บนั ทึกการเรยี นรู้ การวดั และประเมนิ การศึกษาและการเรยี นรู้ 2หลักสตู รครศุ าสตรบ์ ณั ฑิต สาขาวชิ าฟสกิ ส์ ชนั ปที คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสกลนคร
คํานาํ บันทึกการเรยี นรูฉ้ บับนีเปนส่วนหนึงของวิชา การวัดและการประเมินการศึกษา และการเรยี นรู้ โดยมีจุดประสงค์เพือการศึกษาความรูท้ ีได้จากการเรยี น แล้ว สรุปรวบยอดเพือใหง้ ่ายต่อการศึกษาด้วยตนเอง ทังนีในบันทึกการเรยี นรูน้ ีมี เนือหาประกอบด้วยความรูเ้ กียวกับ แนวคิดเกียวกับเรยี นรู้ แนวคิดเบืองต้น เกียวกับการวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ ความสาํ คัญ ประเภท หลักการ และจุด มุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ โดยใช้แบบทดสอบ แบบทดสอบปรนัยชนิดถูกผิด แบบทดสอบปรนัยชนิดจับคู่ แบบทดสอบปรนัยชนิดเติมคําและชนิดแบบตอบสัน แบบทดสอบปรนัยชนิด เลือกตอบ การตรวจสอบคุณภาพของแบบทดสอบ การประเมินจากการสือสาร ระหว่างบุคคล การประเมินการปฏิบัติ การประเมินตามสภาพจรงิ ในชันเรยี น การ ใช้รูบรกิ ส์ในการวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ การประเมินโดยใช้แฟมสะสมผล งาน (Portfolio assessment) การวิเคราะหต์ ัวชีวัดสู่การออกแบบหน่วยการ เรยี นรู้ และการออกแบบหน่วยการเรยี นรูอิงมาตรฐาน โดยใช้กระบวนการ ออกแบบย้อนกลับ ผู้จัดทําต้องขอขอบคุณ รองศาสตราจารย์ ดร. สาํ ราญ กําจัดภัย ผู้ใหค้ วามรู้ และแนวทางการศึกษา และหวังเปนอย่างยิงว่าบันทึกการเรยี นรูฉ้ บับนีจะให้ ความรู้ และเปนประโยชน์แก่ผู้ศึกษาทุก ๆ ท่าน หากมีข้อเสนอแนะประการใด ผู้ จัดทําขอรบั ไว้ด้วยความขอบพระคุณยิง
ส า ร บั ญ 1.แนะนาํ ผลงาน 2.แนะนาํ เจา้ ของผลงาน 3.ปฐมนเิ ทศ 4.การวดั และการประเมนิ การศึกษา และการเรยี นรู้ 5.ใบสญั ญาการเรยี นและ แบบบนั ทึกผลการเรยี นในชนั เรยี น 6.บทสง่ ท้าย
แนะนาํ ผู้สอน
เสนอ ผู้สอน รองศาสตรต์ ราจารย์ ดร.สาํ ราญ กําจัดภัย สาขาวิชา/โปรแกรม:วิจัยและประเมินผล การศึกษา คณะครุศาสตร์ ตําแหน่งปจจุบัน:ประธานคณะกรรมการ บรหิ ารหลักสูตรดุษฏีบัณฑิต สาขาวิจัย หลักสูตรและการสอน
แนะนาํ เจ้าของผลงาน
โดย นายสุประกิจ วงค์เตชะ เติล สาขาวิชาฟสิกส์ ชันปที2 คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร อีเมล : [email protected] โทร : 0801535285
ปฐมนเิ ทศ เปดเรยี นวนั ที 2กับการเรยี นวชิ าใหม่ รายวชิ า \" การวดั และ ประเมนิ การศึกษาและการเรยี นรู้ \" ท่านอาจารย์ ผสู้ อน รศ.ดร.สาํ ราญ กําจดั ภัย สอนในภาค วชิ านี ซงึ ในวนั ทีมกี ารจดั การเรยี นการสอนวนั แรกของ รายวชิ า \" การวดั และประเมนิ การศึกษาและการเรยี นรู้ \" ไมม่ กี ิจกรรมใดๆ ในการจดั การเรยี นการสอน มเี พยี งแต่ไดม้ กี ารแนะนาํ รายวชิ า การสรา้ งขอ้ ตกลงรว่ มกันระหวา่ งอาจารยผ์ สู้ อนกับนกั ศึกษา เชน่ การเขา้ เรยี น Google classroom การสรา้ ง Group LINE และการสาธติ ใชโ้ ปรแกรม Google Meeet และ Google From เพอื ทีจะไดด้ าํ เนนิ กิจกกรมการเรยี นการสอนในสปั ดาห์ ต่อไป มคอ.3 QR Code
การวดั และการ ประเมินการศึกษา และการเรยี นรู้
ศกาึกรษวาดั แแลละะกกาารรเรปยี รนะเรมู็ นิ การ 1 แนวคิดเกียวกับเรยี นรู้ 2 แนวคิดเบืองต้นเกียวกับการ วดั และประเมินผลการเรยี นรู้ 3 ความสาํ คัญ ประเภท หลักการ และจุดมุ่งหมายของ การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ 4 การวดั และประเมินผลการ เรยี นรูโ้ ดยใชแ้ บบทดสอบ 5 แบบทดสอบปรนัยชนิดถูกผิด 6 แบบทดสอบปรนัยชนิดจับคู่ 7 แบบทดสอบปรนัยชนิดเติม คําและชนิดแบบตอบสัน
ศกาึกรษวาดั แแลละะกกาารรเรปยี รนะเรมู็ นิ การ 8 แบบทดสอบปรนัยชนิดเลือก ตอบ 9 การตรวจสอบคุณภาพของ แบบทดสอบ 10 การประเมินจากการสือสาร ระหวา่ งบุคคล 11 การประเมินการปฏิบัติ 12 การประเมินตามสภาพจรงิ ใน ชนั เรยี น 13 การใชร้ ูบรกิ ส์ในการวดั และ ประเมินผลการเรยี นรู้ 14 การประเมินโดยใชแ้ ฟมสะสม ผลงาน (Portfolio assessment)
ศกาึกรษวาดั แแลละะกกาารรเรปยี รนะเรมู็ นิ การ 15 การวเิ คราะหต์ ัวชวี ดั สู่การ ออกแบบหน่วยการเรยี นรู้ 16 การออกแบบหน่วยการเรยี นรูอิง มาตรฐานโดยใชก้ ระบวนการออกแบบ เอกสาร ย้อนกลับ บทที1-16 QR Code
1.แนวคิดเกียวกับการจัดการเรยี นรู้ การเรยี นรู้ (Learning) คือการเปลียนแปลง ความหมายของการเรียนรู้ พฤติกรรมของผู้เรยี นทีคงทนถาวรหรอื ค่อนข้าง ถาวรทังทีเปนพฤติกรรมทีแสดงออกใหเ้ หน็ ได้ชดั หรอื พฤติกรรมทีแฝงอยู่ในตัว พรอ้ มทีจะ แสดงออกได้ทุกเมือ เปนผลเนืองจาก ได้รบั ประสบการณ์ทีเผชญิ หรอื ได้กระทําสิงต่างๆ พฤติกรรมการเรียนรู้ ด้านจิตพิสัย พฤติกรรมการเรียนรู้ ด้านทักษะพิสัย ลําดับขันการเกิดทักษะปฏิบัติของ Dave 5 ขัน ดังนี 1.รบั รูแ้ ละเลียนแบบ (lmitation) 2.ลงมือปฏิบัติและทําตามได้ (Manipulation) 3.ลดความผิดพลาดจนสามารถทําได้ ถูกต้อง (Precision) 4.ปฏิบัติได้อยางชดั เจนและต่อเนือง (Articulation) 5.ปฏิบัติได้อย่างเปนธรรมชาติ (Naturalization) พฤติกรรมการเรียนรู้ ด้านพุทธพิ ิสัย เกิดจากความสามารถของสมองซงึ ไปสัมพันธก์ ับสิง แวดล้อม หรอื สิงเรา้ ทําใหเ้ กิดการเรยี นรูใ้ นตัวบุคคล แบ่งออกเปน 6 ระดับ 1.ความรู้ (knowledge) หรอื ความจาํ เปนความสามารถในการระลึกถึงเรอื งราวต่าง ๆ 2.ความเข้าใจ (Comprehension) การจับใจความสาํ คัญของสิงเรา้ ต่าง ๆสามารถแสดงออกมาในรูปของ การแปลความ ตีความ หรอื ขยายความ 3.การนาํ ไปใช้ (Application) การประยุกต์ความรู้ ความเข้าใจเกียวกับ หลักการ เทคนิค แนวคิด ทฤษฎีต่าง ๆ ไปใชแ้ ก้ปญหาในสถานการณ์ 4.การวเิ คราะห์ (Analysis) การแยกแยะเรอื งราวทีสมบูรณ์ใหก้ ระจายออกเปนส่วนย่อย ๆ ได้อย่าง ชดั เจน มี 3 ลักษณะ การวเิ คราะหส์ ่วนประกอบ การวเิ คราะหค์ วามสัมพันธ์ การวเิ คราะหห์ ลักการ 5.การสังเคราะห์ (Synthesis) การผสมผสานส่วนย่อยเข้าเปนเรอื งราวเดียวกัน เกิดสิงใหม่ขึน หรอื ปรบั แปลงของเก่าใหด้ ีขึน มีคุณภาพสูงขึน 6.การประเมินค่า (Evaluation) การใชด้ ุลพินิจ ตัดสินคุณค่าของสิงใดสิงหนึง โดยการพิจารณาอย่าง รอบคอบ เพือหาคุณค่าของสิงนัน โดยอาศัย เกณฑ์ หรอื มาตรฐานทีกําหนดไว้
2.แนวคิดเบืองต้นเกียว คําวา่ วดั ผล เปนกระบวนการ กับการวดั และการประเมนิ กําหนด ผลการเรียนรู้ ตัวเลขหรอื สัญลักษณ์แทน ปรมิ านหรอื คุณภาพของลักษณะหรอื สมบัติของสิงทีต้องการวดั วธิ กี ารวดั ผล แบ่งออกเปน 2 อย่าง คือ 1.การวดั ทางตรง หมายถึงวธิ กี ารวดั ผลทีสามารถวดั ได้ โดยตรง จรงิ ๆเพราสิงทีต้อการวดั นันมีลักษณะเปนรูปธรรมเชน่ วดั นาํ หนักโดยใชเ้ ครอื งชงั ทีเทียงตรง 2.การวดั ผลทางอ้อม หมายถึง วธิ กี ารวดั ทีไม่สามารถวดั สิงทีต้องการวดั ได้ โดยตรงอาจ เนืองมาจากสิงนันมีลักษณะเปนนามธรรมเชน่ ครูต้องการวดั ความมีวนิ ัยของนักเรยี น เปนการวดั คุณลักษณธทางจิตวทิ ยา แนวทางการนาํ ผลการประเมนิ การ คําวา่ การประเมนิ ผล เรียนรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์ มแี นวปฏิบัติ ดังนี ก็เชน่ เดียวกันกับการ วดั ผล การใชผ้ ลการประเมินเพือวางแผนการจัดการ Evaluation หมายถึง กระบวนการตัดสิน เรยี นรู้ คุณค่าหรอื คุณภาพเกียวกับการเรยี นรูข้ องผู้ เรยี นโดยมีการก็บรวบรวมข้อมูลและจัด การใชผ้ ลการประเมินเพือปรบั ปรุงพัฒนา กระทําข้อมูลเพือตัดสินคุณภาพจามเกณฑ์ การใชผ้ ลกการประเมินเพือสรุปและตัดสินผลการ หรอื มาตรฐานทีตังไว้ Assessment หมายถึง เปนกระบวนการทีเปน เรยี นรู้ ระบบสาํ หรบั ใชใ้ นการเก็บข้อมลูใชเ้ ทคนิคการ เก็บข้ออมลูทีหลากหลายรว่ มกันอย่างบูรณา การวดั ผลการเรยี นรู้ การ มีองค์ประกอบทีสาํ คัญ Assessment กับ Evaluation มีขันตอนหลัก ทีเหมือนกัน สรุป “การวดั ผล” เปนองค์ประกอบย่อย หนึงในขันตอนการเก็บรวบรวมข้อมูลของ กระบวนการ “ประเมินผล” คุณภาพของพฤติกรรมการเรยี นรูท้ ีได้จากการวดั 4ระดับของการวดั ผล ระดับที 1 นามบัญญัติ (Nominal Scale) เชน่ เพศ อาชพี ของบิดามารดา หมู่เลือด ปญหา ของนักเรยี น ฯลฯ ระดับที 2 เรยี งอันดับ (Ordinal Scale) ใชส้ าํ หรบั จัดอันดับหรอื จัดตําแหน่งคุณลักษณะ ต่าง ๆ มาก-น้อย สูง-ตํา หรอื ดี-เลว เรยี กข้อมูลทีวดั ได้วา่ ข้อมูลระดับเรยี งลําดับ ระดับที 3 อันตรภาพ (Interval Scale) เปนระดับการวดั ทีสูงกวา่ มาตรฐานเรยี งลําดับ คือ สามารถบอกถึงความแตกต่าง และยังสามารถบอกถึงปรมิ านความแตกต่างได้ ระดับที 4 อัตราส่วน (Ratio Scale) ทัง 3 มาตรการ ทีได้กล่าวมา เพิมคุณสมบัติอีกอย่าง หนึงเข้าไปคือ มีศูนย์แท้ แสดงถึงการไม่มีค่าจรงิ ๆ ดังนันจึงนัวเลขหรอื ข้อมูลทีได้มา บวก ลบ คูณ หาร กันได้
3.ความสาํ คัญของการวดั และ ประเภทของการวดั ประเมนิ ผลการเรียนรู้ และประเมนิ ผลการเรียนรู้ ความสาํ คัญต่อผู้เรยี น การวดั และประเมินผลการเรยี นรูจ้ าํ แนกตามขัน เมือผู้สอนมีการวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ ตอนการจัดการเรยี นการสอนก่อนเรยี นระหวา่ ง ก่อนเรยี นในเรอื งใดเรอื งหนึง และแจ้งใหผ้ ู้ เรยี นและหลังเรยี นมี 4 ประเภทดังนี เรยี นทราบก็จะทําใหผ้ ู้เรยี นรูว้ า่ ตนเองมีพืนฐาน 1 การวดั และการประเมินเพือจัดวางตําแหน่ง ความรูท้ ักษะหรอื คุณลักษณะเกียวกับเรอื ง 2 การวดั และการประเมินเพือวนิ ิจฉัย นันๆ 2.ความสาํ คัญต่อผู้สอน 3 การวดั และการประเมินเพือพัฒนาหรอื การวดั การวดั และการประเมินผลการเรยี นรูก้ ่อน และการประเมินย่อย จัดการเรยี นการสอนไม่วา่ จะเปนประเมินความ 4 การวดั และการประเมินเพือสรุปผลการเรยี นรู้ รูใ้ นภาพรวมก่อนเรยี น หรอื การวดั และประเมินเพือสรุปยอด การวดั และประเมินผลการเรยี นรูใ้ นระหวา่ งการ จัดการเรยี นการสอนแต่ละบทเรยี นหรอื หน่วย การเรยี นรู้ ความสาํ คัญ ประเภท หลักการ และจุดมุง่ หมายของหารวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ หลักการของการวดั จุดมุง่ หมายของการวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ และประเมนิ ผลการเรียนรู้ การประเมินทีตรงตามความรูค้ วามสามารถทีแท้ แนวทางการศึกษาการวดั และประเมินผลมีบทบ จรงิ ของผู้เรยี นถูกต้องตามหลักการวดั และ หน้าทีสาํ คัญอยู่ 5 ประการได้แก่ ประเมินผลการเรยี นรูร้ วมทังสามารถรองรบั การ 1 การวดั และประเมินผลในบทบาทเปนองค์ปร ประเมินภายในและการประเมินภายนอกตามระบบ หนึงของระบบการศึกษาโดยทีระบบการศึกษา ประกันคุณภาพการศึกษาได้สถานศึกษาจึงควร มีองค์ประกอบหลัก 5 อย่างคือ กําหนดหลักการวดั และประเมินผลการเรยี นรูเ้ พือ 1 ปรชั ญาการศึกษา 2 หลักสูตร 3 การสอน เปนแนวทางในการตัดสินใจเกียวกับการวดั และ 4 การวดั และการประเมินผลและ 5 การวจิ ัย ประเมินผลการเรยี นรูต้ ามหลักสูตรสถานศึกษา 2 การวดั และประเมินผลในบทบาทเปนส่วนหน กระบวนการการเรยี นการสอน 3 การวดั และประเมินผลในบทบาทเปนเครอื งม ประกันคุณภาพการศึกษา 4 การวดั และประเมินผลในบทบาททําหน้าทีตร สอบผลการเรยี นรู้ 5 การวดั และประเมินผลในบทบาททําหน้าทีใหข้ เพือการพัฒนา
4.แบบทดสอบความเรยี ง หรอื แบบทดสอบอัตนัย ในการวดั และประเมินผลการเรยี นรูร้ ะดับชนั เรยี นต้องมีการเก็บ รวบรวมข้อมูลโดยใชว้ ธิ กี ารหรอื เครอื งมือหลากหลายอย่างเหมาะ สมซงึ ในวธิ กี ารหรอื เครอื งมือหลากหลายนันการทดสอบ 1 จาํ แนกลักษณะการต่อแบ่งได้ 3 ประเภทคือ แบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1. Performance Test เปนแบบทดสอบทีต้องใหผ้ ู้เรยี นลงมือ ปฏิบัติจรงิ ในรายวชิ าต่างๆ 2 แบบทดสอบเขียนตอบ Paper Pencil Test เปนแบบทดสอบ ทีกําหนดข้อคําถามและใหเ้ ขียนตอบและ 3 แบบทดสอบด้วยวาจาOralTestเปนแบบทดสอบทีผู้สอบใชใ้ น การโต้ตอบวาจาแทนทีจะเปนการเขียนตอบหรอื ปฏิบัติ การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ แนวทางการตรวจให้ โดยการใชแ้ บบทดสอบ คะแนนข้อสอบความเรยี ง 1.สรา้ งเกณฑ์การใหค้ ะแนน rubric อย่างละเอียด ชดั เจนโดยในแต่ละข้อคําถามควรสรา้ งแบบจาํ ลอง ความ 2 ควรระมัดระวงั เกียวกับความลําเอียงหรอื อคติของ ตัวผู้สอนหรอื ผู้ตรวจข้อสอบความเรยี ง 3 ควรตรวจใหค้ ะแนนคําตอบของผู้เรยี นทุกคนให้ เสรจ็ ทีละข้อคําถามในเวลาทีต่อเนืองเชน่ ตรวจข้อที 1 ของทุกคนใหเ้ สรจ็ ก่อนจะเปนข้อที 2 เปนต้น 4 ในกรณีทีจาํ เปนต้องใหพ้ ูดหลายคนและผู้ตรวจ ทุกคนไม่สามารถตรวจทุกข้อคําถามของผู้เรยี นทุก คนได้ควรปฏิบัติอย่างนีแบ่งข้อสอบใหผ้ ู้ตรวจคนละ 1 ข้อหรอื 2 ข้อและตรวจคําตอบข้อนันของผู้เรยี น ทุกคนจากนันค่อยนาํ คะแนนของแต่ละข้อมารวมกัน แบบทดสอบความเรยี ง 1 ความหมายของแบบทดสอบความเรยี ง แบบทดสอบความเรยี ง Easy Testหรอื บางตําราเรยี กแบบทดสอบอัตนัย Subjective Test มีนักการศึกษาหลายท่านได้ใหแ้ นวคิดและความหมายไวพ้ อสรุปได้ดังนีอาทิวเิ คราะหส์ ังเคราะหน์ ีเรมิ สรา้ งสรรค์และประเมินค่ารวมทังความสามารถในการจัดระบบแนวคิดและทักษะการเขียนเพือสาํ หรบั นาํ มาใชใ้ นการเขียนเรยี บเรยี งคําตอบใหต้ รงประเด็นกับคําถามนันๆ 2 หลักการหรอื แนวทางในการสรา้ งแบบทดสอบความเรยี ง 1 เลือกและกําหนดผลการเรยี นรูท้ ีเกียวข้องกับการใชส้ ติปญญาขันสูงทีไม่สามารถวดั ได้โดยใชแ้ บบ ทดสอบปรนัย 2 กําหนดจาํ นวนข้อคําถามในแต่ละผลการเรยี นรูท้ ีเลือกไวโ้ ดยเลือกใชข้ ้อคําถามทีคําตอบไม่ยาวนะ จะได้ออกได้หลายข้อ 3 เขียนข้อคําถามโดยใชถ้ ้อยคําทีชดั เจนสอดคล้องกับผลการเรยี นรูท้ ีต้องวดั และข้อควรกําหนด ทิศทางและข้อจาํ กัดในการตอบสนองทีผู้สอนต้องการ 4 ระบุนาํ หนักคะแนนความยาวของคําตอบและชว่ งเวลาโดยประมาณในการทําข้อสอบแต่ละข้อ 5 ระบุเกณฑ์การใหค้ ะแนนข้อสอบความเรยี งใหผ้ ู้เรยี นทราบด้วยโดยอาจจะใชเ้ กณฑ์เดียวกันในทุก ข้อคําถาม ตรวจสอบคุณภาพเบืองต้นของข้อสอบแต่ละข้อก่อนนาํ ไปใช้
5.แบบทดสอบปรนัยชนิดถูกผิด ความหมายและลักษณะของ แบบทดสอบอะไรชนิดถูกผิด แบบทดสอบปรนัยถูกผิด True or false เปนชุดข้อความซงึ อาจจะอยู่ใน ประโยคบอกเล่าธรรมดาหรอื ประโยคคําถามก็ได้เพือใหผ้ ู้พิจารณาวา่ ข้อความนันถูกหรอื ผิดตามหลักวชิ าโดยอาจจะเลือกคําตอบจาก 2 ทาง เลือกระหวา่ งถูกผิดหรอื จรงิ ไม่จรงิ หรอื ไม่ใชใ่ ชเ่ ปนต้นแบบทดสอบประเภทนี มีประโยชน์สาํ หรบั การค้นควา้ ผู้เรยี นสามารถทีจะแยกแยะข้อเท็จจรงิ ออก จากความคิดเหน็ และระบุข้อเท็จจรงิ เหล่านันได้วา่ ผู้ถูกหรอื ผิดตามหลักวชิ า ของศาลนันๆหรอื หลักความจรงิ ทัวไป หลักการหรอื แนวทางในการสรา้ ง แบบทดสอบอะไรชนิดถูกผิด การเขียนข้อคําถามสาํ หรบั ข้อถูกผิดใหด้ ีอาจจะไม่ใชเ่ รอื งง่ายนัก เชน่ ถ้าข้อความทีถามมีความคลุมเครอื ตีความได้หลายแง่มุมก็อาจ จะเปนปญหาสาํ หรบั ผู้ตอบหรอื ถามในรายละเอียดปลีกย่อยจน เกินไปหรอื ถามในประเด็นทีไม่ใชส่ าระสาํ คัญของบทเรยี นก็อาจจะ ไม่มีประโยชน์ต่อการประเมินการเรยี นรูข้ องผู้เรยี นเปนต้นดังนันผู้ สอนจึงควรรูแ้ ละเข้าใจหลักการสาํ คัญหรอื แนวทางในการเขียน ข้อสอบแบบทดสอบอะไรชนิดถูกผิดอย่างข้อเสนอแนะนาํ ต่อไปนี สิงทีกําหนดวา่ ถูกหรอื ผิดควรเปนส่วนสาํ คัญของข้อความและเกียวข้องกับ ข้อความทีถามการทําใหข้ ้อสอบผิดโดยการสะกดชอื คนหรอื สถานทีผิดไม่ เปนการเน้นสาระสาํ คัญ ข้อคําถามแต่ละข้อควรเปนอิสระแก่กันกล่าวคืออย่าใหข้ ้อสอบข้อใดข้อหนึงและ คําตอบข้ออืนหรอื ผู้เรยี นตอบได้ลืมไม่ได้ในข้อใดข้อหนึงไปส่งผลต่อการตอบ ได้หรอื ไม่ได้ในข้ออืนๆ ขวดใหม้ ีจาํ นวนข้อถูกผิดใกล้เคียงเปนการชว่ ยลดการเดาได้วธิ หี นึงโดยทัวไปใน อัตราส่วนระหวา่ งข้อผิดและถูกควรอยู่ระหวา่ ง 40 และ 60 เปอรเ์ ซน็ ต์ ข้อทีควรอยู่กระจายออกไปไม่ควรใหอ้ ยู่รว่ มกันเปนกลุ่มหรอื เรยี งกันเปนอย่างมี ระบบ ควรเรยี นแจ้งคําบางคําทีเปนเครอื งชคี ําตอบหรอื ชว่ ยใหค้ ําตอบทีถูกหรอื ผิดเด่น ชดั ขึนเพราะจะทําใหผ้ ู้เรยี นทีฉลาดฉลาดสามารถเดาคําตอบได้โดยทีอาจจะไม่มี ความรูใ้ นเรอื งทีถามนัน ไม่ควรใชข้ ้อความปฏิเสธซอ้ นเพราะอาจจะทําใหผ้ ู้เรยี นเข้าใจยากหรอื เข้าใจผิดได้ คําตอบของข้อคําถามควรถูกหรอื ผิดตามหลักวชิ าไม่ใชถ่ ูกหรอื ผิดตามความคิด เหน็ เรอื งการลอกข้อความจากหนังสือจากสมุดจดคําบรรยายหรอื จากแหล่งอืน มาเปนข้อความทีถามเพราะจะเปนการเน้นใหผ้ ู้เรยี นใชค้ วามจาํ มากกวา่ คิด เพือหาคําตอบ ข้อคําถามโดยทัวไปนิยมเขียนอยู่ในรูปแบบประโยคบอกเล่าธรรมดาแต่ถ้า จาํ เปนต้องเขียนอยู่ในรูปแบบประโยคปฏิเสธใหข้ ีดเส้นใต้คําปฏิเสธปฏิเสธ นันอย่างชดั เจนเพือใหผ้ ู้เรยี นมองเหน็ เด่นชดั ควรหลีกเลียงการใชค้ ําศัพท์ทีผู้เรยี นไม่คุ้นเคยหรอื ไม่เหมาะสมกับวยั ของผู้ เรยี น
6.แบบทดสอบปรนัยชนิดจับคู่ ความมายและลักษณะของ แบบทดสอบปรนัยชนิดจับคู่ แบบทดสอบปรนัยชนิดจับคู่ (Matching test) เปนรูปแบบหนึงของแบบ ทดสอบปรนัยซงึ ลักษณะโดยทัวไปมักจะวางกลุ่มของคํา วลี ตัวเลข หรอื สัญลักษณ์ไวเ้ ปน 2 คอลัมน์ซา้ ยและคอลัมน์ขวา โดยที คอลัมน์ซา้ ยจะวางคํา วลี ตัวเลข หรอื สัญลักษณ์ เปนข้อๆ เรยี กวา่ กลุ่มข้อคําถาม ส่วนคอลัมน์ขวา จะวางคํา วลี ตัวเลข หรอื สัญลักษณ์ตามลําดับตัวอักษร เรยี กวา่ กลุ่มคําตอบ ซงึ ในการตอบผู้เรยี นจะอ่านหรอื สังเกตคํา วลี ตัวเลข หรอื สัญลักษณ์ ใน คอลัมน์ขวา หลักการหรอื แนวทางการสรา้ ง แบบทดสอบปรนัยชนิดจับคู่ คํา วลี ตัวเลข หรอื สัญลักษณ์ต่าง ๆ ทังทียังอยู่ในคอลัมน์ข้อคําถามและคอลัมน์คําตอบ ควรเปนเรอื งราวหรอื เนือหาเดียวกัน (Homogeneous content) ซงึ หลักการข้อนีถือวา่ มี ความสาํ คัญมากในการออกแบบข้อสอบแบบจับคู่ เขียนคําชแี จงในการจับคู่ระหวา่ งชุดรายการข้อคําถามกับชุดรายการคําตอบใหช้ ดั เจน อาท ชุดรายการข้อคําถาม (คอลัมน์ A) และชุดรายการคําตอบ (คอลัมน์ B) เปนเนือหาเกียว กับอะไร การจับคู่รายการข้อคําถามกับชุดรายการคําตอบ ใชห้ ลักการใดหรอื เปนความเกียวข้อง สัมพันธก์ ันในลักษณะใด ใหผ้ ู้เรยี นปฏิบัติอย่างไรในการตอบชุดข้อสอบจับคู่หนึง ๆ เชน่ ‘นาํ ตัวอักษรประจาํ รายการข้อคําตอบ ไปเขียนลงในชอ่ งวา่ งหน้าตัวเลขรายการข้อคําถาม’ หรอื ‘โยงเส้น ระหวา่ งรายการข้อคําถามกับข้อคําตอบ’ ควรทบทวนรายการข้อคําถามและข้อคําตอบของชุดข้อสอบจับคู่อย่างรอบคอบวา่ ไม่ชแี นะคําตอบอย่างเด่นชดั ทังนีเพือลดโอกาสทีผู้เรยี นจะเดาถูก ทัง ๆ ทีไม่รูจ้ รงิ ในเรอื งนัน ๆ ในการตอบข้อสอบจับคู่ แต่ละข้อมีโอกาสในการเดาถูกเท่ากันข้อแรก ๆ โอกาสในการเดาถูกน้อย ส่วนข้อหลัง ๆ โอกาสในการเดาถูกมากขึนเพราะตัวเลือกมีน้อย ลง ดังนัน จึงควรเพิมจาํ นวนรายการข้อคําถาม (คอลัมน์ A) ทีอยู่ทางซา้ ยมือ ชุดข้อสอบจับคู่ชุดหนึง ๆ ควรกําหนดจาํ นวนรายการข้อคําถาม (คอลัมน์ A) ทีอยู่ทาง ซา้ ยมือใหเ้ หมาะสม ไม่ควรมีน้อยหรอื มากเกินไป เพราะถ้ามีน้อยไปก็อาจไม่ครอบคลุมหรอื ไม่เปนตัวแทนของความรูใ้ นเรอื งนัน ๆ แต่ถ้ามากไปก็จะทําใหผ้ ู้เรยี นสับสน ยุ่งยาก หรอื เบือหน่ายทีจะค้นหาคําตอบ โดยทัวไปควรมีจาํ นวนข้อคําถามอยู่ในชว่ ง 5 ถึง 8 ข้อ หรอื มากทีสุดไม่ควรเกิน 10 ข้อ
7.Ẻ·´Êͺ»Ã¹Ñª¹Ô´ àµÔÁ¤Òí áÅЪ¹Ô´µÍºáººÊÑé¹ ความหมายและ หลักการหรอื แนวทางการสรา้ งแบบ ลักษณะของแบบทดสอบ ทดสอบปรนัยชนิดเติมคําและชนิดตอบ แบบทดสอบชนิดเติมคํา แบบสัน (Completion test) เปนแบบทดสอบ 1.หลักการหรอื แนวทางการสรา้ งแบบ ชนิดหนึงทีมุ่งใหผ้ ู้เรยี นคิดหาคําตอบ ทดสอบปรนัยชนิดเติมคํา ด้วยตนเอง ซงึ อาจเปนคํา วลี หรอื การสรา้ งข้อสอบแบบเติมคําทีดี มีแนว ประโยค แล้วเขียนคําตอบนันลงใน ปฏิบัติ ดังนี ชอ่ งวา่ งต่อจากข้อความทีได้เขียน 1)ใหข้ ้อแนะนาํ ในการตอบข้อสอบอย่าง ค้างไว้ เพือใหเ้ ปนข้อความทีถูกต้อง ชดั เจน โดยระบุรายละเอียดของคําตอบวา่ สมบูรณ์ สมเหตุสมผล หรอื ตรงตาม ควรเปนอย่าไร คําตอบทีมีความหมาย ข้อเท็จจรงิ จ่างๆ ส่วนจุดอ่อนมักอยู่ เหมือนกันกับทีเฉลยไวใ้ หถ้ ูกต้องด้วยหรอื ทีความไม่ชดั เจนของโครงสรา้ ง ไม่ รวมถึงคําตอบถูกแต่สะกดคําผิดจะมี ประโยค ทําใหผ้ ู้เรยี นสับสนในการ ผลต่อการใหค้ ะแนนหรอื ไม่ ตอบ 2)เขียนประโยคข้อความทีเปนข้อคถาม ชดั เจนและสมบูรณ์เพียงพอเพือใหม้ ีคํา หลักการหรอื แนวทางการสรา้ งแบบ ตอบทีถูกต้องเพียงคําตอบเดียวเท่านันที ทดสอบปรนัยชนิดตอบแบบสัน เปนไปได้ และตรงกับคําตอบทีผู้สอนคด หวงั ใหผ้ ู้เรยี นตอบ แนวทางปฏิบัติในการสรา้ งข้อสอบ 3)ประโยคข้อความทีเปนข้อคําถามควร ปรนัยชนิดใหเ้ ขียนตอบแบบสันจะ สรา้ งขึนใหม่ ไม่ควรนาํ ข้อความจากบท คล้ายกับแนวทางการสรา้ งข้อสอบ เรยี น หนังสือ ตํารา มาตัดคําบางคําหรอื แบบเติมคํา ดังนี ตัดตัววลีบางวลีออก แล้วทําเปนชอ่ งวา่ ง 1)ใหข้ ้อแนะนาํ ในการตอบข้อสอบ ใหเ้ ติมคําตอบเพือใหป้ ระโยคมีความ อย่างชดั เจน โดยระบุรายละเอียด สมบูรณ์เหมือนเดิม เพราะเปนการสนับ ของคําตอบวา่ ควรเปนอย่างไร สนุนหเู้ รยี นจาํ ข้อความจากบทเรยี น 2)เขียนข้อคําถามใหช้ ดั เจนในรูป 4) ควรเวน้ ชอ่ งวา่ งสาํ หรบั เติมคําตอบใหม้ ี ของประโยคคําถาม หรอื ประโยค ความยาวเพียงพอในการเขียนคําตอบที คําสัง คาดหวงั ไว้ และถ้าเปนไปได้ควรใหม้ ีขนาด 3)ข้อคําถามควรมีคําตอบถูกต้อง ของชอ่ งวา่ งทีเท่ากัน เพียงคําตอบเดียวเท่านันทีเปนไป 5)ข้อคําถามควรเปนเรอื งทีสาํ คัญของบท ได้และตรงกับคําตอบทีผู้สอนคาด เรยี น สอดคล้อองกับวตั ถุประสงค์ของ หวงั ใหผ้ ู้เรยี นตอบ การเรยี นรู้ แต่ละข้อควรมีชอ่ งวา่ งใหเ้ ติม 4)โดยปกติข้อสอบชนิดเขียนตอบ คําตอบเพียงชอ่ งเดียว และควรอยู่ตอน แบบสัน ๆ มักจะวดั ความสามารถ ท้ายของประโยค ด้านเนือหาความรูเ้ กียวกับข้อเท็จจ จรงิ ต่าง ๆ
8.ความหมายและลักษณะของแบบ ทดสอบปรนัยชนิดเลือกตอบ การกําหนดคําตอบไวห้ ลายตัวเลือกใน หลักการหรอื แนวทางการสรา้ งแบบ ข้อสอบแต่ละข้อ สาํ หรบั ใหผ้ ู้เรยี นได้เลือก ทดสอบปรนัยชนิดเลือกตอบ ตอบตามต้องการประกอบด้วย 2 ส่วน ได้แก่ 1ส่วนของคําถามนาํ หรอื คําถามหลัก เขียนได้ 2 รูปแบบคําถามโดยตรง 2 ส่วน ของตัวเลือกตัวเลือก 2ชนิด คําตอบถูก และคําตอบผิด จะต้องวเิ คราะหห์ ลักสูตรรายวชิ าเพือกําหนดเนือหา และตัวชวี ดั เลือกตัวชวี ดั หรอื วตั ถุประสงค์เหมาะสม สาํ หรบั การวดั ด้วยกําหนดนาํ หนักคะแนนใหก้ ับแต่ละ ตัวชวี ดั กําหนดจาํ นวนข้อของข้อสอบแต่ละชนิดใน แต่ละตัวชวี ดั หรอื แต่ละวตถุประวงค์การเรยี นรู้ ดาํ เนินการสรา้ งข้อสอบตามแผนทีวางไว้ แบบทดสอบ ปรนัยชนิดเลือกตอบ 1.ควรเขียนข้อคําถามใหช้ ดั เจน กระชบั รดั กุม มีข้อมูลเพียงพอสาํ หรบั การตอบคําถามได้ 2.ข้อสอบแต่ละข้อควรมีจาํ นวนตัวเลือกอยู่ในชว่ ง3ถึง5ตัวเลือกของผู้เรยี นด้วย 3.คําถามนาํ ของข้อสอบนิยมเขียนใหม้ ีรายละเอียดเนือหาไวอ้ ย่างชดั เจนอยู่แล้ว 4.หลีกเลียงการใหข้ ้อความต่างๆ ทีคัดลอกจากหนังสือหรอื ตําราเรยี นเน้นการจาํ เกินไป 5.ข้อคําถามประเภทใหเ้ ลือกคําตอบทีดีทีสุดก็ต้องระบุคําทีแสดงคําตอบ 6.หลีกเลียงการสรา้ งข้อคําถามทีเปนเชงิ ลบหรอื ปฏิเสธ เชน่ ไม่ 7.ต้องแน่ใจวา่ ข้อสอบข้อหนึงๆ มีตัวเลือกซงึ เปนคําตอบทีถูกต้องหรอื คําตอบทีดีทีสุดเพียงตัว เลือกเดียว 8.หลีกเลียงการใชค้ ํา ข้อความ ชแี นะคําตอบท่ีูกต้อง 9.ต้องมันใจวา่ ตัวเลือกทังหมดมีความถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ 10.ไม่มีข้อสอบข้อใดข้อหนึงไปชแี นะหรอื เปดเผยคําตอบ 11.ตัวลวงทังหมดควรมีความเปนไปได้และดึงดูดใหผ้ ู้สอบเลือก 12.ตําแหน่งตัวเลือกทีถูกตต้องจะต้องเปนไปอย่างสุ่ม 13.หลีกเลียงการสรา่ ง ข้อสอบผิดทุกข้อ
9.การตรวจสอบคณุ ภาพของแบบทดสอบ ความเทียงตรง 1) ความเทียงตรงตามเนือหา เปนคณุ ภาพของขอ้ สอบทีบง่ บอก วา่ ขอ้ สอบนัน สามารถวดั ได้และสอดคล้องตามเนือหาทีเรยี น หมายถึง ความถกู ต้อง ในทีนีหมายถึงความเทียงตรงของ แบบทดสอบซงึ เปนเครอื งมอื วดั ทีสรา้ งขนึ เพอื วดั ระดับ 2) ความเทียงตรงตามโครงสรา้ ง ขอ้ สอบแต่ละฉบบั สามารถวดั คณุ ภาพของผเู้ รยี นสามารถแบง่ เปน ตัวแปรทีต้องการวดั ได้ สอดคล้องและครอบคลมุ ตามนิยามหรอื 3 ประเภททีแตกต่างกัน โครงสรา้ งเชงิ ทฤษฎีของตัวแปรทีต้องการวดั นันหรอื ไม่ สว่ นใหญ่ใช้ สรา้ งแบบทดสอบทางจติ วทิ ยา 3) ความเทียงตรงเกณฑ์สมั พนั ธเ์ ปนแบบทดสอบทีเกิดจากการเอาคะแนนทีได้มาวดั ผลแบบ ทดสอบทีสรา้ งขนึ แบง่ เปน 2 ประเภทยอ่ ย - ความเทียงตรงตามสภาพ เปนการวดั สภาพความเปนจรงิ ในปจจุบนั เชน่ พฤติกรรมการเรยี นรู้ ของผเู้ รยี น - ความเทียงตรงตามพยากรณ์ เปนการวดั ผลทีสอดคล้องกับสภาพผเู้ รยี นในอนาคต ความเปนปรนยั ความเปนปรนัย คือ ความถกู ต้องของแบบทดสอบ คณุ สมบตั ิความเปนปรนัย ความยากรายขอ้ มี 3 ประการ 1) ความชดั แจง้ ของขอ้ คําถามทีไมว่ า่ ผสู้ อบหรอื ผตู้ รวจคนใดอ่านก็แปลความ หมายได้ตรงกัน 2) ความสอดคล้องหรอื ตรงกันในการตรวจใหค้ ะแนนในขอ้ สอบแต่ละขอ้ นัน คือ ไมว่ า่ จะเปนผอู้ อกขอ้ สอบหรอื ใครก็ตามสามารถตรวจใหค้ ะแนนได้ตรงกัน 3) ความสอดคล้องตรงกันในการแปลความหมายของคะแนน กรณีให้คะแนนไมใ่ ช่ 0 กับ 1 ขอ้ สอบอัตนัยหรอื ความเรยี งไมเ่ น้นใช้ 0 และ 1 แต่จะ ใชก้ ารแบง่ กล่มุ คนทดสอบ กล่มุ สงู และกล่มุ ตํา โดย ใชเ้ ทคนิค 25% กรณีให้คะแนนเปน 0 กับ 1 เมอื p แทน ดัชนีความยากของขอ้ สอบทีต้องการหาค่า เมอื p แทน ดัชนีความยากของขอ้ สอบขอ้ หนึง ๆ SH แทน ผลรวมของคะแนนกล่มุ สงู ในขอ้ สอบขอ้ นัน R แทน จาํ นวนผสู้ อบทีตอบขอ้ สอบขอ้ นันถกู ต้อง SL แทน ผลรวมของคะแนนกล่มุ ตําในขอ้ สอบขอ้ นัน N แทน จาํ นวนผสู้ อบทังหมด XMax แทน คะแนนสงู สดุ ทีทังสองกล่มุ ทําได้ XMin แทน คะแนนตําสดุ ทีทังสองกล่มุ ทําได้ ขอ้ สอบทีมคี ่า p เขา้ ใกล้ 1 จะง่าย แต่ถ้าเขา้ ใกล้ 0 จะยาก และ NT แทน จาํ นวนผสู้ อบทังกล่มุ สงู และกล่มุ ตํารวมกัน ขอ้ สอบทีมคี ่า p เขา้ ใกล้ 0.50 จะดีมาก เปนขอ้ สอบทีดี
อํานาจจาํ แนกรายขอ้ กรณีแบบทดสอบอิงกล่มุ เปนการวเิ คราะห์ ดัชนีอํานาจจาํ แนกรายขอ้ แบง่ เปน 2 กรณี กรณีทีใหค้ ะแนนเปน 0 กับ 1 - กรณีทีใหค้ ะแนนเปน 0 กับ 1 - กรณีทีการใหค้ ะแนนไมใ่ ช่ 0 กับ 1 กรณีทีการใหค้ ะแนนไมใ่ ช่ 0 กับ 1 เมอื r แทน ค่าดัชนีอํานาจจาํ แนกรายขอ้ ของขอ้ สอบขอ้ หนึง ๆ RH แทน จาํ นวนผสู้ อบในกล่มุ สงู ทีตอบขอ้ สอบขอ้ นันถกู เมอื D แทน ดัชนีอํานาจจาํ แนกของขอ้ สอบทีต้องการหาค่า RL แทน จาํ นวนผสู้ อบในกล่มุ ตําทีตอบขอ้ สอบขอ้ นันถกู SH แทน ผลรวมของคะแนนกล่มุ สงู ในขอ้ สอบขอ้ นัน NH แทน จาํ นวนผสู้ อบทังหมดในกล่มุ สงู SL แทน ผลรวมของคะแนนกล่มุ ตําในขอ้ สอบขอ้ นัน NL แทน จาํ นวนผสู้ อบทังหมดในกล่มุ ตํา และ NH = NL XMax แทน คะแนนสงู สดุ ทีทังสองกล่มุ ทําได้ XMin แทน คะแนนต่ าสดุ ทีทังสองกล่มุ ทําได้ ขอ้ สอบทีมคี ่า r ยงิ เขา้ ใกล้ 1.00 ยงิ มอี ํานาจจาํ แนกดี ค่า r NH แทน จาํ นวนผสู้ อบทังหมดในกล่มุ สงู เปนลบอํานาจจาํ แนกใชไ้ มไ่ ด้เลย สาํ หรบั ค่า r ทีเปนบวกแต่ NL แทน จาํ นวนผสู้ อบทังหมดในกล่มุ ตํา และ NH = NL เขา้ ใกล้ 0 จะมอี ํานาจจาํ แนกไมด่ ี ดังนัน 0.20 ถึง 1.00 จะ เหมาะสมแก่การสรา้ งขอ้ สอบ กรณีแบบทดสอบอิงเกณฑ์ เมอื B แทนดัชนีอํานาจจาํ แนกรายขอ้ U แทนจาํ นวนคนในกล่มุ รอบรู้ (กล่มุ ผา่ นเกณฑ์) ทีตอบขอ้ นันถกู L แทนจาํ นวนคนในกล่มุ ไมร่ อบรู้ (กล่มุ ไมผ่ า่ นเกณฑ์) ทีตอบขอ้ นันถกู N1 แทนจาํ นวนคนทังหมดในกล่มุ รอบรู้ (กล่มุ ผา่ นเกณฑ์) N2 แทนจาํ นวนคนทังหมดในกล่มุ ไมร่ อบรู้ (กล่มุ ไมผ่ า่ นเกณฑ์) ใชเ้ กณฑ์ในการวดั ดังสตู ร ความเชอื มนั ของ แบบทดสอบ 1) กรณีแบบทดสอบอิงกล่มุ มอี ยู่ 2 กรณี ได้แก่ - กรณีทีขอ้ สอบแต่ละขอ้ ใหค้ ะแนนเปน 0 กับ 1 - กรณีทีขอ้ สอบแต่ละขอ้ ใหค้ ะแนนไมใ่ ช่ 0 กับ 1 เขา้ ใกล้ 1.00 มคี วามเชอื มนั สงู มาก เขา้ ใกล้ 0 จะถือวา่ ขาดความเชอื มนั แต่แบบทดสอบทีเปนทียอมรบั จะมคี ่าไมต่ ํากวา่ 0.70
ความเชอื มนั ของ แบบทดสอบ (ต่อ) กรณีทีขอ้ สอบแต่ละขอ้ ใหค้ ะแนนไมใ่ ช่ 0 กับ 1 ความเชอื มนั ของแบบทดสอบทีขอ้ สอบแต่ละขอ้ ใหค้ ะแนนไมใ่ ช่ 0 กับ 1 มคี ่าตังแต่ 0.00 ถึง 1.00 เชน่ เดียวกันแบบทดสอบที กรณีทีขอ้ สอบแต่ละขอ้ ใหค้ ะแนนเปน 0 กับ 1 และไมใ่ ช่ 0 กับ ขอ้ สอบแต่ละขอ้ ใหค้ ะแนนเปน 0 กับ 1 รวมทังการแปลความ 1 เชน่ ใหค้ ะแนนเปน 0,1,2 และ 3 หรอื อืน ๆ ดังสตู รต่อไปนี หมายระดับความเชอื มนั ของแบบทดสอบก็เหมอื นกันทกุ ประการ 2) กรณีแบบทดสอบอิงเกณฑ์ การหาค่าความเชอื มนั ของแบบทดสอบอิงเกณฑ์ ทังทีมกี ารให้ คะแนนเปน 0 กับ 1 และไมเ่ ปน 0 กับ 1 สามารถหาได้โดยการนํา แบบทดสอบทังฉบบั ไปทดลองใชก้ ับกล่มุ ตัวอยา่ งเพยี งครงั เดียว แล้วนํามาวเิ คราะหไ์ ด้ ดังสตู รนี ความเชอื มนั ของแบบทดสอบประเภทอิงเกณฑ์ มกี ารแปลความ หมายระดับความเชอื มนั ของแบบทดสอบเหมอื นกันทกุ ประการกับ แบบทดสอบประเภทอิงกล่มุ
10.การวเิ คราะหต์ ัวชวี ดั สกู่ ารออกแบบหนว่ ย การเรยี นรู้ ความหมายของมาตรฐาน หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั พนื ฐาน พุทธศักราช 2551 การเรยี นรูแ้ ละตัวชวี ดั ได้ใหค้ วามหมายของมาตรฐานการเรยี นรูแ้ ละตัวชวี ดั ไว้ ดังนี - มาตรฐานการเรยี นรู้ หมายถึง เปนเปาหมายสาํ คัญ - ตัวชวี ดั หมายถึง เปนตัวระบุสงิ ทีผเู้ รยี นพงึ รูแ้ ละ สาํ คัญของการพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี น ระบุถึงสงิ ทีผู้ ปฏิบตั ิได้ มคี วามเฉพาะเจาะจงเปนรูปธรรม ผสู้ อนนําไป เรยี นรู้ ปฏิบตั ิได้ มจี รยิ ะธรรม และค่านิยมทีพงึ ใชเ้ พอื กําหนดเนือหา ประสงค์ ประเภทของตัวชวี ดั ตามแนวคิดของStiggins แบง่ เปน 5 ประเภท ดังนี - ตัวชวี ดั ด้านความรูค้ วามเขา้ ใจ เปนตัวชวี ดั - ตัวชวี ดั ด้านทักษะการปฏิบตั ิ เปนตัวชวี ดั เกียวกับ เกียวกับความรูค้ วามเขา้ ใจในเนือหา เชน่ ขอ้ ความสามารถในการปฏิบตั ิหรอื ใชว้ ธิ กี ารต่าง ๆ ได้ เท็จจรงิ เหตกุ ารณ์ กรอบความคิด กฎเกณฑ์ ดี เพอื ใหเ้ กิดการเรยี นรูท้ ียงั ยนื หลักการ - ตัวชวี ดั ด้านผลผลิต เปนตัวชวี ดั เกียวกับความ - ตัวชวี ดั ด้านการคิดอยา่ งมเี หตผุ ล เปนตัวชี สามารถในการใชค้ วามรูก้ ารคิด ทักษะ เพอื สรา้ ง วดั เกียวกับความสามารถในการคิด โดย ผลผลิตสดุ ท้ายทีมคี ณุ ภาพและเปนรูปธรรม กําหนดใหต้ ้องนําความรูม้ าแก้ปญหา - ตัวชวี ดั ด้านจติ นิสยั เปนตัวชวี ดั ทีมใิ ชผ่ ลสมั ฤทธิ ทางวชิ าการ แต่เปนสถานะทางอารมณ์ ความรูส้ กึ การกําหนดหลักฐาน 1) ผลผลิต เชน่ สงิ ประดิษฐ์ แบบจาํ ลอง การเรยี นรู้ แผนภมู ิ คําตอบจากการประเมนิ รายงาน โครงงาน เปนต้น หลักฐานการเรยี นรู้ มุง่ เน้นใหผ้ เู้ รยี นได้ แสดงความรูค้ วามสามารถผา่ นการปฏิบตั ิ หลัก ฐานการเรยี นรูจ้ าํ แนกได้เปน 2 ประเภทหลัก คือ
การวเิ คราะหต์ ัวชวี ดั สกู่ ารออกแบบหนว่ ย การเรยี นรู้ (ต่อ) วธิ กี ารวเิ คราะห์ตัวชวี ดั เพอื การ ออกแบบหนว่ ยการเรยี นรู้ การวเิ คราะหต์ ัวชวี ดั เพอื การออกแบบหน่วยการเรยี นรู้ มี 5 ขนั ตอน ดังนี ขนั ที 1 ค้นหา “คําสาํ คัญ (Key Word)” ซงึ เปนคําแสดงพฤติกรรมทีกําหนดไวใ้ นตัวชวี ดั เชน่ เขา้ ใจ อธบิ าย บอก ฯลฯ คําแสดงพฤติกรรมเหล่านี จะบง่ บอกวา่ ตัวชวี ดั นันเปนเปาหมายการ เรยี นรูป้ ระเภทใด ขนั ที 2 กําหนดหลักฐานการเรยี นรู้ โดยที “หลักฐานการเรยี นร”ู้ เปนมุง่ เน้นใหผ้ เู้ รยี นได้ แสดงความรูค้ วามสามารถผา่ นการปฏิบตั ิ หลักฐานการเรยี นรูจ้ าํ แนกได้เปน 2 ประเภทหลัก คือ ผลผลิต และผลการปฏิบตั ิ ซงึ ทําใหท้ ราบวา่ ผเู้ รยี นบรรลตุ ัวชวี ดั นันแล้วตามคําสาํ คัญทีปรากฏ ขนั ที 3 กําหนดวธิ กี ารวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ การพจิ ารณาคําสาํ คัญ ประกอบกับเนือหาของบทเรยี น วา่ ควรใชแ้ บบใดใหผ้ เู้ รยี นเกิดองคืความรูแ้ ละปฏิบตั ิได้ ขนั ที 4 กําหนดเครอื งมอื ทีใชใ้ นการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ซงึ เปนการกําหนดเครอื งมอื หรอื สรา้ งเครอื งมอื ในการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ และผสู้ อนจะต้องพจิ ารณาใหส้ อดคล้อง และสมั พนั ธก์ ับหลักฐานการเรยี นรู้ ขนั ที 5 กําหนดกิจกรรมการเรยี นรูห้ รอื วธิ กี ารจดั การเรยี นการสอน เพอื ใหผ้ เู้ รยี นไดแ้ สดงหลัก ฐานการเรยี นรูต้ ่าง ๆ ตามทีได้ระบุไวใ้ นขนั ที 2
ความหมายของการออกแบบ 11.การออกแบบหนว่ ยการ หน่วยการเรยี นรูอ้ ิงมาตรฐาน เรยี นรอู้ ิงมาตรฐานโดยใช้ กระบวนการออกแบบยอ้ นกลับ เปนการออกแบบการจดั การเรยี นรูท้ ีมมี าตรฐานการ เรยี นรู/้ ตัวชวี ดั เปนเปาหมายของการจดั การเรยี นรู้ การ เรยี นรูอ้ ิงมาตรฐาน ครูผสู้ อนต้องจดั ทําโครงสรา้ ง รายวชิ าก่อน ดังนันทกุ องค์ประกอบของหน่วยการเรยี น รูต้ ้องเชอื มโยงกับมาตรฐานการเรยี นรู้ การออกแบบหน่วยการเรยี นรูอ้ ิงมาตรฐาน โดยใชก้ ระบวนการออกแบบยอ้ นกลับ เปนการนําเอาแนวคิดและกระบวนการออกแบบยอ้ นกลับมาดําเนินการออกแบบหน่วยการเรยี น รูอ้ ิงมาตรฐาน ซงึ องค์ประกอบของหน่วยการเรยี นรอู้ ิงมาตรฐานโดยใชก้ ระบวนการออกแบบ ยอ้ นกลับ ควรประกอบด้วย ชอื หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานและตัวชวี ดั สาระสาํ คัญ สาระการ เรยี นรู้ ชนิ งานหรอื ภาระงานทีใหผ้ เู้ รยี นปฏิบตั ิ วธิ กี ารวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ กิจกรรมการ เรยี นรูห้ รอื วธิ กี ารจดั การเรยี นการสอน เวลาเรยี น และนําหนักคะแนนประจาํ หน่วยการเรยี นรู้ ขนั ตอนการออกแบบหน่วยการเรยี นรูอ้ ิงมาตรฐาน โดยใชก้ ระบวนการออกแบบยอ้ นกลับ การออกแบบหน่วยการเรยี นรูอ้ ิงมาตรฐานโดยใชก้ ระบวนการออกแบบ ยอ้ นกลับ มี 3 ขนั ตอนหลัก ดังนี ขนั ตอนที 1 ระบุผลลัพธท์ ีต้องการ หรอื ขนั กําหนดเปาหมาย หรอื กําหนดผลการเรยี นรู้ ซงึ เปาหมาย ต้องครอบคลมุ กับ ความเขา้ ใจทีคงทน มจี ติ พสิ ยั หรอื คณุ ลักษณะทีพงึ ประสงค์ และมที ักษะทีจาํ เปนทัง ในลักษณะทีเปนทักษะทัวไป ผลลัพธห์ รอื เปาหมายสาํ คัญทีต้องขาดไมไ่ ด้คือ เปาหมายการเรยี นรูต้ าม มาตรฐานการเรยี นรูแ้ ละตัวชวี ดั ต่าง ๆ ขนั ตอนที 2 กําหนดหลักฐานการเรยี นรูท้ ียอมรบั ได้ หรอื หลักฐานทีแสดงวา่ ผเู้ รยี นได้บรรลเุ ปาหมายที พงึ ประสงค์ทีระบุไวใ้ นขนั ที 1 โดยทีหลักฐานหรอื รอ่ งรอยของการเรยี นรู้ ไดแ้ ก่ ชนิ งาน หรอื ภาระงาน ต่าง ๆ ทีผเู้ รยี นปฏิบตั ิ ขนั ตอนที 3 วางแผนการจดั ประสบการณ์การเรยี นรหู้ รอื การเรยี นการสอนเพอื ตัดสนิ ใจเกียวกับ กิจกรรมการเรยี นรูท้ ีจะใหผ้ เู้ รยี นได้ทําในระหวา่ งการจดั การเรยี นการสอน รวมทังสอื และแหล่งเรยี นรู้ ต่าง ๆ ทีจาํ เปน
วธิ กี ารหลากหลายของการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรูจ้ ากการสอื สารระหวา่ งบุคคล เทคนิคการตังคําถามสาํ หรบั ถามตอบใน 1. วธิ กี ารวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ชนั เรยี น ก่อนเรมิ จดั การเรยี นการสอน จากการถามตอบในชนั เรยี น - วเิ คราะหเ์ นือหาสาระของบทเรยี น “การถามตอบในชนั เรยี น” เพอื ถามใหผ้ เู้ รยี นได้ตอบใน - ออกแบบและกําหนดคําถามหลัก ๆ ทีจาํ เปน ระหวา่ งการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน จะเกิดการ - วางแผนและออกแบบวธิ กี ารวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ คิดไตรต่ รองของผเู้ รยี น ระหวา่ งหรอื ขณะจดั การเรยี นการสอน หลังจดั การเรยี นการสอน บนั ทึกผลการตอบคําถามลงในแบบ - สรา้ งบรรยากาศสง่ เสรมิ การเรยี นรูใ้ นหอ้ งเรยี น บนั ทึกทีได้ออกแบบและสรา้ งขนึ - ใชเ้ ทคนิคการตังคําถามอยา่ งเหมาะสม - เน้นใหผ้ เู้ รยี นทกุ คนมสี ว่ นรว่ มในการตอบคําถามในชนั เรยี น - สง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นทกุ คนประสบความสาํ เรจ็ ในการตอบคําถาม - ผสู้ อนจะต้องตรวจสอบความถกู ต้อง - ใหก้ ารเสรมิ แรงทันทีภายหลังผเู้ รยี นตอบคําถามนัน ๆ 2. วธิ กี ารวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ก่อนพบปะพูดคยุ กับผเู้ รยี น จากการพบปะพูดคยุ กับผู้เรยี น - กําหนดวตั ถปุ ระสงค์หลักในการพบปะกับผู้ เปนการสอื สารระหวา่ งผสู้ อนและผเู้ รยี นในการสอน เรยี นอยา่ งชดั เจน - เตรยี มประเด็นหรอื ขอ้ คําถามหลัก ๆ ใน ระหวา่ งการพบปะพูดคยุ กับผเู้ รยี น การสนทนากับผเู้ รยี น - เตรยี มเอกสาร วสั ดุ อุปกรณ์ หรอื สงิ ของ สงิ ทีผสู้ อนควรปฏิบตั ิ ต่าง ๆ และนัดหมาย เวลา สถานทีกับผเู้ รยี น - ตรงต่อเวลานัดหมายทังเรมิ ต้น - ถ้าจาํ เปนต้องจดบนั ทึกหรอื บนั ทึกเสยี ง หลังการพบปะพูดคยุ กับผเู้ รยี น - สรา้ งบรรยากาศใหผ้ เู้ รยี นเกิดความรูส้ กึ ผอ่ น คลายกระต้นุ หรอื เปดโอกาสใหผ้ เู้ รยี นได้พูดหรอื แสดงความคิดเหน็ อยา่ ง - ต้องรกั ษาความลับและประโยชน์ของผเู้ รยี น เต็มที และอาจจาํ เปนต้องใชค้ ําถามเชงิ ลึกเพมิ เติม - บนั ทึกผลการพบปะพูดคยุ กับผเู้ รยี นลงในแบบบนั ทึก - ผสู้ อนต้องเปนผรู้ บั ฟงทีดีและสงั เกตสหี น้าผเู้ รยี น ก่อนจบ ทีได้ออกแบบและสรา้ งขนึ การสนทนา ผสู้ อนควรกล่าวขอบคณุ พูดใหก้ ําลังใจ - ผสู้ อนนําขอ้ มูลทีได้จากแบบบนั ทึกผลการพบปะพูด คยุ กับผเู้ รยี นใชเ้ ปนขอ้ มูลสว่ นหนึงรว่ มกับขอ้ มูลอืน ๆ 3. วธิ กี ารวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรูจ้ ากการ พูดคยุ กับผู้ทีเกียวขอ้ งกับผู้เรยี น การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรูจ้ ากการพูดคยุ กับผทู้ ีเกียวขอ้ ง กับผเู้ รยี น เปนกระบวนการเก็บรวบรวม วเิ คราะห์ ตีความ บนั ทึกขอ้ มูล ทีได้จากการสนทนาอยา่ งมเี ปาหมายกับผทู้ ีเกียวขอ้ งกับผเู้ รยี น แนวทางปฏิบตั ิในการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรูจ้ ากการพบปะพูดคยุ กับ ผทู้ ีเกียวขอ้ งกับผเู้ รยี น” จะคล้ายกันกับการพบปะพูดคยุ กับผเู้ รยี น แตกต่าง กันทีในขอ้ นีจะเน้นผเู้ รยี นเปนรายบุคคล
4. วธิ กี ารวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรูจ้ าก การเตรยี มการก่อนจดั กิจกรรม การอภิปรายในชนั เรยี น อภิปรายในชนั เรยี น เปนการจดั กิจกรรมการเรยี นรูใ้ หผ้ เู้ รยี นได้ - กําหนดประเด็นหรอื หวั ขอ้ ทีต้องการใหผ้ เู้ รยี นอภิปราย แลกเปลียนความคิดเหน็ ความรู้ ประสบการณ์ กับผเู้ รยี น - กําหนดรูปแบบการอภิปรายตามความเหมาะสมกับจุด ซงึ สามารถแบง่ ได้เปน 2 ประเภทใหญ่ ๆ ประสงค์เวลาเรยี น จาํ นวนผเู้ รยี น สถานที และอืน ๆ 1) การอภิปรายแบบกล่มุ ใหญ่ทังชนั เรยี น - ถ้าหวั ขอ้ หรอื ประเด็นทีจะใหผ้ เู้ รยี นอภิปรายในชนั เรยี น 2) การอภิปรายแบบกล่มุ ยอ่ ย ผเู้ รยี นจาํ เปนต้องเตรยี มขอ้ มูล - เตรยี มสอื การเรยี น และวางแผนและเตรยี มหอ้ งเรยี น การดําเนินการจดั กิจกรรมอภิปรายในชนั เรยี น ใหพ้ รอ้ มและเหมาะสมกับรูปแบบ - แจง้ หวั ขอ้ และจุดประสงค์หรอื ประเด็นทีต้องการให้ หลังการดําเนินการจดั กิจกรรมอภิปรายในชนั เรยี น ผเู้ รยี นรว่ มกันอภิปราย - ชแี จงและสรา้ งขอ้ ตกลงในชนั เรยี น ดําเนินการ - หลังจากจบการอภิปรายควรบนั ทึกสรุปผล อภิปรายตามรูปแบบและแผนทีวางไว้ หลังการดําเนินการจดั กิจกรรมอภิปรายในชนั - ก่อนจบการอภิปรายต้องสรุปรว่ มกัน และเสรมิ เรยี น เพอื ทราบถึงจุดแขง็ จุดอ่อน ขอ้ คิดเพมิ เติม ยาํ ประเด็นสาํ คัญ การเตรยี มการก่อนสอบปากเปล่า 5. วธิ กี ารวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ จากการสอบปากเปล่า - กําหนดวตั ถปุ ระสงค์ และผสู้ อนจะต้องมี ความรูเ้ ตรยี มขอ้ คําถามใหค้ รอบคลมุ เนือหา เปนการโต้ตอบระหวา่ งผเู้ รยี นและผสู้ อน มกั ใช้ - ออกแบบและสรา้ งแบบบนั ทึกหรอื แบบ กับรายบุคคล เปนการสอบแบบภาคปฏิบตั ิ ประเมนิ การสอบปากเปล่าตามความเหมาะสม การดําเนินการสอบปากเปล่า - แจง้ จุดประสงค์การเรยี นรูใ้ นการสอบปาก เปล่าอยา่ งชดั เจน - ผสู้ อนจะต้องสรา้ งบรรยากาศใหผ้ อ่ นคลาย - ในการถามคําถามผสู้ อนควร ตําหนิ อคติ ต่อ ผเู้ รยี น ใชเ้ วลาใหเ้ หมาะสม และควรจดบนั ทึก คําตอบของผเู้ รยี น
6. วธิ กี ารวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรูจ้ าก การเตรยี มการก่อนใหผ้ เู้ รยี นบนั ทึกเหตกุ ารณ์ การบนั ทึกเหตกุ ารณ์ของผู้เรยี น เปนการสอื สารในรูปแบบของการเขยี น - กําหนดเหตกุ ารณ์และวตั ถปุ ระสงค์การเรยี นรูท้ ี ของผเู้ รยี น โดยบนั ทึกเปนเหตกุ ารณ์ ทังในและ ต้องการวดั และประเมนิ ผลไวอ้ ยา่ งชดั เจน ตามความ นอกเวลาเรยี น เหมาะสม - ออกแบบและสรา้ งแบบบนั ทึกหรอื แบบประเมนิ ผู้ การดําเนินการระหวา่ งใหบ้ นั ทึกเหตกุ ารณ์ เรยี น - ชแี จงวตั ถปุ ระสงค์การเรยี นรู้ รูปแบบการบนั ทึก ติดตาม ตรวจสอบ และใหข้ อ้ มูลปอนกลับ การดําเนินการหลังการบนั ทึก - ก่อนถึงวนั กําหนดสง่ บนั ทึก ใหผ้ เู้ รยี นประเมนิ ผลงานการ เหตกุ ารณ์ของผเู้ รยี นเสรจ็ สนิ เขยี นบนั ทึกของตนเองตามเกณฑ์ทีกําหนดไวล้ ่วงหน้า - บนั ทึกเหตกุ ารณ์ต่าง ๆ ของผเู้ รยี นแล้วนํา ไปประเมนิ ตามทีออกแบบไว้ - ใหผ้ เู้ รรยี นสามารถปรบั ปรุงได้ แล้วค่อย ประเมนิ ผลงานการเขยี นบนั ทึกเหตกุ ารณ์ที ปรบั ปรุงแล้วของผเู้ รยี น 7. วธิ กี ารวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรูจ้ าก การวางแผนก่อนมอบหมาย การตรวจการบา้ นหรอื แบบฝกหัดประจาํ วนั การบา้ นหรอื แบบฝกหดั ประจาํ วนั การบา้ น (Homework) หมายถึง งานชนิดใด - วเิ คราะหว์ ตั ถปุ ระสงค์การเรยี นรู้ และออกแบบ ชนิดหนึงทีสมั พนั ธก์ ับกิจกรรมการเรยี นการ งานทีเปนการบา้ นหรอื แบบฝกหดั ใหส้ อดคล้องกับ สอนในชนั เรยี น เพอื ใหผ้ เู้ รยี นชาํ นาญในเนือหา ขอ้ มูลพนื ฐานทีได้จากการศึกษาในขอ้ ทีเรรี ยนมากขนึ - กําหนดระยะเวลาในการทํางาน และ/หรอื กําหนด วนั สง่ งาน การมอบหมายการบา้ นหรอื แบบฝกหดั ประจาํ วนั การตรวจและประเมนิ การบา้ นหรอื แบบฝกหดั ประจาํ วนั - ก่อนใหก้ ารบา้ น ผสู้ อนต้องใหค้ วามรูใ้ นเนือหาทีเรยี น - ไมค่ ังค้างงาน ควรรบี ตรวจการบา้ น และตรวจ ก่อน ยกเวน้ การบา้ นล่วงหน้า ใหล้ ะเอียดถกู ต้อง เมอื ตรวจเสรจ็ ควรใหก้ ําลังใจ - เปดโอกาสใหผ้ เู้ รยี นขอคําแนะนําหรอื ปรกึ ษาเกียวกับ ผเู้ รยี นเพอื เปนการเสรมิ สรา้ งความมนั ใจ งานทีทํา ค่อยใหค้ ําแนะนําผเู้ รยี นเมอื ผเู้ รยี นถาม - ผสู้ อนขอ้ มูลไปตรวจประเมนิ การบา้ นของผู้ เรยี น ใหค้ วามชว่ ยเหลือต่อผเู้ รยี นทียงั มปี ญหา
13.การประเมนิ การปฏิบตั ิ แนวคิดและความหมายของ การประเมนิ การปฏิบตั ิ การประเมนิ การปฏิบตั ิ (Performance assessment) หมายถึง กระบวนการเก็บรวบรวมขอ้ มูลเกียวกับพฤติกรรมการเรยี นรูข้ องผู้ เรยี น ผา่ นการลงมอื ปฏิบตั ิจรงิ ตามภาระงานทีผสู้ อนได้ออกแบบไว้ แล้วนําขอ้ มูลทีวเิ คราะหไ์ ปพฒั นาผเู้ รยี น ทังทักษะการปฏิบตั ิ และ ทักษะทางสมองหรอื ทางสติปญญา การประเมนิ การปฏิบตั ิ ต้องมี ภาระงาน (Task) ซงึ “ภาระ ลักษณะสาํ คัญของการ งาน” ทีมอบหมายนันต้องสอดคล้องกับวตั ถปุ ระสงค์ของ ประเมนิ การปฏิบตั ิ การเรยี นรูห้ รอื วตั ถปุ ระสงค์ของการวดั และประเมนิ ผล โดยที อาจเปนงานทีสอดคล้องกับชวี ติ จรงิ หรอื ไมก่ ็ได้ การประเมนิ การปฏิบตั ิมกั มคี วามเปนอัตนัย อาจเปนกล่มุ หรอื รายบุคคลไมก่ ็ได้ อาจเปนงานทีใชค้ วาม (Subjective) ในการประเมนิ สามารถด้านใดก็ได้ การประเมนิ การปฏิบตั ิ ทีเน้นการประเมนิ การประเมนิ การปฏิบตั ิ สามารถประเมนิ พฤติกรรมการ กระบวนการปฏิบตั ิงาน(Process) ผสู้ อนหรอื ผู้ เรยี นรูไ้ ด้ทังทีเปน ทักษะพสิ ยั ทักษะทางสมองคณุ ลักษณะ ประเมนิ จะต้องเฝาสงั เกตดวู า่ ผเู้ รยี นสามารถทีจะ นิสยั ในการทํางาน ดําเนินการปฏิบตั ิงานทีก าหนดได้หรอื ไม่ การประเมนิ พฤติกรรมการเรยี นรูข้ องผเู้ รยี นสามารถ ประเมนิ ได้จาก กระบวนการปฏิบตั ิงาน หรอื ผลงานหรอื ชนิ งาน ซงึ ขนึ อยูก่ ับลักษณะของงานหรอื ภาระงานทีมอบ หมาย การประเมนิ การปฏิบตั ิ สามารถใชไ้ ด้สอดคล้องตามแนว ปฏิบตั ิการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ตามหลักสตู ร แกนกลางการศึกษาขนั พนื ฐาน พุทธศักราช 2551
ขนั ที 1 กําหนดจุดมุง่ ขนั ที 2 กําหนดรายการ ขนั ที 3 ออกแบบงานหรอื หมายของการประเมนิ การ ทักษะ ความสามารถ ภาระงานใหผ้ เู้ รยี นปฏิบตั ิ ปฏิบตั ิ วา่ มจี ุดมุง่ หมาย ความรูแ้ ละการประยุกต์ใช้ ซงึ งานหรอื ภาระงาน เพอื พฒั นาการเรยี นรูห้ รอื รวมถึงคณุ ลักษณะต่าง ๆ (Task) ต้องใหผ้ เู้ รยี นได้ การปฏิบตั ิงานระหวา่ งการ ทีคาดวา่ ผเู้ รยี นได้เรยี นรู้ ปฏิบตั ิจรงิ จดั การเรยี นการสอน ขนั ที 4 พฒั นาเกณฑ์ ขนั ตอนการประเมนิ ขนั ที 7 วางแผนและดําเนินการ การประเมนิ การปฏิบตั ิ การปฏิบตั ิ ลดความคลาดเคลือนในการให้ งานแต่ละงานทีมอบ คะแนนหรอื ประเมนิ คณุ ภาพ หมายอยา่ งชดั เจน การปฏิบตั ิงานของผเู้ รยี น ขนั ที 5 เลือกวธิ กี ารเก็บ ขนั ที 6 จดั ทําใบงานเพอื ชแี จง รวบรวมขอ้ มูลและเครอื ง การปฏิบตั ิงานอยา่ งชดั เจนและ มอื ทีใช้ สาํ หรบั ใชใ้ น ถกู ต้อง ซงึ ประกอบด้วย ระบุ การรวบรวมขอ้ มูลต่าง ๆ สงิ ทีต้องการใหผ้ เู้ รยี นแสดง การตอบสนองหรอื ปฏิบตั ิ ระบุ สว่ นประกอบอืน ๆ ทีเกียวขอ้ ง กับการปฏิบตั ิงาน จุดแขง็ และจุดอ่อนของ การประเมนิ การปฏิบตั ิ จุดแขง็ จุดอ่อน วดั ความสามารถทีไมอ่ าจวดั โดยวธิ อี ืนได้ ไมค่ ่อยมคี วามเชอื มนั หรอื ความคงที เหมาะกับทฤษฎีการเรยี นรูร้ ว่ มสมยั มขี อ้ จาํ กัดในการเลือกเนือหาทีนํามากําหนดภาระงาน การจดั การเรยี นการสอนดีกวา่ การใชว้ ธิ การ ค่อนขา้ งใชเ้ วลานานในการประเมนิ ทดสอบเพยี งอยา่ งเดียว ในทางปฏิบตั ิอาจมขี อ้ จ ากัดเกียวกับปจจยั ต่าง ๆ ประเมนิ ได้ทังกระบวนการและผลผลิตหรอื ผลงาน มคี วามหลากหลายในวธิ กี ารประเมนิ และวดั ผล
15.การประเมนิ ตามสภาพจรงิ ในชนั เรยี น แนวคิดและความหมายของ แนวคิดเกียวกับการประเมนิ ตามสภาพจรงิ การประเมนิ ตามสภาพจรงิ เปนทางเลือกใหมข่ องการวดั และประเมนิ ผลการ ความหมายของการประเมนิ สภาพจรงิ ในชนั เรยี น เรยี นรูข้ องผเู้ รยี นทีมจี ุดเด่นหลายประการทีการทํา ขอ้ สอบทําไมไ่ ด้ หรอื ทําได้ยาก สรุปได้วา่ เปนการประเมนิ ศักยภาพของผเู้ รยี น แบบองค์รวม ทังพุทธพิ สิ ยั ทักษะพสิ ยั และจติ การประเมนิ ความสามารถของผเู้ รยี นแบบองค์รวม พสิ ยั ผา่ นการลงมอื ปฏิบตั ิ งานทีสอดคล้องกับ การทีผเู้ รยี นได้ตอบสนองหรอื แสดงออกอยา่ งหลากหลาย ชวี ติ จรงิ และมคี วามหมายต่อผเู้ รยี น สง่ เสรมิ ให้ ผลการประเมนิ สงิ ทีผเู้ รยี นได้เรยี นรูม้ คี วามถกู ต้องแมน่ ย ผเู้ รยี นพฒั นาการเรยี นรู้ หรอื เพอื ตัดสนิ ผลการ การสง่ เสรมิ สนับสนุน และเปนสว่ นหนึงของการจดั การ เรยี น เรยี นการสอนทีเน้นผเู้ รยี นเปนสาํ คัญ การใชว้ ธิ กี ารและเครอื งมอื ทีหลากหลาย สาํ หรบั ใชใ้ นการวดั และประเมนิ การปฏิบตั ิงานของผเู้ รยี น จะมุง่ ประเมนิ ความสามารถของผู้ เน้นการประเมนิ ทีใหผ้ เู้ รยี นได้ตอบ เรยี นแบบองค์รวม สนองหรอื แสดงออกอยา่ งหลากหลาย ผเู้ รยี นต้องได้ใชท้ ักษะการคิดขนั เปนการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ สงู และการประยุกต์ใชค้ วามรู้ ของผเู้ รยี นทีมลี ักษณะเฉพาะเจาะจง เปนการชว่ ยใหผ้ เู้ รยี นรูจ้ ุด ลักษณะสาํ คัญของการ แขง็ จุดอ่อนของตนเอง ประเมนิ ตามสภาพจรงิ ทําใหไ้ ด้ผลสมั ฤทธขิ องผู้ เรยี นทีมคี วามสอดคล้อง การประเมนิ ตามสภาพจรงิ ใชก้ ารประเมนิ ใน การใชเ้ ครอื งมอื และวธิ กี ารทีหลากหลาย แง่ของ Assessment ไมใ่ ช่ Evaluation อยา่ งต่อเนืองตลอดชว่ งระยะเวลาหนึง การประเมนิ แบบดังเดิมยงั คงใชร้ ว่ มกับการ การประเมนิ แบบอิงเกณฑ์ดําเนินควบคู่ ประเมนิ ตามสภาพจรงิ ได้ ขนึ อยูก่ ับ กับการจดั การเรยี นรูท้ ังในและนอก สถานการณ์ทีคาดหวงั ใหเ้ กิดกับผเู้ รยี น หอ้ งเรยี น
ขอ้ แตกต่างระหวา่ งการประเมนิ การ ปฏิบตั ิ กับการประเมนิ ตามสภาพจรงิ การประเมนิ ตามสภาพจรงิ ใหค้ วามสนใจบรบิ ทสงิ ขนั ตอนการประเมนิ ตาม แวดล้อมทีเกียวขอ้ งกับการตอบสนองนัน Meyer กล่าววา่ สภาพจรงิ \"ไมใ่ ชท่ ังหมดของการประเมนิ การปฏิบตั ิจะเปนการประเมนิ ตามสภาพจรงิ \" การประเมนิ ปฏิบตั ิ จะมุง่ ตรวจสอบการ ตอบสนองของผเู้ รยี น กําหนดงานหรอื ภาระงาน (สงิ ทีมุง่ ประเมนิ ) ใหผ้ เู้ รยี นได้ลงมอื ปฏิบตั ิ กําหนดขอบเขตของสงิ ประเมนิ ใหช้ ดั เจน กําหนดวตั ถปุ ระสงค์ของการประเมนิ ใหส้ อดคล้องกับสงิ ทีต้อง ประเมนิ และกําหนดผปู้ ระเมนิ เลือกวธิ กี ารและเครอื งมอื การประเมนิ และการวดั ผลการเรยี นรแู้ ละ กําหนดเกณฑ์ในการประเมนิ การปฏิบตั ิงาน และผลงาน/ชนิ งาน จดั ทําเอกสารใบงานอยา่ งชดั เจน ดําเนินกิจกรรมต่างๆ ตามภาระงานทีมอบหมาย และติมตามใหค้ ํา แนะนําในระหวา่ ทํากิจกรรม ออกแบบหน่วยการเรยี นรูอ้ ยา่ งมคี วาม ใหผ้ เู้ รยี นได้เหน็ ขอ้ ผดิ พลาด ใชว้ ธิ กี ารประเมนิ ทีเหมาะสมอยา่ ง หมายเพอื มุง่ เน้นการเรยี นรูข้ องผเู้ รยี น ของตนเองจากการประเมนิ หลากหลายและเน้นการมสี ว่ นรว่ ม ต้องมกี ารทดลองใชร้ ูบกิ สท์ ีผู้ แนวทางการประเมนิ ตามสภาพ สอนและผเู้ รยี นรว่ มกันสรา้ งขนึ จรงิ ในการจดั การเรยี นการสอน ใหผ้ เู้ รยี นมที างเลือกในการสรา้ งชนิ ผเู้ รยี นต้องรบั รูแ้ ละเหน็ ด้วยกับ งานทีพวกเขาพอใจเพอื รบั การประเมนิ เกณฑ์หรอื รายการประเมนิ ผสู้ อนต้องมองการประเมนิ เปนเหมอื น การเฉลิมฉลองการเรยี นรูข้ องผเู้ รยี น
15.การใชร้ ูบรกิ สใ์ นการ วดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ความหมาย ของรูบรกิ ส์ Rubrics เปนชุดของเกณฑ์หรอื มาตรฐานทีออกแบบอยา่ ง สอดคล้องกับเปาหมายการเรยี นรู้ สาํ หรบั ใชเ้ ปนแนวทาง ในการใหค้ ะแนนคณุ ภาพการปฏิบตั ิงานของผเู้ รยี น ทังใน สว่ นทีเปนผลการปฏิบตั ิ (Performance) และ/หรอื ผลผลิต (Product) ทีเกิดขนึ รวมถึงการทํางาน โดยมกี าร แยกแยะและอธบิ ายคณุ ภาพของเกณฑ์การประเมนิ อยา่ ง ชดั เจน จากระดับทีต้องปรบั ปรุงถึงระดับดีเยยี ม องค์ประกอบของ รูบรกิ ส์ เกณฑ์การประเมนิ (Criteria) หรอื ประเด็นทีจะประเมนิ ระดับความสามารถหรอื ระดับคณุ ภาพ (Performance level) การบรรยายคณุ ภาพของแต่ละระดับ (Quality description) แนวทางและขนั ตอนการ สรา้ งรูบรกิ ส์ 1. กําหนดงานทีต้องการประเมนิ 2.กําหนดประเภท Rubrics ทีใชป้ ระเมนิ 3.กําหนดเกณฑ์หรอื ประเด็นทีจะประเมนิ 4.กําหนดจาํ นวนระดับคณุ ภาพ 5.เขยี นบรรยายคณุ ภาพของแต่ละระดับ 6.ทดลองและฝกใช้ Rubrics 7.จดั ทําเปนเครอื งมอื การใหค้ ะแนนที สมบูรณ์
การแบง่ ประเภท ประเภทของ Rubrics แบง่ ได้ 2 ลักษณะ ของรูบรกิ ส์ ลักษณะทีหนึงแบง่ เปน 2 ประเภท คือ (Holistic rubrics) และรูบรกิ สแ์ บบแยกสว่ น (Analytic rubrics) ลักษณะทีสองแบง่ เปน 2 ประเภท คือ รูบรกิ สแ์ บบทัวไป (General rubrics) กับ รูบรกิ สแ์ บบเฉพาะงาน (Task specific rubrics) Holistic rubrics เปน Rubrics ทีนําเอาทกุ Analytic rubrics เปน Rubrics ทีผลิตจากการ ประเด็นทีจะประเมนิ มาเขยี นอธบิ ายพรอ้ มๆกัน ปฏิบตั ิงานของผเู้ รยี นแยกแยะตามประเด็นทีจะประเมนิ ขอ้ ดี ขอ้ ดี เปนลักษณะทัวไปใชไ้ ด้หลายงาน ใหข้ อ้ มูลยอ้ นกลับแก่ผเู้ รยี น ประหยดั เวลาในการประเมนิ สามารถถ่วงนําหนักใหแ้ ต่ละเกณฑ์หรอื แต่ละ การใหค้ ะแนนแมน่ ยาํ และน่าเชอื ถือ ประเด็นทีจะประเมนิ ได้ตามความสาํ คัญ ขอ้ เสยี ชว่ ยใหผ้ เู้ รยี นได้เหน็ ความก้าวหน้าของตนเอง ไมใ่ หข้ อ้ มูลยน้ กลับแก่ผเู้ รยี น ยากต่อการ ขอ้ เสยี ปรบั ปรุง เมอื นําคะแนนของแต่ละสว่ นมารวมกัน อาจไมใ่ ชว่ ธิ ี ขาดรายละเอียดทีเฉพาะเจาะจง ทีดีในการประเมนิ ภาพรวม ใชเ้ วลานานในการสรา้ ง General rubrics หรอื เรยี กวา่ “รูบรกิ สแ์ บบ Task specific rubrics หรอื เรยี กวา่ “รูบรกิ สแ์ บบ ทัวไป” เปน Rubrics ทีสรา้ งขนึ โดยใชเ้ กณฑ์หรอื เฉพาะงาน” เปน Rubrics ทีสรา้ งขนึ โดยมเี ปาหมาย ประเด็นทีจะประเมนิ กวา้ ง ๆ เพอื ประเมนิ เฉพาะงานใดงานหนึงทีมอบหมายใหผ้ ู้ ขอ้ ดี เรยี นปฏิบตั ิ ขอ้ ดี สามารถนําไปใชป้ ระเมนิ ได้หลายงาน ไมต่ ้อง สรา้ งใหม่ พจิ ารณาใหค้ ะแนนการปฏิบตั ิงานหรอื ผลผลิต การเขยี นอธบิ ายเหตผุ ลอยา่ งชดั เจนพรอ้ ม จากการปฏิบตั ิงานได้ง่าย รายละเอียดวา่ ท าไมคณุ ภาพของงานจงึ ใชเ้ วลาน้อยในการทําใหม้ คี วามเชอื มนั หรอื มี สมควรอยูใ่ นระดับคณุ ภาพนัน ๆ ความสอดคล้องของการใหค้ ะแนนระหวา่ งผู้ ขอ้ เสยี ประเมนิ การใหค้ ะแนนแมน่ ยาํ และน่าเชอื ถือตํา ขอ้ เสยี สรา้ งยากกวา่ Task specific rubrics เพราะ ไมส่ ามารถนํามาชแี จงเพอื ทําความเขา้ ใจ ต้องการใชป้ ระเมนิ หลายงาน รว่ มกันใหก้ ับผเู้ รยี นได้ จะต้องเขยี น rubrics ใหมท่ กุ ครงั ในแต่ละงาน ทําใหย้ ุง่ ยากและเสยี เวลา ไมเ่ หมาะทีจะใช้ กรณีงานทีมลี ักษณะเปดกวา้ งใน การตอบ
16.การประเมนิ โดยใชแ้ ฟมสะสมผลงาน (Portfolio assessment) หลักการของการประเมนิ โดย ความหมายของการประเมนิ ใชแ้ ฟมสะสมผลงาน โดยใชแ้ ฟมสะสมผลงาน 1.ผเู้ รยี นกับผสู้ อนทํางานรว่ มกัน 2.มกี ารรวบรวมผลงานตลอดชว่ ง “การประเมนิ โดยใชแ้ ฟมสะสม ผลงาน” หมายถึง วธิ กี าร เวลาอยา่ งเปนระบบ ประเมนิ ผลการเรยี นรู้ 3.เปนการรวบรวมผลงานอยา่ งมี อยา่ งหนึงทีมสี งิ ประเมนิ คือ “แฟมสะสมผลงาน” ซงึ ผเู้ รยี น จุดมุง่ หมาย เพอื แสดงใหเ้ หน็ ถึง จดั ทําขนึ โดยการรวบรวม ผลสมั ฤทธทิ างการเรยี น ผลงานจากการปฏิบตั ิงานที 4.มกี ารวางแผนล่วงหน้าอยา่ งเปน เกียวขอ้ งกับการเรยี นการสอน ระบบ อยา่ งมจี ุดมุง่ หมาย และมี 5.ผเู้ รยี นเก็บรวบรวมและคัดเลือก การวางแผนล่วงหน้าอยา่ งเปน ผลงานด้วยตัวเองภายใต้คํา ระบบ ตลอดชว่ งระยะเวลาหนึง แนะนําของผสู้ อน 6.ผเู้ รยี นสะท้อนความคิดเหน็ ต่อ ผลงาน และประเมนิ ตนเอง ประเภทของแฟมสะสมผล งานของผู้เรยี น Working portfolio เปนแฟมสะสมผลงานทีผเู้ รยี นจดั ทําขนึ เพอื เก็บรวบรวม หลักฐานต่าง ๆ เกียวกับผลการปฏิบตั ิงานในระหวา่ งการเรยี นการสอน เพอื แสดงใหเ้ หน็ ถ หลักการของการประเมนิ โดยใชแ้ ฟมสะสมผลงานประเภทของแฟมสะสมผลงานของผเู้ รยี ความก้าวหน้าของงาน และยงั สามารถปรงั ปรุงแก้ไขไดเ้ พอื ใหแ้ ฟมสะสมผลงานสมบูรณ์ Display or show portfolio เปนแฟมสะสมผลงานทีผเู้ รยี นจดั ทําขนึ โดยทํา การคัดเลือกผลงานทีดีทีสดุ จากแฟมสะสมผลงานทีรวบรวมไวใ้ นระหวา่ งการปฏิบตั ิ งานแฟมสะสมผลงานประเภทนีจดั ทําขนึ โดยมจี ุดมุง่ หมายเพอื คัดเลือกผลงานดีเดน่ สาํ หรบั นําเสนอผสู้ อนหรอื นําไปจดั แสดงต่อไป Assessment portfolio เปนแฟมสะสมผลงานทีผเู้ รยี นจดั ทําขนึ โดยมจี ุดมุง่ หมายเพอื ใหผ้ ู้ สอนทําการประเมนิ คณุ ภาพการเรยี นรูด้ ้านต่าง ๆ ตามเกณฑ์หรอื รายการประเมนิ ทีได้กําหนดไว้ ล่วงหน้าระหวา่ งผสู้ อนกับผเู้ รยี น ซงึ การเก็บรวบรวมผลงาน อาจใชผ้ ลงานทังหมดหรอื บางสว่ นที คัดเลือกมาจากแฟมสะสมผลงานดีเด่นประเภททําขนึ เพอื นําเสนอหรอื จดั แสดง
จุดมุง่ หมายของการประเมนิ เพอื ใหผ้ เู้ รยี นได้พฒั นา ปรบั ปรุง หรอื ขดั เกลาผล แฟมสะสมผลงาน งานต่าง ๆ ทีเกิดจากการปฏิบตั ิตามภาระงานทีได้ รบั มอบหมายในระหวา่ งการเรยี นการสอนอยา่ งต่อ เนืองตลอดชว่ งระยะเวลาหนึง เพอื ใหผ้ เู้ รยี นได้พฒั นาความสามารถในการ สะท้อนและประเมนิ ผลงานต่าง ๆ ขอตนเอง เพอื ใหผ้ เู้ รยี นได้พฒั นาความสามารถในการคัดเลือกผลงาน การ เก็บรวบรวมผลงานอยา่ งเปนระบบ และสอดคล้องกับเกณฑ์หรอื รายการประเมนิ ทีได้กําหนดไวล้ ่วงหน้า ขนั ตอนของการประเมนิ โดย ใชแ้ ฟมสะสมผลงาน 1. ขนั เตรยี มการประเมนิ โดยใชแ้ ฟมสะสมผลงาน ซงึ ในขนั นี หวั ใจสาํ คัญอยูท่ ี “การออกแบบหน่วยการเรยี นรู”้ 2. ขนั จดั ทําแฟมสะสมผลงาน ประกอบด้วยลําดับกิจกรรมยอ่ ย ได้แก่ - สรา้ งผลงาน - ประเมนิ ผลงานโดยผสู้ อนและใหข้ อ้ มูลปอนกลับเพอื การพฒั นา - ปรบั ปรุงผลงานจนกวา่ จะได้คณุ ภาพผา่ นเกณฑ์ทีกําหนด - เก็บรวบรวมผลงานทังหมดในแฟมสะสมผลงานระหวา่ งดําเนินการ - คัดเลือกผลงานจากทีรวบรวมไวต้ ามรายการและเกณฑ์ทีกําหนด - สะท้อนการเรยี นรูห้ รอื แสดงความคิดเหน็ ต่อผลงานทีเลือกไวแ้ ต่ละชนิ - จดั ระบบแฟมสะสมผลงานทีสมบูรณ์ - ประเมนิ การเรยี นรูข้ องตนเองในภาพรวมของการจดั ทําแฟมสะสม ผลงาน - แลกเปลียนเรยี นรูป้ ระสบการณ์กับผอู้ ืน - ปรบั เปลียนแก้ไข เพอื การประเมนิ โดยผสู้ อนต่อไป 3. ขนั ประเมนิ แฟมสะสมผลงานทีสมบูรณ์ เปนการประเมนิ สรุปรวบยอด หลังจบหน่วยการเรยี นรูห้ นึง ๆ หรอื จบรายวชิ าโดยผสู้ อน เพอื ตัดสนิ คณุ ภาพของ แฟมสะสมผลงานทีสมบูรณ์ของผเู้ รยี น 4. ขนั ประชาสมั พนั ธผ์ ลงาน ขนั นีสว่ นใหญ่ใชก้ ารจดั นิทรรศการแสดง แฟมสะสมผลงาน โดยผเู้ รยี นกับผสู้ อนรว่ มกันวางแผน และดําเนินในสถานการณ์จรงิ
ใบสญั ญาการเรยี น และแบบบนั ทึกผลการ เรยี นในชนั เรยี น
บทส่งท้าย
บทความสดุ ท้ายอยากจะสง่ ท้ายด้วยว่า ตงั แตไดเ้ หน็ ชือของรายวิชา การวัดและการประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ความรูส้ กึ แรกๆ จะ ยากไปไหมอาจารยจ์ ะใจดหี รอื ใจรา้ ยวันแรกทเี ปดเทอมไดเ้ ขา้ มาเรยี นมาหอ้ งเรยี น เปนเกรง็ แลว้ รูส้ กึ เปนการกดดนั ตวั เองเพราะว่าไมร่ ูจ้ ะไปเจออะไรแตพ่ อไดเ้ รยี นรูไ้ ด้ แลกเปลยี นเรยี นหน้าชันเรยี นเปนการเรยี น สนุกสนานเปนการพดู จาเปนกนั เอง ระหว่างนักศึกษาและอาจารยอ์ าจารยม์ คี วามน่ารกั เปนกนั เอง ภาษาทใี ช้ในการ สอื สารเปนภาษาทนี ักศึกษาคนุ้ ยนิ และมคี วามตลกบา้ งเศรา้ บา้ ง แตส่ ว่ นมากจะ สนุก เฮฮ่ามากกว่า และสว่ นเรอื งดา้ นความรูก้ เ็ ช่นกนั อาจารยพ์ รอ้ มใหค้ วามรูท้ กุ อยา่ ง ไมใ่ ช่แคจ่ ะเปนในเรอื งเนือ1-16บทนอกเนือหาทา่ นกส็ ามารถเอาความรูม้ าแบง่ ปนให้ กบั นักศึกษาเช่น เรอื ง Google meetGoogle Form กบั รายวิชานี แลสดุ ทา้ ยนี รายวิชาวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรูร้ หสั วิชา 21004009 ผมนายสปุ ระกจิ วงคเ์ ตชะ จะนําความรูท้ ไี ดจ้ ากอาจารยท์ เี กง่ และมากความสารถจะนําเอาความรูท้ ไี ดก้ บั วิชานี ไปใช้ในชีวิตจรงิ และปฏบิ ตั หิ น้าทคี รูทดี ี
Search
Read the Text Version
- 1 - 42
Pages: