดมโี อกาสในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาใหมีความเขมแข็งทางวิชาการ และมีความพรอม ในการใหบริการดานการศึกษาวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยี แกนักเรียนและชุมชน อันจะเปน การเพ่ิมโอกาสการเขา ถงึ การศึกษาอยา งมีคณุ ภาพไดตอไป สสวท. จึงไดดําเนินโครงการโรงเรียนคุณภาพวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยี ตามมาตรฐาน สสวท. ที่สงเสริมการจัดการเรียนการสอนดานวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยี โดยเปดโอกาสใหเยาวชนในทุกอําเภอไดเขาถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ ไดรับการพัฒนาจนมีความสามารถ และมีทักษะการเรียนรูท่ีจําเปนในการพัฒนาประเทศสูยุค 4.0 เพ่ือยกระดับผลสัมฤทธิ์ใหสูงขึ้น และ ลดความเหลอ่ื มลํ้าทางการศึกษา โดยการรวมมือกับจังหวัด อําเภอ และทอ งถน่ิ 1

2. วัตถปุ ระสงค 2.1 เพ่ือพัฒนาโรงเรียนในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน สํานักงานสงเสริม การศึกษาเอกชน กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม กรมสงเสริม การปกครองทองถ่ิน สํานักการศึกษา กรุงเทพมหานคร และสํานักการศึกษาเมืองพัทยา ท่ีกระจายอยทู ุกอําเภอ ใหมีคุณภาพดานวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยี ตามมาตรฐาน สสวท. ซ่ึงชวยใหนักเรียนมีทางเลือกที่จะเขาศึกษาในโรงเรียนใกลบานและลดความเหลื่อมล้ํา ทางการศึกษา 2.2 เพ่ือพัฒนาผูบริหารสถานศึกษา ครู ศึกษานิเทศก และผูเชี่ยวชาญ ใหมีความรูความสามารถ ในการจดั การเรียนรูดา นวทิ ยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยี ตามแนวทาง สสวท. 2.3 เพ่ือพัฒนานักเรียนใหมีทักษะการเรียนรูท่ีเนนการคิดสรางสรรค การคิดอยางมีวิจารณญาณ สามารถประยุกตใชความรูทางวิทยาศาสตร คณิตศาสตร และเทคโนโลยีในการแกปญหา ซึ่ง สงผลตอ การพฒั นาผลสัมฤทธิท์ างการเรียน การนําไปใชในชีวิตประจาํ วนั และการประกอบอาชีพ 2.4 เพื่อสรางและพัฒนาเครือขายความรวมมือในการสงเสริมทรัพยากรบุคคลใหมีศักยภาพสูงข้ึน ดานวทิ ยาศาสตร คณติ ศาสตรและเทคโนโลยี สอดคลอ งกบั แผนการพัฒนาระดบั จังหวดั 3. เปา หมาย 3.1 โรงเรียนระดับประถมศึกษาและระดับมัธยมศึกษาที่เขารวมโครงการ จํานวนไมนอยกวา 1,500 โรงเรียน ไดรับการพัฒนาดานวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยี กระจายอยูทุกอําเภอ ในประเทศไทย 3.2 ผูบริหารสถานศกึ ษาทเี่ ขา รวมโครงการ จํานวนไมนอยกวา 1,500 คน ไดร ับการพัฒนาใหมีความรู ความสามารถดานการบริหารจัดการโรงเรียนคุณภาพวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยี ตามมาตรฐาน สสวท. 3.3 ครูท่ีเขารว มโครงการไดรับการพัฒนาใหมคี วามรูความสามารถในการจัดการเรียนรูดานวิทยาศาสตร คณติ ศาสตรแ ละเทคโนโลยี ตามมาตรฐาน สสวท. 3.4 นักเรียนท่ีเขารวมโครงการไดรับการพัฒนาศักยภาพทักษะการเรียนรูทางวิทยาศาสตร คณิตศาสตร และเทคโนโลยี ตามมาตรฐาน สสวท. เพอ่ื นําไปใชใ นชวี ติ ประจาํ วนั และการประกอบอาชพี 3.5 ศึกษานิเทศกและผูเช่ียวชาญท่ีเขารวมโครงการ ไดรับการพัฒนาใหมีความรูความสามารถ ในการจดั การเรียนรดู านวิทยาศาสตร คณิตศาสตรแ ละเทคโนโลยี ตามมาตรฐาน สสวท. 3.6 มีการทําบันทึกขอตกลงความรวมมือ (MoU) ระหวางโรงเรียนกับเครือขายความรวมมือ ในการพัฒนาและสนับสนุนโรงเรียนวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยี ตามมาตรฐาน สสวท. จาํ นวนไมนอยกวา 1,500 ฉบับ 2

4. มาตรฐานและตวั ชวี้ ัด สสวท. กาํ หนดระดบั โรงเรยี นคณุ ภาพ SMT สสวท. เปน 4 ระดับ ดงั นี้ o ระดับกาวหนา (Progressive Schools) คือ โรงเรียนที่ผานเกณฑการประเมินมาตรฐาน ดานคุณภาพนักเรียน ดานคุณภาพครู และดานการบริหารจัดการโรงเรียน ที่มีมาตรฐาน บางดา น อยใู นระดบั A o ระดับดี (Good Schools) คือ โรงเรียนที่ผานเกณฑการประเมินมาตรฐานดานคุณภาพ นักเรียน ดานคุณภาพครู และดานการบริหารจัดการโรงเรียน โดยไมมีมาตรฐานดานใด ดา นหนึ่งต่าํ กวาระดบั 2A o ระดับดีมาก (Very Good Schools) คือ โรงเรียนที่ผานเกณฑการประเมินมาตรฐาน ดานคุณภาพนักเรียน ดานคุณภาพครู และดานการบริหารจัดการ โดยไมมีมาตรฐานดานใด ดานหน่ึงตาํ่ กวา ระดบั 3A o ระดับดีเยี่ยม (Excellent Schools) คือ โรงเรียนที่ผานเกณฑ การประเมินมาตรฐาน ดานคุณภาพนักเรียน ดานคุณภาพครู และดานการบริหารจัดการโรงเรียน ที่มีมาตรฐาน อยใู นระดับ 4A ทกุ ดา น สําหรับเกณฑการประเมินมาตรฐานในแตละดาน พิจารณาจากผลการประเมินตัวชี้วัดของ มาตรฐานแตละดา น ดังตาราง มาตรฐาน A 2A 3A 4A (จาํ นวนตัวชวี้ ดั ) (นอ ยกวารอยละ 70) (รอ ยละ 70-79) (รอยละ 80-89) (รอ ยละ 90 ข้ึนไป) ดานคณุ ภาพนักเรยี น (7) 7-19 คะแนน 20-21 คะแนน 22-24 คะแนน 25-28 คะแนน ดา นคณุ ภาพครู (5) ดานการบริหารจัดการโรงเรียน (6) 5-13 คะแนน 14-15 คะแนน 16-17 คะแนน 18-20 คะแนน 6-16 คะแนน 17-19 คะแนน 20-21 คะแนน 22-24 คะแนน ตวั อยา งการกาํ หนดระดบั โรงเรยี นคณุ ภาพ โรงเรยี น ดา น ดาน ดาน สรุปผลการประเมิน คณุ ภาพนกั เรียน คุณภาพครู การบรหิ ารจดั การโรงเรียน 2A ก 2A 3A 4A A 3A ข 2A A 4A A ค 4A 4A 3A งA A A 3

มมาาตตรรฐฐาานนแแลละะตตวัวั ชชว้ีีว้ ดัดั สรับาํ หรอรบังโโรรงงเเรรียยี นนคคณุุณภภาาพพววิททิ ยยาาศศาาสสตตรร คคณณติติ ศศาาสสตตรรแแลละะเเททคคโโนนโโลลยยีี ตตาามมมมาาตตรรฐฐาานน สสสสววทท.. ((โโรรงงเเรรยียี นนคคณุณุ ภภาาพพ SSMMTT สสสสววทท..)) สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ไดกําหนดมาตรฐานและตัวช้ีวัด สําหรับโรงเรียนคุณภาพวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยี ตามมาตรฐาน สสวท. เพ่ือใหหนวยงานและผูเก่ียวของนําไปใชเปนกรอบแนวทางการพัฒนาและเคร่ืองมือในการติดตาม ประกอบดวยมาตรฐาน 3 ดาน คือ มาตรฐานดานคุณภาพนักเรียน มาตรฐาน ดา นคุณภาพครู และมาตรฐานดา นการบริหารจัดการโรงเรียน รายละเอียดดังน้ี มาตรฐานท่ี 1 ดานคณุ ภาพนกั เรยี น ตามมาตรฐาน สสวท. เปา ประสงค ตัวช้วี ดั ตัวอยา งรอ งรอยหลักฐาน 1. นกั เรยี นมีทักษะการเรียนรู 1. นกั เรียนมกี ารคดิ สรางสรรค การคดิ อยางมวี ิจารณญาณ สามารถ - ผงั กราฟก* (Graphic Organizers) ของกิจกรรม ทางวทิ ยาศาสตร คณิตศาสตร ประยกุ ตใชความรทู างวิทยาศาสตร คณิตศาสตร และเทคโนโลยี วทิ ยาศาสตร คณติ ศาสตรแ ละเทคโนโลยี และเทคโนโลยี ในการแกปญหา - นวตั กรรม ผลงาน ช้ินงาน สง่ิ ประดิษฐห รอื โครงงาน 2. นักเรยี นสามารถสรา งนวัตกรรม ผลงาน ช้ินงาน สิง่ ประดษิ ฐ 4 หรือโครงงานในกจิ กรรมวิทยาศาสตร คณติ ศาสตรและ ของนักเรียนในกจิ กรรมวิทยาศาสตร คณิตศาสตร เทคโนโลยี และเทคโนโลยี 3. นักเรียนสามารถใชเทคโนโลยีเพือ่ การเรียนรูและการสือ่ สาร - กจิ กรรมสง เสริมการคิดสรางสรรค ไดอยา งเหมาะสม การคิดอยางมวี จิ ารณญาณ สามารถประยุกตใชความรู 4. นกั เรียนสามารถสืบเสาะหาความรทู างวิทยาศาสตร สํารวจ ทางวทิ ยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยี และสรา งขอความคาดการณทางคณิตศาสตร และแกป ญหา ในการแกปญหา เชน ประกวด แขงขนั ทัศนศกึ ษา หรือพฒั นางานอยางมีความคิดสรางสรรค ดวยกระบวนการ คา ยวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยี เปนตน ออกแบบเชิงวิศวกรรมและการคิดเชิงคาํ นวณ - หลักฐาน หรอื รองรอยในการสะทอ นคดิ - ผลการสมั ภาษณน กั เรยี น - ผลงาน ใบงาน ใบกจิ กรรม หรอื ช้นิ งานของนักเรียน - สมุดบันทกึ การออกแบบการทดลองของนักเรยี น

5 เปาประสงค ตัวช้วี ดั ตวั อยา งรอ งรอยหลักฐาน - สมดุ บนั ทึกผลการทดลอง 2. ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน 5. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนในการเรยี นรูวทิ ยาศาสตร - ผลการสังเกตพฤตกิ รรมการลงมือปฏบิ ัติการ ของนักเรียนในการเรยี นรู คณิตศาสตร และเทคโนโลยีอยูใ นเกณฑส งู - ผลการประเมนิ การคดิ สรางสรรค วทิ ยาศาสตร คณติ ศาสตร - ระดบั ประถมศกึ ษา และเทคโนโลยีอยูใ นเกณฑส งู มผี ลสัมฤทธ์ิเฉลย่ี รวม 3 สาระการเรียนรู รอ ยละ 70 ข้ึนไป การคิดอยางมีวิจารณญาณ สามารถประยุกตใ ชความรู - ระดบั มัธยมศึกษา ทางวิทยาศาสตร คณติ ศาสตร และเทคโนโลยี 3. นกั เรียนมีเจตคติท่ดี ี มคี า GPA เฉลีย่ รวม 3 สาระการเรียนรู ตัง้ แต 3.00 ขนึ้ ไป ในการแกปญหา ตอการเรยี นรวู ิทยาศาสตร คณิตศาสตร และเทคโนโลยี 6. ผลการสอบ O-NET สาระการเรยี นรูว ิทยาศาสตร คณติ ศาสตร *ผังกราฟก (Graphic Organizers) คือแบบของการสื่อสาร สูงกวาคาเฉล่ยี ระดบั ประเทศ เพ่ือใชนําเสนอขอมลู ท่ีไดจากการรวบรวมอยางเปน ระบบ มีความ เขาใจงายกระชับกะทัดรัดและชัดเจน ไดแก Mind map, Fish 7. นักเรยี นมเี จตคติทดี่ ีตอการเรียนรวู ิทยาศาสตร คณิตศาสตร bone, Concept map, Tree diagram หรือ Venn diagram และเทคโนโลยี เปนตน - รายงานผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนของนักเรยี น ในสาระการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตร คณติ ศาสตร และเทคโนโลยี - รายงานผลการทดสอบระดับชาติ (O-NET) สาระการเรียนรูว ิทยาศาสตร คณิตศาสตร ณ ปการศึกษาทรี่ ายงาน - ผลการประเมนิ เจตคตขิ องนักเรยี นทีม่ ตี อการเรียนรู วิทยาศาสตร คณิตศาสตร และเทคโนโลยี - ผลการสัมภาษณนกั เรียน

มาตรฐานที่ 2 ดานคุณภาพครู ตามมาตรฐาน สสวท. เปา ประสงค ตัวชี้วัด ตวั อยา งรองรอยหลักฐาน 1. ครูสามารถออกแบบและจดั การ 1. ครูมคี วามสามารถในการออกแบบการเรียนรูท ่ีสง เสรมิ - หนวยการเรียนรู - แผนการจัดการเรยี นรู เรยี นรู ทสี่ งเสริมทักษะการเรียนรู ทกั ษะการเรียนรูทางวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและ - ผลการสงั เกตช้นั เรียน เทคโนโลยี ซงึ่ เหมาะสมกบั ศักยภาพนกั เรยี น - ผลการสัมภาษณค รู ทางวทิ ยาศาสตร คณิตศาสตรแ ละ 2. ครมู คี วามสามารถในการจัดกิจกรรมการเรียนรทู ี่สง เสริม - บันทึกหลงั การสอน เทคโนโลยี ทกั ษะการเรียนรูทางวทิ ยาศาสตร คณิตศาสตรและ - ผลการวเิ คราะหผ ลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น O-NET PISA เทคโนโลยี หรือ NT รายขอ เพ่ือการพัฒนาการจัดการเรียนรู 6 - แบบบันทึกการนเิ ทศ - หลักฐานหรอื รอ งรอยอ่ืน ๆ ที่เกีย่ วของ เชน 2. ครูสามารถเลือกใช หรือพัฒนา 3. ครมู ีความสามารถในการเลอื กใช หรือพฒั นา ส่อื การเรียนรูและแหลง เรียนรู สอื่ เทคโนโลยีสารสนเทศ ส่อื การเรยี นรูและแหลง เรยี นรู แอปพลิเคชัน วีดิทัศน ภาพถาย ฯลฯ ท่สี ง เสรมิ ทกั ษะการเรยี นรู ทส่ี ง เสรมิ ทกั ษะการเรียนรูท างวทิ ยาศาสตร คณิตศาสตร - ส่อื การเรยี นรู เชน ส่ือของจริง ชดุ ทดลอง แบบจําลอง ทางวทิ ยาศาสตร คณติ ศาสตร และเทคโนโลยี คลิปวดี ทิ ศั น แอปพลเิ คชัน ฯลฯ และเทคโนโลยี - บันทึกการใชส อื่ และแหลงเรียนรู - แหลง เรยี นรอู อนไลน แหลง เรียนรูน อกหองเรียน - แบบบันทกึ การนิเทศ - แผนการจดั การเรยี นรูของครู - หลักฐานทแ่ี สดงถงึ การนาํ ส่ือ หรือแหลงเรยี นรู ไปประยุกตใ ชใ นบริบทอนื่

7 เปา ประสงค ตวั ชีว้ ัด ตวั อยา งรอ งรอยหลกั ฐาน 3. ครูมคี วามสามารถในการวดั และ 4. ครูมคี วามสามารถในการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู - แผนการจัดการเรียนรูและบันทึกหลงั สอน - แผนการออกแบบการวัดและประเมินผลท่ีสอดคลอ งกบั ประเมินผลการเรยี นรูทส่ี ง เสริม โดยใชสารสนเทศ ทักษะการเรียนรูทางวทิ ยาศาสตร ทักษะการเรยี นรูทางวทิ ยาศาสตร คณิตศาสตร และเทคโนโลยี สงเสริมการคดิ สรา งสรรค มาตรฐานและตวั ชวี้ ัด (Test Blueprint) คณิตศาสตรและเทคโนโลยี การคิดอยางมีวิจารณญาณ สามารถประยุกตใชความรู - เคร่อื งมือการวัดและประเมนิ ผล ทางวทิ ยาศาสตร คณติ ศาสตรแ ละเทคโนโลยี - รอ งรอยการตรวจงาน 4. ครมู กี ารพฒั นาทางวชิ าชีพ ในการแกป ญ หา - ผลการวัดและประเมินผลนกั เรียน เพื่อเพิม่ สมรรถนะการจดั การเรยี นรู - แบบบันทกึ การนิเทศ วทิ ยาศาสตร คณิตศาสตรและ 5. ครมู กี ารพฒั นาตนเอง เชน การพฒั นาการจัดการเรยี นรู - รองรอยหลักฐานอนื่ ๆ ที่เกี่ยวของกับการวดั เทคโนโลยอี ยา งตอเนอ่ื ง วิทยาศาสตร คณติ ศาสตรและเทคโนโลยี การพัฒนา ดานการวดั และประเมินผลการเรยี นรู พฒั นาส่ือการเรียนรู และประเมนิ ผล และพฒั นาดานการทาํ วจิ ยั ในช้นั เรยี น - แผนพฒั นาตนเอง (ID Plan) หรือขอตกลงในการพัฒนา (ถา มี) - บันทึกผลการทํา PLC (ชุมชนแหงการเรียนรูเชิงวชิ าชีพ) - วุฒิบัตร เกียรตบิ ัตร หรือรายงานผลการเขา รว มกิจกรรม - คาํ ส่งั หรือหนงั สือเชิญ - การเขารว มประชุมวชิ าการ - รายงานการวิจยั ในชัน้ เรยี น - หลักฐานการพัฒนาตนเอง - รอ งรอยหลักฐานอ่นื เชน แฟมผลงาน รางวลั ภาพ วิดีโอ เวบ็ ไซต บทความวิจัย บทความวชิ าการ สอื่ ออนไลน เปนตน

มาตรฐานที่ 3 ดา นการบรหิ ารจัดการโรงเรียน ตามมาตรฐาน สสวท. เปา ประสงค ตัวชีว้ ดั ตวั อยางรองรอยหลักฐาน 1. ผบู รหิ ารมีระบบการบรหิ ารจัดการ 1. มีวิสัยทศั น พนั ธกจิ เปาหมาย นโยบายและแผนพฒั นาคุณภาพ - วิสัยทศั น พนั ธกจิ เปาหมาย นโยบายและ คุณภาพสถานศกึ ษา และเปนผนู ํา สถานศกึ ษาทสี่ งเสรมิ ทกั ษะการเรียนรทู างวิทยาศาสตร แผนพฒั นาคุณภาพสถานศกึ ษาทีส่ งเสรมิ และ ทางวิชาการดานวทิ ยาศาสตร คณิตศาสตร และเทคโนโลยี สนบั สนุนดานวทิ ยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยี คณติ ศาสตร และเทคโนโลยี - แผนงาน โครงการ หรือกิจกรรมท่พี ัฒนาสมรรถนะครู ดา นวิทยาศาสตร คณติ ศาสตรแ ละเทคโนโลยีอยา งตอ เนือ่ ง 8 2. ผูบ ริหารมีระบบการบรหิ ารจดั การ 2. มีกระบวนการบรหิ ารจดั การในการนําแผนพฒั นาคุณภาพ - รายงานผลการปฏบิ ตั งิ านประจําป เครอื ขายรว มพัฒนาโรงเรยี น สถานศกึ ษาสูการปฏิบตั ิ ทบทวนและพัฒนาอยางตอเนอื่ ง - ผลงานความสําเรจ็ ดา นวทิ ยาศาสตร คณิตศาสตรและ โดยมีเครอื ขายรว มพัฒนาโรงเรียน เทคโนโลยี - บนั ทกึ ขอตกลงความรวมมือ (MoU) หรือหลักฐาน ที่แสดงความรว มมอื กบั หนวยงานภายนอก - แผนงาน โครงการ หรือกิจกรรมความรว มมือกับ โรงเรียนเครอื ขายโรงเรยี นคุณภาพ สสวท. - แผนงาน โครงการ หรือกิจกรรมความรว มมือกบั ชมุ ชนทองถิน่ หนวยงานภายนอกท้ังภาครัฐและ เอกชนท่ีสงเสริมสนบั สนนุ - หลักฐานผลการดําเนินงานตามแผนเก่ียวกบั ความรว มมือกับโรงเรียนเครอื ขา ยโรงเรยี นคณุ ภาพ สสวท. ชมุ ชน ทองถ่ิน หรอื หนว ยงานภายนอกทง้ั ภาครฐั และ เอกชนทีส่ งเสรมิ สนับสนนุ - รายงานสรปุ องคความรูเกยี่ วกับการบริหารจดั การ เครือขายรวมพัฒนาโรงเรียน

9 เปา ประสงค ตวั ชว้ี ดั ตวั อยา งรองรอยหลกั ฐาน 3. ผบู ริหารมีการบรหิ ารจัดการทส่ี ง เสริม 3. มีการบรหิ ารการจัดการที่สง เสรมิ ทกั ษะการเรยี นรู - รายงานหรือผลงานทเ่ี กิดจากการใช PLC (ชมุ ชนแหง การจดั การเรยี นรูวิทยาศาสตร ทางวทิ ยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยี กอใหเกดิ การเรยี นรูเชิงวชิ าชีพ) คณติ ศาสตร และเทคโนโลยใี นโรงเรียน ประสิทธภิ าพและประสทิ ธิผลของโครงการตามแผนพัฒนา คุณภาพสถานศกึ ษา - รายงานโครงการหรือกิจกรรมทส่ี ง เสรมิ ทกั ษะการเรยี นรู 4. ผูบ ริหารมีการบริหารจดั การ 4. มีการใช PLC (ชุมชนแหงการเรียนรูเชงิ วชิ าชีพ) เพือ่ สงเสรมิ ดานวิทยาศาสตร คณติ ศาสตร และเทคโนโลยี ดานส่งิ สนบั สนุนการเรียนรูเพ่ือสง เสริม ทกั ษะการเรยี นรูทางวิทยาศาสตร คณติ ศาสตร และเทคโนโลยี ทกั ษะทางวทิ ยาศาสตร คณติ ศาสตร 5. สงเสรมิ สนับสนนุ ยกยอ ง เชิดชเู กียรติและใหขวัญกําลงั ใจ - จัดทาํ สารสนเทศของนักเรียนทเี่ กยี่ วกบั วทิ ยาศาสตร และเทคโนโลยี ครแู ละนักเรียนในโรงเรียนท่มี ีผลงานดีเดน ดา นวทิ ยาศาสตร คณติ ศาสตร และเทคโนโลยี คณิตศาสตร และเทคโนโลยี - ขอ มูลการยกยองเชิดชูเกียรติครูและนักเรยี น 6. มสี ่งิ สนับสนนุ การเรียนรู เชน หนังสอื เรยี น คูมอื ครู ดานวทิ ยาศาสตร คณิตศาสตร และเทคโนโลยี หอ งปฏบิ ตั ิการ เครือขา ยอินเทอรเ น็ต ทีส่ งเสริมทักษะ การเรยี นรูทางวทิ ยาศาสตร คณติ ศาสตร และเทคโนโลยี - รางวัลหรอื ผลการแขง ขนั เชน วฒุ บิ ตั ร เกยี รตบิ ตั ร โลรางวัลดา นวทิ ยาศาสตร คณิตศาสตร และ เทคโนโลยี - กิจกรรมสง เสริมทักษะ เชน คาย โครงงาน ชมรม ชุมนุม เปนตน - หลกั ฐานเชงิ ประจักษ สื่อ วสั ดุอุปกรณ หนงั สือเรยี น คูม ือครู ภาพถาย ทะเบียนแหลง เรียนรูดานวิทยาศาสตร คณติ ศาสตร และเทคโนโลยี ทั้งในและนอกโรงเรยี น - ผลการสัมภาษณผบู ริหาร ครูและนกั เรยี นเก่ยี วกบั การใชห อ งปฏบิ ัติการและแหลงเรยี นรู - ตาราง บนั ทกึ หรือทะเบียนการใชหองปฏิบตั ิการ - แหลงเรียนรู เชน สวนพฤกษศาสตร สวนหิน สวนสมนุ ไพร สวนคณติ ศาสตร เปนตน - รายงานการประชมุ

เปา ประสงค ตัวช้วี ัด ตวั อยา งรอ งรอยหลักฐาน - รายงานผลการประเมินตนเองจากการปฏบิ ตั ิงาน ประจําปของโรงเรียน (Self Assessment Report : SAR) - หลักฐานอ่ืน ๆ ท่เี ก่ยี วของ เชน รายการจดั ซือ้ ปรบั ปรุงครภุ ัณฑ 10

คาํ อธิบายคุณภาพโรงเรยี น ในโครงการโรงเรยี นคณุ ภาพ SMT สสวท. 1. คาํ อธบิ ายคณุ ภาพ มาตรฐานดา นคณุ ภาพนกั เรยี น ตวั ชวี้ ดั ระดบั โรงเรยี น 1. นักเรียนมีการคิดสรา งสรรค A 2A 3A 4A การคิดอยางมีวิจารณญาณ นกั เรยี นนอยกวารอ ยละ 60 นกั เรยี นรอยละ 80 ขน้ึ ไป สามารถประยุกตใชความรู มีการคิดสรางสรรค นักเรยี นรอยละ 60 - 69 นกั เรียนรอยละ 70 - 79 มีการคิดสรางสรรค ทางวทิ ยาศาสตร คณติ ศาสตร การคิดอยา งมีวิจารณญาณ การคิดอยางมวี ิจารณญาณ และเทคโนโลยใี นการแกป ญหา สามารถประยุกตใ ชความรู มีการคิดสรางสรรค มีการคดิ สรา งสรรค สามารถประยุกตใ ชความรู ทางวิทยาศาสตร คณติ ศาสตร ทางวิทยาศาสตร คณิตศาสตร 2. นักเรียนสามารถสรา งนวตั กรรม และเทคโนโลยใี นการแกป ญ หา การคิดอยา งมีวจิ ารณญาณ การคิดอยางมีวิจารณญาณ และเทคโนโลยีในการแกปญหา ผลงาน ชนิ้ งาน สง่ิ ประดิษฐ หรือโครงงานในกิจกรรม นกั เรียนไดรบั รางวลั ประเภท สามารถประยุกตใ ชค วามรู สามารถประยุกตใ ชค วามรู นกั เรยี นไดร บั รางวัลประเภท วทิ ยาศาสตร คณิตศาสตร นวตั กรรมผลงาน ชน้ิ งาน นวตั กรรมผลงาน ชิน้ งาน 11 และเทคโนโลยี สิ่งประดษิ ฐ หรอื โครงงาน ทางวิทยาศาสตร คณิตศาสตร ทางวทิ ยาศาสตร คณติ ศาสตร สง่ิ ประดิษฐ หรอื โครงงาน ในกจิ กรรมวิทยาศาสตร ในกจิ กรรมวทิ ยาศาสตร 3. นกั เรยี นสามารถใชเทคโนโลยี คณติ ศาสตร และเทคโนโลยี และเทคโนโลยใี นการแกปญ หา และเทคโนโลยใี นการแกป ญหา คณิตศาสตรและเทคโนโลยี เพื่อการเรยี นรูและการสือ่ สาร ระดับโรงเรียนหรือกลุมโรงเรียน ระดับชาติหรือนานาชาติ ไดอ ยา งเหมาะสม นกั เรียนไดรับรางวลั ประเภท นักเรยี นไดรบั รางวลั ประเภท นักเรียนนอยกวา รอยละ 60 นักเรยี นรอ ยละ 80 ขน้ึ ไป มีสมรรถนะสําคัญดา นการใช นวตั กรรมผลงาน ชน้ิ งาน นวตั กรรมผลงาน ช้นิ งาน มีสมรรถนะสาํ คัญดา นการใช เทคโนโลยเี พ่ือการเรยี นรูและ เทคโนโลยี เพือ่ การเรยี นรแู ละ การสื่อสาร ส่งิ ประดิษฐ หรอื โครงงาน ส่งิ ประดิษฐ หรอื โครงงาน การส่ือสาร ในกิจกรรมวทิ ยาศาสตร ในกจิ กรรมวทิ ยาศาสตร คณิตศาสตร และเทคโนโลยี คณิตศาสตร และเทคโนโลยี ระดับจงั หวัดหรอื เขตพืน้ ท่ี ระดับภาคหรือระดับภูมภิ าค นักเรยี นรอ ยละ 60 - 69 นักเรียนรอยละ 70-79 มีสมรรถนะสาํ คญั ดานการใช มีสมรรถนะสาํ คญั ดานการใช เทคโนโลยเี พอื่ การเรยี นรแู ละ เทคโนโลยี เพื่อการเรยี นรแู ละ การส่อื สาร การส่ือสาร

ตัวชว้ี ัด ระดบั โรงเรียน 4. นักเรียนสามารถสืบเสาะหาความรู A 2A 3A 4A ทางวิทยาศาสตร สํารวจและสราง นักเรียนนอ ยกวา รอ ยละ 60 นกั เรียนรอยละ 80 ขึน้ ไป ขอความคาดการณทางคณิตศาสตร มีความสามารถสืบเสาะ นักเรียนรอยละ 60 - 69 นักเรยี นรอยละ 70 - 79 มคี วามสามารถสืบเสาะ และแกป ญหาหรอื พัฒนางาน หาความรูท างวทิ ยาศาสตร หาความรทู างวทิ ยาศาสตร อยางมีความคิดสรางสรรคดวย สาํ รวจและสรางขอความ มีความสามารถสืบเสาะ มีความสามารถสืบเสาะ สํารวจและสรางขอความ กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม คาดการณท างคณิตศาสตร คาดการณท างคณติ ศาสตร และการคิดเชงิ คํานวณ และแกป ญหา หรอื พัฒนางาน หาความรทู างวิทยาศาสตร หาความรทู างวิทยาศาสตร และแกป ญหาหรอื พฒั นางาน อยา งมีความคดิ สรา งสรรค อยางมีความคดิ สรา งสรรค 5. ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนของ ดว ยกระบวนการออกแบบ สาํ รวจและสรางขอ ความ สาํ รวจและสรา งขอ ความ ดว ยกระบวนการออกแบบ นกั เรยี นในการเรียนรวู ิทยาศาสตร เชิงวิศวกรรม และ เชิงวิศวกรรม และ คณิตศาสตรและเทคโนโลยี การคิดเชงิ คํานวณ คาดการณท างคณติ ศาสตร คาดการณทางคณิตศาสตร การคิดเชิงคํานวณ อยูใ นเกณฑสูง ระดบั ประถมศกึ ษา : มีผลสัมฤทธิ์ - จาํ นวนนกั เรยี นนอ ยกวา และแกป ญหา หรือพัฒนางาน และแกปญหาหรือพัฒนางาน - จาํ นวนนักเรียนต้ังแต เฉลีย่ รวม 3 สาระการเรยี นรู รอยละ 60 รอยละ 80 ขึ้นไป รอ ยละ 70 ขน้ึ ไป อยา งมีความคดิ สรางสรรค อยางมีความคดิ สรา งสรรค ระดับมธั ยมศึกษา : มีคา GPA - จาํ นวนนักเรยี นนอยกวา - จํานวนนักเรยี นตงั้ แต เฉล่ยี รวม 3 สาระการเรียนรู รอยละ 30 ดว ยกระบวนการออกแบบ ดวยกระบวนการออกแบบ รอยละ 50 ขึ้นไป ตั้งแต 3.00 ข้นึ ไป เชิงวิศวกรรม และ เชงิ วิศวกรรม และ 12 การคดิ เชงิ คํานวณ การคิดเชงิ คํานวณ - จํานวนนกั เรียนรอยละ - จํานวนนักเรยี นรอยละ 60 – 69 70 – 79 - จํานวนนกั เรียนรอยละ - จาํ นวนนักเรียนรอ ยละ 30 - 39 40 - 49

ตัวช้วี ัด ระดับโรงเรียน A 2A 3A 4A 6. ผลการสอบ O-NET นอ ยกวารอยละ 30 ของจาํ นวน รอ ยละ 31 - 40 ของจํานวน รอยละ 41 - 50 ของจํานวน มากกวา รอยละ 50 ของจาํ นวน สาระการเรียนรูวิทยาศาสตร นักเรียน มผี ลการสอบ O-NET นกั เรยี น มผี ลการสอบ O-NET นกั เรียน มผี ลการสอบ O-NET นกั เรยี นมผี ลการสอบ O-NET คณติ ศาสตรส ูงกวา คา เฉล่ีย สาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตร สาระการเรียนรูวทิ ยาศาสตร สาระการเรยี นรูว ทิ ยาศาสตร สาระการเรียนรูว ทิ ยาศาสตร ระดับประเทศ คณิตศาสตรส ูงกวา ระดับประเทศ คณิตศาสตรส ูงกวา ระดับประเทศ คณิตศาสตรสูงกวา ระดับประเทศ คณิตศาสตรสูงกวาระดับประเทศ 7. นักเรียนมเี จตคติที่ดีตอ การเรียนรู นอ ยกวา รอยละ 50 ของจํานวน รอ ยละ 51 - 60 ของจาํ นวน รอ ยละ 61 - 70 ของจํานวน มากกวา รอยละ 70 ของจํานวน วิทยาศาสตร คณติ ศาสตรแ ละ นกั เรยี นมีเจตคติตอการเรียนรู นักเรยี นมเี จตคติตอการเรยี นรู นักเรยี นมเี จตคติ ตอการเรียนรู นักเรียนมีเจตคติ ตอการเรียนรู เทคโนโลยี วิทยาศาสตร คณติ ศาสตรและ วทิ ยาศาสตร คณติ ศาสตรแ ละ วิทยาศาสตร คณิตศาสตรและ วทิ ยาศาสตร คณิตศาสตรแ ละ เทคโนโลยี อยูใ นระดบั ดี - ดีมาก เทคโนโลยี อยใู นระดบั ดี - ดีมาก เทคโนโลยี อยูใ นระดบั ดี - ดีมาก เทคโนโลยี อยใู นระดบั ดี – ดีมาก 13

2. คําอธบิ ายคณุ ภาพ มาตรฐานดานคุณภาพครู ตัวชี้วัด ระดับโรงเรยี น 1. ครูมีความสามารถในการออกแบบ A 2A 3A 4A การเรยี นรทู ีส่ ง เสริมการคิดสรางสรรค - จัดทําแผนการจดั - วิเคราะหหลกั สูตรแกนกลางฯ การคิดอยางมีวจิ ารณญาณ สามารถ - วเิ คราะหหลักสตู รแกนกลางฯ - วเิ คราะหหลักสตู รแกนกลางฯ ประยุกตใชความรทู างวิทยาศาสตร การเรยี นรูทสี่ ง เสริม มาตรฐานการเรยี นรู ตวั ชวี้ ดั คณติ ศาสตร และเทคโนโลยี การคดิ สรา งสรรค มาตรฐานการเรยี นรู มาตรฐานการเรยี นรู หรอื ผลการเรียนรทู ่ีเกย่ี วของ ในการแกปญหา ซ่งึ เหมาะสมกับ การคิดอยางมวี จิ ารณญาณ กับกลุมสาระการเรียนรู ศักยภาพของนักเรียน สามารถประยุกตใช ตัวชว้ี ัด หรอื ผลการเรยี นรู ตัวชว้ี ัด หรอื ผลการเรยี นรู วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี ความรูทางวิทยาศาสตร และกลุม สาระการเรยี นรู คณติ ศาสตร และเทคโนโลยี ท่เี กี่ยวของกบั กลมุ สาระ ทเ่ี กย่ี วของกับกลุมสาระ คณติ ศาสตร ในการแกป ญ หา นาํ ผลการวิเคราะห ซึง่ เหมาะสมกับศกั ยภาพ การเรยี นรูวทิ ยาศาสตรและ การเรียนรูว ทิ ยาศาสตรและ ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรยี น O-NET PISA หรือ NT เทคโนโลยี และกลุมสาระ เทคโนโลยี และกลุมสาระ รายขอเพือ่ พฒั นา การจัดการเรยี นรู การเรยี นรูคณิตศาสตร การเรยี นรูคณิตศาสตร - ออกแบบการเรียนรูและ จัดทาํ แผนการจดั การเรยี นรู - ออกแบบการเรียนรูแ ละ - นาํ ผลการวเิ คราะห ท่ีสงเสริมการคิดสรา งสรรค การคิดอยา งมวี จิ ารณญาณ 14 จดั ทําแผนการจัด ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น สามารถประยุกตใ ชค วามรู ทางวทิ ยาศาสตร การเรียนรู ทีส่ ง เสรมิ O-NET PISA หรอื NT คณติ ศาสตร และเทคโนโลยี ในการแกป ญ หา ซงึ่ การคิดสรางสรรค รายขอ เพ่ือพัฒนา การคิดอยางมีวิจารณญาณ การจดั การเรยี นรู สามารถประยุกตใชค วามรู - ออกแบบการเรียนรแู ละ ทางวิทยาศาสตร จดั ทําแผนการจดั การเรยี นรู คณติ ศาสตร และ ที่สงเสรมิ การคิดสรา งสรรค เทคโนโลยีในการแกปญหา การคดิ อยา งมีวิจารณญาณ ซึ่งเหมาะสมกับศกั ยภาพ สามารถประยุกตใชความรู ของนักเรยี น ทางวิทยาศาสตร คณิตศาสตร และเทคโนโลยี ในการแกป ญ หา ซงึ่

ตัวช้ีวัด ระดบั โรงเรยี น 2. ครมู คี วามสามารถในการจัด A 2A 3A 4A กจิ กรรมการเรียนรูท ี่สง เสริมทักษะ การเรยี นรูทางวทิ ยาศาสตร - มีกจิ กรรม เทคนิค หรือ - เหมาะสมกบั ศักยภาพของ เหมาะสมกบั ศักยภาพ คณิตศาสตรและเทคโนโลยี วิธกี ารสอนทีส่ ง เสริม ทักษะการเรียนรู นกั เรียน ของนักเรยี น ทางวทิ ยาศาสตร คณิตศาสตร และเทคโนโลยี - มีแนวทางทสี่ ามารถเปน แบบอยา งในการปรบั ปรงุ และพัฒนาแผน การจดั การเรียนรูได มีกจิ กรรม เทคนคิ หรือ - มีกิจกรรม เทคนิค หรือ - มีกิจกรรม เทคนิค หรือ วิธีการสอน ที่สง เสริม วธิ ีการสอน ท่ีสง เสริม วธิ กี ารสอน ทส่ี งเสริม ทกั ษะการเรียนรู ทักษะการเรียนรู ทกั ษะการเรียนรู 15 ทางวทิ ยาศาสตร ทางวิทยาศาสตร ทางวทิ ยาศาสตร คณติ ศาสตรและเทคโนโลยี คณิตศาสตรและเทคโนโลยี คณิตศาสตรและเทคโนโลยี ในการแกป ญ หา จดั กจิ กรรม ในการแกป ญหา จดั กจิ กรรม ในการแกป ญ หา จัดกิจกรรม การเรียนรเู ชงิ รุก (Active การเรยี นรูเชงิ รุก (Active การเรยี นรเู ชิงรุก (Active Learning) ทเ่ี ช่อื มโยงกบั Learning) ทเี่ ชื่อมโยงกับ Learning) ท่ีเช่ือมโยงกบั ชวี ิตจรงิ ชีวิตจริง ชีวิตจรงิ - จัดกิจกรรมการเรยี นรู - จดั กจิ กรรมการเรียนรู ที่บรู ณาการดานวิทยาศาสตร ทบี่ ูรณาการดา นวทิ ยาศาสตร คณิตศาสตร และเทคโนโลยี คณิตศาสตร และเทคโนโลยี หรอื จัดกิจกรรมการเรียนรู หรือจัดกิจกรรมการเรยี นรู ตามแนวทางสะเตม็ ศึกษา ตามแนวทางสะเตม็ ศึกษา (STEM Education) (STEM Education)

ตัวชี้วัด ระดบั โรงเรยี น 3. ครมู คี วามสามารถในการเลอื กใช A 2A 3A 4A หรือพฒั นาส่ือเทคโนโลยสี ารสนเทศ สื่อการเรยี นรแู ละแหลง เรียนรูที่ - มีเทคนิค วิธกี าร หรือ สงเสรมิ ทกั ษะการเรยี นรู ทางวิทยาศาสตร คณิตศาสตร แนวทางท่สี ามารถเปน และเทคโนโลยี แบบอยา งในการปรบั ปรุง และพฒั นาการจัด การเรียนรไู ด - มกี ารเลอื กใช - มกี ารเลอื กใช สรางหรือพฒั นา - มกี ารเลือกใช สรา ง หรือพฒั นา - มีการเลือกใช สราง หรือพฒั นา สอ่ื เทคโนโลยสี ารสนเทศ ส่อื เทคโนโลยสี ารสนเทศ สอ่ื เทคโนโลยีสารสนเทศ สื่อเทคโนโลยสี ารสนเทศ สื่อการเรียนรู หรอื สื่อการเรยี นรทู สี่ ง เสริม ส่อื การเรยี นรทู ่ีสง เสริม ส่อื การเรียนรแู ละ แหลง เรียนรทู ่ีสง เสรมิ ทักษะการเรยี นรู ทักษะการเรยี นรู แหลง เรียนรู ที่สงเสรมิ ทกั ษะ 16 ทักษะการเรยี นรู ทางวิทยาศาสตร ทางวิทยาศาสตร การเรยี นรูทางวทิ ยาศาสตร ทางวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยี คณิตศาสตรและเทคโนโลยี คณิตศาสตรและเทคโนโลยี คณิตศาสตรแ ละเทคโนโลยี - มกี ารเลอื กใชแ หลงเรยี นรู - มีการเลอื กใชแหลงเรียนรู - มกี ารเลอื กใชแหลงเรียนรู ทงั้ ในและนอกหอ งเรยี น ทงั้ ในและนอกหอ งเรียน ทงั้ ในและนอกหอ งเรียน ทสี่ ง เสริมทักษะการเรยี นรู ทส่ี ง เสริมทกั ษะการเรียนรู ทส่ี งเสริมทกั ษะการเรียนรู ทางวทิ ยาศาสตร ทางวิทยาศาสตร ทางวทิ ยาศาสตร คณติ ศาสตร และเทคโนโลยี คณิตศาสตรและเทคโนโลยี คณติ ศาสตรและเทคโนโลยี - มกี ารประเมินผลการใช - มีการประเมนิ ผลการใช สื่อการเรยี นรแู ละ ส่ือการเรียนรูและ แหลงเรียนรู และนําผล แหลง เรยี นรู และนําผล การประเมินไปปรบั ปรงุ การประเมนิ ไปปรบั ปรงุ พฒั นาใหมีคุณภาพสงู ขึน้ พฒั นาใหม ีคณุ ภาพสูงข้นึ

ตัวชวี้ ัด ระดบั โรงเรียน 4. ครมู คี วามสามารถในการวัดและ A 2A 3A 4A ประเมินการเรียนรูทชี่ ว ยใหได สารสนเทศท่ีสง เสริมทักษะการ - สามารถนําสื่อการเรยี นรู เรยี นรูทางวทิ ยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยี และแหลงเรียนรไู ปเผยแพร สูช มุ ชนแหงการเรียนรู เชงิ วิชาชีพ และเปน แบบอยาง ทส่ี ามารถนําไปประยุกตใชใน สถานศึกษาที่มีบรบิ ทใกลเ คยี ง - ออกแบบการวัดและ - ออกแบบการวัดและประเมนิ - ออกแบบการวัดและ - ออกแบบการวัดและ ประเมินที่สอดคลองกบั ทสี่ อดคลองกบั การจดั ประเมนิ ทีส่ อดคลองกับ ประเมนิ ผลท่สี อดคลอ งกับ การจัดการเรียนรทู ่ี การเรยี นรทู สี่ ง เสรมิ ทักษะ การจดั การเรยี นรทู ่ีสงเสริม การจดั การเรยี นรทู ส่ี ง เสรมิ 17 สงเสรมิ ทกั ษะการเรยี นรู การเรยี นรูทางวทิ ยาศาสตร ทักษะการเรยี นรู ทกั ษะการเรียนรู ทางวทิ ยาศาสตร คณติ ศาสตรและเทคโนโลยี ทางวทิ ยาศาสตร ทางวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและ โดยใชวธิ ีการและเครื่องมือ คณิตศาสตรและเทคโนโลยี คณิตศาสตรและเทคโนโลยี เทคโนโลยี โดยใชวธิ ีการ หลากหลาย ท้งั กอนเรียน โดยใชวธิ ีการและเคร่ืองมือ โดยใชวธิ ีการและเครอื่ งมือ และเครื่องมือหลากหลาย ระหวา งเรยี น และหลังเรยี น หลากหลาย ทงั้ กอนเรยี น หลากหลายทั้งกอนเรียน ทั้งกอ นเรยี น ระหวา งเรยี น - มกี ารเลือกใช สรา ง หรอื ระหวางเรยี น และหลังเรียน ระหวางเรียน และหลังเรยี น และหลังเรียน พฒั นาเคร่ืองมือวัด - มกี ารเลอื กใช สรา ง หรือ - มีการเลือกใช สราง หรอื ดําเนินการวัดและประเมิน พฒั นาเคร่ืองมือวัด พัฒนาเคร่ืองมือวัด ทักษะการเรียนรู ดาํ เนนิ การวัดและประเมิน ดําเนนิ การวัดและประเมิน ทางวทิ ยาศาสตร ทกั ษะการเรยี นรู ทักษะการเรยี นรู คณิตศาสตรและเทคโนโลยี ทางวทิ ยาศาสตร ทางวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยี คณิตศาสตรและเทคโนโลยี

ตัวชวี้ ดั ระดับโรงเรยี น 5. ครมู กี ารพัฒนาตนเอง เชน A 2A 3A 4A การพฒั นาการจดั การเรยี นรู วทิ ยาศาสตร คณิตศาสตรและ - นาํ ผลการวัดและประเมิน - นําผลการวัดและประเมิน เทคโนโลยี การพัฒนาดา นการวัด และประเมิน การพัฒนาส่อื รวมทั้งขอมูลปอนกลับ รวมทัง้ ขอมูลปอนกลับ การเรยี นรู การวจิ ยั เพื่อพัฒนา การเรยี นรู มาใชในการปรบั ปรุงและ มาใชใ นการปรับปรุงและ พัฒนาการจัดการเรยี นรู พัฒนาการจดั การเรียนรู ของครแู ละนักเรยี น ของครูและนักเรียน - มแี นวทางในการวัดและ ประเมนิ การเรียนรู ที่เปนแบบอยางทีด่ ี - พัฒนาตนเองตาม - จดั ทาํ แผนพัฒนาตนเอง - จดั ทาํ แผนพฒั นาตนเอง - จดั ทาํ แผนพัฒนาตนเอง 18 ความสนใจโดยใชก ารอบรม เพอ่ื แกไขจดุ ออ น และ เพอื่ แกไขจดุ ออ น และ เพื่อแกไขจดุ ออ น และ การเรียนรดู วยตนเอง หรือ เสรมิ จดุ เดน เพอ่ื ให เสรมิ จุดเดน เพือ่ ให เสรมิ จุดเดน เพือ่ ใหส ามารถ กระบวนการ PLC สามารถจัดการเรยี นรู สามารถจดั การเรียนรู จดั การเรยี นรู ที่สง เสรมิ ท่ีสง เสริมทกั ษะการเรียนรู ท่ีสง เสรมิ ทกั ษะการเรยี นรู ทกั ษะการเรียนรู ทางวิทยาศาสตร ทางวทิ ยาศาสตร ทางวทิ ยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยี คณติ ศาสตรและเทคโนโลยี คณติ ศาสตรและเทคโนโลยี - พฒั นาตนเองตามแผน - พฒั นาตนเองตามแผน - พฒั นาตนเองตามแผนที่ ทีก่ าํ หนด โดยใช ทก่ี ําหนดโดยใช กําหนดโดยใชก ระบวนการ กระบวนการ PLC กระบวนการ PLC PLC การอบรม หรือ การอบรม หรือการเรยี นรู การอบรม หรือ การเรยี นรดู วยตนเอง ดวยตนเอง การเรียนรูดวยตนเอง - นําความรทู ไี่ ดจ าก - นําความรทู ีไ่ ดจากการพัฒน การพฒั นาตนเองมาใชใ น

ตวั ชี้วดั A ระดบั โรงเรยี น 4A 2A 3A ตนเองมาใชในการปรบั ปรุง การปรับปรงุ และพฒั นา และพัฒนาการจัดการเรียนรู การจดั การเรยี นรู - นาํ ความรูท่ีไดจากการพฒั นา มาแลกเปลีย่ นเรียนรู หรือ เผยแพรข ยายผลตอไป 19

3. คาํ อธิบายคณุ ภาพ มาตรฐานดานการบรหิ ารจดั การโรงเรยี น ตวั ชีว้ ดั ระดับโรงเรยี น A 2A 3A 4A 1. มีวิสัยทศั น พันธกิจ เปาหมาย - มวี ิสัยทัศน พนั ธกิจ เปา หมาย - มีวสิ ัยทัศน พันธกิจ เปาหมาย - มวี สิ ัยทัศน พันธกิจ เปาหมาย - มวี สิ ยั ทศั น พันธกจิ เปา หมาย นโยบายและแผนพัฒนาคณุ ภาพ นโยบาย และแผนพัฒนา นโยบายและแผนพัฒนา นโยบายและแผนพัฒนา นโยบายและแผนพฒั นา สถานศกึ ษาที่สงเสรมิ ทกั ษะ คุณภาพสถานศกึ ษา คุณภาพสถานศกึ ษา คุณภาพสถานศึกษา คณุ ภาพสถานศกึ ษา การเรยี นรูท างวิทยาศาสตร ดานวทิ ยาศาสตร คณติ ศาสตร ดา นวิทยาศาสตร ดา นวิทยาศาสตร ดานวทิ ยาศาสตร คณิตศาสตร และเทคโนโลยี และเทคโนโลยี คณติ ศาสตรและเทคโนโลยี คณติ ศาสตรและเทคโนโลยี คณิตศาสตรและเทคโนโลยี และมีความสอดคลอ ง มีความสอดคลองเชอ่ื มโยงกัน มีความสอดคลองเชอ่ื มโยงกนั เชอ่ื มโยงกนั และมีความชัดเจน และมีความชัดเจน ในกระบวนการดําเนินงาน ในกระบวนการดําเนนิ งาน 20 สามารถวัดประเมินได สามารถวดั ประเมนิ และ เปนแบบอยางได 2. มกี ระบวนการบรหิ ารจดั การ - มีการส่อื สารและกาํ หนด - มีการส่ือสารและกําหนด - มีการส่ือสารและกาํ หนด - มีการสอ่ื สารและกําหนด ในการนําแผนพัฒนาคุณภาพ ผรู บั ผดิ ชอบในเครอื ขาย ผรู บั ผิดชอบในเครอื ขา ย ผรู ับผิดชอบในเครือขา ย ผูรับผดิ ชอบในเครอื ขา ย สถานศึกษาสกู ารปฏิบตั ิ ทบทวน รว มพัฒนาโรงเรยี น เพอ่ื รว มพฒั นาโรงเรยี น เพื่อ รวมพัฒนาโรงเรียน เพ่อื รวมพฒั นาโรงเรียน เพ่ือ และพัฒนาอยางตอเน่ือง โดย นาํ แผนพัฒนาคุณภาพ นําแผนพฒั นาคุณภาพ นําแผนพฒั นาคุณภาพ นาํ แผนพฒั นาคุณภาพ มีเครือขายรว มพัฒนาโรงเรยี น สถานศึกษาไปสูการปฏิบตั ิ สถานศึกษาไปสู สถานศกึ ษาไปสู สถานศกึ ษาไปสูการปฏบิ ตั ิ การปฏิบัติ และมีการกํากับ การปฏิบตั ิ มกี ารกํากบั มกี ารกํากบั ตดิ ตาม ตดิ ตามอยางตอเน่ือง ติดตามอยางตอเนือ่ ง อยา งตอเนือ่ ง - มกี ารประเมนิ ผลเพื่อ - มกี ารประเมินผลเพ่ือ ทบทวนและปรับปรุง ทบทวนและปรบั ปรงุ การดําเนนิ งาน การดาํ เนินงาน

ตวั ชีว้ ดั ระดบั โรงเรียน A 2A 3A 4A - มอี งคความรูเกี่ยวกบั การบรหิ ารจัดการเครอื ขา ย รว มพฒั นาโรงเรียนท่ี เปน แบบอยา งได 3. มีการบรหิ ารการจัดการท่ีสงเสริม - มีการดําเนินงานโครงการ - มีการดาํ เนินงานโครงการ - มีการดําเนนิ งานโครงการ - มีการดาํ เนินงานโครงการ ทักษะการเรียนรูทางวทิ ยาศาสตร ตามแผนพัฒนาคณุ ภาพ ตามแผนพัฒนาคณุ ภาพ ตามแผนพฒั นาคณุ ภาพ ตามแผนพัฒนาคุณภาพ คณติ ศาสตร และเทคโนโลยี สถานศึกษา สถานศึกษา และไดผลลัพธ สถานศึกษา และไดผ ลลัพธ สถานศึกษา และมี กอใหเกิดประสทิ ธิภาพ และ ตามเปาหมาย เปน ที่ยอมรับในระดบั ชาติ ผลกระทบ (Impact) ประสทิ ธิผลของโครงการ ตาม ในเชงิ บวก เปนทีย่ อมรบั 21 แผนพัฒนาคุณภาพสถานศกึ ษา ในระดับชาตหิ รอื นานาชาติ 4. มกี ารใช PLC เพื่อสง เสรมิ ทกั ษะ - มีระบบและกลไกของการใช - มีการนาํ ระบบและกลไก - มีการนาํ ระบบและกลไก - มกี ารนําระบบและกลไก การเรียนรทู างวทิ ยาศาสตร PLC เพ่ือสงเสรมิ ทักษะ ของการใช PLC เพือ่ ของการใช PLC เพ่อื ของการใช PLC เพอ่ื คณิตศาสตรและเทคโนโลยี การเรียนรูทางวทิ ยาศาสตร สง เสรมิ ทกั ษะการเรียนรู สง เสรมิ ทักษะการเรยี นรู สงเสริมทักษะการเรียนรู คณติ ศาสตรและเทคโนโลยี ทางวิทยาศาสตร ทางวทิ ยาศาสตร ทางวทิ ยาศาสตร คณติ ศาสตรและ คณติ ศาสตรและเทคโนโลยี คณติ ศาสตรและเทคโนโลยี เทคโนโลยี ไปสู ไปสกู ารปฏบิ ัติ และ ไปสกู ารปฏิบัติ การปฏิบตั ิ มกี ารประเมนิ และปรับปรงุ มีการประเมิน ปรับปรุง กระบวนการ จนไดแนวปฏิบตั ิ ที่เปนแบบอยางได

ตัวชีว้ ดั ระดับโรงเรยี น A 2A 3A 4A 5. สง เสริมสนับสนนุ ยกยอง - มีการสง เสริมสนับสนนุ - มแี ผนการสงเสริมสนับสนุน - มแี ผนการสง เสรมิ สนับสนนุ - มแี ผนการสง เสริมสนบั สนุน เชิดชูเกียรติและใหข วญั กําลังใจ ยกยอ ง เชิดชเู กยี รติครู ยกยอ ง เชิดชูเกยี รติครู และ ยกยอ ง เชิดชเู กยี รติครู และ ยกยอ ง เชดิ ชเู กยี รติครู และ ครู และนักเรยี นในโรงเรยี นที่มี และนกั เรียนในโรงเรียน นกั เรยี นในโรงเรยี นทมี่ ี นักเรียนในโรงเรียนทีม่ ี นกั เรียนในโรงเรียนท่ีมี ผลงานดเี ดน ดา นวิทยาศาสตร ทม่ี ผี ลงานดีเดน ผลงานดีเดน อยา งตอเนื่อง ผลงานดีเดน อยางตอเน่ือง ผลงานดีเดน อยา งตอเน่ือง คณติ ศาสตร และเทคโนโลยี และสงเสริมสนบั สนนุ และสง เสรมิ สนบั สนุน ใหมีการประกวดผลงาน ใหม กี ารประกวดผลงาน ระดับประเทศ ระดับนานาชาติ 6. มสี ิ่งสนับสนนุ การเรียนรู เชน - มกี ารเลือกใช สราง หรือ - มกี ารเลือกใช สรา ง หรือ - มกี ารเลอื กใช สราง หรือ - มีการเลอื กใช สรา ง หรือ หนงั สอื เรยี น คูมือครู หอ งปฏบิ ตั ิการ พัฒนาส่งิ สนับสนนุ พฒั นาสง่ิ สนบั สนุน พัฒนาส่ิงสนบั สนุน พัฒนาสิ่งสนับสนุน 22 เครอื ขายอนิ เทอรเนต็ ทสี่ งเสรมิ การเรยี นรู ทีส่ งเสริมทักษะ การเรยี นรู ทีส่ ง เสรมิ ทักษะ การเรียนรู ทส่ี งเสริมทักษะ การเรียนรู ที่สงเสรมิ ทักษะ ทักษะการเรียนรูทางวิทยาศาสตร การเรยี นรูทางวิทยาศาสตร การเรียนรูทางวิทยาศาสตร การเรยี นรูทางวทิ ยาศาสตร การเรียนรูทางวทิ ยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยี คณิตศาสตรและเทคโนโลยี คณิตศาสตรและเทคโนโลยี คณิตศาสตรและเทคโนโลยี คณติ ศาสตรและเทคโนโลยี - สง เสรมิ ใหครูมีการใช - สง เสริมใหค รมู กี ารใช - สงเสรมิ ใหค รูมีการใช สิ่งสนบั สนุนการเรยี นรู ส่ิงสนับสนนุ การเรียนรู ส่งิ สนับสนุนการเรียนรู อยางคุมคา และมปี ระสิทธิภาพ อยา งคุม คา และมปี ระสทิ ธภิ าพ อยา งคมุ คา และมปี ระสิทธภิ าพ - ประเมินผลการใช - ประเมนิ ผลการใช สิ่งสนับสนนุ การเรียนรู สิง่ สนบั สนนุ การเรยี นรู และนําผลการประเมนิ และนาํ ผลการประเมิน ไปปรบั ปรุงพัฒนา ไปปรับปรงุ พัฒนา ใหมีคุณภาพสูงขน้ึ ใหมคี ุณภาพสงู ขน้ึ - มีแนวทางการใช

ตวั ช้วี ัด ระดบั โรงเรียน A 2A 3A 4A สงิ่ สนบั สนนุ การเรยี นรู เพื่อ สงเสริมทกั ษะการเรยี นรู ทางวิทยาศาสตร คณติ ศาสตรและเทคโนโลยี ที่เปน แบบอยางทีด่ ี 23

5. เครือขายความรวมมอื เพ่ือใหบรรลุเปาหมายของการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศ และลดความเหล่ือมลํ้าทาง การศึกษา โดยการยกระดับคุณภาพโรงเรียนระดับอําเภอน้ัน จําเปนตองมีความรวมมืออยางจริงจังระหวาง หนวยงาน ดังตอ ไปนี้ o กระทรวงศึกษาธิการ ไดแก สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) สํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน (สพฐ.) สํานักงานคณะกรรมการสง เสริมการศึกษา เอกชน (สช.) o กระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัย และนวัตกรรม ไดแก มหาวิทยาลัยของรัฐ/เอกชน มหาวทิ ยาลยั ในกํากับของรฐั มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏ o กระทรวงมหาดไทย ไดแก องคกรปกครองสวนทองถ่ิน (อปท.) องคการบริหารสวนจังหวัด (อบจ.) องคการบรหิ ารสวนตาํ บล (อบต.) o กรงุ เทพมหานคร ไดแก สํานกั การศกึ ษา กรงุ เทพมหานคร (กทม.) o เมอื งพทั ยา ไดแก สํานกั การศึกษาเมอื งพทั ยา สาํ นักงานศึกษาธิการภาค/ สาํ นักงานศกึ ษาธกิ ารจังหวัด/ สาํ นกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษา o สนับสนุนนโยบายและงบประมาณ o บรรจโุ ครงการในแผนพัฒนาจังหวดั o กาํ กบั ดแู ล o ตดิ ตามผลสาํ เร็จโครงการ หนวยงานตน สังกดั โรงเรียนคณุ ภาพวิทยาศาสตร สสวท. คณติ ศาสตรและเทคโนโลยี o สนับสนุนนโยบาย งบประมาณ o สนับสนนุ ทางวชิ าการ และบคุ ลากร ตามมาตรฐาน สสวท. o ประเมินและรับรองคณุ ภาพ o ติดตามและประเมินประสทิ ธิภาพ o กํากบั ดแู ล มหาวิทยาลัยในพื้นท่ี o ติดตามผลสําเร็จ ประสิทธิผลโครงการ o พฒั นาศกั ยภาพครูและบคุ ลากร o เชิดชเู กยี รติ ทางการศกึ ษา o สนบั สนนุ ทางวชิ าการ o ตดิ ตามผลการพัฒนา 24

5.1 บทบาทเครือขายหนวยงาน หนวยงานตน สังกดั หมายถึง หนวยงานท่ีกํากับดูแลโรงเรียน สงเสริม สนับสนุนงบประมาณ บุคลากรเพื่อการจัด การเรียนรูวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยใี นโรงเรียนใหมีประสทิ ธิภาพ ประสทิ ธิผล ไดแ ก สํานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (สพฐ.) สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการศึกษาเอกชน (สช.) กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น สํานักการศึกษา กรุงเทพมหานคร (กทม.) สํานักการศึกษาเมืองพัทยา มหาวิทยาลยั ราชภฏั และมหาวทิ ยาลัยในพ้ืนท่ี บทบาทภาระหนา ท่ี 1. สนับสนุนใหหนวยงานในกํากับระดับพื้นที่กํากับ ติดตาม โรงเรียนที่เขารวมโครงการโรงเรียน คุณภาพวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยี ตามมาตรฐาน สสวท. ใหปรับการเรียน เปลี่ยนวิธีสอน การจัดกิจกรรมการเรียนรูวทิ ยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยี ตามแนวทาง สสวท. ในทกุ ระดบั ชั้น 2. สนับสนุนใหหนวยงานในกํากับระดับพื้นที่กํากับ ติดตาม ครูผูสอนวิทยาศาสตร คณิตศาสตร และเทคโนโลยี ของโรงเรียนท่ีเขารวมโครงการโรงเรียนคุณภาพวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและ เทคโนโลยี ตามมาตรฐาน สสวท. ไดรบั การพัฒนาศักยภาพอยางตอเนื่อง ทั้งดา นเน้ือหาวิชาการ เทคนิควิธีการสอน การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามแนวทาง สสวท. อันจะสงผลตอการพัฒนา ความรแู ละเจตคตติ อการเรยี นรวู ิทยาศาสตร คณติ ศาสตรแ ละเทคโนโลยขี องนักเรียน 3. สนับสนุนงบประมาณประจําปใหกับโรงเรียนท่ีเขารวมโครงการโรงเรียนคุณภาพวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยี ตามมาตรฐาน สสวท. ปรับปรุงและพัฒนาหองปฏิบัติการ หองคอมพิวเตอร และแหลงเรียนรู ตลอดจนสื่อ วัสดุอุปกรณการเรียนรู เพ่ือเพิ่มโอกาสให นักเรียนเขา ถึงโรงเรียนทมี่ คี ณุ ภาพดานวทิ ยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยี ในระดับอําเภอ 4. จัดสรรบุคลากรเพ่ือปฏิบัติหนาที่ครูผูสอนวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยีใหครบช้ัน ครบวิชาในโรงเรียนท่ีเขารวมโครงการโรงเรียนคุณภาพวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยี ตามมาตรฐาน สสวท. สํานกั งานศกึ ษาธกิ ารภาค/ สาํ นกั งานศกึ ษาธิการจังหวัด/ สาํ นักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษา บทบาทภาระหนาท่ี 1. กํากับ ติดตามใหโรงเรียนท่ีเขารวมโครงการโรงเรียนคุณภาพวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและ เทคโนโลยี ตามมาตรฐาน สสวท. ใหปรับการเรียนเปลี่ยนวิธีสอน การจัดกิจกรรมการเรียนรู วิทยาศาสตร คณิตศาสตรแ ละเทคโนโลยี ตามแนวทาง สสวท. ในทุกระดบั ช้ัน 25

2. จัดสรรงบประมาณเพ่ือสนับสนุนใหครูผูสอนวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยี ของโรงเรียนที่เขารวมโครงการโรงเรียนคุณภาพวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยี ตามมาตรฐาน สสวท. ไดรับการพัฒนาศักยภาพอยางตอเน่ือง ทั้งดานเนื้อหาวิชาการ เทคนิค วิธีการสอน การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามแนวทาง สสวท. อันจะสงผลตอการพัฒนาความรู และเจตคตติ อ การเรียนรวู ทิ ยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยีของนกั เรยี น 3. จัดสรรงบประมาณ และกํากับ ติดตาม ใหโรงเรียนท่ีเขารวมโครงการโรงเรียนคุณภาพ วิทยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยี ตามมาตรฐาน สสวท. ปรับปรุงและพัฒนา หองปฏิบัติการ หองคอมพิวเตอร และแหลงเรียนรู ตลอดจนส่ือ วัสดุ อุปกรณ การเรียนรู เพื่อ เพ่ิมโอกาสใหนักเรียนเขาถึงโรงเรียนที่มีคุณภาพดานวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยี ในระดบั อําเภอ 4. จัดสรรงบประมาณ เพ่ือสนับสนุนใหบุคลากรทางการศึกษาในสังกัด ดําเนินการนิเทศ ติดตาม รวมกับผูเช่ียวชาญจังหวัด หรือบุคลากรเครือขายของ สสวท. ในโรงเรียนท่ีเขารวมโครงการ โรงเรียนคณุ ภาพวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยี ตามมาตรฐาน สสวท. 5. รวมติดตามและประเมินโรงเรียนที่เขารวมโครงการโรงเรียนคุณภาพวิทยาศาสตร คณิตศาสตร และเทคโนโลยี ตามมาตรฐาน สสวท. เพื่อการพัฒนาและปรับปรุงใหบรรลุเปาหมายและ วัตถุประสงคของโครงการ มหาวิท6ย.าลัยในพนื้ ที่ บทบาทภาระหนาที่ 1. สนับสนุนใหบุคลากรในกํากับ (คณาจารยมหาวิทยาลัย ) รวมพัฒนาหลักสูตรอบรม เพื่อพัฒนา ครูและบุคลากรทางการศึกษา วิทยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยี ระดับประถมศึกษา ถึงระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 2. สนับสนุนใหบุคลากรทางการศึกษาในสังกัดรวมพัฒนาศักยภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา ในโรงเรียนท่ีเขารวมโครงการโรงเรียนคุณภาพวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยี ตามมาตรฐาน สสวท. ใหปรับการเรียนเปล่ียนวิธีสอน ดานเน้ือหาวิชาการ เทคนิควิธีการสอน การจัดกิจกรรมการเรียนรูวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยี ตามแนวทาง สสวท. ในทุกระดับช้ัน อันจะสงผลตอการพัฒนาความรูและเจตคติตอการเรียนรูวิทยาศาสตร คณติ ศาสตรและเทคโนโลยขี องนักเรียน 4. สนับสนุนใหบุคลากรทางการศึกษาในสังกัดดําเนินการนิเทศ ติดตามรวมกับผูเช่ียวชาญจังหวัด หรือบุคลากรเครือขายของ สสวท. ในโรงเรียนท่ีเขารวมโครงการโรงเรียนคุณภาพวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยี ตามมาตรฐาน สสวท. 26

5.2 บทบาทเครือขา ยบคุ ลากร กลมุ ผูเช่ียวชาญสวนกลาง เปนบุคลากรที่มีความรูความชํานาญและเช่ียวชาญดานการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยีในโรงเรียนท่ี สสวท. ขอตัวมาชวยราชการ อาจเปนบุคลากรท่ีเกษียณอายุราชการ หรือยังคงรับราชการอยูในหนวยงานภาครัฐ ไดแก บุคลากรของ สสวท. ตําแหนงชํานาญการ เชี่ยวชาญ เชี่ยวชาญพิเศษ คณาจารยมหาวิทยาลัยที่มีประสบการณการสอนและการพัฒนาหลักสูตร สื่อ อุปกรณ เพ่อื การเรียนรูวิทยาศาสตร คณิตศาสตรแ ละเทคโนโลยีในโรงเรยี น บทบาทภาระหนาที่ 1. วางแผนการดาํ เนนิ งานการติดตามผลการเรียนการสอนของครใู นพนื้ ที่ 2. ใหคําปรกึ ษา แนะนํา และใหความชวยเหลอื ผูเ ชี่ยวชาญจังหวดั ในแตล ะพืน้ ท่ี 3. สรา งเครอื ขายแหง การเรียนรูออนไลน แลกเปล่ียนเรียนรูดานวชิ าการผานเวบ็ ไซตของ สสวท. 4. จัดประชุมเพื่อขับเคลอ่ื นและพัฒนาการเรยี นการสอนของโรงเรยี นคณุ ภาพฯ 5. ประเมินผลการดําเนินงานของผเู ชี่ยวชาญจงั หวดั ในแตล ะพื้นที่ 6. จดั ทาํ รายงานประจําปผลการดําเนินงานของการพัฒนาการเรียนรูของโรงเรยี นคุณภาพฯ กลุมผเู ช่ียวชาญจังหวัด กลุมผูเช่ียวชาญจังหวัดประกอบดวย ครูและบุคลากรท่ีเกษียณอายุราชการ หรือยังคงรับราชการอยู ในหนวยงานของรัฐ ที่มีความรูความชํานาญและเช่ียวชาญดานการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยีในโรงเรียน ไดแก ผูบริหาร ศึกษานิเทศก วิทยากรแกนนํา ครูผูนํา ครูพ่ีเล้ียงวิชาการ ครูดีเดน ครูแหงชาติ และครูผูสอนท่ีมีประสบการณการสอนและการพัฒนาหลักสูตร สื่อ อุปกรณ เพ่ือ การเรียนรูวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยีในโรงเรียน และมีสุขภาพแข็งแรง ยินดีเขารวมโครงการ โดยสมัครใจ โดยสมัครผา นเว็บไซต สสวท. ผูเช่ียวชาญจังหวัดจะมีทั้งวทิ ยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยี เขาปฏิบัติงานกับครูของโรงเรียนในโครงการแตละจังหวัด จํานวนผูเชี่ยวชาญจังหวัดมีสัดสวนเหมาะสมที่จะ ปฏบิ ัตงิ านไดจรงิ อยา งมีประสิทธิภาพ คุณสมบตั ขิ องผูเชี่ยวชาญจังหวัด 1. มีความรูความสามารถในการจัดการเรียนรูดานวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยี ตามหลกั สตู รการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) 2. สามารถสราง พฒั นา หรอื ใชน วัตกรรมเพื่อการเรียนรูทมี่ ีประสทิ ธิผล 3. มีความรู ความสามารถในการวัดและประเมินผลการเรียนรู ท้ังการวัดและประเมินผล เพือ่ ปรบั ปรุง และตัดสินผลการเรยี นการสอน 4. มคี วามรู ความสามารถในการใชผลการวิจัยเพอ่ื พัฒนาคุณภาพการเรยี นการสอน 27

5. มีความสามารถเปนผูนํา มีความคิดริเร่ิม สรางสรรค และกลาแสดงออก สามารถสรางแรงบันดาลใจ ใหเ พ่ือนครูเห็นคุณคา และรวมพฒั นาการเรียนการสอน 6. มคี วามสามารถดา นเทคโนโลยี ในการดําเนนิ งานตา ง ๆ ของโครงการผานระบบดิจทิ ัล 7. เปนแบบอยางที่ดีในดานวิชาการ ยึดม่ัน ปฏิบัติตนตามมาตรฐานวิชาชีพ และจรรยาบรรณของ วิชาชีพครู บทบาทภาระหนาที่ 1. ใหคําปรึกษาผูบริหารโรงเรียนในการจัดทําแผนพัฒนาการศึกษาโรงเรียนคุณภาพฯ เพื่อเสนอ สสวท. 2. ประสานการดาํ เนนิ งานของโครงการกบั ผูบริหาร ครู เพือ่ วางแผนปฏิบตั งิ านรว มกัน 3. ใหค ําปรกึ ษาแนะนําแกค รูผสู อน เก่ียวกับการจดั ทาํ และปรบั ปรงุ แผนการจัดการเรยี นรู 4. เขาสังเกตการเรียนการสอนของครูในช้ันเรียนอยางตอเนื่อง และสะทอนผลหลังการสังเกต ชัน้ เรยี นรวมกับครูผสู อน 5. สรา งเครือขา ยแหงการเรียนรูออนไลน แลกเปลย่ี นเรียนรูดา นวิชาการและดา นการเรยี นการสอน 6. รว มประชมุ และใหคําปรึกษาเพอ่ื พฒั นาการเรียนการสอนของครใู นโครงการ 7. จัดทํารายงานการดําเนินงานสงผานระบบออนไลน เสนอผูอํานวยการ สสวท. เม่ือส้ินสุด แตละภาคเรียน และสิ้นปการศกึ ษา เพ่อื รบั ทราบความกา วหนา ปญหาอปุ สรรค วิธกี ารแกไ ข 6. การพัฒนาและการสนับสนุนโรงเรียนคุณภาพวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยี ตามมาตรฐาน สสวท. แบง ออกเปน 3 วธิ ี วธิ ที ี่ 1 การพัฒนาครู ในการพัฒนาศักยภาพครูในโรงเรียนที่เขารวมโครงการโรงเรียนคุณภาพฯ สสวท. ไดจัดหลกั สูตรอบรม ใหครใู นรูปแบบตาง ๆ ทั้งการอบรมแบบ Face to Face การอบรมผานระบบทางไกล ระบบเครอื ขายดาวเทียม และระบบออนไลน โดยมีบุคลากรหลายฝายรวมกัน คือ ผูเช่ียวชาญดานวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและ เทคโนโลยี อาจารยมหาวิทยาลัยที่เปนเครือขาย นักวิชาการและวิทยากรแกนนําของ สสวท. หลักสูตรอบรมที่ สสวท. จัดทําเพ่ือพัฒนาครูในโครงการ สําหรับนําไปใชในการพัฒนาการจัดการเรียนรูวิทยาศาสตร คณิตศาสตรแ ละเทคโนโลยี ไดแก o หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) o การจัดทาํ แผนการจัดการเรียนรู ทสี่ อดคลองกบั หลักสูตร มาตรฐาน และตัวชว้ี ดั o การวัดและประเมินผลการเรียนรู ทั้งระหวางเรียน (Formative) และตัดสินผลการเรียน (Summative) o หลักสูตรเสริมการเรียนการสอนวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยี เชน โครงงาน คายวชิ าการ สะเต็มศึกษา หรือแหลง เรียนรูใ นทองถน่ิ เปน ตน o หลกั สตู รแผนพัฒนาการจัดการเรยี นรดู วยกระบวนการ PLC ระหวางครกู ับผูบ รหิ าร 28

วิธที ่ี 2 การสนบั สนนุ ส่ือ โรงเรียนที่รวมโครงการโรงเรียนคุณภาพฯ จะไดรับการสนับสนุนส่ือ อุปกรณประกอบการจัดการ เรียนรูดานวทิ ยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยี ซ่ึงพัฒนาตน แบบโดย สสวท. ตามความจําเปนของแตละ โรงเรียน ทีมผูเชยี่ วชาญหรือคณะทํางาน สสวท. ตองสํารวจความตอ งการหรือความจําเปนของโรงเรียนเครือขาย เพ่ือใหทราบขอมูลสําหรับวางแผนจัดสรรสื่อสนับสนุนไดตรงกับความจําเปน และผานการเห็นชอบจากคณะ กรรมการบริหารโครงการฯ ของ สสวท. ตัวอยา งรายการสือ่ การเรียนรูดา นวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยี ท่พี ัฒนาตน แบบโดย สสวท. o ชุดการเรียนรูสะเต็มศึกษา ซึ่งเปนชุดสื่ออุปกรณสําหรับประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู สะเต็มศึกษาตามแนวทาง สสวท. แบงเปนระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา แตกตางกันไป ตามระดับชั้น เชน กิจกรรมหนู ๆ กับ Zoo ใหม สําหรับระดับประถมศึกษา กิจกรรมตรวจพันธุ ทันดว น สําหรับระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษา o ชุดทดลองทางวิทยาศาสตร เปนชุดการทดลองประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรูที่แตละสาขาวิชา ไดพ ัฒนาขนึ้ มาซงึ่ มีลกั ษณะแตกตางกนั ไปตามแตล ะจุดประสงคของกิจกรรม o ชุดกิจกรรมคณิตศาสตร เปนชุดส่ือประกอบการเรียนรูเพ่ือสรางความสนใจแกนักเรียน โดย มีทง้ั ระดบั ประถมศกึ ษาและมธั ยมศกึ ษา ซึ่งพัฒนาตน แบบโดยสาขาวชิ าคณติ ศาสตร สสวท. o ชุดการเรียนรูวิทยาการคํานวณ เปนสื่อการเรียนรูสําหรับประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู รายวชิ าเทคโนโลยี (วิทยาการคาํ นวณ) ซ่ึงพฒั นาตนแบบโดยสาขาเทคโนโลยี สสวท. o สอ่ื ดจิ ทิ ลั เปน ส่ือการเรยี นรรู ูปแบบไฟลด จิ ิทลั ของท้งั วชิ าวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยี สําหรับใชประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู ซง่ึ อาจเปนสื่อประกอบหนงั สือเรียน คูมือครู หรอื สอื่ สําหรับการเรียนรเู สริม โดยครสู ามารถเขาถึงไฟลไ ดจ ากเว็บไซต สสวท. วธิ ที ี่ 3 การใหคําปรกึ ษา หรือแนะนาํ ผใู หคําปรึกษาหรือแนะนํา ประกอบดวยกลุมผเู ช่ยี วชาญจงั หวดั และศึกษานิเทศกทม่ี ีสวนเกี่ยวของกับ โรงเรียนคุณภาพวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยีตามมาตรฐาน สสวท. มีบทบาทหนาท่ีเปนผูสํารวจ สภาพความพรอมของโรงเรียนท้ังในดานคุณภาพนักเรียน คุณภาพครูและการบริหารจัดการโรงเรียน เพื่อ เปน ขอ มูลในการเขารวมใหข อคดิ เห็นสําหรบั การจัดทาํ แผนพัฒนาการศึกษาโรงเรียนคุณภาพฯ เพื่อใหโรงเรียน ไดพัฒนาไปสูมาตรฐานตามท่ีกําหนด รวมท้ังใหคําปรึกษาแกครูในดานการจัดการเรียนรู การเขียนแผน การจัดการเรียนรู แนะนําหลักสูตรท่ีจําเปนเรงดวนที่ครูควรไดรับการอบรมพัฒนาและนําเสนอตอ สสวท. ในการใหการสนบั สนุนสื่อ และการอบรมพัฒนาครู 29

7. กรอบการดําเนนิ งาน การดําเนนิ งานโรงเรยี นคุณภาพ แบง ออกเปน 3 ระยะ ระยะที่ 1 การรับสมัครโรงเรียนเขารวมโครงการโรงเรียนคุณภาพวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและ เทคโนโลยี ตามมาตรฐาน สสวท. ป พ.ศ. 2560 - 2561 o โรงเรียนทุกโรงเรียนที่มีคุณสมบัติตรงตามเง่ือนไข สามารถสมัครเขารวมโครงการ โรงเรียนคุณภาพวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยี ตามมาตรฐาน สสวท. ผานเว็บไซตของ สสวท. โดยกําหนดชวงการรับสมัคร รอบที่ 1 ในชวงป พ.ศ. 2560 และชว งท่ี 2 ป พ.ศ. 2561 o ประกาศรายช่อื โรงเรยี นทเ่ี ขารวมโครงการฯ รนุ ท่ี 1 o ประชมุ ชแ้ี จง พรอมกบั ลงนาม MoU กับโรงเรียนท่เี ขารวมโครงการฯ รนุ ที่ 1 o ประชุมเตรียมความพรอมผูเช่ียวชาญจังหวัด เพื่อพัฒนาสมรรถนะผูเชี่ยวชาญจังหวัด และทําความเขาใจบทบาทหนาท่ี และแนวทางการปฏิบตั ิงานของผูเ ชยี่ วชาญจังหวัด o ผูเ ชีย่ วชาญจงั หวดั ลงพ้นื ทีเ่ พ่ือเกบ็ ขอมูลและจัดทํารายงานนําเสนอ สสวท. ระยะท่ี 2 การพัฒนาและติดตามความกาวหนา โรงเรียนท่ีผานการคัดเลือกเขารวมโครงการโรงเรียน คณุ ภาพวิทยาศาสตร คณิตศาสตรแ ละเทคโนโลยี ตามมาตรฐาน สสวท. ป พ.ศ. 2562 - 2564 o ประกาศรายช่อื โรงเรยี นที่เขารว มโครงการฯ รนุ ที่ 2 o ลงนามบนั ทกึ ขอตกลงความรวมมอื (MoU) ระหวา ง สสวท. กับเครอื ขายตนสงั กัด o ลงนามบันทึกขอตกลงความรวมมือ (MoU) ระหวาง สสวท. กับโรงเรียนที่เขารวม โครงการฯ รนุ ที่ 2 o ประชมุ ชแ้ี จงแนวทางการพฒั นากบั โรงเรยี นที่เขารว มโครงการ รนุ ที่ 1 - 2 o ดาํ เนินการพฒั นาครูในโรงเรียนคณุ ภาพฯ รุน ที่ 1 - 2 (ตามแนวทางในขอ 6 วิธที ี่ 1) o โรงเรยี นจดั ทําแผนพัฒนาการศกึ ษาโรงเรยี นคุณภาพฯ ประกอบดว ย ­ ปรับวธิ จี ัดการเรียนรใู หเปน ไปตามแนวของ สสวท. ­ พัฒนาแหลงเรียนรูท้ังในและนอกหองเรียน เชน หองปฏิบัติการคอมพิวเตอร และหองปฏบิ ัติการวิทยาศาสตร ­ สรางเครือขายครูท้ังในและนอกโรงเรียน เพ่ือแลกเปล่ียนประสบการณจัด การเรยี นรูและประสบการณทํางาน ­ สงเสริมสนับสนุนสื่อการเรียนรู วิทยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยี ตามแนวทาง สสวท. o ผูเ ช่ียวชาญใหค ําปรกึ ษาโรงเรียนในการจัดทาํ แผนพัฒนาการศกึ ษาโรงเรียนคุณภาพฯ 30

ระยะที่ 3 การตรวจสอบคุณภาพดานวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยีของโรงเรียน ภายหลงั จากการเขารว มโครงการ ปงบประมาณ 2563 – 2565 o สสวท. ติดตามผลการเรียนรูวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยี ในหองเรียน อยางใกลช ิด ทั้งภาคปฏบิ ตั แิ ละภาคทฤษฎี o โรงเรียนเสนอความกาวหนาในดานวิชาการ เพ่ือรับการเชิดชูเกียรติใหเปนโรงเรียน คณุ ภาพดา นวิทยาศาสตร คณติ ศาสตรและเทคโนโลยี 8. บทบาทภาระหนา ท่ีของโรงเรียน 1. แตงต้ังคณะกรรมการดําเนินการสงเสริม สนับสนุนการจัดการเรียนรูตามโครงการโรงเรียนคุณภาพ วิทยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยี ตามมาตรฐาน สสวท. 2. สง เสริมใหนกั เรยี นมีโอกาสและไดรบั การสนับสนุนการเรียนรูวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยี อยางเทา เทียม ทมี่ ุงเนนการฝกทักษะการปฏบิ ัตกิ าร ท้งั ในหอ งปฏิบัตกิ ารและแหลง เรียนรใู นทองถ่นิ 3. สงเสริม สนับสนุนใหครูผูสอนวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยี ไดรับการพัฒนาศักยภาพ ดา นการจัดการเรยี นการสอนวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยี ตามแนวทาง สสวท. 4. กํากับดูแลใหครูผูสอนวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยี จัดกิจกรรมการเรียนรูวิทยาศาสตร คณติ ศาสตรแ ละเทคโนโลยี ตามแนวทาง สสวท. 5. สงเสริม สนับสนุนใหครูผูสอนไดใชหลักสูตร ส่ือ อุปกรณตาง ๆ ท่ี สสวท.พัฒนา ในการจัดกิจกรรม การเรยี นรู 6. นําสงแผนพัฒนาการศึกษาโรงเรียนคุณภาพวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยี ตามมาตรฐาน สสวท. เปนระยะเวลา 3 ปการศึกษา และรายงานผลการดําเนินงานตามแผนทุกส้ินปการศึกษา เพ่ือ รบั การสนับสนุนจาก สสวท. 7. สงรายงานประจําป โรงเรียนที่เขารวมโครงการจะตองรายงานผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยีของนักเรียนทุกระดับชั้น เพื่อดูความกาวหนาของการเรียนการสอนและ รายงานผลการดําเนินงานประจําป เพื่อประเมินคุณภาพโรงเรียนในระดับตาง ๆ และรักษาสภาพ คณุ ภาพของโรงเรยี น 9. ชองทางการตดิ ตอโครงการฯ Email [email protected] Website http://smt.ipst.ac.th Facebook fanpage https://www.facebook.com/smt.ipst 31

ภาพเวบ็ ไซต โรงเรยี นคุณภาพวทิ ยาศาสตร คณติ ศาสตรและเทคโนโลยี ตามมาตรฐาน สสวท. http://smt.ipst.ac.th ภาพ Facebook fanpage โรงเรียนคณุ ภาพวทิ ยาศาสตร คณติ ศาสตรและเทคโนโลยี ตามมาตรฐาน สสวท. https://www.facebook.com/smt.ipst 32

ภาคผนวก



อภธิ านศัพท ทักษะการเรียนรูทางวทิ ยาศาสตร คณติ ศาสตรและเทคโนโลยี ทกั ษะการเรยี นรูทางวทิ ยาศาสตร คณติ ศาสตรแ ละเทคโนโลยี ในทน่ี ี้ประกอบดว ย 1. การคดิ สรางสรรค การคิดอยางมีวิจารณญาณ สามารถประยกุ ตใ ชค วามรทู างวิทยาศาสตร คณติ ศาสตร และเทคโนโลยีในการแกป ญหา 2. การสรา งนวัตกรรม ผลงาน ชิ้นงาน สิ่งประดิษฐ หรือโครงงานในกจิ กรรมวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและ เทคโนโลยี 3. การใชเทคโนโลยเี พ่ือการเรียนรูและการสื่อสารไดอยา งเหมาะสม 4. การสืบเสาะหาความรูทางวิทยาศาสตร สํารวจและสรางขอความคาดการณทางคณิตศาสตร และแกปญหา หรอื พฒั นางานอยางมคี วามคดิ สรางสรรคดวยกระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรมและการคิดเชิงคํานวณ การคดิ สรา งสรรค การคิดสรางสรรค หมายถึง ความสามารถทางสมองของบุคคลในการแสดงออกทางความคิดหรือ การกระทําท่ีคิดไดกวางไกล หลายแงมุม นําไปสูการคนพบสิ่งแปลกใหมดวยการคิดดัดแปลง ปรุงแตง ผสมผสานกันใหเกิดสิ่งใหม หรือเกิดเปนผลงานหรือผลผลิตท่ีมีลักษณะแปลกใหม ซึ่งเกิดจากการเรียนรูและ การเช่ือมโยงประสบการณเดิมกับประสบการณใหม มีการใชเทคนิคที่หลากหลายในการสรางสรรคแนวคิด มีการใหรายละเอียดเพ่ิมเติม กลัน่ กรอง วิเคราะห และประเมินแนวคิด รวมถึงมีการทํางานกบั ผูอ่นื อยางสรางสรรค และการนาํ ไปปฏบิ ัตเิ พ่อื สรางผลงานที่เปน ประโยชนใ หเกดิ ข้ึนจรงิ ซึ่งจะนําไปสผู ลงานทีเ่ ปนนวัตกรรมในทสี่ ดุ การคิดอยา งมีวจิ ารณญาณ การคิดอยางมีวิจารณญาณ หมายถึง การคิดโดยใชเหตุผลที่หลากหลายเหมาะสมกับสถานการณ มีการคิดอยางเปนระบบ วิเคราะหและประเมินหลักฐานและขอคิดเห็นดวยมุมมองท่ีหลากหลาย สังเคราะห แปลความหมาย และจดั ทําขอสรปุ สะทอนความคิดอยางมีวิจารณญาณโดยใชประสบการณและกระบวนการ เรียนรู การประยกุ ตใชค วามรูทางวิทยาศาสตร คณิตศาสตรแ ละเทคโนโลยีในการแกป ญหา การนําความรูทางวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยีไปใชแกปญหาที่ไมคุนเคยอยางเปนระบบ โดยวิธีการที่สรางสรรค ระบุปญหาและต้ังคําถามสําคัญที่ชวยใหเกิดความกระจางของมุมมองและนําไปสูวิธี แกป ญ หาทดี่ ี 35

การใชเ ทคโนโลยี การใชเทคโนโลยี ในที่นี้หมายถึง การใชเทคโนโลยีเปนเครื่องมือในการวิจัย จัดระบบ ประเมิน หรือ ส่ือสารสารสนเทศ การใชเทคโนโลยีดิจิทัล เครื่องมือส่ือสาร เครือขายสังคมออนไลนในการเขาถึง จัดการ บูรณาการ ประเมิน และสรางสรรคสารสนเทศอยางเหมาะสมโดยคํานึงถึงผลกระทบตอชีวิต สังคม และ สิ่งแวดลอม รวมถึงการมีความเขาใจพ้ืนฐานเกี่ยวกับประเด็นทางดานจริยธรรมและกฎหมายท่ีเก่ียวของกับ การเขาถึงและใชเทคโนโลยสี ารสนเทศ การสบื เสาะหาความรูทางวิทยาศาสตร ก ารสื บ เส าะห าค วาม รู ท างวิ ท ย าศ าส ต ร เป น ก ระบ ว น ก ารใน ก ารได ม าซึ่ งค ว าม รู แ บ บ เดี ย วกั บ ท่ีนักวิทยาศาสตรใช โดยในระดับชั้นเรียน ลักษณะของการสืบเสาะหาความรูทางวิทยาศาสตรมีดังนี้ 1) การ มีสวนรวมในประเด็นคําถามทางวิทยาศาสตรซ่ึงเปนคําถามท่ีนําไปสูการสืบเสาะหาความรู 2) การใหความสําคัญ กับขอมูลหลักฐานในการอธิบายหรือหาคําตอบ โดยผานทางการลงมือทําปฏิบัติการ เชน สังเกต ทดลอง สรางแบบจําลอง เพื่อนําหลักฐานเชิงประจักษตาง ๆ มาอธิบายหรือตอบคําถาม 3) การอธิบายแนวคิด ทางวิทยาศาสตรจากหลักฐานเชิงประจักษ 4) การประเมินคําอธิบายของตนและคําอธิบายอ่ืน ๆ ที่สะทอนใหเห็น ถึงความเขาใจในแนวคดิ วิทยาศาสตร และนาํ ไปสูการตัดสินใจ และ 5) การสอื่ สารการคนพบของตนใหผูอ่ืนเขาใจ การสํารวจและสรา งขอความคาดการณทางคณติ ศาสตร การสํารวจและสรางขอความคาดการณทางคณิตศาสตรเปนกระบวนการเรียนรูที่สงเสริมใหผูเรียน สรางองคความรูขึ้นมาดวยตนเอง โดยใชความรูพื้นฐานเดิมท่ีเคยเรียนมาเปนฐานในการตอยอดความรูดวย การสํารวจ สังเกต และใชการใหเหตุผลแบบอุปนัย สรางขอความท่ีอาจเปนไปได ซึ่งขอความน้ันอาจถูกตอง หรอื ไมถูกตองก็ได กระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรม กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เปนการหาวิธีการในการแกปญหา ซ่ึงอาจเปนวิธีการหรือ การพัฒนานวัตกรรม ช้ินงาน สิ่งประดิษฐโดยผานกระบวนการออกแบบซึ่งมีลักษณะเปนวงจร คือ 1) ระบุปญหา 2) รวบรวมขอมูลและแนวคิดเพ่ือสรรหาวิธีการที่เปนไปได 3) เลือกและออกแบบวิธีการแกปญหา 4) ดําเนินการแกปญหาเพ่ือสรางตนแบบ 5) ทดสอบ ประเมินและปรับปรุงแกไขตนแบบ และ 6) นําเสนอ ตน แบบ วธิ ีการและผลการแกป ญหา การคิดเชิงคาํ นวณ ทักษะการคิดเชิงคํานวณ เปนกระบวนการในการแกปญหา การคิดวิเคราะหอยางมีเหตุผล เปนขั้นตอนเพื่อหาวิธีการแกปญหาในรูปแบบที่สามารถนําไปประมวลผลไดอยางมีประสิทธิภาพ ทักษะน้ี 36

มีความสําคัญในการพัฒนาซอฟตแวร นอกจากน้ียังสามารถนําไปใชแกปญหาในศาสตรอ่ืน ๆ และปญหา ในชีวิตประจําวันไดดวย ทักษะการคิดเชิงคํานวณมีองคประกอบ คือ 1) การแบงปญหาใหญออกเปนปญหา/งานยอย เปนการพิจารณา และแบงปญหา/งาน/สวนประกอบออกเปนสวนยอยเพื่อใหจัดการกับปญหาไดงายขึ้น 2) การพิจารณารปู แบบของปญหาหรอื วิธีการแกปญหา เปนการพิจารณารปู แบบ แนวโนม และลักษณะทั่วไป ของปญหา/ขอมูล โดยพิจารณาวาเคยพบปญหาลักษณะน้ีมากอนหรือไม หากมีรูปแบบของปญหาที่คลายกัน สามารถนําวิธีการแกปญหานั้นมาประยุกตใชและพิจารณารูปแบบปญหายอยซ่ึงอยูภายในปญหาเดียวกัน วามีสวนใดที่เหมือนกันเพื่อใชวิธีการแกปญหาเดียวกันได ทําใหจัดการกับปญหาไดงายขึ้น และการทํางาน มีประสิทธิภาพเพ่ิมข้ึน 3) การพิจารณาสาระสําคัญของปญหา เปนการพิจารณารายละเอียดที่สําคัญของ ปญหา แยกแยะสาระสําคัญออกจากสวนท่ีไมสําคัญ และ 4) การออกแบบอัลกอริทึม เปนข้ันตอนใน การแกปญ หาหรอื การทาํ งาน โดยมลี ําดบั ของคําสงั่ หรอื วธิ กี ารที่ชดั เจนทีค่ อมพิวเตอรส ามารถปฏิบตั ติ ามได ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนวิทยาศาสตร คณิตศาสตรแ ละเทคโนโลยี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยี หมายถึง ผลการเรียนรูหรือ การเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดกับผูเรยี นซึ่งเกิดจากการเรยี นการสอนหรือมวลประสบการณท่คี รูผสู อนจัดใหกับผูเรียน ซึ่งประกอบดวยความรู ทักษะ และคุณลักษณะท่ีกําหนดไวลวงหนาในมาตรฐานและตัวช้ีวัดรายวิชา วิทยาศาสตร คณิตศาสตรแ ละเทคโนโลยี เจตคตติ อ การเรยี นรวู ิทยาศาสตร คณิตศาสตรแ ละเทคโนโลยี เจตคติตอการเรียนรูวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยี เปนความรูสึกของบุคคลตอการเรียนรู วิทยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยี เชน ความสนใจ ความชอบ การเห็นความสําคัญและคุณคา ซึ่งเปน ผลมาจากการเรยี นรูโ ดยผา นกจิ กรรมทห่ี ลากหลาย 37

38

แบบฟอรม แผนพฒั นาการศกึ ษา โรงเรยี นคณุ ภาพวิทยาศาสตร คณติ ศาสตรแ ละเทคโนโลยี ตามมาตรฐาน สสวท.

แผนพัฒนาการศึกษา โรงเรยี นคณุ ภาพวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยี ตามมาตรฐาน สสวท. โรงเรียน......................................................... อําเภอ.................................จังหวดั ................................ สังกัด ( ) สพฐ. ( ) สช. ( ) กทม. ( ) อปท. ( ) มหาวทิ ยาลัย ( ) เมอื งพัทยา ระดับชั้นทีเ่ ปด สอน ( ) ประถมศึกษา ( ) มธั ยมศกึ ษาตอนตน ( ) มธั ยมศึกษาตอนปลาย ขอมูลพืน้ ฐานของโรงเรยี น (ขอมูล ณ วนั ท่ี 10 มิถุนายน 2562) 1.1 ขอ มูลนักเรียน ระดับ จาํ นวน (คน) ระดับ จํานวน (คน) ป.1 ม.1 ป.2 ม.2 ป.3 ม.3 ป.4 ม.4 ป.5 ม.5 ป.6 ม.6 รวม รวม 1.2 ขอ มูลครูผสู อนวิทยาศาสตร คณิตศาสตรแ ละเทคโนโลยี จาํ นวนครูผสู อน (คน) สรุปอัตรากาํ ลัง วชิ า ประถมศึกษาที่มีอยูจริง มธั ยมศึกษาท่ีมอี ยจู รงิ (คน) วทิ ยาศาสตร ตรงตาม ตาม ตรงตาม ตาม ขาด เกนิ คณิตศาสตร เทคโนโลยแี ละวิทยาการ วชิ าเอก ประสบการณ วิชาเอก ประสบการณ คาํ นวณ (คอมพวิ เตอร) รวม 40

1.3 ขอมูลพืน้ ท่ี อาคารสถานท่ี สิ่งอํานวยความสะดวกของโรงเรยี น ทส่ี ง เสรมิ การเรียนรูวิทยาศาสตร คณติ ศาสตรและเทคโนโลยี พ้ืนที่ อาคารสถานท่ี ส่ิงอํานวยความสะดวก (พรอมใช) พ้นื ทีท่ ้งั หมด...............................ไร……………งาน สอ่ื อุปกรณ วิทยาศาสตร อาคารเรียนทัง้ หมด......................................หลงั ( ) เพยี งพอ ( ) ไมเพียงพอ จํานวนหองเรียน...........................................หอ ง สอื่ อปุ กรณ คณิตศาสตร หองปฏิบัติการวทิ ยาศาสตร......................... หอ ง ( ) เพยี งพอ ( ) ไมเพยี งพอ หอ งปฏิบัติการคอมพิวเตอร..........................หอง คอมพวิ เตอรเ พ่ือการบริหารจัดการ....................เครือ่ ง หองปฏบิ ตั ิการคณิตศาสตร. ..........................หอง คอมพิวเตอรเพื่อการเรยี นการสอน.....................เครือ่ ง 1.4 ขอมูลการจัดหลักสตู รพเิ ศษทเ่ี นนวิทยาศาสตร คณติ ศาสตรและเทคโนโลยี ชว งชั้น ระดบั ชัน้ จาํ นวน จาํ นวน ชือ่ หลักสตู รพเิ ศษ/ หองเรียน นกั เรยี น แผนการเรียนพิเศษ (หอง) (คน) ประถมศกึ ษาตอนตน ป.1 - 3 ประถมศึกษาตอนปลาย ป.4 - 6 มธั ยมศกึ ษาตอนตน ม.1 ม.2 มธั ยมศึกษาตอนปลาย ม.3 รวม ม.4 ม.5 ม.6 รวม 1.5 โครงการ/กิจกรรมท่ีเก่ียวขอ งกับการพัฒนาดานวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยี กับองคกร หรอื หนวยงานตาง ๆ 1.5.1 ในรอบ 3 ป ทผี่ านมา (ปการศกึ ษา 2560 – 2562) ช่อื โครงการ/กิจกรรม จดั โดยองคก ร/หนว ยงาน ปการศึกษาทีด่ ําเนินการ 41

1.5.2 ในรอบ 3 ป ถัดไป (ปการศกึ ษา 2563 – 2565) ช่ือโครงการ/กิจกรรม จัดโดยองคกร/ งบประมาณ (บาท) หนวยงาน 2563 2564 2565 1.6 ผลการวิเคราะหสภาพแวดลอมโรงเรียน (SWOT Analysis) ดานการบริหารจัดการเรียนรู วิทยาศาสตรคณติ ศาสตรแ ละเทคโนโลยี (SMT) ปก ารศึกษา 2562 และความทา ทาย 1.6.1 สภาพแวดลอ มภายในโรงเรียนที่มผี ลตอ การบริหารจดั การเรยี นรูดา นวทิ ยาศาสตร คณิตศาสตร และเทคโนโลยี คําชแี้ จง : กรณุ าทาํ เคร่ืองหมาย  ในชอ งทีต่ รงกับสภาพแวดลอมโรงเรยี นของทา น รายการพจิ ารณา Strengths Weaknesses (S) : จุดแขง็ (W) : จดุ ออน S1 : โครงสรา งและการบรหิ าร (Structure) หรอื ขอไดเปรยี บ หรอื ขอ ดอย S 11 โครงสรางการบรหิ ารมีความเหมาะสม คลองตวั ของโรงเรียน ของโรงเรยี น S 12 ผบู รหิ ารมีวสิ ัยทัศนแ ละนโยบายดา นวิทยาศาสตร คณติ ศาสตร และเทคโนโลยีชัดเจน S2 : ผลผลิตและการบริการ (Service & Products) S 21 นกั เรยี นมีผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นดา นวทิ ยาศาสตร คณติ ศาสตร และเทคโนโลยี สงู ตามเปา หมายของสถานศึกษา S 22 นกั เรยี นมที ักษะจาํ เปน ในศตวรรษที่ 21 เพยี งพอตอการเรยี นรู ดว ยตนเอง S 23 การใหบรกิ ารทางการศึกษาดา นตาง ๆ มีประสทิ ธภิ าพ เปนท่ี พงึ พอใจของนักเรยี น M1 : ครูผูสอน (Man) M 11 มีจํานวนเพยี งพอดา นวทิ ยาศาสตร คณิตศาสตร และเทคโนโลยี M 12 มีการพฒั นาทักษะ และเพิ่มพูนประสบการณทจ่ี ําเปนอยาง ตอ เนอ่ื ง M 13 พรอมรบั การเปลยี่ นแปลงสิ่งใหม ๆ 42

รายการพิจารณา Strengths Weaknesses (S) : จุดแข็ง (W) : จดุ ออน M 14 มีวัฒนธรรมการทํางานเปนทมี หรอื ขอ ไดเ ปรียบ หรือขอ ดอ ย M2 : วสั ดุอุปกรณ สื่อ และสถานที่ (Material) ของโรงเรยี น ของโรงเรียน M 21 มีปริมาณเพยี งพอ M2 : วัสดอุ ุปกรณ สื่อ และสถานท่ี (Material) (ตอ) M 22 มีคณุ ภาพ M 23 มีความทันสมัย M3 : งบประมาณ (Money) M 31 มีเพียงพอ M 32 สามารถระดมทุนเพิม่ ได M 33 ระบบเบิก - จา ยเงิน คลองตัว M 34 ใชงบประมาณเพ่อื ใหเกดิ ประโยชนถ ึงนักเรียนและเกดิ ความ คมุ คา M4 : การบริหารจัดการ (Management) M 41 มีการบรหิ ารงานดวยระบบคุณภาพ (ตามวงจร PDCA) M 42 เนน การมีสว นรวมและกระจายอาํ นาจ M 43 มีผูน าํ ทางวชิ าการ ตัดสนิ ใจโดยใชข อ มูลสารสนเทศ ทเ่ี พียงพอ 1.6.2 สภาพแวดลอมภายนอกโรงเรียนที่มีผลตอการบริหารจัดการเรียนรูดานวิทยาศาสตร คณิตศาสตรแ ละเทคโนโลยี คาํ ช้แี จง : กรณุ าทําเคร่ืองหมาย  ในชองท่ีตรงกบั สภาพแวดลอ มโรงเรียนของทาน รายการพิจารณา Opportunities Threats (O): โอกาสหรอื ขอ ดี (T): อปุ สรรค S : สภาพสังคมและวัฒนธรรม (Social & Culture) S1 คา นยิ มและทัศนคตขิ องผูปกครอง/ชมุ ชนที่มผี ลตอ คณุ ภาพการจัด ที่จะสามารถ ขอ จํากัด ดําเนนิ การได หรอื ความเสย่ี ง การศึกษาดา นวทิ ยาศาสตร คณติ ศาสตร และเทคโนโลยีของโรงเรียน ภยั คุกคามท่ีมตี อ การดําเนินการ 43

รายการพจิ ารณา Opportunities Threats (O): โอกาสหรือขอ ดี (T): อปุ สรรค ที่จะสามารถ ขอจํากดั ดําเนินการได หรอื ความเสย่ี ง ภัยคุกคามทมี่ ตี อ การดําเนนิ การ S2 มโี อกาสในการสรางเครือขายความรว มมือกับองคกรตาง ๆ เพ่อื พฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาดานวิทยาศาสตร คณิตศาสตร และ เทคโนโลยขี องโรงเรยี น T: เทคโนโลยี (Technological) T1 มีเทคโนโลยชี ว ยในการบริหารจดั การศกึ ษาดา นวิทยาศาสตร คณติ ศาสตร และเทคโนโลยีอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ T2 มีเทคโนโลยที เี่ อือ้ อํานวยใหเ ขาถงึ แหลงเรยี นรูและสารสนเทศดาน วิทยาศาสตร คณติ ศาสตร และเทคโนโลยไี ดส ะดวก รวดเร็ว E : สภาพเศรษฐกิจ (Economic) E1 ผูปกครองมีความพรอมสนับสนุนคาใชจายสวนเกินจากนโยบายเรียน ฟรีของรัฐบาล E2 มีองคกรภาครัฐ/เอกชนใหความสําคัญตอการสนับสนุนทรัพยากรเพื่อ จดั การศกึ ษาวิทยาศาสตร คณติ ศาสตรและเทคโนโลยใี หมีคณุ ภาพ P: การเมอื ง (Political) P1 มีแผนการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2560 - 2579 และเปล่ียนแปลงหลักสูตร วทิ ยาศาสตร คณิตศาสตร และเทคโนโลยีใหเ หมาะสมกับยคุ สมัย P2 รัฐบาล/หนวยงานตนสังกัดมีนโยบายสงเสริมดานการจัดการศึกษา ดานวิทยาศาสตร คณติ ศาสตร และเทคโนโลยีใหเ ขมแขง็ 1.6.3 ความทา ทายที่ตองการพฒั นาการจัดการเรยี นการสอนดานวทิ ยาศาสตร คณติ ศาสตร และเทคโนโลยใี หโ รงเรียนประสบความสาํ เร็จ คาํ ช้แี จง : กรุณาทําเคร่ืองหมาย  ในชอ งท่ีตรงกบั สภาพแวดลอมโรงเรยี นของทาน ดานคุณภาพนักเรยี น ( ) ยกระดบั ผลการทดสอบ O-Net ระดับโรงเรียน วชิ าวทิ ยาศาสตรและ คณติ ศาสตรใหส งู ข้ึน ( ) พัฒนาการคิดสรา งสรรค การคิดอยางมวี จิ ารณญาณ สามารประยุกตใช ความรู ทางวทิ ยาศาสตร คณิตศาสตรแ ละเทคโนโลยใี นการแกป ญหา ( ) ความสามารถในการใชเทคโนโลยี ( ) อืน่ ๆ โปรดระบุ..................................................................................... 44

ดา นคณุ ภาพครู ( ) พัฒนาสมรรถนะในการจัดการเรียนรูวทิ ยาศาสตร คณติ ศาสตรแ ละ ดานคณุ ภาพโรงเรยี น เทคโนโลยี ตามมาตรฐาน สสวท. ( ) พัฒนาทกั ษะการจัดการเรยี นการสอนวชิ าวทิ ยาศาสตร คณติ ศาสตร และเทคโนโลยี ตามแนวทางของ สสวท. ( ) อ่นื ๆ โปรดระบ.ุ ................................................................................... ( ) มีวิธีปฏบิ ตั ิท่ดี ี (Good Practice) ซ่ึงสง ผลใหผูเรยี นมีผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรยี น ดานวทิ ยาศาสตรค ณติ ศาสตรแ ละเทคโนโลยสี ูงข้ึน ( ) ผปู กครอง/ชมุ ชนมีความพงึ พอใจตอ การจดั การเรียนการสอนวชิ า วทิ ยาศาสตร คณิตศาสตรแ ละเทคโนโลยขี องโรงเรยี น ( ) อ่นื ๆ โปรดระบ.ุ ..................................................................................... แผนพฒั นาการศกึ ษาโรงเรยี นคุณภาพวิทยาศาสตร คณิตศาสตร และเทคโนโลยี ตามมาตรฐาน สสวท. ระยะ 3 ป (ปการศกึ ษา 2563 – ปก ารศึกษา 2565) คําชี้แจง : กรุณากรอกขอมูลแผนการพัฒนาการศึกษาในโรงเรียนของทาน ท้ังขอมูลปจจุบัน และขอมลู ท่ีเปนคา เปาหมาย ดาน กิจกรรม ขอมูล เปาหมาย ป 2562 ป 2563 ป 2564 ป 2565 1. การพฒั นา น 1.1 รอ ยละของนกั เรียนผา นเกณฑก ารประเมิน คณุ ภาพนกั เรยี น การคดิ สรา งสรรค การคดิ อยางมีวิจารณญาณ01 ...........% ...........% ...........% ...........% (น) สามารถประยกุ ตใชค วามรูทางวทิ ยาศาสตร คณติ ศาสตรและเทคโนโลยีในการแกป ญหา น 1.2 จาํ นวนนวัตกรรม ผลงาน ช้ินงาน ส่งิ ประดิษฐ หรอื โครงงานดานวิทยาศาสตร คณติ ศาสตร และเทคโนโลยีของนักเรยี น ท่ไี ดรบั การยกยอ งหรอื รางวลั ระดบั โรงเรยี นหรอื กลมุ โรงเรยี น .................. .................. .................. .................. ระดบั จงั หวดั หรือเขตพื้นท่ีการศึกษา .................. .................. .................. .................. ระดับภาคหรือภมู ภิ าค .................. .................. .................. .................. ระดบั ประเทศหรือนานาชาติ .................. .................. .................. .................. น 1.3 รอยละของนกั เรียนท่ผี านเกณฑป ระเมนิ สมรรถนะสําคญั ดานการใชเ ทคโนโลยีเพอ่ื การ ...........% ...........% ...........% ...........% เรยี นรูและการสอื่ สาร 1 การคิดอยางมีวิจารณญาณ หมายถึง การคิดโดยใชเหตุผลท่ีหลากหลายเหมาะสมกับสถานการณ มีการคิดอยางเปนระบบ วเิ คราะหและประเมนิ หลักฐาน และขอ คิดเหน็ ดวยมมุ มองทห่ี ลากหลาย สงั เคราะห แปลความหมาย และจดั ทําขอสรปุ สะทอ น ความคดิ อยางมวี จิ ารณญาณโดยใชประสบการณแ ละกระบวนการเรียนรู 45

ดา น กิจกรรม ขอมลู เปา หมาย ป 2562 ป 2563 ป 2564 ป 2565 น 1.4 รอ ยละของนกั เรยี นทสี่ ามารถสบื เสาะ หาความรูทางวิทยาศาสตร สํารวจและสราง ขอ คาดการณท างคณิตศาสตร และแกป ญ หา ...........% ...........% ...........% ...........% หรือพฒั นางานอยา งมีความคดิ สรางสรรค ดว ยกระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรมและ การคดิ เชิงคาํ นวณ น 1.5 รอยละของนกั เรียนชั้นประถมศกึ ษาปท ี่ 1 – 3 มผี ลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนวิชาวิทยาศาสตร ...........% ...........% ...........% ...........% คณติ ศาสตรและเทคโนโลยี เฉล่ียรวมรอ ยละ 70 ขน้ึ ไป น 1.6 รอ ยละของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท ี่ 4 – 6 มผี ลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นวิชาวิทยาศาสตร ...........% ...........% ...........% ...........% คณิตศาสตรแ ละเทคโนโลยี เฉลี่ยรวมรอยละ 70 ขนึ้ ไป น 1.7 รอ ยละของนกั เรยี นมธั ยมศกึ ษาปท ี่ 1 – 3 ท่มี ผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรียนรวู ิชาวทิ ยาศาสตร ...........% ...........% ...........% ...........% คณติ ศาสตรและเทคโนโลยี มีคา GPA เฉลยี่ รวม ตง้ั แต 3.00 ขึน้ ไป น 1.8 รอ ยละของนกั เรยี นมธั ยมศกึ ษาปท ่ี 4 – 6 ที่มผี ลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นรูวชิ าวทิ ยาศาสตร ...........% ...........% ...........% ...........% คณิตศาสตรและเทคโนโลยี มีคา GPA เฉล่ยี รวม ตง้ั แต 3.00 ขน้ึ ไป น 1.9 รอ ยละของนักเรยี นช้นั ประถมศกึ ษาปท ี่ 6 ที่มผี ลการสอบ O-NET วชิ าวทิ ยาศาสตร ...........% ...........% ...........% ...........% คณติ ศาสตร และเทคโนโลยสี ูงกวาคา เฉล่ยี ระดบั ประเทศ น 1.10 รอยละของนกั เรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 3 ทม่ี ผี ลการสอบ O-NET วิชาวทิ ยาศาสตร ...........% ...........% ...........% ...........% คณิตศาสตรแ ละเทคโนโลยีสงู กวาคา เฉลย่ี ระดบั ประเทศ น 1.11 รอยละของนกั เรียนช้ันมธั ยมศึกษาปท ี่ 6 ทม่ี ีผลการสอบ O-NET วิชาวิทยาศาสตร คณิตศาสตรแ ละเทคโนโลยีสงู กวา คา เฉลีย่ ...........% ...........% ...........% ...........% ระดบั ประเทศ 46

ดา น กิจกรรม ขอ มูล เปา หมาย ป 2562 ป 2563 ป 2564 ป 2565 2. การพฒั นา น 1.12 รอยละของของนกั เรียนทีม่ เี จตคติ ...........% ...........% ...........% ...........% คณุ ภาพครู ตอการเรียนรวู ชิ าวิทยาศาสตร คณิตศาสตร (ค) และเทคโนโลยี ในระดับดี ................ .............. ............. .............. ค 2.1 ครสู ามารถออกแบบการเรียนรทู ีส่ งเสรมิ ................ .............. ............. .............. ทักษะการเรียนรทู างวิทยาศาสตร คณิตศาสตร ................ .............. ............. .............. และเทคโนโลย1ี2 ซ่ึงเหมาะสมกบั ศกั ยภาพของ นักเรยี น ................ .............. ............. .............. [โปรดใสห มายเลข 1) - 4) ลงในชอ งเปาหมายปทพ่ี ัฒนา] 1) วเิ คราะหห ลักสตู รแกนกลางฯ มาตรฐาน การเรยี นรู ตวั ชี้วัด หรือผลการเรียนรทู ี่ เก่ียวของกบั กลุม สาระการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตร คณติ ศาสตรแ ละเทคโนโลยี 2) วิเคราะหผ ลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น O-NET PISA NT รายขอ เพ่ือพฒั นาการจดั การเรียนรู 3) ออกแบบการเรยี นรแู ละจดั ทําแผนการจดั การ เรยี นรูท ส่ี งเสริมการคิดสรางสรรค การคดิ อยาง มีวจิ ารณญาณ สามารถประยุกตใ ชความรูทาง วิทยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยีในการ แกป ญหา ซ่ึงเหมาะสมกบั ศกั ยภาพของนักเรียน 4) มแี นวทางท่สี ามารถเปน แบบอยา งในการ ปรบั ปรุงและพัฒนาแผนการจัดการเรียนรไู ด ค 2.2 ครสู ามารถจัดกจิ กรรมการเรียนรูท ส่ี งเสรมิ ................ .............. ............. .............. ทักษะการเรียนรวู ิทยาศาสตร คณิตศาสตรแ ละ ................ .............. ............. .............. เทคโนโลยี [โปรดใสห มายเลข 1) - 4) ลงในชอ งเปาหมายปทพี่ ฒั นา] 1) มีกจิ กรรม เทคนคิ หรอื วธิ ีการสอนท่สี ง เสรมิ ทักษะการเรยี นรูวิทยาศาสตร คณติ ศาสตรและ เทคโนโลยี 2) จดั กจิ กรรมการเรยี นรูเชิงรุก (Active Learning) ทเ่ี ชอื่ มโยงกับชวี ติ จริง 2 ทักษะการเรียนรวู ิทยาศาสตร คณติ ศาสตรแ ละเทคโนโลยี หมายถงึ ความสามารถในการคิดสรา งสรรค การคดิ อยา งมี วจิ ารณญาณ สามารถประยกุ ตใชความรทู างวทิ ยาศาสตร คณิตศาสตรแ ละเทคโนโลยใี นการแกป ญ หา สามารถสรา งนวัตกรรม ผลงาน ชิ้นงานหรอื โครงงานดา นวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยี สามารถใชเ ทคโนโลยเี พ่ือการเรยี นรูและการส่ือสารได อยา งเหมาะสม รวมทง้ั สามารถสบื เสาะหาความรูทางวิทยาศาสตร สาํ รวจและสรา งขอ ความคาดการณท างคณติ ศาสตรและ แกป ญ หาหรือพฒั นางานอยางมคี วามคิดสรา งสรรคด วยกระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรมและการคดิ เชงิ คํานวณ 47

ดา น กจิ กรรม ขอ มลู เปา หมาย ป 2562 ป 2563 ป 2564 ป 2565 3) จดั กจิ กรรมการเรียนรทู ่ีบรู ณาการดา น วทิ ยาศาสตร คณติ ศาสตรและเทคโนโลยี ................ .............. ............. .............. หรือ STEM 4) เปน แบบอยางในการปรับปรงุ และพัฒนา ................ .............. ............. .............. การจดั การเรยี นรไู ด ค 2.3 เลอื กใช หรือพัฒนาสอื่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ สื่อการเรียนรู และแหลงเรียนรทู ่ีสงเสรมิ ทักษะการ เรยี นรวู ิทยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยี [โปรดใสห มายเลข 1) - 4) ลงในชองเปา หมายปทพี่ ฒั นา] 1) เลือกใช สรา ง หรือพฒั นาสื่อเทคโนโลยี ................ .............. ............. .............. สารสนเทศ สือ่ การเรยี นรทู สี่ ง เสรมิ ทกั ษะ การเรยี นรวู ิทยาศาสตร คณติ ศาสตรแ ละ เทคโนโลยี 2) เลอื กใชแหลงเรยี นรูท ้งั ในและนอกหองเรยี น ................ .............. ............. .............. ทส่ี งเสรมิ การทักษะการเรียนรวู ิทยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยี 3) ประเมนิ ผลการใชส ื่อเทคโนโลยสี ารสนเทศ สือ่ ................ .............. ............. .............. การเรยี นรู และแหลง เรียนรู และนําผลการ ประเมนิ ไปปรับปรงุ พัฒนาใหม ีคณุ ภาพสูงขนึ้ 4) นําส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศ ส่อื การเรยี นรู และ ................ .............. ............. .............. แหลง เรียนรูไ ปเผยแพรส ชู ุมชนการเรียนรเู ชิง วชิ าชีพ และเปนแบบอยา งท่ีสามารถนาํ ไป ประยกุ ตใ ชใ นสถานศึกษาทม่ี บี ริบทใกลเ คียง ค 2.5 ครูมกี ารพฒั นาตนเอง เชน การพัฒนาการ จัดการเรยี นรูว ิทยาศาสตร คณติ ศาสตรแ ละ เทคโนโลยี การวดั และประเมินผล การพฒั นาส่ือ การเรยี นรู การทําวจิ ยั เชิงปฏบิ ัติการในช้นั เรยี น [โปรดใสห มายเลข 1) - 4) ลงในชอ งเปาหมายปท พ่ี ัฒนา] 1) ครมู ีการพัฒนาตนเองตามความสนใจ ................ .............. ............. .............. 2) ครูจัดทาํ แผนพัฒนาตนเองเพอื่ แกไ ขจดุ ออ น ................ .............. ............. .............. และเสรมิ จุดเดน เพอ่ื ใหสามารถจดั การเรยี นรู ทสี่ ง เสรมิ ทกั ษะการเรยี นรูทางวิทยาศาสตร คณติ ศาสตรและเทคโนโลยี 3) ครูพัฒนาตนเองตามแผนท่กี าํ หนดโดยใช ................ .............. ............. .............. กระบวนการ PLC การอบรม หรอื การเรยี นรู ดว ยตนเอง 48