แผนปฏิบตั ิการ ประจำปีงบประมาณ 2566 -ก- กป
คำนำ แผนปฏิบัติการ กศน.ตำบลบ้านพร้าว จัดทำขึ้นเพื่อเป็นแนวทางในการจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย ประจำปีงบประมาณ 2566 โดยยึดแนวทางตามยุทธศาสตร์และจุดเน้นการ ดำเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ประจำปีงบประมาณ 2565 สอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดพิษณุโลก และ ยทุ ธศาสตรแ์ ละจดุ เน้นการดำเนินงานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอนครไทย ตลอดจน บริบท ความต้องการของกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่เพื่อกำหนดเป็นแนวปฏิบัติ และแนวทางในการดำเนินงาน กศน.ตำบลบ้านพรา้ ว ให้เป็นไปตามเป้าหมายทต่ี ง้ั ไว้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ การจัดทำแผนปฏิบัติการ กศน.ตำบลบ้านพร้าว ประจำปงี บประมาณ 2566 เลม่ น้ี สำเรจ็ ลลุ ว่ งดว้ ยดี ด้วยความรว่ มมือของภาคเี ครือขา่ ย และผู้เกี่ยวข้องร่วมกันระดมความคดิ เห็น โดยนำสภาพปัญหาและผลการ ดำเนินงานมาปรับปรุงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของ กศน.ตำบลบา้ นพร้าว เพอื่ สนองตอบความต้องการของประชาชนในพืน้ ท่อี ย่างแท้จริง คณะผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่า แผนปฏิบัติการ กศน.ตำบลบ้านพร้าว ประจำปีงบประมาณ 2566 เล่มนี้ จะเป็นแนวทางในการดำเนินงานของบุคลากรและผู้เกี่ยวข้อง เพื่อให้การจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยให้บรรลุตามวัตถุประสงค์และมีคุณภาพตามเป้าหมาย ตลอดจนเป็นประโยชน์ต่อผู้มี สว่ นเกีย่ วข้อง ประชาชน ชุมชน สงั คม และประเทศชาตติ อ่ ไป กศน.ตำบลบา้ นพรา้ ว ตุลาคม 2565 ผู้จัดทำ
แผนปฏบิ ตั ิการ ประจำปีงบประมาณ 2566 -ข- สารบญั เรือ่ ง หนา้ การอนุมัตแิ ผนปฏบิ ัตกิ าร................................................................................................................................................................... คำนำ.............................................................................................................................................................................................................. ก สารบญั ......................................................................................................................................................................................................... ข ส่วนท่ี 1 ข้อมูลพนื้ ฐานของ กศน.ตำบล................................................................................................................................. ๑ ความเปน็ มา............................................................................................................................................................................. 1 ท่ีต้ัง.............................................................................................................................................................................................. 2 บทบาทหนา้ ที่ภารกิจ กศน.ตำบล................................................................................................................................. 2 คณะกรรมการ กศน.ตำบล............................................................................................................................................. 3 อาสาสมัคร กศน.ตำบล...................................................................................................................................................... 4 บคุ ลากรใน กศน.ตำบล...................................................................................................................................................... 4 องค์กรนกั ศกึ ษา กศน.ตำบล............................................................................................................................................ 4 ทำเนยี บ ครู กศน.ตำบล..................................................................................................................................................... 5 ภมู ิปญั ญาทอ้ งถิ่น................................................................................................................................................................... 5 แหลง่ เรยี นรู้.............................................................................................................................................................................. 5 ภาคีเครือขา่ ย........................................................................................................................................................................... 6 ส่วนที่ 2 ขอ้ มูลพน้ื ฐานเพอ่ื การวางแผน................................................................................................................................... 7 สภาพทวั่ ไปของตำบล.......................................................................................................................................................... 7 ขอ้ มูลดา้ นประชากร............................................................................................................................................................. 8 ข้อมลู ดา้ นสงั คม...................................................................................................................................................................... 9 ข้อมลู ดา้ นเศรษฐกจิ .............................................................................................................................................................. 9 ข้อมลู ด้านการศกึ ษา............................................................................................................................................................. 12 ขอ้ มูลดา้ นทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม....................................................................................................... 13 ข้อมูลแหล่งท่องเที่ยว........................................................................................................................................................... 14 ปัญหาและความตอ้ งการทางการศกึ ษาของประชาชน........................................................................................ 17 สว่ นที่ 3 แนวทาง / กลยุทธ์การดำเนนิ งาน........................................................................................................................... ๑8 นโยบายและจุดเนน้ การดำเนนิ งานสำนักงาน.......................................................................................................... 18 ทศิ ทางการดำเนนิ งานของ กศน.ตำบล....................................................................................................................... 22 แนวทางการพฒั นา กศน.ตำบล...................................................................................................................................... 24 เปา้ ประสงค์และตัวชวี้ ัดความสำเรจ็ ............................................................................................................................. 26 กลยทุ ธก์ ารดำเนินงาน......................................................................................................................................................... 27
แผนปฏบิ ตั กิ าร ประจำปีงบประมาณ 2566 -ข- สารบญั (ตอ่ ) ส่วนท่ี 4 รายละเอยี ดแผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖................................................................ ๒9 แผนการใช้จา่ ยงบประมาณตามแผนปฏิบตั กิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566.............................. 30 โครงการ ฯ แผนปฏบิ ตั ิการประจำปี 2566 กศน.ตำบล................................................................................... ๓6 คำรับรองการปฏบิ ัตริ าชการ กศน-กผ-03................................................................................................................ 37 ภาคผนวก.................................................................................................................................................................................................... 53 คณะผจู้ ัดทำ............................................................................................................................................................................. 54
แผนปฏบิ ตั กิ าร ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๖ | ๑ สว่ นท่ี ข้อมูลพ้นื ฐานของ กศน.ตำบล 1 ประวตั ิความเป็นมาตำบลบา้ นพรา้ ว แต่เดิมเล่ากันว่า เมื่อประมาณ 200 กว่าปีมาแล้ว ได้ฟังคำบอกเล่าจากคนเฒ่าภายในหมู่บ้าน วา่ มีชาวบา้ นอพยพมาจากถนิ่ ตา่ งๆ เปน็ คนหลายเผ่าพันธเ์ุ ข้ามาอยใู่ นพน้ื ที่น้ี ซ่ึงแต่เดมิ มีสภาพเป็นป่าเขาอุดมไป ด้วยต้นไม้ และสัตว์ป่านานาชนิด ได้มีพ่อค้าวัวต่างถิ่นเดินทางมาพักแรมเพื่อขายวัว ขา ยควายในบริเวณนี้ แล้ว ไม่ได้กับภมู ิลำเนาเดมิ จึงตง้ั รกรากถิ่นฐานทำกินอยู่ท่นี ใี่ นช่วงฤดนู ้ำหลากได้มีกระแสนำ้ พัดพาเอาลูกมะพร้าวขนาด โตเท่ากระบุงจากเทือกเขาขี้ควาย ลอยน้ำมาในคลองห้วยน้ำฐานเป็นจำนวนมากพวกชาวบ้านก็เห็นเข้าจึงนำมา แบ่งปันกันกินทั้งหมู่บา้ น ต้ังแต่บัดนั้นมาจากการที่มีลูกมะพร้าวขนาดใหญ่ชาวบ้านก็เลยพากันเรียกพื้นที่ในแถบนี้ วา่ “ บา้ นมะพรา้ ว ” ต่อมาประมาณปี ร.ศ. 108 ได้รับการประกาศจัดต้ังเป็นหมู่บ้านตามพระราชบัญญัติปกครองท้องที่ พ.ศ. 2457 และให้ชือ่ วา่ “บ้านพร้าว” ขึ้นปกครองกับตำบลนครไทย และต่อมาเมือ่ ปี พ.ศ. 2532 จึงได้แยกตำบล จากตำบลนครไทย ออกมาเป็นตำบลบ้านพรา้ วและไดเ้ ลอื กตง้ั กำนนั ตำบลบา้ นพร้าว เม่อื วนั ท่ี 14 ตลุ าคม 2532 เขตปกครองของตำบลบ้านพรา้ วมีด้วยกันจำนวน 8 หมูบ่ า้ น และปจั จุบันน้ีไดแ้ ยกหมูบ่ า้ นเปน็ 10 หมู่บ้าน โดยเฉพาะในช่วงปี พ.ศ. 2515 – 2552 เป็นเวลานานกว่า 10 ปี ซึ่งหมู่บ้านต้องเผชิญกับปัญหาภัย คุกคามจากผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ จนกระทั่งทางราชการได้ประกาศจัดตั้งเป็นหมู่บ้านอาสาพัฒนาและป้องกัน ตนเอง (อพป.) เมื่อวันที่ 1 กันยายน 2522 โดยรวมเอาบ้านฟากน้ำ หมู่ที่ 4 และบ้านพร้าว หมู่ที่ 5 รวมทั้ง 2 หมบู่ ้าน รวมเป็นหมู่บา้ น อพป. หม่ทู ่ี 4 – 5 ได้รับรางวลั ชนะเลศิ ระดับจังหวัด และระดบั ภาค รางวัลดีเด่นด้าน รักษาความปลอดภัยการประกวดหมู่บ้าน อพป. ชนะเลิศระดับภาค และรางวัลดีเด่นด้านคณะกรรมการบริหาร หม่บู ้านการประกวดหมบู่ ้าน อพป.ชนะเลิศระดบั ภาค คำขวัญประจำตำบลบา้ นพรา้ ว งามเด่นบญุ บงั้ ไฟ ของดผี กั ตบชวา บึงหลวงรม่ เย็น เยน็ ฉ่ำดลี ำน้ำฐาน ปักธงผาขีค่ วายประเพณี งามตาผ้าทอมัดหม่ี ประวตั ิความเปน็ มา กศน.ตำบล กศน. ตำบลบ้านพร้าว เป็นหน่วยจัดการศึกษานอกโรงเรียนในชุมชน โดยจัดกิจกรรมการศึกษาระดับ ประถมศกึ ษา มธั ยมศกึ ษาตอนต้น มัธยมศกึ ษาตอนปลาย การศกึ ษาอาชพี และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั การบริการ ข้อมูลข่าวสารและเป็นแหล่งรวบรวมข้อมูล สื่อการศึกษาทุกรูปแบบ เช่น สื่ออิเล็กทรอนิกส์ สื่อเอกสาร สิ่งพิมพ์ เพื่อให้นักศึกษาและประชาชนทั่วไปสามารถเขา้ มาใช้บริการได้ตลอดเวลา โดย กศน. ตำบลบ้านพร้าว ได้รับความ อนเุ คราะห์ให้ใช้สถานท่ีทจี่ ากโรงเรียนบา้ นปา่ ซา่ นให้ใช้อาคารของโรงเรียนเปน็ ที่ตง้ั กศน. ตำบลและเป็นสถานท่ีพบ กลมุ่ กศน.ตำบลบา้ นพร้าว ตง้ั อยู่หมทู่ ่ี 3 ตำบลบ้านพร้าว อำเภอนครไทย จงั หวัดพษิ ณุโลก
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๖ | ๒ ทต่ี ้ัง / การติดตอ่ หมู่ 3 บา้ นป่าซ่าน ตำบลบ้านพรา้ ว อำเภอนครไทย จังหวดั พิษณโุ ลก 65120 โทร. 089-6583888 E-mail : [email protected] สงั กดั ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอนครไทย สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จังหวดั พษิ ณุโลก สำนักงานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ บทบาทหนา้ ท่ีภารกิจ กศน.ตำบล แนวทางการดำเนนิ งานของ กศน. ตำบล กศน.ตำบลจะมีการปรับบทบาทภารกิจให้สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาลและบริบทของพื้นที่ ตลอดจน รองรบั การเปน็ ประชาคมอาเซยี นมากขน้ึ ภายใตก้ ารขับเคลื่อนการดำเนนิ งาน 4 ศูนยก์ ารเรียนรู้ ได้แก่ 1) ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม่ เป็นศูนย์กลางการส่งเสริม จัดกระบวนการการเรียนรู้ และหน่วยประสานงานแหล่งเรียนรู้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงภายในชุมชน ดำเนินงานร่วมกับกองอำนวยการ รักษาความมั่นคงภายในราชอาจกั ร (กอ.รมน.) 2) ศนู ย์สง่ เสริมพัฒนาประชาธิปไตยตำบล (ศส.ปชต.) เพ่อื สร้างการเรียรู้และความเข้าใจท่ถี ูกต้องเกี่ยวกับ การปกครองในระบอบประชาธิปไตยที่มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุข โดยเฉพาะสิทธิและหน้าที่ในระบอบ ประชาธิปไตยบรู ณาการความร่วมมือกบั คณะกรรมการการเลือกตัง้ (กกต.) 3) ศนู ยด์ ิจิทลั ชมุ ชน ซึ่งบริหารจัดการฐานขอ้ มลู ทีจ่ ำเป็นสำหรับ กศน. และชมุ ชน เพ่ือให้มีความรู้และรับรู้ ทเ่ี ท่าทันปรับตวั ใหส้ อดคลอ้ งกบั การเปล่ียนแปลงของสังคมโลกยคุ ดจิ ทิ ัล 4) ศูนย์การศึกษาตลอดชีวิตชุมชน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาในระบบการศึกษา นอก ระบบการศึกษา และการศึกษาตามอัธยาศัย ให้มีคุณภาพที่สอดคล้องกับนโยบายทางการศึกษา โดยยึดชุมชนเป็น ฐานในการดำเนินงาน โดย กศน.ตำบลมบี ทบาทเปน็ ผู้ประสานงานและอำนวยความสะดวก บทบาทหน้าทข่ี อง กศน.ตำบล กศน.ตำบล มีบทบาทสำคัญในการจัดและส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตของประชาชน และสร้างสังคมแห่ง การเรียนรู้ในชุมชน โดยมีหัวหน้า กศน.ตำบล เป็นกลไกหลักในการขับเคลื่อนและมีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทำหน้าท่ี สง่ เสริมและสนับสนุนการดําเนนิ งาน กศน.ตำบล ดังนี้ 1. บทบาทหนา้ ที่ของหัวหน้า กศน.ตำบล 1. การวางแผน 1.1 จัดทำฐานข้อมลู ชุมชน 1.2 จดั ทำแผนพฒั นา กศน.ตำบล 1.3 จดั ทำแผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปี 2. การจัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 2.1 จดั และสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบ ดังนี้ - การสง่ เสรมิ การรู้หนงั สอื - การศึกษานอกระบบ ระดบั การศึกษาข้นั พืน้ ฐาน - การศึกษาต่อเน่อื ง
แผนปฏบิ ัตกิ าร ประจำปงี บประมาณ ๒๕๖๖ | ๓ 2.2 จดั และสง่ เสริมการศกึ ษาตามอธั ยาศยั - ส่งเสริมการอา่ น - จดั และพฒั นาแหลง่ เรยี นรู้ - บริการขา่ วสารขอ้ มลู และสอื่ ทุกประเภท - จัดและสง่ เสริมกจิ กรรมหอ้ งสมดุ ประชาชนตำบล หอ้ งสมดุ ชุมชน มมุ หนังสือบ้าน 3. บรกิ ารการเรยี นรใู้ นชุมชนร่วมกบั ภาคเี ครอื ข่าย 3.1 ศนู ยซ์ ่อมสร้างเพอื่ ชมุ ชน (Fix it Center) ร่วมกับ (สอศ.) 3.2 ชมรมคุ้มครองผู้บรโิ ภค ร่วมกบั (สคบ.) 3.3 ศูนยก์ ารเรยี นรู้ ICT ชมุ ชน รว่ มกับ (กระทรวงไอซีท)ี 3.4 มุมวิทยาศาสตร์เพอ่ื ชวี ติ รว่ มกับ (สสวท.) 3.5 หน่วยแพทย์เคลอื่ นที่ รว่ มกบั โรงพยาบาล สถานีอนามยั 3.6 ธนาคารเคลอื่ นท่ี 3.7 การปอ้ งกันบรรเทาสาธารณภยั ร่วมกบั กรมป้องกันบรรเทาสาธารณภยั 3.8 อำเภอเคลอ่ื นท่ี ร่วมกบั อำเภอ คณะกรรมการ กศน.ตำบลบา้ นพร้าว ที่ ชือ่ – สกลุ ตำแหน่ง หมายเหตุ 1 นายสุภาพ รอดแก้ว ประธาน 2 นายสมาน โพธป์ิ ลดั รองประธาน 3 นางกนั ยา แกว้ ดวงดี กรรมการ 4 นายสมทรง สารมโน กรรมการ 5 นายวิฑรู ย์ สังขท์ อง กรรมการ 6 นายชูชพี ขำมี กรรมการ 7 นางปรารถนา ขำนาพงึ กรรมการ 8 นายกมลสิงห์ พินทอง กรรมการ 9 นายน้อม ฟองจางวาง กรรมการ 10 นายเสถยี ร มีสเี มอื ง กรรมการ 11 นายทองพูน วงษม์ านิตย์ กรรมการ 12 นางอารษิ สา ทบั ทิมจันทร์ กรรมการ 13 นางบญุ ชู สทุ ธิ กรรมการ 14 นางวิลัยวัลย์ ฤทธศิ์ กั ด์ิ กรรมการ 15 นางวรชั ญานนั ท์ เจียมเกตุ กรรมการและเลขานุการ
แผนปฏบิ ัติการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๖ | ๔ อาสาสมัคร กศน.ตำบล บทบาท หมายเหตุ อาสาสมคั รสง่ เสรมิ การอ่าน ที่ ชือ่ – สกลุ อาสาสมคั รสง่ เสรมิ การอา่ น 1 นางลำยงค์ ทบั ทิมจนั ทร์ อาสาสมคั รส่งเสรมิ การอา่ น 2 นางอารษิ า ทับทมิ จนั ทร์ 3 นางสาวกาญจนา พรมโคตร บคุ ลากรใน กศน.ตำบลบา้ นพรา้ ว ลำดบั ท่ี ช่อื – สกุล ตำแหน่ง หมายเหตุ 1 นางบญุ เตอื น หมีดง ผ้อู ำนวยการ กศน.อำเภอนครไทย 2 นางสมโภชน์ บุญมจี วิ ครูชำนาญการ 3 นางสาวสริ กิ ร ใจจะดี ครูผู้ชว่ ย 4 นางสุคนธว์ ดี พกุ เพชร ครอู าสาสมัคร 5 นางวรชั ญานันท์ เจยี มเกตุ ครู กศน. องคก์ รนักศึกษา กศน.ตำบลบา้ นพรา้ ว ลำดบั ที่ ชอ่ื – สกลุ ตำแหนง่ หมายเหตุ 1 นายบุรินทร์ เออ้ื วริ ยิ ะวทิ ย์ ประธาน 2 นางสาวกญั ญานัฐ สารเทพ รองประธาน 3 นางสาวศริ ิภรณ์ พรมสี เลขานุการ 4 นางสาวดวงกมล บามา ผู้ช่วยเลขานกุ าร 5 นางสาวอรทัย กองจวิ กจิ กรรมนักศึกษา 6 นางสาวน้องพลอย อินบา้ นยาง การเงินและบญั ชี 7 นางสาวศริ วิ รรณ ทองคำ ประชาสมั พันธ์ 8 นายวรายทุ ธ มาศริ ิ ปฏคิ ม
แผนปฏบิ ตั กิ าร ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๖ | ๕ ทำเนียบครู กศน.ตำบลบา้ นพรา้ ว ลำดบั ท่ี ช่อื – สกุล ตำแหนง่ ระยะเวลาทดี่ ำรงตำแหน่ง ครู กศน. 3 ปี 1 นางสาวพิชชาพร ดว้ งนาค ครู กศน. 2 ปี ครู ศรช. 2 นายสงกรานต์ ช่ืนใจชน ครู กศน. ปี 2556 - ปี 2563 ปี 2556 - ปัจจุบัน 3 นายจักรภพ เจียมเกตุ 4 นางวรัชญานนั ท์ เจยี มเกตุ ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถ่ิน ผลงาน ทอ่ี ยู่ ที่ ช่ือ – สกลุ การทอผ้า 49 หมู่ 3 ต.บา้ นพร้าว 1 นางลำดวน พร้าโต การขยายพันธก์ุ บ 62 หมู่ 3 ต.บา้ นพรา้ ว 2 นายบุญธรรม ศิริ การทำบายศรี 2 หมู่ 5 ต.บา้ นพรา้ ว 3 นางศรนี วล แย้มออ่ น ปราชญ์ชาวบ้าน 128 หมู่ 3 ต.บ้านพรา้ ว 4 นายสุข โตมาปา การแทงหยวก 69/1 หมู่ 2 ต.บา้ นพร้าว 5 นายหนกึ ขำนาพงึ ทำไม้กวาดดอกหญา้ 130/2 ม.3 ต.บา้ นพรา้ ว 6 นางสวา่ ง อินเอย่ี ม แหล่งเรยี นรู้ ท่ี ช่อื แหล่งเรยี นรู้ ทีต่ ั้ง ลกั ษณะเด่น 1 กศน.ตำบลบ้านพร้าว หมู่ ๓ บ้านป่าซ่าน ตำบลบา้ นพรา้ ว แหลง่ ศกึ ษาค้นควา้ ขอ้ มลู ทางการศกึ ษา 2 วดั บ้านพร้าว หมู่ 5 ตำบลบ้านพรา้ ว แหล่งศึกษาคน้ ควา้ ข้อมลู ทางโบราณสถาน 3 สวนอนิ ทผาลัม และโบราณวตั ถุ 4 ผาขีค่ วาย หมู่ ๕ ตำบลบา้ นพร้าว แหลง่ ศึกษาคน้ ควา้ ขอ้ มูลทางเกษตร 5 บึงหลวง ของ นางสาวอญั ชลี อนิ สาย ธรรมชาติ หมู่ ๔ บ้านฟากนำ้ ตำบลบ้านพร้าว แหลง่ ศกึ ษาค้นคว้าข้อมูลทางประวัติศาสตร์ หมู่ ๓ บา้ นปา่ ซา่ น ตำบลบ้านพรา้ ว แหลง่ ศึกษาค้นควา้ ขอ้ มลู ทางประวตั ศิ าสตร์
แผนปฏิบัติการ ประจำปงี บประมาณ ๒๕๖๖ | ๖ ภาคเี ครือขา่ ย ลำดับท่ี หนว่ ยงาน ภาคเี ครือขา่ ยประเภท หมายเหตุ 1 องค์การบริหารส่วนตำบลบา้ นพร้าว หนว่ ยงาน/องค์กร 2 โรงเรยี นบา้ นปา่ ซา่ น หน่วยงาน/องค์กร 3 โรงเรียนบา้ นพรา้ ว หน่วยงาน/องคก์ ร 4 โรงเรยี นบา้ นหนองกระดาษ หนว่ ยงาน/องคก์ ร 5 โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตำบลบา้ นพรา้ ว หน่วยงาน/องค์กร 6 วัดบา้ นพรา้ ว 7 วดั ป่าซ่าน สถานที่ สถานที่
แผนปฏบิ ตั กิ าร ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๖ | ๗ ส่วนที่ ข้อมูลพืน้ ฐานเพอื่ การวางแผน 2 สภาพทวั่ ไปของตำบลบา้ นพรา้ ว ลักษณะภมู ปิ ระเทศและภมู ิอากาศ ลักษณะภูมิประเทศของตำบลบ้านพร้าวส่วนใหญ่เป็นป่าสงวน ทิศเหนือเป็นภูเขา และลาดลงทางทิศใต้ ติดลำน้ำแควน้อย เป็นพื้นที่ราบลุ่ม ฤดูฝนพื้นที่ทางตอนใต้ประสบปัญหาน้ำทว่ มขังซ้ำซาก ดินเป็นดินร่วนปนทราย ทางทศิ เหนือ และเป็นดินเหนยี วปนทรายทางทิศใต้ พื้นที่ป่าตำบลบ้านพร้าวส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติ เป็นป่าไม้เบญจพรรณและเสื่อมโทรม มีเกษตรกรเข้าทำการเกษตร บางส่วนเป็นพื้นที่ปลูกป่าขององค์การอุตสาหกรรมป่าไม้และสน, สักที่เกษตรกรเข้า ร่วมโครงการของทางกรมปา่ ไม้ พ้นื ทป่ี ่าไมท้ ัง้ หมด 17,110 ไร่ สภาพดินฟ้าอากาศ, อุณหภูมิ อากาศร้อนชื้น ความชื้นสัมพัทธ์ 65 % อุณหภูมิเฉลี่ยสูงสุด 32 องศา เซลเซียส อณุ หภูมเิ ฉล่ียต่ำสดุ 18 องศาเซลเซียส ปริมาณนำ้ ฝนตกมากในช่วงเดือนสงิ หาคม - กนั ยายน ขนาดพน้ื ท่ี ตำบลบ้านพร้าว ตัง้ อยู่ในเขตอำเภอนครไทย จังหวดั พษิ ณุโลก มีพนื้ ทีท่ ง้ั หมด 40,983 ไร่ หรือ 65.573 ตารางกโิ ลเมตร ทตี่ ั้งและอาณาเขตติดต่อ โดยตำบลบา้ นพรา้ ว มีอาณาเขตตดิ ตอ่ กบั พ้ืนทใี่ กลเ้ คียงดังนี้ ทศิ เหนอื ตดิ ต่อ ตำบลนาบวั อำเภอนครไทย ทิศใต้ ติดต่อ ตำบลหนองกะทา้ ว อำเภอนครไทย ทศิ ตะวนั ออก ตดิ ตอ่ ตำบลนครไทย อำเภอนครไทย ทิศตะวนั ตก ตดิ ตอ่ ตำบลนครชุม อำเภอนครไทย / ตำบลท่าสะแก อำเภอชาตติ ระการ
แผนปฏบิ ตั ิการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๖ | ๘ เขตการปกครอง การแบ่งเขตการปกครองของตำบลบ้านพร้าว ได้แบ่งเขตการปกครองตำบลบ้านพร้าว เป็น 10 หมู่บ้าน เรยี งตามลำดบั ดงั น้ี หมบู่ า้ น ช่ือ – สกลุ ตำแหนง่ หมายเหตุ หมู่ 1 บา้ นหนองกระดาษ นางกันยา แก้วดวงดี ผู้ใหญ่บา้ น หมู่ 2 บา้ นนายาว นายสมทรง สารมะโน ผใู้ หญบ่ ้าน หมู่ 3 บ้านป่าซ่าน นายวิฑรู ย์ สงั ข์ทอง ผใู้ หญ่บ้าน หมู่ 4 บ้านฟากน้ำ นายสภุ าพ รอดแกว้ กำนนั ตำบลบ้านพรา้ ว หมู่ 5 บ้านพร้าว นายชูชพี ขำมี ผูใ้ หญ่บ้าน หมู่ 6 บา้ นน้ำลัด นางปรารถนา วงั คีรี ผใู้ หญบ่ า้ น หมู่ 7 บ้านหว้ ยทรายทอง นายกมลสงิ ห์ พนิ ทอง ผใู้ หญ่บา้ น หมู่ 8 บา้ นน้ำคลาด นายนอ้ ม ฟองจางวาง ผู้ใหญ่บา้ น หมู่ 9 บา้ นตะเคียนใหญ่ นายเสถียร มสี เี มือง ผ้ใู หญบ่ า้ น หมู่ 10 บ้านรอ้ งยาง นายทองพนู วงษม์ านติ ย์ ผใู้ หญบ่ ้าน ขอ้ มูลดา้ นประชากร จำแนกตามเพศ มจี ำนวนทง้ั ส้นิ 6,253 คน ดงั น้ี หมบู่ ้าน จำนวนประชากร จำนวน ครัวเรอื น หมู่ 1 บ้านหนองกระดาษ ชาย หญิง รวม หมู่ 2 บา้ นนายาว 199 194 393 154 หมู่ 3 บา้ นป่าซ่าน 262 293 555 190 หมู่ 4 บ้านฟากน้ำ 378 361 739 289 หมู่ 5 บา้ นพรา้ ว 345 370 715 304 หมู่ 6 บ้านน้ำลดั 548 510 1,058 371 หมู่ 7 บา้ นหว้ ยทรายทอง 229 203 432 157 หมู่ 8 บา้ นน้ำคลาด 390 406 796 265 หมู่ 9 บ้านตะเคยี นใหญ่ 206 198 404 159 หมู่ 10 บ้านรอ้ งยาง 260 262 522 172 309 330 639 177 รวม 3,126 3,127 6,253 2,238
แผนปฏบิ ัติการ ประจำปงี บประมาณ ๒๕๖๖ | ๙ จำนวนประชากร จำแนกตามกลมุ่ อายุ ดงั น้ี ช่วงอายปุ ระชากร จำนวนเพศชาย จำนวนเพศหญงิ จำนวนรวม (คน) (คน) (คน) ตำ่ กวา่ 18 ปี 626 568 1,194 อายุ 18 – 60 ปี 1,969 2,011 3,980 548 1,075 อายุมากวา่ 60 ปี 531 3,127 6,253 รวมท้ังหมด 3,126 จำนวนประชากร จำแนกตามศาสนา ดงั น้ี ศาสนา จำนวนเพศชาย จำนวนเพศหญงิ จำนวนรวม (คน) (คน) (คน) ศาสนาพุทธ ศาสนาครสิ ต์ 3,120 3,109 6,229 ศาสนาอิสลาม 9 14 23 ศาสนาฮนิ ดู 1 - 1 รวมทง้ั หมด - - - 3,132 3,125 6,257 ขอ้ มูลดา้ นสังคม ดา้ นสถาบนั และองคก์ รทางศาสนา ประชากรในเขตพื้นทตี่ ำบลบา้ นพร้าว สว่ นใหญน่ ับถือศาสนาพทุ ธ รอ้ ยละ 96.85 และศาสนาครสิ ต์ รอ้ ยละ 3.15 วดั และสำนกั สงฆ์ จำนวน 6 แหง่ ดังน้ี 1) วัดบา้ นหนองกระดาษ ต้ังอยู่ หมู่ 1 บ้านหนองกระดาษ 2) วดั บ้านปา่ ซ่าน ตั้งอยู่ หมู่ 10 บา้ นรอ้ งยาง 3) วดั บา้ นพร้าว ตง้ั อยู่ หมู่ 5 บ้านพร้าว 4) วัดบา้ นนำ้ ลัด ตงั้ อยู่ หมู่ 6 บ้านนำ้ ลัด 5) วดั บา้ นหว้ ยทรายทอง ตั้งอยู่ หมู่ 7 บ้านห้วยทรายทอง 6) สำนักสงฆ์บา้ นนำ้ ลดั ตง้ั อยู่ หมู่ 8 บ้านน้ำลดั ครสิ ตจกั ร จำนวน 1 แหง่ ดงั น้ี ตง้ั อยู่ หมู่ 2 บา้ นนายาว คริสตจักรนายาว ขอ้ มลู ด้านเศรษฐกิจ ด้านอาชีพ ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ทำนา ทำไร่ ทำสวนผลไม้ และเลี้ยงสัตว์ เพ่ือจำหนา่ ย (โค กระบือ และสุกร) พืชเศรษฐกจิ ที่สำคัญ - ข้าว ขา้ วโพด ถัว่ เขียวผิวมนั และมนั สำปะหลัง
แผนปฏิบตั กิ าร ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๖ | ๑๐ หน่วยธุรกจิ ในเขตตำบลบา้ นพรา้ ว จำนวน หมายเหตุ (แห่ง) ลำดับ หนว่ ยงาน 1 1 อาคารชมุ สายโทรศพั ท์ทางไกล 3 3 เสาสญั ญาณโทรศัพท์ 4 4 โกดังเกบ็ พชื ผล พรอ้ มลานตาก 2 5 โกดังเก็บของเกา่ 1 6 โรงงานคา้ ไม้ และคอนกรีต 18 7 โรงสีข้าว 4 8 โรงงานหนอ่ ไมอ้ ัดป๊ีบ 1 9 โรงงานสรุ า 1 10 โรงผลิตนำ้ ดม่ื 1 11 โรงงานทำแผ่นหลงั คาเหล็ก 1 12 ร้านถ่ายเอกสาร พรอ้ มอนิ เตอร์เนต็ 1 13 รา้ นอนิ เตอรเ์ นต็ 7 14 สถานท่บี รกิ ารนำ้ มนั 3 15 ร้านทำประตเู หลก็ 57 16 ร้านค้า 4 17 รา้ นอาหารตามสั่ง 10 18 ร้านก๋วยเตย๋ี ว 2 19 ร้านขนมจีน 4 21 ร้านเพาะชำกล้าไม้ 3 22 ร้านเสริมสวย และตดั ผมชาย 12 23 อซู่ ่อมรถ 1 24 รา้ นเฟอรน์ เิ จอร์ 4 25 ร้านขายหมู 2 26 ตลาดเอกชน 1 27 ตึกแถวสองช้นั
แผนปฏิบตั กิ าร ประจำปงี บประมาณ ๒๕๖๖ | ๑๑ สภาพทางเศรษฐกจิ อาชพี ประชากรสว่ นใหญป่ ระกอบอาชพี เกษตรกรรม ทำนา ทำไร่ ทำสวนผลไม้ และเลยี้ งสัตว์ เพ่อื จำหนา่ ย (โค กระบอื และสกุ ร ) พชื เศรษฐกิจท่สี ำคญั - ขา้ ว ขา้ วโพด ถ่วั ผวิ มัน และมนั สำปะหลัง ผลไม้ท่ที ำรายไดใ้ หแ้ กต่ ำบล - มะม่วง และมะขามหวาน หมบู่ ้าน จำนวน แหลง่ รายไดค้ รวั เรอื นเฉลย่ี (บาท/ปี) รายไดค้ รวั เรอื น รายได้บคุ คล คน เฉลย่ี (บาท/ปี) เฉลี่ย (บาท/ป)ี หมู่ 1 บ้านหนองกระดาษ 399 อาชพี หลกั อาชพี รอง รายได้อื่น ปลูก เลีย้ ง หาเอง หมู่ 2 บ้านนายาว 549 112,374 34,636 หมู่ 3 บา้ นป่าซา่ น 738 41,478 24,780 22,189 23,928 135,770 33,942 หมู่ 4 บา้ นฟากนำ้ 709 47,739 33,813 28,435 25,783 122,264 34,971 หมู่ 5 บ้านพรา้ ว 42,651 29,329 25,791 24,492 114,623 33,793 หมู่ 6 บ้านนำ้ ลดั 1,067 39,105 27,506 24,299 23,713 99,773 33,542 หมู่ 7 บ้านห้วยทรายทอง 431 26,423 26,128 24,192 23,030 218,466 58,482 หมู่ 8 บา้ นน้ำคลาด 783 150,759 42,328 9,310 16,069 105,172 33,876 หมู่ 9 บ้านตะเคยี นใหญ่ 402 24,951 26,145 27,346 26,729 84,761 35,662 หมู่ 10 บา้ นรอ้ งยาง 532 26,319 19,717 19,022 19,703 105,557 33,700 ทุกพืน้ ทเ่ี ฉลี่ยของครัวเรือน 647 36,107 25,923 22,179 21,348 135,106 33,480 6,257 44,619 34,535 29,093 26,858 117,411 35,830 42,188 28,197 23,691 23,335 ดา้ นสาธารณสขุ ในเขตพ้ืนท่ตี ำบลบ้านพร้าว มีโรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตำบล จำนวน 1 แหง่ คือ โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตำบลบ้านพร้าว ตั้งอยู่บริเวณหมู่ 3 บ้านป่าซ่าน ให้บริการทางสาธารณสุขและตรวจรักษาโรคเบื้องต้น ใหแ้ กป่ ระชาชนในเขตตำบลบ้านพรา้ ว ท้งั 10 หม่บู ้าน บคุ ลากรทางการแพทย์ จำนวน 4 คน ข้อมลู อาสาสมคั รสาธารณสขุ หมู่บ้าน (อสม.) ตำบลบา้ นพรา้ ว จำนวน 132 คน ด้านความปลอดภยั ในชวี ติ และทรพั ยส์ นิ ในเขตพื้นที่ของตำบลบ้านพร้าว อยู่ในความรับผิดชอบของสถานีตำรวจภูธรนครไทย ภายใต้การ ควบคุมดูแลของสถานีตำรวจภูธรนครไทย และมีหน่วยบริการประชาชนตำบลบ้านพร้าว หมู่ที่ 5 บ้านพร้าว (บริเวณหน้าที่ทำการองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านพร้าว) มีอาสาสมัครป้องกันฝ่ายพลเรือน (อปพร.) ในแต่ละ หมู่บ้านๆ ละ 10 คน (จำนวน 100 คน) ผลัดเปล่ยี นดแู ลรักษาความสงบเรียบร้อยภายในหมู่บ้าน ด้านการคมนาคม ตำบลบ้านพร้าว มีทางหลวงหมายเลข 1143 ผ่านเป็นระยะทาง 15 กิโลเมตร อยู่หา่ งจากตัวอำเภอ นครไทยใกล้สดุ 3 กิโลเมตร ไกลสุด 18 กโิ ลเมตร และหา่ งจากตวั จงั หวดั พษิ ณุโลก 103 กโิ ลเมตร เส้นทาง คมนาคมระหว่างหมู่บ้านเป็นทางลาดยางทั้งหมด และถนนภายในหมู่บ้านส่วนใหญ่เป็นถนนคอนกรีต เส้นทาง คมนาคมไปไร่นาส่วนใหญเ่ ป็นทางดนิ และทางลกู รงั จะมีปัญหาในการสญั จรในช่วงฤดฝู น
แผนปฏบิ ัตกิ าร ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๖ | ๑๒ ดา้ นการไฟฟ้า หมบู่ ้านท่ไี ฟฟา้ เข้าถึง จำนวน 10 หม่บู ้าน ขอ้ มลู ด้านการศึกษา ในส่วนของการศึกษาในเขตพื้นที่ตำบลบ้านพร้าว มีระดับ/ลักษณะของการจัดการศึกษา 3 รูปแบบ คือ การศึกษาก่อนวัยเรียน (ปฐมวัย) การศึกษาระดับประถมศึกษา การศึกษาขยายโอกาส (ระดับ มัธยมศกึ ษาตอนต้น) และการศกึ ษานอกระบบ ดังนี้ 1) การศกึ ษากอ่ นวัยเรียน มีศนู ยพ์ ัฒนาเด็กเล็ก จำนวน 3 ศนู ย์ ดังน้ี - ศนู ย์พัฒนาเด็กเล็กบา้ นปา่ ซ่าน สถานทตี่ ง้ั : โรงเรียนบา้ นปา่ ซา่ น หมู่ 3 บา้ นปา่ ซา่ น บุคลากร : ขา้ ราชการ 1 คน , พนกั งานจ้าง 1 คน รวม 2 คน จำนวนเด็ก : 22 คน - ศนู ยพ์ ัฒนาเด็กเล็กบา้ นพร้าว สถานทตี่ ัง้ : โรงเรยี นบ้านพรา้ ว หมู่ 9 บ้านตะเคียนใหญ่ บคุ ลากร : ขา้ ราชการ 1 คน , พนกั งานจา้ ง 1 คน รวม 2 คน จำนวนเด็ก : 30 คน - ศนู ยพ์ ัฒนาเดก็ เลก็ โรงเรยี นบ้านหว้ ยทรายทอง สถานท่ีต้งั : โรงเรียนบ้านหว้ ยทรายทอง หมู่ 7 บา้ นหว้ ยทรายทอง บุคลากร : ข้าราชการ 1 คน จำนวนเด็ก : 13 คน 2) การศกึ ษาระดบั ประถมศกึ ษา การศึกษาขยายโอกาส (ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น) จำนวน 5 แหง่ ดงั น้ี องค์การบรหิ ารส่วนตำบลบ้านพร้าว มีโรงเรียนสงั กดั สพฐ. ในเขตตำบล ทัง้ สิน้ จำนวน 5 โรงเรยี นโดย แบง่ เปน็ โรงเรยี นประถมศกึ ษา จำนวน 4 แหง่ และโรงเรยี นประถมศึกษา (ขยายโอกาส) จำนวน 1 แหง่ (โรงเรยี นบา้ นพร้าว) ดงั นี้ จำนวนเด็กนกั เรียน (คน) ช่อื โรงเรียน ทตี่ ง้ั อนบุ าล ป.1 – ป.6 มัธยมศึกษา รวมทง้ั ส้นิ หมายเหตุ ตอนต้น 42 121 บา้ นหนองกระดาษ หมู่ 1 10 32 - 148 62 บา้ นปา่ ซา่ น หมู่ 3 38 83 - 46 บ้านพรา้ ว หมู่ 9 16 89 43 419 บา้ นหว้ ยทรายทอง หมู่ 7 21 41 - บ้านน้ำคลาด หมู่ 8 15 31 - รวม 100 276 43 ทมี่ า : กองการศกึ ษาฯ องค์การบรหิ ารส่วนตำบลบา้ นพร้าว ณ กันยายน พ.ศ. 2564
แผนปฏบิ ตั ิการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๖ | ๑๓ 3) ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จำนวน 1 แห่ง ดังน้ี ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ตำบลบา้ นพร้าว ตงั้ อยู่ หมู่ 3 บา้ นปา่ ซ่าน ตำบล บ้านพรา้ ว มบี คุ ลากร 1 คน ระดบั การศกึ ษา จำนวนนักเรยี น (คน) หมายเหตุ ภาคเรียน ท่ี 2/2565 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย 13 รวม 27 40 ขอ้ มูลด้านทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม ดา้ นแหล่งนำ้ ภายในตำบล ลำนำ้ แควน้อย เปน็ ลำน้ำท่ีแคบมีตล่ิงสงู ชนั ช่วงฤดูฝนมักเกิดนำ้ บา่ เข้าท่วมพ้ืนท่ีทางการเกษตร พื้นที่รับ น้ำใช้ประโยชนท์ างการเกษตร 2,500 ไร่ ไหลผ่านหมทู่ ่ี 1, 3, 4, 6, 8, 9 และ 10 ลำนำ้ ฐาน เปน็ ลำนำ้ ท่ไี หลตลอดปพี ื้นท่ีรบั นำ้ ใช้ประโยชนท์ างการเกษตร 1,500 ไร่ ไหลผ่าน หมู่ 4, 5 บึงหลวง เปน็ บงึ ขดุ ลอกลึก 4 เมตร พ้นื ที่ 197 ไร่ ตง้ั อยู่ในหมู่ที่ 3 ในฤดูแลง้ ใชเ้ ป็นแหลง่ น้ำสำหรับทำ การเกษตร พื้นที่รับนำ้ ใชป้ ระโยชน์ 1,000 ไร่ บงึ น้อย เปน็ บึงขดุ ลอกลกึ 2 เมตร ขนาดพ้นื ท่ี 10 ไร่ ในฤดูแล้งใช้น้ำเพ่อื การเกษตร 50 ไร่ อ่างฐานแล้ง เป็นอ่างเก็บน้ำเพื่อการเกษตร ขนาด 33 ไร่ ตั้งอยู่ในหมู่ที่ 2 ในฤดูแล้งใช้น้ำเพ่ือ การเกษตร 200 ไร่ ห้วยน้ำไทร เนื้อที่ประมาณ 7 ไร่ ตั้งอยู่ในพื้นที่หมู่ที่ 7 ในเขตความรับผดิ ชอบดูแลของอุทยานแห่งชาติ นำ้ ตกชาตติ ระการ เหมาะท่ีจะเปน็ แหล่งพกั ผ่อนหยอ่ นใจอกี สถานทห่ี นง่ึ สถานีสูบน้ำด้วยพลังงานไฟฟ้า ป่าซ่าน 1 ตั้งอยู่ในหมู่ 3 สามารถสูบน้ำเพื่อการเกษตรทั้งฤดูฝนและแลง้ 1,500 ไร่ สถานีสบู น้ำด้วยพลงั งานไฟฟา้ ปา่ ซา่ น 2 ตง้ั อย่ใู นหมู่ 10 สามารถสบู นำ้ เพ่อื การเกษตรทัง้ ฤดูฝนและแลง้ 1,200 ไร่ แหล่งนำ้ ธรรมชาติ 5 สาย - คลอง 6 สาย - ลำน้ำ, ลำห้วย 13 สาย - บึง, หนอง แหลง่ น้ำที่สรา้ งขึ้น - ฝาย 19 แห่ง - เขอื่ นดนิ ขนาดเลก็ 1 แห่ง แหง่ - บ่อน้ำต้นื 92 แห่ง - สระนำ้ สาธารณะ 11 แห่ง - บ่อบาดาล 17 แห่ง แห่ง - บอ่ โยก 17 - ทำนบดินดาดคอนกรตี 2
แผนปฏิบตั ิการ ประจำปงี บประมาณ ๒๕๖๖ | ๑๔ ขอ้ มลู แหลง่ ทอ่ งเที่ยวภายในตำบล 1. ผาข่ีควาย หมู่ 4 บ้านฟากน้ำ ประวตั คิ วามเป็นมา คำว่า “ผาขี่ควาย” คือ เป็นที่สูงชัน มีเรื่องเล่ากันมาว่า เมื่อครั้งสมัยก่อนพระร่วงเจ้าได้โปรดเล่นว่าว อยู่มาวนั หน่ึงพระร่วงเจ้าไดโ้ ปรดเล่นว่าวแต่ไม่มีลดพดั พระรว่ งเปน็ ผูม้ ีฤทธ์ิ พระร่วงคดิ วา่ ลมทพ่ี ดั มาไม่แรงคงจะมี ภูเขาลูกหนึ่งที่กั้นขวางทางลม จึงจะนำควายมาคลาดภูเขาให้ต่ำลงเพื่อจะไม่ขวางทางลมอีกต่อไป จึงได้นำควาย ของท่านจูงลงมาตามลำน้ำฐาน เพราะว่าควายของพระร่วงนั้นสูงใหญ่มากจึงมาหาที่เทียบเพื่อที่จะขี่หลังควายไป คลาดภูเขาหลังบ้านน้ำคลาด หมู่ 8 (ปัจจุบัน) ตำบลบ้านพร้าว อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก ใช้ผาหินก้อน ใหญอ่ ย่รู ิมคลองน้ำฐานเปน็ ที่เทียบข้ึนหลงั ควายไปคลาดภูเขาให้ต่ำลง เพ่ือเปดิ ช่องทางลมท่จี ะเลน่ วา่ วต่อไป จึงได้ เรยี กภเู ขานวี้ ่า “ผาข่คี วาย” ความเชื่อ ได้มีผู้คนสมัยโบราณเล่ากันมาว่า ภายใต้ก้อนหินใหญ่ผาขี่ควายแห่งนี้ มีถ้ำขนาดใหญ่และมีสิ่งของ ศกั ดิ์สทิ ธอิ์ ยูใ่ นน้ัน มเี ครือ่ งใชส้ มัยโบราณ เช่น ถว้ ย แกว้ ขันโตกเงนิ และขนั โตกทอง เคร่ืองเพชร และมีผู้มีบุญ เฝ้าประตูถ้ำอยู่ ผู้มีบุญเท่านั้นที่จะเข้าไปในถ้ำแห่งนี้ได้ ผู้ที่อยู่ในนั้นเป็นผู้มีบุญ คนโบราณเล่าว่าคนเหล่านั้นกิน อาหารทิพย์ ถว่ั งา เป็นโลกอกี มิติหนง่ึ เหมอื นกบั เมอื งลบั แลท่เี ลา่ กันมา เม่อื สมยั โบราณผคู้ นในหมู่บ้านพรา้ ว ซ่งึ เปน็ หมู่เดียวทอ่ี ยใู่ กลผ้ าข่คี วายแห่งนี้ เมอื่ จัดงานประเพณีขึน้ ภายในหมบู่ า้ น ชาวบา้ นจะตอ้ งไปยืมเครอ่ื งใช้ตา่ งๆ ที่จำเป็นที่ถำ้ ผาข่คี วายแห่งนี้เพ่อื นำมาใชใ้ นการจดั งานใน หมบู่ า้ น แต่เมอ่ื อยู่มานานเขา้ ผูค้ นในหม่บู า้ นไม่คอ่ ยตรงตอ่ คำม่ันสัญญา คือยมื ของแล้วเอาไปใช้คืนบ้างไม่คืนบ้าง ดังนน้ั ผคู้ นท่อี ย่ใู นถ้ำทม่ี ีกายทิพย์จึงเลกิ คบหาผู้คนในหมูบ่ ้านต้งั แต่บัดน้ันเป็นต้นมา แต่ส่งิ ศักด์ิสิทธิ์ก็ยังคงอยู่ในนั้น เหมอื นเดมิ ปัจจุบัน ในปัจจุบันนี้ เมื่อถึงวันพระ วันตรุษ และวันเสาร์ เวลายามดึกสงัด ประชาชน ในหมู่บ้านพร้าว จะได้ ยินเสยี งฆ้องแวว่ มาจากผาขค่ี วายเปน็ ประจำ ชาวบ้านจะไดย้ ินแทบทกุ คน จารตี ประเพณี ปัจจบุ ันจะมปี ระเพณีท้องถน่ิ ท่ีถือกระทำกนั มานานหลายปี เลา่ กนั มาว่าเม่ือปไี หนไม่ได้ข้นึ ไปปักธงบนภูเขา ผาขี่ควายแห่งนี้ จะมีอันตรายเกิดขึ้นภายในหมู่บ้าน คือ หมู่ 4 บ้านฟากน้ำ หมู่ 5 บ้านพร้าว หมู่ 9 บ้าน ตะเคียนใหญ่ (แยกมาจากหมู่ 5) ผู้คนในหมู่บ้านกจ็ ะล้มตายกันเป็นจำนวนมากและทำให้เกิดเพศภัยต่างๆ ทำให้ เกิดภัยพิบัตติ ่างๆ ขึ้น จึงจำเป็นต้องขึ้นไปปักธงบนผาขี่ควายทุกปี ทำให้ประชาชนในหมู่บ้านเกิดความรักสามัคคี ในหมู่บ้านทั้งสามหมู่บ้าน และเป็นการอนุรักษ์ขนบธรรมเนียมประเพณีท้องถิ่นสืบต่อไปจนถึงทุกวันนี้ ดังนั้นจึงมี ประเพณีปักธงข่ีควายเปน็ ประจำทกุ ปีใน วันเพ็ญ ขนึ้ 15 คำ่ เดอื นสบิ สอง (วันลอยกระทงของทกุ ป)ี สมยั โบราณ ก่อนถึงวันข้ึน 15 ค่ำเดือนสิบสอง ชาวบ้านจะร่วมกันบรจิ าคเงินทุกครัวเรือน เพื่อจะนำไปซื้อฝ้ายมาปั่นเป็นดา้ ย เพื่อมาทอเป็นผา้ ธงที่จะนำข้ึนไปปกั บนภูเขาผาข่ีควายแห่งนี้ เป็นประจำทกุ ๆ ปี
แผนปฏิบัตกิ าร ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๖ | ๑๕ เมื่อถึงเช้าวันขึ้น 15 ค่ำ เดือนสิบสอง ชาวบ้านจะพากันไปทำบุญที่วัดก่อน เมื่อทำบุญตักบาตรเสร็จ เรียบรอ้ ยแล้ว พระสงฆท์ ำการถวายผ้าธงที่ชาวบ้านนำมาท่วี ัดกอ่ น ชาวบ้านจึงจะนิมนตพ์ ระสงฆ์เพือ่ ข้นึ ไปบนยอด เขาทำพธิ ีปักธง ชาวบา้ นนำภัตตาหารขนึ้ ไปเพ่ือถวายเพลพระ เมื่อพระสงฆ์ฉันเพลเสร็จเรียบร้อยแล้ว จึงนิมนต์พระสงฆ์ สวดทำพิธีธรรมต่างๆ เพื่อความเป็นสิริมงคล กบั ผูท้ ไ่ี ปปักธงและประชาชนหม่บู า้ น เมื่อสวดพิธีเสรจ็ จึงนำธงขึน้ สยู่ อดเสาท่เี ตรียมไว้ เป็นอนั เสรจ็ พธิ ี ชาวบ้านมี ความสมานสามคั คี หมบู่ ้านก็อยู่ร่มเย็นเปน็ สขุ ตลอดมา 2. บึงหลวง หมู่ 3 บ้านปา่ ซ่าน ประวัตคิ วามเปน็ มา เมือ่ ประมาณ 200 กวา่ ปีมาแล้ว มคี นเล่าตอ่ กันมาวา่ บงึ แหง่ น้ี เดมิ เป็นหมู่บา้ น มีชาวบา้ นอยกู่ นั อย่าง มคี วามสุข อยูม่ าวนั หนึง่ มี เก้ง (กวาง) วิ่งเข้ามาในหมู่บ้านตัวหนึ่ง ชาวบา้ นต่างพากนั ไลจ่ ับ และฆ่า เก้ง ตัวน้ัน นำเนื้อมาแบ่งกันทุกหลังคาเรือนจนทั่ว และประกอบอาหารกินยกเว้นยายแก่ซึ่งเป็นหม้าย และปลูกบ้าน เรือน อยู่บนเนิน ป่าชา้ หา่ งจากหมู่บ้านท่ีไม่ได้กิน เนอ่ื งจากยายแก่ไดห้ ้ามไมใ่ หช้ าวบ้านไลเ่ ก้งตวั นนั้ จึงทำให้ชาวบ้าน ท่ีไลจ่ บั เก้งโกรธ จงึ ไม่แบง่ เนอ้ื เก้งให้ และในค่ำคนื นนั้ ขณะที่ทกุ คนกำลังนอนหลบั ก็เกิดฝนตกหนักฟา้ คะนอง และ เกิดดนิ ลม่ (ดนิ ยุบตวั ) ลงทัว่ ทง้ั หมบู่ ้าน ทำให้ชาวบ้านต่างหนตี าย มีสองตายาย หนีไปทางทิศใต้ และขึ้นไปบนเนิน แต่ดินก็ยุบลงทำให้เสียชีวิตอยู่ท่ีหนองแห่งนั้น (เขต ตำบลหนองกระทา้ วในปัจจุบนั จึงเรยี กว่า หนองสองเฒา่ ) มสี องพ่นี ้องหนีไปทางทิศตะวนั ตก โดยใชม้ า้ ขไ่ี ปแตแ่ ผน่ ดินกย็ ุบตามจนเปน็ ร่อง (เรียกวา่ ร้องแกง่ ) และ ม้าได้ติดหล่ม (เรียกว่า หนองหล่ม) จึงทิ้งข้าวของเงินทองตามทาง (เรียกว่า หนองทอง หนองขวาน หนอง แขวน) เมื่อม้าไปไม่ไหวจึงพากันเดินเท้าไปแต่ยามค่ำคืนจึงทำให้หลงทางกันและต่างคนก็เดินขึ้นไปบนเนินพี่ชาย ข้ามนำ้ ข้นึ ไปบนเนินฝง่ั ซ้ายและรอน้องจนสวา่ ง สายแล้วกไ็ มม่ า (เรียกวา่ โคกกะสวย) สว่ นนอ้ งสาวข้นึ ไปบนเนินฝงั่ ขวานั่งรอพ่ชี ายกไ็ มม่ า (เรียกวา่ โคกสาวคอย) และมชี ายคนหน่ึงชอ่ื วา่ นาย มุหนไี ปทางทิศตะวันออกแต่ดินก็ยุบตัวทำให้เสียชวี ติ อยู่ตรงนั้น (เรียกวา่ ร่องตาม)ุ บางคนก็หนไี ปหลบอยใู่ นโบสถ์ และดินก็ยุบตวั ทำให้โบสถ์พัง (เรียกว่า คลองโบสถ์ หรอื คลองฝังโบสถ์) และหมบู่ า้ นกก็ ลายเป็นหนองน้ำขนาด ใหญจ่ นถึงปจั จุบนั ชาวบ้านเรยี กว่าบงึ ลม่ และต่อมามหี นว่ ยงานทางราชการมาพัฒนาบึงแหง่ นี้ โดยใช้งบประมาณมา ขุดลอก ชาวบา้ นจึงเรยี กว่า บงึ หลวงในปจั จุบนั
แผนปฏิบตั กิ าร ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๖ | ๑๖ ประเภทของแหลง่ วิทยาการชุมชนสามารถนำมาใชป้ ระโยชนเ์ พ่ือการจัดการศกึ ษา ประเภทของแหลง่ วทิ ยาการชมุ ชน การนำมาใช้ประโยชน์เพ่อื การจัดการศึกษา 1. ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถ่ิน - สามารถนำมาเป็นวิทยากรในการจัดการเรยี นการสอน หลกั สูตรระยะสน้ั /เปน็ องคค์ วามรู้ให้กบั นกั ศึกษาไดใ้ ชเ้ ป็น แนวทางในการปฏบิ ตั ิตาม 2. ประเภทสถานทแ่ี ละองคก์ ร - สามารถนำมาใช้ในการจัดกิจกรรมทางการศกึ ษา เชน่ การปฐมนเิ ทศนักศกึ ษา , การจัดการเรยี นการสอนหลักสตู ร ระยะสั้น , การดำเนนิ การจัดกจิ กรรมเกย่ี วกับการศึกษา 3. ประเภททรพั ยากรธรรมชาติ - สามารถนำมาจัดการเรยี นการสอนในด้านแหลง่ เรียนรเู้ พอื่ ให้ นกั ศกึ ษาไดใ้ ชบ้ ริการ/และศกึ ษาคน้ ควา้ หาความรู้ 4. ประเภทกิจกรรมทางสงั คมและวฒั นธรรม - นักศกึ ษามสี ว่ นรว่ มในการจดั กิจกรรมหรืออนุรกั ษว์ ัฒนธรรม ตา่ งๆทีจ่ ดั ขึ้นในระดบั อำเภอและระดบั ชมุ ชน
แผนปฏบิ ตั ิการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๖ | ๑๗ ปญั หาและความตอ้ งการทางการศึกษาของประชาชนทจี่ ำแนกตามลกั ษณะของกลมุ่ เป้าหมาย กิจกรรม ปญั หา ความตอ้ งการ หมายเหตุ 1. ดา้ นการรหู้ นงั สอื - ปอ้ งกนั การลมื หนังสอื - ปรับสภาพความคดิ และต้องการ 2. ด้านการศึกษาระดบั ศึกษาหาความร้ใู หก้ บั ตนเอง การศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน - ขาดโอกาส - เพ่มิ โอการทางการศกึ ษาพฒั นา 3. ด้านอาชพี - ออกกลางคนั คณุ ภาพชวี ติ เพอ่ื ความก้าวหน้าใน - วุฒภิ าวะ อาชพี 4. ดา้ นการพัฒนาทกั ษะชีวติ - ปญั หาครอบครวั - ต้องการวุฒเิ พ่อื ใชใ้ นการสมัคร 5. ดา้ นการพัฒนาสงั คมและ เรียนตอ่ ชมุ ชน 6. ดา้ นปรชั ญาเศรษฐกจิ - ไม่มปี ระสบการณใ์ นการ - วชิ าการ พอเพียง 7. ดา้ นการศึกษาตาม ประกอบอาชพี ซ่งึ มุ่งเน้นใน - ความรคู้ วามเขา้ ใจในการจดั การ อธั ยาศยั การผลิตอยา่ งเดยี วไมม่ คี วามรู้ - พฒั นาอาชพี ความเข้าใจในระบบบรหิ าร จัดการและการเพ่มิ มูลค่าใน - เพ่มิ มูลค่า สิ่งที่ตนเองผลิต - การแปรรูปและบรรจภุ ณั ฑ์ - การขายและการบรกิ าร - ความปลอดภัยและความ - มีความรเู้ ก่ียวกับความปลอดภยั เปน็ อย่ใู นสงั คม ในชีวิตและทรพั ย์สิน เชน่ ความรู้ เร่อื งกฎหมาย การขับขรี่ ถ การใช้ กฎจราจร การใช้ไฟฟ้าในอาคาร บ้านเรอื น - การอยรู่ ว่ มกนั ในสงั คมและ - อบรมใหค้ วามรูเ้ ก่ยี วกับ การมีประชาธปิ ไตย ประชาธิปไตย/การยอมรบั ทาง สังคม - ความร้คู วามเข้าใจการปรับ - ตอ้ งการความรกู้ ระบวนการและ ใชท้ ฤษฎสี กู่ ารปฏิบัติ การจดั การสู่ความพอเพียงใน รูปแบบท่ตี า่ งกันตามวิถขี องชมุ ชน นัน้ ๆ - การใฝเ่ รียนใฝ่รู้ การอา่ น - ตอ้ งการใชแ้ หลง่ เรยี นรูท้ ีอ่ ยใู่ น ชมุ ชน
แผนปฏิบตั ิการ ประจำปงี บประมาณ ๒๕๖๖ | ๑๘ ส่วนที่ ทศิ ทางการดำเนนิ งาน 3 นโยบายและจดุ เนน้ การดำเนนิ งานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) ไดก้ ำหนดแผนแม่บทประเด็นการพัฒนาศกั ยภาพคนตลอดช่วงชีวิต โดยมีแผนย่อยที่เกี่ยวข้องกับการใช้การศึกษาเป็นเครื่องมอื ในการขับเคลื่อนได้แก่ แผนย่อยประเดน็ การพฒั นาการ เรียนรู้และแผนย่อยประเด็นการพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต ที่มุ่งเน้นการสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อกา ร พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพมนุษย์การพัฒนาเด็กตั้งแต่ช่วงการตั้งครรภ์จนถึงปฐมวัย การพัฒนาช่วงวัยเรียน/ วัยรุ่นการพัฒนาและยกระดับศักยภาพวัยแรงงาน รวมถึงการสง่ เสริมศักยภาพวัยผู้สงู อายุ ประเด็นการพัฒนาการ เรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 และพหุปัญญาของมนุษย์ที่หลากหลาย ประกอบกับ แผนการปฏิรปู ประเทศด้นการศกึ ษา นโยบายรฐั บาลทัง้ ในสว่ นนโยบายหลักด้านการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ และ การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต และนโยบายเร่งด่วนเรื่องการเตรียมคนไทย สู่ศตวรรษที่ 21 ตลอดจน แผนพัฒนาประเทศอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง อาทิ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 – 2568) นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติ (พ.ศ.2562 – 2568) โดยคาดหวังว่าการพัฒนา ศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต ประชาชนจะได้รบั การพัฒนาการเรยี นรูใ้ ห้เป็นคนดี คนเก่งมีคุณภาพ และมีความพร้อม ร่วมขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศสู่ความมั่นคง มั่งคั่งและยั่งยืน และกระทวงศึกษาธิการ ได้กำหนดนโยบายและ จุดเน้น ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ขึ้น เพื่อเปน็ เข็มมุ่งของหน่วยงานภายใต้กระทรวงศึกษาธิการ ขับเคล่อื น การดำเนินงานให้บรรลตุ ามวตั ถปุ ระสงคข์ องแผนตา่ งๆ สำนักงาน กศน.เป็นหน่วยงานที่มีภารกิจในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ตระหนักถึงความสำคัญของการพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต ได้มุ่งมั่นขับเคลื่อนภารกิจหลักตามแผนพัฒนาประเทศ และนโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ที่คำนึงถึงหลักการบริหารจัดการทั้งในเรื่องหลักธรรมาภิบาล หลักการกระจายอำนาจ การใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร การมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ และ ปฏบิ ตั กิ ารดา้ นข้อมูลขา่ วสารการสรา้ งบรรยากาศในการทำงานและการเรียนรู้ ตลอดจนการใชท้ รพั ยากรดา้ นการจดั การศึกษาอย่างมีคุณภาพโดยเน้นการพัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษา ต่อเนอื่ ง และการศกึ ษาตามอัธยาศยั ใน 4 ประเดน็ ใหญ่ ประกอบดว้ ย การจดั การเรยี นรคู้ ุณภาพ การสรา้ งสมรรถนะ และทกั ษะคุณภาพ องคก์ ร สถานศึกษาและแหล่งเรียนรู้คุณภาพ และการบริหารจัดการคุณภาพ อันจะนำไปสู่การสร้างโอกาสและลดความ เหลือ่ มล้ำทางการศึกษา การยกระดับคณุ ภาพและเพิม่ ปรสทิ ธภิ าพการให้บริการสำหรับทุกกลุ่มเปา้ หมาย และสร้าง ความพึงพอใจให้กับผู้รับบริการ โดยได้กำหนดนโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนักงาน กศน.ประจำปี งบประมาณ พ.ศ.2565 ดังน้ี หลกั การ “กศน. เพื่อประชาชน “กา้ วใหม่ : กา้ วแหง่ คณุ ภาพ”
แผนปฏบิ ัติการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๖ | ๑๙ นโยบายและจดุ เนน้ การดำเนินงาน สำนักงาน กศน. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 1. ด้านการจัดการเรยี นรู้คณุ ภาพ 1.1 น้อมนำพระบรมราโชบายส่กู ารปฏบิ ตั ิรวมทัง้ ส่งเสรมิ และสนบั สนนุ การดำเนนิ งาน โครงการ อนั เนอ่ื งมาจากพระราชดำรทิ กุ โครงการ และโครงการอันเก่ียวเนื่องจากราชวงศ์ 1.2 ขบั เคลอ่ื ยการจัดการเรยี นรู้ท่สี นองตอบยุทธศาสตรช์ าติ และนโยบายของรัฐมนตรวี า่ การ และรฐั มนตรชี ว่ ยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ 1.3 สง่ เสรมิ การจัดการศึกษาเพอ่ื เสริมสรา้ งความม่นั คง การสร้างความเข้าใจทีถ่ ูกตอ้ งในการ ปกครองระบอบประชาธิปไตย การเรยี นรทู้ ี่ปลกู ฝังคณุ ธรรมจริยธรรม สรา้ งวินยั จิตสาธารณะ อุดมการณ์ ความยึด ม่ันในสถาบนั หลกั ของชาติ การเรยี นรูป้ ระวัติศาสตร์ของชาติและท้องถ่นิ และหน้าท่คี วามเป็นพลเมอื งทเ่ี ขม็ แขง็ รวมถงึ การมจี ิตอาสา ผ่านกจิ กรรมตา่ งๆ 1.4 ปรับปรุงหลักสูตรทุกระดับทุกประเภท ทั้งหลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้ัน พืน้ ฐานและหลักสูตรการศึกษาต่อเนือ่ ง ให้สอดรบั กับการพัฒนาคน ทิศทางการพัฒนาประเทศ สอดคล้องกับบริบท ที่เปลี่ยนแปลง ความต้องการและความหลากหลายของผู้เรียน/ผู้รับบริการ รวมถึงปรับลดความหลากหลายและ ความซ้ำซ้อนของหลักสตู ร เช่น หลักสูตรการศึกษาสำหรบั กลุ่มเป้าหมายบนพื้นที่สูง พื้นที่พิเศษและพืน้ ที่ชายแดน รวมท้งั กลุ่มชาติพันธ์ุ 1.5 ปรับระบบทดสอบ วัดผล และประเมินผล โดยเน้นการใชเ้ ทคโนโลยีเป็นเครื่องมอื ให้ผู้เรยี น สามารถเข้าถึงการประเมินผลการเรียนรู้ไดต้ ามความต้องการ เพื่อการสร้างโอกาสในการเรียนรู้ ให้ความสำคัญกับ การเทียบระดับการศึกษา และการเทยี บโอนความรู้และประสบการณ์ พฒั นาระบบการประเมนิ สมรรถนะผู้เรียนให้ ตอบโจทย์การประเมินในระดับประเทศและระดับสากล เช่น การประเมินสมรรถภาพผู้ใหญ่ ตลอดจนกระจาย อำนาจไปยงั พน้ื ท่ีในการวดั และการประเมนิ ผลการเรียนรู้ 1.6 ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีในการจัดหลักสูตรการเรียนรู้ ในระบบออนไลน์ด้วยตนเองครบ วงจรตั้งแต่การลงทะเบียนจนการประเมินผลเมื่อจบหลักสูตร ทั้งการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาต่อเนื่อง และการศกึ ษาตามอธั ยาศัย เพอ่ื เปน็ การสรา้ งและขยายโอกาสในการเรยี นรใู้ ห้กบั กลมุ่ เป้าหมายที่ สามารถเรียนรไู้ ดส้ ะดวก และตอบโจทยค์ วามตอ้ งการของผู้เรียน 1.7 พัฒนา Digital Learning Platform แพลตฟอร์มการเรียนรู้ของสำนกั งาน กศน. ตลอดจน พัฒนาสื่อการเรียนรู้ทั้งในรูปแบบออนไลน์และออฟไลน์ และให้มีคลังสื่อการเรียนรู้ที่เป็นสื่อที่ถูกต้องตามกฎหมาย งา่ ยตอ่ การสบื ค้นและนำไปใชใ้ นการจดั การเรียนรู้ 1.8 เร่งดำเนินการเรื่อง Academic Credit-bank System ในการสะสมและเทียบโอนหน่วย กิตเพ่ือการสรา้ โอกาสในการศกึ ษา 1.9 พฒั นาระบบนเิ ทศการศกึ ษา การกำกับ ตดิ ตาม ทั้งในระบบ On-Site และ Online รวมท้งั ส่งเสริมการวจิ ยั เพ่อื เปน็ ฐานในการพฒั นาการดำเนินงานการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั 2. ดา้ นการสรา้ งสมรรถนะและทักษะคณุ ภาพ 2.1 ส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิต ที่เน้นการพัฒนาทักษะที่จำเป็น สำหรับแต่ละช่วงวัย และการจดั การศึกษาและการเรยี นรู้ท่เี หมาะสมกบั แต่ละกลมุ่ เปา้ หมายและบริบทพ้นื ที่ 2.2 พัฒนาหลักสูตรอาชีพระยะสั้นที่เน้น New skill Up skill และ Re skill ที่สอดคล้องกับ บริบทพื้นที่ ความต้องการและความหลากหลายของกลุ่มเป้าหมาย เช่น ผู้พิการ ผู้สูงอายุ ความต้องการของ ตลาดแรงงาน และกลุ่มอาชีพใหมท่ ่ีรองรบั Disruptive Technology
แผนปฏิบตั กิ าร ประจำปงี บประมาณ ๒๕๖๖ | ๒๐ 2.3 ประสานการทำงานร่วมกับศูนย์ให้คำปรึกษาการจัดตั้งธุรกิจ (ศูนย์ Start-up) ของ อาชีวศกึ ษาจัดอบรมหลักสูตรวิชาชีพระยะส้ันฐานสมรรถนะ ในทักษะอนาคต (Future Skills) ให้กับแรงงานที่กลับ ภมู ิลำเนาในช่วงสถานการณ์ COVID - 19 2.4 ยกระดบั ผลติ ภณั ฑ์ สินค้า บริการจากโครงการศูนยฝ์ กึ อาชพี ชมุ ชน ทเ่ี นน้ “ส่งเสริมความรู้ สร้างอาชีพ เพิ่มรายได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี” ให้มีคุณภาพมาตรฐาน เป็นที่ยอมรับของตลาด ต่อยอดภูมิปัญญา ทอ้ งถิน่ เพื่อสร้างมลู ค่าเพ่มิ พัฒนาสูว่ สิ าหกจิ ชุมชนตลอดจนเพ่ิมชอ่ งทางประชาสัมพันธแ์ ละช่องทางการจำหน่าย 2.5 ส่งเสริมการจัดการศึกษาของผสู้ งู อายุ เพอื่ ใหเ้ ปน็ Active Ageing Workforce และมี Life Skill ในการดำรงชวี ิตที่เหมาะกับช่วงวยั 2.6 สง่ เสริมการจัดการเรยี นรู้ เพอ่ื เตรียมความพร้อม/การปฏิบตั ติ วั สำหรับสตรตี ั้งครรภ์และจัด กิจกรรมการเรียนรสู้ ำหรบั แม่และเดก็ ใหเ้ หมาะสมกับบริบทของชมุ ชนและชว่ งวัย 2.7 ส่งเสริมการจัดการศึกษาที่พัฒนาทักษะ ที่จำเป็นสำหรับกลุ่มเป้าหมายพิเศษ เช่น ผู้พิการ ออทสิ ติก เดก็ เรร่ อ่ น และผดู้ อ้ ยโอกาสอ่ืนๆ 2.8 ส่งเสริมการพฒั นาทกั ษะดิจทิ ัลและทักษะดา้ นภาษา ใหก้ ับบุคลากรและผเู้ รียน กศน.เพ่อื รองรับการพัฒนาประเทศรวมทง้ั จดั ทำกรอบสมรรถนะดจิ ทิ ัล (Digital Competency) สำหรบั ครูและบคุ ลากร ทางการศกึ ษา 2.9 สง่ เสรมิ ใหค้ วามรูด้ า้ นการเงนิ และการออม (Financial Literacy) การวางแผนและสรา้ ง วินยั ทางการเงินใหก้ ับบุคลากรและผู้เรยี น กศน. 2.10 ส่งเสรมิ การสรา้ งนวตั กรรมของผู้เรยี น กศน. 2.11 สร้าง อาสาสมคั ร กศน. เพอ่ื เปน็ เครอื ข่ายในการสง่ เสริม สนับสนุนการจัดการศกึ ษาตลอด ชีวิตในชุมชน 2.12 ส่งเสริมการสรา้ งและพัฒนานวัตกรรม ของบคุ ลากร กศน. รวมท้งั รวบรวมและเผยแพร่ เพือ่ ใหห้ นว่ ยงาน / สถานศึกษา นำไปใชใ้ นการพฒั นากระบวนการเรยี นรรู้ ่วมกัน 3. ด้านองค์กร สถานศกึ ษา และแหลง่ เรียนรู้คณุ ภาพ 3.1 ทบทวนบทบาทหนา้ ท่ี ของหน่วยงาน สถานศกึ ษา เช่น สถาบัน กศน.ภาคสถาบันการศึกษา และพฒั นาตอ่ เนอื่ งสริ นิ ธร สถานศกึ ษาข้นึ ตรง ศูนยฝ์ กึ และพฒั นาราษฎรไทยบรเิ วณชายแดน เพ่อื เพม่ิ ประสทิ ธิภาพ ในการขับเคล่ือนการจัดการศกึ ษาตลอดชวี ติ ในพนื้ ที่ 3.2 ยกระดบั มาตรฐาน กศน.ตำบล และศูนย์การเรยี นชมุ ชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟา้ หลวง” (ศศช.) ใหม้ ีความพรอ้ มเพอ่ื เปน็ พน้ื ทีก่ ารเรียนรูต้ ลอดชวี ติ ท่สี ำคญั ของชมุ ชน 3.3 ปรบั รปู แบบกิจกรรมในหอ้ งสมุดประชาชน ท่ีเน้น Library Delivery เพือ่ เพิ่มอัตราการอา่ น และการรู้หนงั สอื ของประชาชน 3.4 ใหบ้ รกิ ารวทิ ยาศาสตร์เชิงรุก Science @home โดยใชเ้ ทคโนโลยเี ปน็ เครอื งมอื นำ วทิ ยาศาสตรส์ ู่ชวี ติ ประจำวนั ในทกุ ครอบครัว 3.5 ส่งเสรมิ และสนบั สนุนการสรา้ งพื้นทก่ี ารเรยี นรใู้ น รปู แบบ Public Learning Space/Co- learning Space เพอื่ การสร้างนเิ วศการเรียนรใู้ ห้เกดิ ขึ้นสังคม 3.6 สง่ เสริมและสนบั สนนุ การดำเนนิ งาน ของกลุ่ม กศน.จงั หวดั ให้มปี ระสิทธิภาพ
แผนปฏิบัตกิ าร ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๖ | ๒๑ 4. ดา้ นการบรหิ ารจดั การคณุ ภาพ 4.1 ขับเคลอื่ นกฎหมายว่าดว้ ยการส่งเสรมิ การเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ ตลอดจนทบทวนภารกิจ บทบาทโครงสรา้ งของหนว่ ยงานเพอ่ื รองรับการเปลีย่ นแปลงตามกฎหมาย 4.2 ปรบั ปรุงกฎหมาย ระเบยี บ คำสั่ง และขอ้ บังคบั ตา่ งๆ ใหม้ ีความทนั สมยั เออื้ ตอ่ การ บรหิ ารจดั การ และการจัดการเรียนรู้ เชน่ การปรบั หลักเกณฑค์ ่าใชจ้ ่ายในการจดั หลักสตู รการศึกษาตอ่ เนอื่ ง 4.3 ปรบั ปรุงแผนอตั รากำลงั รวมทั้งกำหนดแนวทางทีช่ ดั เจนในการนำคนเข้าสู่ตำแหนง่ การ ย้าย โอนและการเลอื่ นระดบั 4.4 สง่ เสรมิ การพฒั นาบคุ ลากรทกุ ระดบั ให้ มคี วามร้แู ละทกั ษะตามมาตรฐานตำแหนง่ ให้ตรงกับ สายงาน และทักษะทจ่ี ำเปน็ ในการจัดการศกึ ษาและการเรยี นรู้ 4.5 เสริมสรา้ งขวญั และกำลงั ใจ ใหก้ ับขา้ ราชการและบคุ ลากรทกุ ประเภทในรูปแบบตา่ งๆ เช่น ประกาศเกียรตคิ ุณ การมอบโล่ / วุฒบิ ัตร 4.6 ปรบั ปรุงระบบการจัดสรรทรัพยากร เพอื่ การศกึ ษาใหม้ ีความครอบคลมุ เหมาะสม เชน่ การ ปรบั ค่าใชจ่ ่ายในการจัดการศกึ ษาของผพู้ ิการ เด็กปฐมวยั 4.7 ปรับปรุงระบบฐานข้อมูลสารสนเทศ ด้านการศึกษาเพื่อการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ เชน่ ขอ้ มลู การายงานผลการดำเนนิ งาน ขอ้ มลู เด็กตกหลน่ จากการศึกษาในระบบและเดก็ ออกกลางคัน เดก็ เรร่ ่อน ผู้ พกิ าร 4.8 สง่ เสรมิ การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ เป็นเคร่อื งมือในการบริหารจัดการอยา่ งเตม็ รูปแบบ 4.9 สง่ เสริมพฒั นาคณุ ภาพการบรหิ ารจดั การ ภาครฐั สู่ระบบราชการ ๔.๐ และการประเมิน คณุ ภาพและความโปรง่ ใสการดำเนนิ งานของภาครฐั (ITA) 4.10 สง่ เสรมิ การมีสว่ นรว่ มของภาคีเครอื ขา่ ยทกุ ภาคส่วน เพอื่ สรา้ งความพรอ้ มในการจัด การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั และการสง่ เสริมการเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ สำหรบั ประชาชน ………………………………………………………..
แผนปฏิบัตกิ าร ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๖ | ๒๒ ทศิ ทางการดำเนินงานของ กศน.ตำบล การวิเคราะหส์ ภาพแวดลอ้ ม กศน.ตำบลบา้ นพรา้ ว (SWOT Analysis) การวิเคราะหส์ ภาพแวดลอ้ มภายใน จดุ แข็ง (Strengths - S) จดุ อ่อน (Weaknesses - W) 1. มีอาคารสถานทพ่ี บกลุ่มและใหบ้ ริการทางการ 1. ขาดส่อื การเรยี นรทู้ ีท่ ันสมยั ทำใหก้ ารศกึ ษาคน้ ควา้ ศกึ ษาท่ีเหมาะสม มีทตี่ ้งั อาคารท่ีเปน็ เอกเทศ ข้อมลู เป็นไปไดย้ าก 2. มีครู กศน.ตำบลท่ีเปน็ คนในพื้นท่ี ทำใหส้ ะดวกตอ่ 2. ประชาชนไมม่ ีความรู้ในการนำทรัพยากรในท้องถ่ิน การตดิ ตอ่ ประสานงานกบั ภาคเี ครอื ขา่ ยและองค์กร มาใช้ ต่างๆในชมุ ชน 3. ครมู ภี าระงานมากเกนิ ไปขาดโอกาสในการพฒั นา 3. มแี หลง่ เรยี นรทู้ างภมู ปิ ญั ญาทหี่ ลากหลายใน ตนเอง สง่ ผลตอ่ คณุ ภาพการจดั กระบวนการเรียนรู้ ชุมชน 4. นกั ศกึ ษามีพ้ืนฐานความรู้ไมเ่ ทา่ กันทำให้การจดั 4. บุคลากรมคี วามรกั ความสามคั คใี นหมูค่ ณะทำให้ กระบวนการเรยี นการสอนมคี วามยากและซบั ซอ้ น การปฏบิ ตั งิ านเป็นไปอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ 5. กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรมได้ไม่ต่อเนื่องเพราะ 5. กศน.ตำบลเป็นท่ยี อมรบั ของสังคมในด้านการ ไมม่ ีเวลาว่างมากพอที่จะเขา้ รว่ มกิจกรรม ใหบ้ ริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม 6. ขาดงบประมาณในการจัดซื้อวัสดุครุภัณฑ์ที่นำมา อธั ยาศัย พฒั นา กศน.ตำบล 6. กศน.ตำบลมสี ว่ นรว่ มในการปฏบิ ัตงิ านรว่ มกบั 7. ประชาชนส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกรรมจึงจัด ภาคเี ครอื ขา่ ยไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ กิจกรรมได้ไม่ตอ่ เน่อื ง 7. กลุ่มเปา้ หมายทจ่ี บการศกึ ษาสามารถนำความร้ไู ป 8. นโยบายของสำนักงาน กศน. เปลี่ยนแปลงบอ่ ย พฒั นาคณุ ภาพชีวิตให้ดขี น้ึ 8. กศน.ตำบล เป็นแหลง่ เรยี นรทู้ ใ่ี หบ้ รกิ ารแก่ชุมชน ประชาชนสามารถเข้าใชบ้ รกิ ารและทำกิจกรรมได้ 9. กศน.ตำบลเปน็ ศนู ย์กลางการเรียนรใู้ ห้กบั กลุ่มเป้าหมาย สรุปผลการวเิ คราะห์สภาพแวดล้อมภายใน ของ กศน.ตำบลบ้านพร้าว จุดแข็ง (Strengths - S) กศน.ตำบลบ้านพร้าวมีอาคารสถานที่พบกลุ่มและให้บริการทางการศึกษาที่ เหมาะสม มีที่ตั้งอาคารที่เป็นเอกเทศ ครู กศน.ตำบลที่เป็นคนในพื้นที่ ทำให้สะดวกต่อการติดต่อประสานงานกบั ภาคเี ครือขา่ ยและองค์กรตา่ งๆในชุมชน มีแหลง่ เรยี นรู้ทางภูมิปญั ญาทหี่ ลากหลายในชมุ ชน กศน.ตำบลเปน็ ท่ียอมรับ ของสังคมในดา้ นการให้บริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย มีส่วนร่วมในการปฏิบัติงานรว่ มกบั ภาคเี ครอื ขา่ ยไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ กลุม่ เป้าหมายท่ีจบการศกึ ษาสามารถนำความรไู้ ปพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ให้ดีข้นึ จุดอ่อน (Weaknesses - W) กศน.ตำบลบ้านพร้าว ยังขาดสื่อการเรียนรู้ที่ทันสมัย ทำให้การศึกษา ค้นคว้าข้อมูลเป็นไปได้ยาก ประชาชนไม่มีความรู้ในการนำทรัพยากรในท้องถ่ินมาใช้ ครูมีภาระงานมากเกินไปขาด โอกาสในการพฒั นาตนเอง สง่ ผลต่อคณุ ภาพการจัดกระบวนการเรยี นรู้ นักศกึ ษามีพนื้ ฐานความรู้ไม่เทา่ กนั ทำใหก้ าร จัดกระบวนการเรียนการสอนมีความยากและซับซ้อน กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรมได้ไม่ต่อเนื่องเพราะไม่มีเวลา ว่างมากพอที่จะเข้ารว่ มกจิ กรรม ขาดงบประมาณในการจัดซอ้ื วสั ดคุ รภุ ณั ฑท์ นี่ ำมาพฒั นา กศน.ตำบล
แผนปฏบิ ัตกิ าร ประจำปงี บประมาณ ๒๕๖๖ | ๒๓ การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก โอกาส (Opportunities - O) อุปสรรค (Threats - T) 1. มีภาคีเครอื ขา่ ยทใี่ หค้ วามรว่ มมอื ในการจดั 1. ยงั ไม่มกี ารบริหารจดั การน้ำเพอ่ื การอุปโภค กิจกรรมของ กศน.เป็นอยา่ งดี บรโิ ภคและใชใ้ นการเกษตรทดี่ ี 2. ไดร้ ับงบประมาณสนบั สนนุ ในการจดั กจิ กรรม 2. นโยบายของสำนกั กศน. เปล่ียนแปลงบ่อย ตามแผนปฏิบตั กิ ารประจำปจี ากหน่วยงานต้นสังกัด 3. ประชาชนมองไมเ่ หน็ ความสำคัญของการศกึ ษา ตามกลุ่มเป้าหมาย 4. กล่มุ เป้าหมายมกี ารยา้ ยถน่ิ ท่ีอยู่ อพยพแรงงานไป 3. นโยบายของรฐั บาลเน้นเร่อื งการเสริมสรา้ ง ต่างถิน่ ทำใหก้ ารจดั การศกึ ษาไม่ต่อเนอ่ื ง ความเขม้ แข็งเศรษฐกจิ ของประชาชนและชุมชน 5. นักศึกษาสว่ นใหญ่เป็นประชากรวัยแรงงาน โดยเนน้ แนวทางปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงตามแนว ประกอบอาชพี ทางการเกษตรเปน็ ปญั หาในการพบ พระราชดำริ กลมุ่ 4. เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารมคี วาม 6. พืน้ ท่ีบริการหลายตำบลอยูห่ ่างไกลสถานศกึ ษา ทนั สมยั สะดวก รวดเร็ว และครอบคลมุ ทกุ พนื้ ที่ 7. แหล่งงบประมาณหรอื เงนิ ทนุ ทำให้ กศน. ประชาสมั พนั ธ์ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ 8. ปญั หาหน้ีสินของประชาชนกลุ่มเป้าหมาย 5. ชมุ ชน ภาคีเครอื ข่ายใหค้ วามสำคญั เหน็ ความ 9. ขาดงบประมาณในการลงทนุ ทสี่ นับสนนุ อยา่ ง จำเปน็ ของการเรยี นร้แู ละสนบั สนนุ การจดั ต่อเนอ่ื ง การศกึ ษา 10. การจัดการศึกษาต่อเนอ่ื งยังมีปัญหาเรอื่ งการ 6. กรรมการสถานศึกษามีความรคู้ วามสามารถและ รวมกลุม่ ของประชาชน มีสว่ นรว่ มในการจดั กิจกรรม 7. สถานศึกษามีภาคีเครอื ขา่ ยท่หี ลากหลายและมี การทำขอ้ ตกลงรว่ มกนั (MOU) 8. ตอ้ งการสรา้ งอาชพี ใหม่ ใหม้ ีรายไดเ้ พมิ่ ในชุมชน และครอบครวั 9. คนในชมุ ชนมโี อกาสดำเนินงานตามหลักปรัชญา เศรษฐกจิ พอเพียง 10. มีกลุ่มตา่ งๆในชมุ ชนเพอ่ื ใช้ในการแกไ้ ขปญั หา ของชมุ ชน 11. กรรมการสถานศกึ ษามคี วามรคู้ วามสามารถ และมีสว่ นรว่ มในการจัดกิจกรรม สรุปผลการวเิ คราะหส์ ภาพแวดลอ้ มภายใน ของ กศน.ตำบลบา้ นพร้าว โอกาส (Opportunities - O) กศน.ตำบล มีภาคีเครือขา่ ยที่ให้ความร่วมมือในการจัดกจิ กรรมของ กศน. เป็นอย่างดี ได้รับงบประมาณสนับสนุนในการจัดกิจกรรมตามแผนปฏิบัติการประจำปีจากหน่วยงานต้นสังกัดตาม กล่มุ เป้าหมาย โดยมนี โยบายของรัฐบาลเน้นเรอื่ งการเสริมสรา้ งความเขม้ แขง็ เศรษฐกจิ ของประชาชนและชุมชน นำ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริตามใช้ในการดำเนินชีวิต ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการ สื่อสารที่มีความทันสมัย สะดวก รวดเร็ว และครอบคลุม ทำให้ กศน.ตำบลประชาสัมพนั ธ์ได้อย่างรวดเร็ว มีชุมชน ภาคีเครอื ขา่ ยใหค้ วามสำคญั เห็นความจำเปน็ ของการเรียนร้แู ละสนบั สนุนการจัดการศกึ ษา มีการทำขอ้ ตกลงร่วมกนั
แผนปฏิบตั ิการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๖ | ๒๔ (MOU) ส่งเสรมิ อาชีพใหม่ ให้มีรายได้เพิ่มในชมุ ชนและครอบครัวโดยดำเนินงานตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง มาใชใ้ นการดำรงชีวติ อปุ สรรค (Threats - T) กศน.ตำบลยังไมม่ กี ารบริหารจัดการน้ำเพื่อการอปุ โภคบริโภคและใช้ในการเกษตร ที่ดี นโยบายของสำนัก กศน. เปลี่ยนแปลงบ่อย ประชาชนมองไม่เห็นความสำคัญของการศึกษา กลุ่มเป้าหมายมี การย้ายถิ่นที่อยู่ อพยพแรงงานไปต่างถิ่นทำให้การจัดการศึกษาไม่ต่อเนื่อง นักศึกษาส่วนใหญ่เป็นประชากรวัย แรงงานประกอบอาชพี ทางการเกษตรเปน็ ปัญหาในการพบกลมุ่ พ้นื ท่ีบรกิ ารหลายหมู่บ้านอย่หู ่างไกลสถานศกึ ษา แนวทางการพฒั นา กศน.ตำบลบา้ นพรา้ ว จากผลการประเมินสถานการณ์ของสถานศึกษา โดยการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพของ สถานศกึ ษาดังกล่าวข้างต้น สถานศกึ ษาสามารถนำมากำหนดทศิ ทางการดำเนินงานของสถานศึกษา ได้แก่ ปรัชญา วสิ ัยทัศน์ พนั ธกิจ เปา้ ประสงค์ ตัวชี้วดั ความสำเร็จ และกลยุทธ์ ดงั น้ี ปรชั ญา “ มีคุณธรรม นำความรู้ สู่การคิดเป็น เนน้ ทกั ษะอาชพี มีความพอเพียง ” วสิ ัยทศั น์ “คนไทยทุกชว่ งวยั ได้รบั โอกาสทางการศึกษาและการเรยี นรู้ตลอดชวี ติ อย่างมคี ณุ ภาพ มที กั ษะทจ่ี าํ เปน็ และ สมรรถนะทส่ี อดรบั กับทศิ ทางการพฒั นาประเทศ สามารถดํารงชวี ิตไดอ้ ยา่ งเหมาะสมบนรากฐานของหลัก ปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพยี ง” อตั ลักษณ์ “อยอู่ ยา่ งพอเพียง” เอกลกั ษณ์ “อาชีพดี หตั ถกรรมเด่น”(การทำไมก้ วาด) พันธกจิ 1. จัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่มีคุณภาพ สอดคล้องกับหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพยี ง และความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสงั คม เพอื่ ยกระดับการศึกษา และพฒั นาสมรรถนะ ทักษะการเรียนรู้ของประชาชนกลุ่มเป้าหมายให้เหมาะสมในแต่ละช่วงวัย ให้พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงและการ ปรับตัวในการดาํ รงชีวิตได้อย่างเหมาะสม ก้าวส่กู ารเป็นสงั คมแหง่ การเรียนรู้ตลอดชีวติ อยา่ งย่ังยนื
แผนปฏบิ ัตกิ าร ประจำปงี บประมาณ ๒๕๖๖ | ๒๕ 2. พัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สื่อและนวัตกรรมเทคโนโลยีทางการศึกษาการวัด และประเมินผลในทกุ รูปแบบให้มคี ุณภาพและมาตรฐานสอดคลอ้ งกบั รปู แบบการจดั การเรยี นรแู้ ละบริบทในปจั จบุ นั 3. ส่งเสรมิ และพฒั นาเทคโนโลยที างการศกึ ษา และนําเทคโนโลยีมาพฒั นาเพื่อเพิ่มชอ่ งทางและโอกาส การ เรียนรู้ รวมถึงการเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดและให้บริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ให้กบั ประชาชนกลุ่มเป้าหมายอยา่ งทวั่ ถงึ 4. สง่ เสรมิ สนับสนนุ แสวงหา และประสานความรว่ มมือเชิงรกุ กับภาคีเครอื ข่าย ใหเ้ ข้ามามีสว่ นร่วมในการ สนับสนุนและจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และการเรียนรู้ตลอดชีวิตในรูปแบบต่าง ๆ ให้กับ ประชาชน 5. พัฒนาระบบการบริหารจัดการภายในองค์กรให้มีเอกภาพ เพื่อการบริหารราชการที่ดี บนหลักของ ธรรมาภิบาล มีประสทิ ธภิ าพ ประสทิ ธิผล และคล่องตวั มากยง่ิ ข้ึน ๖. ยกระดับการบริหารและการพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้มีความรู้ ทักษะ สมรรถนะ คุณธรรม และ จรยิ ธรรมทดี่ ี เพ่ือเพม่ิ ประสิทธภิ าพของการใหบ้ รกิ ารทางการศึกษาและการเรยี นรูท้ ม่ี คี ุณภาพมากย่ิงขึน้ เป้าประสงค์ 1. ประชาชนผดู้ ้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศกึ ษา รวมทั้งประชาชนทั่วไปได้รบั โอกาส ทางการศกึ ษา ในรูปแบบการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาต่อเนื่อง และการศึกษาตามอัธยาศัย ที่มี คณุ ภาพอย่างเท่าเทยี มและทัว่ ถึง เป็นไปตามสภาพ ปัญหา และความต้องการของแต่ละกลุ่มเป้าหมาย 2. ประชาชนได้รับการยกระดับการศึกษา สร้างเสริมและปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม และ ความเป็น พลเมือง อันนาไปสู่การยกระดับคุณภาพชีวิตและเสริมสร้างความเข้มแข็งให้ชมุ ชน เพื่อพัฒนาไปสู่ความมั่นคงและ ยง่ั ยนื ทางด้านเศรษฐกจิ สังคม วัฒนธรรม ประวตั ิศาสตร์ และสงิ่ แวดล้อม 3. ประชาชนได้รับโอกาสในการเรียนรู้ และมีเจตคติทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เหมาะสม สามารถ คดิ วเิ คราะห์ และประยุกต์ใช้ในชวี ติ ประจำวัน รวมทั้งแกป้ ญั หาและพฒั นาคุณภาพชีวิต ได้อย่างสร้างสรรค์ 4. ประชาชนไดร้ บั การสร้างและสง่ เสริมให้มีนิสยั รกั การอ่านเพอ่ื การแสวงหาความร้ดู ว้ ยตนเอง 5. ชุมชนและภาคีเครือข่ายทกุ ภาคส่วน ร่วมจัด สง่ เสริม และสนบั สนนุ การดำเนนิ งานการศกึ ษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย รวมทง้ั การขบั เคล่อื นกจิ กรรมการเรยี นรูข้ องชุมชน 6. หน่วยงานและสถานศึกษาพัฒนา เทคโนโลยีทางการศึกษา เทคโนโลยีดิจิทัล มาใช้ ในการยกระดับ คณุ ภาพในการจัดการเรียนรแู้ ละเพ่ิมโอกาสการเรียนรใู้ ห้กบั ประชาชน 7. หน่วยงานและสถานศึกษาพัฒนาสื่อและการจัดกระบวนการเรียนรู้ เพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาคุณภาพ ชีวิต ที่ตอบสนองกับการเปลี่ยนแปลงบริบทด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ และ ส่งิ แวดล้อม รวมทงั้ ตามความตอ้ งการของประชาชนและชุมชนในรปู แบบที่หลากหลาย 8. หน่วยงานและสถานศกึ ษามีระบบการบริหารจดั การทเี่ ป็นไปตามหลกั ธรรมาภบิ าล 9. บุคลากรของหน่วยงานและสถานศึกษาได้รับการพัฒนาเพื่อเพิ่มสมรรถนะในการปฏิบัติงานการศึกษา นอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอยา่ งมีประสิทธิภาพ
แผนปฏบิ ัติการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๖ | ๒๖ เปา้ ประสงค์และตวั ชี้วัดความสำเรจ็ เป้าประสงค์ ตัวชี้วดั เปา้ ประสงคข์ อ้ ท่ี 1 ประชาชนผ้ดู อ้ ย พลาด และขาดโอกาส รอ้ ยละ 90 ของกลมุ่ เปา้ หมายไดร้ บั โอกาส ทางการศกึ ษา รวมทงั้ ประชาชนทว่ั ไปไดร้ ับโอกาส ทาง ทางการศึกษา รวมทัง้ ประชาชนทวั่ ไปไดร้ ับโอกาส ทาง การศึกษาในรปู แบบการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขัน้ การศกึ ษาในรูปแบบการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษา พน้ื ฐาน การศกึ ษาตอ่ เนอ่ื ง และการศกึ ษา ตามอธั ยาศยั ทมี่ ี ขัน้ พน้ื ฐาน การศึกษาตอ่ เนอื่ ง และการศึกษา ตาม คณุ ภาพอยา่ งเทา่ เทยี มและทว่ั ถึง เป็นไปตามสภาพ ปญั หา อัธยาศัย ทมี่ ีคณุ ภาพอย่างเทา่ เทียมและท่วั ถงึ เป็นไปตาม และความตอ้ งการของแตล่ ะกล่มุ เปา้ หมาย สภาพ ปญั หา และความตอ้ งการของแต่ละกลมุ่ เป้าหมาย เปา้ ประสงค์ข้อท่ี 2 ประชาชนไดร้ ับการยกระดบั การศึกษา รอ้ ยละ 90 ของกล่มุ เปา้ หมายไดร้ บั การยกระดับ สร้างเสริมและปลกู ฝังคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และ ความเปน็ การศึกษา สรา้ งเสรมิ และปลกู ฝงั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และ พลเมือง อนั นาไปสูก่ ารยกระดับคณุ ภาพชวี ติ และเสรมิ สร้าง ความเป็นพลเมือง อันนาไปสกู่ ารยกระดบั คุณภาพชีวติ ความเขม้ แข็งใหช้ ุมชน เพอื่ พัฒนาไปสคู่ วามมนั่ คงและยั่งยืน และเสริมสร้างความเข้มแขง็ ให้ชมุ ชน เพ่อื พฒั นาไปสู่ ทางดา้ นเศรษฐกจิ สงั คม วฒั นธรรม ประวตั ิศาสตร์ และ ความมนั่ คงและย่ังยืนทางดา้ นเศรษฐกิจ สงั คม วัฒนธรรม สงิ่ แวดล้อม ประวัตศิ าสตร์ และสง่ิ แวดลอ้ ม เป้าประสงคข์ ้อที่ 3 ประชาชนได้รับโอกาสในการเรยี นรู้ และ รอ้ ยละ 90 ของประชาชนไดร้ บั โอกาสในการเรียนรู้ และ มีเจตคตทิ างวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทีเ่ หมาะสม สามารถ มเี จตคติทางวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยที ่ีเหมาะสม คิด วเิ คราะห์ และประยุกต์ใชใ้ นชีวติ ประจำวนั รวมทง้ั สามารถคิด วเิ คราะห์ และประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตประจำวนั แกป้ ญั หาและพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ไดอ้ ย่างสรา้ งสรรค์ รวมทง้ั แกป้ ญั หาและพฒั นาคณุ ภาพชวี ิต ไดอ้ ยา่ ง สร้างสรรค์ เปา้ ประสงคข์ ้อท่ี 4 ประชาชนได้รับการสรา้ งและสง่ เสรมิ ให้ รอ้ ยละ 90ของประชาชนได้รบั การสร้างและส่งเสริมให้มี มนี ิสยั รักการอา่ นเพอื่ การแสวงหาความร้ดู ว้ ยตนเอง นิสยั รักการอา่ นเพอื่ การแสวงหาความรดู้ ว้ ยตนเอง เปา้ ประสงคข์ ้อท่ี 5 ชุมชนและภาคเี ครือข่ายทกุ ภาคสว่ น รอ้ ยละ 90 ของชมุ ชนและภาคีเครือข่ายทุกภาคสว่ น รว่ ม ร่วมจัด ส่งเสรมิ และสนบั สนุนการดำเนนิ งานการศกึ ษา จดั สง่ เสรมิ และสนับสนนุ การดำเนินงานการศกึ ษานอก นอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย รวมท้งั การขบั เคล่ือน ระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั รวมทงั้ การขบั เคล่ือน กิจกรรมการเรยี นรู้ของชุมชน กจิ กรรมการเรียนร้ขู องชมุ ชน เป้าประสงคข์ อ้ ท่ี 6 หนว่ ยงานและสถานศกึ ษาพฒั นา รอ้ ยละ 90 ของหนว่ ยงานและสถานศึกษาพัฒนา เทคโนโลยีทางการศึกษา เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั มาใช้ ในการ เทคโนโลยที างการศกึ ษา เทคโนโลยีดิจิทลั มาใช้ ในการ ยกระดบั คณุ ภาพในการจัดการเรียนรแู้ ละเพม่ิ โอกาสการ ยกระดบั คุณภาพในการจัดการเรียนรู้และเพ่ิมโอกาสการ เรยี นรใู้ ห้กับประชาชน เรยี นรใู้ หก้ บั ประชาชน เปา้ ประสงคข์ ้อท่ี 7 หนว่ ยงานและสถานศึกษาพฒั นาสอื่ และ รอ้ ยละ 90 ของหนว่ ยงานและสถานศกึ ษาพฒั นาสอ่ื และ การจัดกระบวนการเรยี นรู้ เพือ่ แก้ปญั หาและพัฒนาคุณภาพ การจดั กระบวนการเรยี นรู้ เพอ่ื แก้ปญั หาและพฒั นา ชีวิต ทต่ี อบสนองกบั การเปลยี่ นแปลงบรบิ ทดา้ นเศรษฐกจิ คณุ ภาพชีวิต ทตี่ อบสนองกบั การเปลยี่ นแปลงบรบิ ทด้าน สงั คม การเมอื ง วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ และสง่ิ แวดลอ้ ม เศรษฐกิจ สงั คม การเมอื ง วฒั นธรรม ประวัตศิ าสตร์ และ รวมทง้ั ตามความตอ้ งการของประชาชนและชุมชนในรปู แบบ ส่ิงแวดลอ้ ม รวมทั้งตามความต้องการของประชาชนและ ที่หลากหลาย ชุมชนในรปู แบบท่ีหลากหลาย
แผนปฏิบตั ิการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๖ | ๒๗ เป้าประสงค์ ตวั ช้วี ัด เปา้ ประสงค์ข้อที่ 8 หนว่ ยงานและสถานศึกษามรี ะบบการ ร้อยละ 90 ของหนว่ ยงานและสถานศึกษามรี ะบบการ บรหิ ารจดั การทเี่ ป็นไปตามหลักธรรมาภบิ าล บรหิ ารจัดการทเี่ ป็นไปตามหลกั ธรรมาภิบาล เปา้ ประสงคข์ ้อท่ี 9 บคุ ลากรของหนว่ ยงานและสถานศกึ ษา รอ้ ยละ 90 ของบคุ ลากรของหน่วยงานและ ได้รบั การพฒั นาเพอื่ เพมิ่ สมรรถนะในการปฏบิ ตั งิ าน สถานศกึ ษาได้รับการพัฒนาเพื่อเพิม่ สมรรถนะในการ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อย่างมี ปฏิบัติงานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตาม ประสทิ ธิภาพ อธั ยาศัยอยา่ งมีประสิทธภิ าพ กลยุทธ์ กลยทุ ธ์ วธิ กี ารดำเนนิ งาน กลยทุ ธ์ขอ้ ที่ 1 1. อบรมครูใหต้ ระหนกั ในเรอื่ งขอ้ มูลเพอ่ื ยกระดบั การศึกษา จัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ของประชากร วยั แรงงาน เขา้ ถึงกลุ่มเป้าหมายทห่ี ลากหลายทวั่ ถึงและมี 2. ใช้เครอ่ื งมือสำรวจขอ้ มูลรายครวั เรอื นเพอื่ ให้ได้ขอ้ มลู ที่ คณุ ภาพ ชดั เจน 3. ประชาสมั พันธ์ใหป้ ระชาชนเหน็ ถงึ ความสำคญั ของ กลยุทธข์ อ้ ที่ 2 การศกึ ษา จดั กระบวนการเรียนที่มงุ่ แกป้ ัญหาดา้ นทกั ษะอาชพี 4. พฒั นาระบบฐานข้อมูลชุมชน / ประสานงานขอ้ มลู เกย่ี วกับ ตรงตามความตอ้ งการ มอี าชพี เสรมิ เพมิ่ รายไดแ้ ละ ระดบั การศึกษา สามารถสร้างอาชพี ใหมไ่ ด้ 1. จำแนกกล่มุ เป้าหมายตามสถานภาพ เชน่ การศึกษา อายุ กลยทุ ธ์ขอ้ ท่ี 3 อาชพี รายได้ ประสานความรว่ มมอื กบั ภาคีเครอื ข่าย องคก์ รใน 2. สรา้ งหลกั สตู รบูรณาการใหส้ อดคลอ้ งกบั วถิ ีชวี ิตหรอื ให้ ชุมชน เพอื่ ให้เกิดการจดั การเรยี นรู้ การศึกษานอก เหมาะสมกบั ความสามารถแต่บคุ คล ระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั นำไปสู่สังคมแห่ง 3. พฒั นาทกั ษะอาชพี และทกั ษะชวี ิต การเรยี นรอู้ ยา่ งมีคณุ ภาพ 4. จดั ทำคลงั หลกั สตู รและสอื่ การเรยี นการสอน 5. จดั ใหเ้ กณฑ์การวดั และประเมนิ ผลทีห่ ลากหลายตามวธิ กี าร เรยี นรู้ 6. จัดใหม้ ีเกณฑ์มาตรฐานเพอื่ เทยี บโอนความรู้และ ประสบการณ์ 1. จดั ทำทำเนยี บแหล่งเรยี นรทู้ ้งั ท่ีเปน็ ภมู ปิ ัญญาและสถานที่ 2. การพฒั นาแหล่งเรียนรใู้ หเ้ ป็นสว่ นหนึ่งของหลกั สูตร 3. พัฒนาหอ้ งสมุดประชาชนและศนู ยก์ ารเรียนชุมชนให้มชี วี ิต 4. จดั กจิ กรรม กศน.รว่ มกบั ภาคีเครือขา่ ย 5. จัดใหม้ กี จิ กรรมการเรียนรโู้ ดยใช้สอื่ ทห่ี ลากหลาย
แผนปฏิบัติการ ประจำปงี บประมาณ ๒๕๖๖ | ๒๘ กลยุทธ์ วิธกี ารดำเนนิ งาน กลยทุ ธ์ข้อที่ 4 1. จดั ทำทำเนยี บภาคเี ครอื ขา่ ย และทำ MOU รว่ มกับ ประสานความรว่ มมอื ภาคเี ครอื ขา่ ย องค์กร ใน หนว่ ยงานอนื่ ชุมชน และกลุ่มเป้าหมาย เพือ่ ให้เกดิ การเรยี นรู้ 2. จัดทำบันทึกข้อตกลงรว่ มมอื จัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ กศน. ท้ัง 4 ด้านอยา่ งมคี ณุ ภาพ ดงั นี้ ทห่ี ลากหลาย 1. ดา้ นการสง่ เสรมิ ปรชั ญาของเศรษฐกจิ 3. ประชาสัมพันธ์กิจกรรม กศน. ใหเ้ ครอื ขา่ ยและประชาชน พอเพียงและเกษตรทฤษฏใี หมป่ ระจำตำบล ทราบ 2. ดา้ นการส่งเสรมิ ดิจทิ ัลชมุ ชน 3. ดา้ นการสง่ เสรมิ ประชาธิปไตย 4. ดา้ นการส่งเสรมิ การเรียนรู้ตลอดชวี ิต โดยคำนึงถงึ ความสอดคลอ้ งของบรบิ ทในพน้ื ท่ี กลยทุ ธข์ อ้ ที่ 5 1. ปรบั ปรุงและพฒั นาโครงสรา้ งและบริหารองคก์ ร ส่งเสริมใหบ้ คุ ลากรมคี วามใฝร่ ูใ้ ฝ่เรยี นและเกิด 2. ปรบั ปรงุ บทบาทและพนั ธกิจ ขององค์กรให้เอ้อื ตอ่ การ การพัฒนาตนเองอย่างตอ่ เนอ่ื ง สามารถนำ ความร้ไู ปปรบั ใชใ้ นการปฏบิ ตั ิงานอย่างมี ดำเนนิ งาน ประสทิ ธิภาพ 3. จดั ทำระบบการทำงานใหส้ อดคลอ้ งกับระบบประกันคณุ ภาพ และ มาตรฐานการศกึ ษา 4. การกำหนดมาตรการและการเตรียมความพรอ้ มเพอ่ื รองรับ การประกนั คณุ ภาพ
แผนปฏบิ ัตกิ าร ประจำปงี บประมาณ ๒๕๖๖ | ๒๙ ส่วนที่ รายละเอยี ดแผนปฏิบัตกิ าร 4 ประกอบดว้ ย - แผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณตามแผนปฏบิ ตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 - โครงการ ฯ แผนปฏบิ ัติการประจำปี 2566 กศน.ตำบล - คำรบั รองการปฏิบตั ริ าชการ กศน-กผ-03
แผนปฏิบตั ิการประจำปี 2566 กศน.ตำบลบ ลำดับ โครงการ/กิจกรรม เปา้ หมาย งบประม ที่ (คน) 1. การศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน การจดั การศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขนั้ พื้นฐาน 80 คน กศน.อำเภอน ภาคเรยี นท่ี 2/2565 - ระดับประถม - คน - ระดับ ม.ต้น 13 คน - ระดับ ม.ปลาย 27 คน รวม 40 คน ภาคเรยี นที่ 1/2566 - ระดับประถม - คน - ระดบั ม.13 คน - ระดบั ม.ปลาย 27 คน รวม 40 คน รวม ภาคเรยี นท่ี 2/65และ 1/66 = 80 คน
แผนปฏบิ ตั กิ าร ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๖ | 30 (รายไตรมาส 1- ไตรมาส 4) ระยะเวลาดำเนินการ บ้านพร้าว ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 มาณ สถานท่ดี ำเนนิ การ นครไทย กศน.ตำบลบา้ นพรา้ ว ✓ - ✓ -
ลำดบั โครงการ/กจิ กรรม เป้าหมาย งบประม ที่ (คน) กศน.อำเภอน 2. โครงการปฐมนเิ ทศนกั ศกึ ษาใหมแ่ ละตรวจสขุ ภาพ นกั ศึกษา 10 คน ภาคเรียนที่ 2/2565 10 คน ภาคเรียนที่ 1/2566 3. โครงการอบรมพฒั นาคณุ ภาพผู้เรยี นนกั ศกึ ษา กศน.นคร 6 คน กศน.อำเภอน ไทยหา่ งไกลยาเสพติด 4. โครงการอบรมพัฒนาคณุ ภาพผู้เรยี นการสร้างอดุ มการณ์ 6 คน กศน.อำเภอน รักชาติและปลุกจิตสำนึกรคู้ ุณแผ่นดิน 5. .โครงการอบรมพฒั นาคุณภาพผู้เรียนจิตอาสาการปฐม 6 คน กศน.อำเภอน พยาบาลเบือ้ งต้น 6. โครงการอบรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนค่ายคณุ ธรรม 6 คน กศน.อำเภอน จรยิ ธรรม 7. โครงการอบรมพัฒนาคณุ ภาพผู้เรียนจติ อาสากศน. “เรา 6 คน กศน.อำเภอน ทำความดดี ว้ ยหัวใจ” 8. โครงการอบรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนกฎหมายจราจรและ 6 คน กศน.อำเภอน ขบั ข่ีอยา่ งปลอดภัย
แผนปฏบิ ตั กิ าร ประจำปงี บประมาณ ๒๕๖๖ | 31 มาณ สถานท่ีดำเนินการ ไตรมาส 1 ระยะเวลาดำเนนิ การ ไตรมาส 4 ✓ ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 - นครไทย วดั นครไทยวราราม หมู่ 6 ตำบลนครไทย -✓ นครไทย วัดนครไทยวราราม -✓- - หมู่ 6 ตำบลนครไทย - -✓ - -✓- - นครไทย วดั นครไทยวราราม - ✓✓ - หมู่ 6 ตำบลนครไทย - -✓ - - -✓ - นครไทย วดั นครไทยวราราม หมู่ 6 ตำบลนครไทย นครไทย วัดบา้ นพร้าว หมู่ 4 ตำบลบา้ นพร้าว นครไทย วดั นครไทยวราราม หมู่ 6 ตำบลนครไทย นครไทย วดั นครไทยวราราม หมู่ 6 ตำบลนครไทย
ลำดับ โครงการ/กจิ กรรม เปา้ หมาย งบประม ท่ี (คน) กศน.อำเภอน 9. โครงการอบรมพัฒนาคณุ ภาพผู้เรียนการป้องกนั การ 6 คน ตั้งครรภ์ในวยั ร่นุ 10. โครงการอบรมคุณภาพผูเ้ รียนค่ายวชิ าการ 6 คน กศน.อำเภอน 11. โครงการอบรมพฒั นาคุณภาพผู้เรียนให้ความรู้การอนุรักษ์ 6 คน กศน.อำเภอน สิง่ แวดลอ้ ม 2. กิจกรรมการจดั การศกึ ษานอกระบบ (งานการศึกษาต่อเนอ่ื ง) 2 คน 1,100 บ 1. การส่งเสริมการร้หู นังสือ 575 บ 800 บ 2. การศึกษาเพอื่ พัฒนาทกั ษะชีวิต 5 คน 800 บ 3. การศึกษาเพอ่ื พัฒนาสังคมและชมุ ชน 2 คน 9,800 4. การเรยี นรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง 2 คน 19,800 3. กิจกรรมส่งเสริมศูนยฝ์ กึ อาชพี ชมุ ชน (โครงการศูนยฝ์ ึกอาชีพชมุ ชน) 1. การศึกษาแบบพัฒนาอาชีพระยะสั้น กล่มุ สนใจ 14 คน ไม่เกนิ 30 ชัว่ โมง 2. การศึกษาแบบชัน้ เรยี นวิชาชีพ 31 ชวั่ โมงขึ้นไป 22 คน
แผนปฏบิ ตั กิ าร ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๖ | 32 มาณ สถานที่ดำเนนิ การ ไตรมาส 1 ระยะเวลาดำเนนิ การ ไตรมาส 4 - ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 - นครไทย วดั นครไทยวราราม หมู่ 6 ตำบลนครไทย -✓ นครไทย วดั นครไทยวราราม ✓-✓ - นครไทย หมู่ 6 ตำบลนครไทย - -✓- วัดนครไทยวราราม หมู่ 6 ตำบลนครไทย บาท กศน.ตำบลบา้ นพรา้ ว ✓- - - บาท กศน.ตำบลบา้ นพร้าว - บาท กศน.ตำบลบา้ นพรา้ ว ✓-✓ - บาท กศน.ตำบลบา้ นพรา้ ว - ✓-✓ บาท กศน.ตำบลบ้านพร้าว - ✓-✓ 0 บาท กศน.ตำบลบ้านพร้าว - - ✓✓ - ✓✓
ลำดับ โครงการ/กิจกรรม เป้าหมาย งบประมาณ ท่ี (คน) - 3. การศึกษาตามอธั ยาศัย 50 คน - 1. โครงการสง่ เสรมิ การอ่านบ้านหนังสือชุมชน - - 2. โครงการสง่ เสรมิ การอา่ นการให้บรกิ ารหอ้ งสมดุ เคลือ่ นท่ี 50 คน (รถโมบาย) - 3. โครงการสง่ เสรมิ การอา่ นของอาสาสมคั รชมุ ชน 42 คน 4. โครงการส่งเสริมการอ่านห้องสมดุ เคล่อื นทีส่ ำหรับชาว 42 คน ตลาด 5. โครงการสง่ เสริมการอ่านออนไลน์ 30 คน 4. กจิ กรรมโครงการขบั เคลื่อนการพฒั นาการศกึ ษาทย่ี ่งั ยนื กิจกรรมภาษาตา่ งประเทศเพ่อื การส่อื 1. โครงการอบรมภาษาต่างประเทศเพอ่ื การสื่อสารด้าน 4 คน 8,700 บา อาชพี (ทง้ั อำเภอ 5. กจิ กรรมโครงการการจัดและส่งเสริมการจัดการศกึ ษาตลอดชีวิตเพอื่ คงสมรรถนะทางกาย จิต 1. โครงการอบรมการจดั และส่งเสริมการจดั การศกึ ษาตลอด 5 คน 3,500 บา ชีวติ เพ่ือคงสมรรถนะทางกาย จติ และสมองของผู้สงู อายุ (ทง้ั อำเภอ
แผนปฏบิ ัตกิ าร ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๖ | 33 ณ สถานทดี่ ำเนินการ ระยะเวลาดำเนินการ ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 กศน.ตำบลบา้ นพรา้ ว ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ กศน.ตำบลบา้ นพรา้ ว ✓ ✓ ✓ กศน.ตำบลบ้านพร้าว ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ กศน.ตำบลบ้านพร้าว ✓ ✓ ✓ กศน.ตำบลบ้านพรา้ ว ✓ ✓ ✓ ✓ อสารด้านอาชพี - -✓ - าท หอ้ งสมุดประชาชนอำเภอ อ) นครไทย ต และสมองของผู้สูงอายุ - -✓ - าท ห้องสมดุ ประชาชนอำเภอ อ) นครไทย
ลำดบั โครงการ/กิจกรรม เป้าหมาย งบประมาณ ที่ (คน) 4,100 บาท 6. กิจกรรมโครงการพฒั นาเศรษฐกิจดจิ ทิ ลั 1 คน 1. โครงการอบรมศนู ย์ดจิ ิทลั ชมุ ชน 7. กิจกรรมด้านบรหิ ารทรพั ยากรบุคคล 1 คน - 1. โครงการพฒั นาบุคลากร 1 แห่ง - 2. โครงการนเิ ทศ ติดตาม กจิ กรรม กศน.
แผนปฏบิ ัตกิ าร ประจำปงี บประมาณ ๒๕๖๖ | 34 ณ สถานท่ีดำเนินการ ระยะเวลาดำเนนิ การ ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 ท กศน.ตำบลบา้ นพรา้ ว - - ✓ - ห้องสมดุ ประชาชนอำเภอ - - - ✓ ✓ นครไทย กศน.ตำบลบา้ นพรา้ ว ✓✓✓
โครงการฯ แผนป กศน. อำเภอนครไ
แผนปฏบิ ัตกิ าร ประจำปงี บประมาณ ๒๕๖๖ | 35 ปฏบิ ตั ิการ ประจำปี 2566 .ตำบลบ้านพร้าว ไทย จงั หวัดพิษณุโลก
โครงการฯ แผนปฏิบตั ิก กศน.ตำบลบ้านพร้าว อำเภอน เปา้ ประสงค์ โครงการ/กิจกรรม เปา้ หมาย เนอื้ หา/ความรู้ 1. งานการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาข้ันพื้นฐาน เปา้ ประสงคข์ อ้ ท่ี 1 1. โครงการจดั - ประถม - คน จดั ตามสาระการ ก ประชาชนผ้ดู อ้ ย พลาด และ การศึกษาตาม - ม.ตน้ 13 คน เรยี นร้ขู อง พ ขาดโอกาสทางการศกึ ษา หลกั สตู รการศึกษา - ม.ปลาย 27 คน หลักสูตรการศึกษา รวมทงั้ ประชาชนทวั่ ไปได้รับ นอกระบบระดบั รวม 40 คน นอกระบบระดบั โอกาสทางการศึกษาใน การศึกษา การศกึ ษาขน้ั รปู แบบการศึกษานอกระบบ ขัน้ พนื้ ฐาน พื้นฐาน ระดับการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน พ.ศ. 2551 พทุ ธศกั ราช การศกึ ษาตอ่ เน่อื งและ - ประถม 2551 การศึกษาตามอัธยาศยั ทมี่ ี - ม.ตน้ คณุ ภาพ อยา่ งเท่าเทยี มและ - ม.ปลาย ทว่ั ถึง เป็นไปตามสภาพ ปัญหา และความตอ้ งการ ของแต่ละกล่มุ เป้าหมาย
แผนปฏิบัติการ ประจำปงี บประมาณ ๒๕๖๖ | 36 การ ประจำปี 2566 นครไทย จังหวัดพษิ ณโุ ลก พน้ื ทด่ี ำเนนิ การ งบประมาณ ระยะเวลา ตัวชวี้ ัดความสำเรจ็ ผลการดำเนนิ งานที่ ดำเนนิ การ คาดหวัง กศน.ตำบลบา้ น กศน.อำเภอ เดอื น ต.ค.65 – ร้อยละของ ร้อยละ 90 ของ พร้าว นครไทย เดือน ก.ย.66 กลมุ่ เปา้ หมายมี กลุม่ เป้าหมาย มี ภาคเรยี นที่ ความพรอ้ มในการ ความพร้อมในการ 2/2565 เรยี นรู้และนักศึกษา เรียนรู้และนกั ศึกษามี ภาคเรยี นที่ มผี ลสัมฤทธ์ิทางการ ผลสัมฤทธท์ิ างการ 1/2566 เรยี นท่ดี ขี ้ึน เรียนที่ดีขนึ้ และ สามารถนำวฒุ ิ การศกึ ษาไปศกึ ษาตอ่ ในระดับสูงขึ้นและ พฒั นาหน้าที่การงาน ให้ก้าวหนา้ ย่งิ ๆขึ้นไป
เป้าประสงค์ โครงการ/กจิ กรรม เปา้ หมาย เน้อื หา/ความรู้ พ 1. งานการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้ันพนื้ ฐาน (ต่อ) เพื่อให้นักศกึ ษามี ก ความเขา้ ใจใน พ เป้าประสงค์ขอ้ ท่ี 1 2. โครงการ 11 คน โครงสรา้ งหลักสตู ร 6 คน และมีการดูแล ประชาชนผ้ดู ้อย พลาด และ ปฐมนิเทศนกั ศึกษา สุขภาพให้แข็งแรง ขาดโอกาสทางการศกึ ษา ใหมแ่ ละตรวจ อบรมใหค้ วามรู้ เรื่องยาเสพตดิ ให้ รวมทง้ั ประชาชนทั่วไปไดร้ ับ สขุ ภาพนักศกึ ษา โทษ ต โอกาสทางการศึกษาใน รปู แบบการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน การศึกษาต่อเนอ่ื งและ การศึกษาตามอัธยาศยั ทม่ี ี คณุ ภาพ อย่างเทา่ เทียมและ 3. โครงการอบรม ทัว่ ถึง เปน็ ไปตามสภาพ พฒั นาคณุ ภาพ ปญั หา และความต้องการ ผ้เู รียนนักศกึ ษา ของแต่ละกลุ่มเป้าหมาย กศน.นครไทย หา่ งไกลยาเสพตดิ
Search