Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สารสนเทศทางการพยาบาล

สารสนเทศทางการพยาบาล

Published by dcdaonoy7, 2018-03-15 03:29:24

Description: เอกสารประกอบการสอน
วิชาสารสนเทศทางการพยาบาล
วพบ.จังหวัดนนทบุรี

Search

Read the Text Version

สารสนเทศทางการพยาบาล Nursing Information อาจารย์ดาวน้อย ชูช่วย

จุดมงุ่ หมายของรายวิชา =========เมอื่ สิน้ สุดการเรยี นการสอนนักศกึ ษาสามารถเขา้ ถึงแหลง่ สารสนเทศ และใชเ้ ทคโนโลยใี นการสืบคน้ วเิ คราะหแ์ ละเลอื กใช้สารสนเทศทางการพยาบาลได้

วตั ถปุ ระสงคก์ ารเรยี นรู้ :1. มีความรแู้ ละความเข้าใจในสาระสาคัญเก่ียวกบั เทคโนโลยีสารสนเทศทางการพยาบาลและระบบจาแนกขอ้ มูลทางการพยาบาล2. สามารถสืบค้นและวเิ คราะห์ข้อมลู เกย่ี วกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางการพยาบาลได้3. สามารถแปลงขอ้ มลู เปน็ ข่าวสารทม่ี ีคุณภาพรวมท้งัสามารถอ่านวิเคราะหแ์ ละถ่ายทอดข้อมลู ขา่ วสารแกผ่ ูอ้ ่ืนไดอ้ ย่างเข้าใจ

4. สามารถใช้โปรแกรมคอมพวิ เตอรพ์ นื้ ฐานทจ่ี าเป็นได้5. สามารถเลือกและใช้รปู แบบการนาเสนอสารสนเทศตลอดจนใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพและเหมาะสมกบั สถานการณ์6. สามารถประยกุ ตใ์ ช้หลกั ตรรกะ คณิตศาสตร์และสถิติในการพยาบาลอยา่ งเหมาะสม

ความร้เู บ้อื งตน้ เก่ยี วกบั สารสนเทศ

ความรู้เบ้อื งตน้ เกี่ยวกบั สารสนเทศ ขอ้ มลู และสารสนเทศ

ข้อมูล (Data)คอื ขอ้ เทจ็ จริงหรือสาระต่างๆท่เี ก่ียวขอ้ งกับงานท่ีปฏิบัติ อาจเป็นตัวเลขหรือข้อความท่ีเกิดขึ้นจากการดาเนินงาน หรือท่ีได้จากหน่วยงานอื่นๆข้อมูลเหล่าน้ี ยังไม่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ในการตัดสินใจได้ทันที จะนาไปใช้ได้ก็ต่อเมื่อได้ผ่านกระบวนการประมวลผลแล้ว

สารสนเทศ (Information)คอื ข้อมลู ทผี่ า่ นกระบวนการประมวลผลแล้ว อาจใช้วิธีงา่ ยๆ เชน่ หาค่าเฉลี่ย หรอื ใชเ้ ทคนคิ ขั้นสงู เช่น การวจิ ัย เปน็ ต้น เพอ่ื เปลยี่ นแปลงสภาพขอ้ มูลทวั่ ไปให้อย่ใู นรปู แบบท่มี คี วามสัมพันธ์ หรือมีความเกี่ยวขอ้ งกัน เพ่ือนาไปใชป้ ระโยชน์ในการตดั สินใจหรือ ตอบปัญหาตา่ งๆได้สารสนเทศ ประกอบดว้ ยขอ้ มูล เอกสาร เสียง หรอื รปู ภาพตา่ งๆ แต่จัดเน้ือเร่ืองให้อยใู่ นความหมาย สารสนเทศไมจ่ ากัดเฉพาะเพยี ง ตวั เลขอย่างเดยี วเท่าน้นั

คณุ สมบัติของข้อมลูความถกู ต้องความรวดเร็วเป็นปัจจุบันความสมบรู ณ์ความชดั เจน กะทดั รัดความสอดคลอ้ ง

การแปลงข้อมูลให้เปน็ สารสนเทศการรวบรวมและตรวจสอบขอ้ มลูการดาเนนิ การประมวลผลขอ้ มูลใหก้ ลายเปน็ สารสนเทศ (การจดั กลมุ่ , การจดั เรียง , การสรุปผล , การคานวณ)การดแู ลรกั ษาสารสนเทศเพือ่ การใชง้ าน (การเกบ็ รักษา , การค้นหา , การทาสาเนา , การส่อื สาร)

สารสนเทศทางการพยาบาล“ การใชเ้ ทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์ที่มีความเกี่ยวข้องกับ บทบาทดา้ นตา่ งๆ ภายใตข้ อบเขตการพยาบาล ซ่ึงปฏิบัติโดยพยาบาลในการทาหนา้ ทข่ี องพยาบาล ” (Hannah, 1985)

สารสนเทศทางการพยาบาล“ การเชือ่ มโยงวทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ วิทยาศาสตร์ สารสนเทศ และศาสตรท์ างการพยาบาล ท่อี อกแบบมา ชว่ ยในการจดั การ และประมวลผลขอ้ มูล สารสนเทศ และความรทู้ างการพยาบาล เพอ่ื ทจ่ี ะสนับสนุนการ ปฏบิ ัติการพยาบาลและการส่งต่อของการใหก้ าร พยาบาล ”(Graves&Corcoran, 1989

สารสนเทศทางการพยาบาล“ การใช้คอมพวิ เตอรใ์ นการสนบั สนุนด้านการ พยาบาล รวมทง้ั การปฏิบัติ การบริหาร การศกึ ษา และการวจิ ยั ทางการพยาบาล” (Hebda, Czar & Mascara, 1998)

สารสนเทศทางการพยาบาล“ คอื กระบวนการประมวลข่าวสารท่มี อี ยู่ ใหอ้ ยู่ในรปู ของข่าวสารทเ่ี ป็นประโยชน์สงู สดุ เพ่อื เป็นขอ้ สรุปท่ี ใช้สนับสนนุ การตัดสนิ ใจของผูบ้ รหิ าร” (Hannah, 1985)

ลักษณะระบบสารสนเทศในการบรหิ ารท่ดี ี  พงึ ระลกึ ว่าสารสนเทศมใิ ชข่ อ้ มลู จงึ ควรทาการเก็บ รวบรวม วเิ คราะห์ข้อมลู และเสนอในลกั ษณะของ สารสนเทศเพือ่ สามารถใชป้ ระโยชน์ไดจ้ ริงในการบรหิ าร  ความเกีย่ วพนั ของสารสนเทศ ( Relevance) สารสนเทศที่ จะรวบรวม ควรเปน็ สารสนเทศที่เกี่ยวพันกนั หรอื สัมพันธ์ กับวัตถุประสงค์ทนี่ าไปใช้

ลักษณะระบบสารสนเทศในการบรหิ ารท่ดี ี  ความไวของสารสนเทศ ( Sensitive ) สารสนเทศที่จะเป็น ประโยชนต์ ่อการบรหิ าร จะต้องมีความไว สามารถบ่งบอก หรอื แสดงความหมายในสง่ิ ทตี่ อ้ งการทราบได้ถูกตอ้ ง  ความถกู ตอ้ งเท่ียงตรงของสารสนเทศ (Unbias) สารสนเทศทไี่ ดจ้ ากการเก็บรวบรวม การวเิ คราะห์ และการ นาเสนอ ควรถูกตอ้ งและเทีย่ งตรงตอ่ ความเป็นจริง มใิ ช่ เพยี งเพ่ือใหผ้ บู้ รหิ ารพึงพอใจ

ลกั ษณะระบบสารสนเทศในการบรหิ ารท่ดี ี ลักษณะเบ็ดเสรจ็ ของสารสนเทศ หรอื การนาเสนอ สารสนเทศ ควรอยูใ่ นลักษณะที่รวบรวมส่งิ สาคัญๆ สามารถตรวจสอบหรือพิจารณาโดยผ้บู รหิ ารไดโ้ ดยงา่ ย หรือง่ายตอ่ ความเขา้ ใจ เวลาท่ีเหมาะสมของสารสนเทศ สารสนเทศที่ไดร้ บั การ เก็บรวบรวม วเิ คราะห์และจัดเตรยี ม จะตอ้ งทันเวลา ในการที่จะต้องใชง้ าน

ลักษณะระบบสารสนเทศในการบรหิ ารที่ดีสารสนเทศเพ่อื เน้นการดาเนนิ การ (Action Oriented) สารสนเทศควรจะไดร้ บั การวเิ คราะห์ ในลกั ษณะทส่ี นับสนนุ กระบวนการบรหิ าร การวินิจฉัยสงั่ การหรือการดาเนนิ การ ต่างๆในอนาคตรปู แบบลักษณะเดยี วกันของสารสนเทศ (Uniformity) สารสนเทศท่ีดคี วรจะมีลักษณะทคี่ ลา้ ยคลงึ มีรูปแบบ เดยี วกัน สามารถเปรียบเทียบใชส้ ารสนเทศรว่ มกนั ได้อย่างมี มาตรฐานเดยี วกัน

ลกั ษณะระบบสารสนเทศในการบรหิ ารทด่ี ีสารสนเทศเพือ่ เป้าหมายการปฏบิ ตั กิ าร (Performance Target) สารสนเทศควรไดร้ บั การกาหนด และเก็บ รวบรวมโดยอาศยั วัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ไดก้ าหนด ไวเ้ ป็นพื้นฐานความคมุ้ ค่าของสารสนเทศ (Cost Effectiveness) ผลประโยชน์ท่ไี ด้จากการรวบรวม การวิเคราะหแ์ ละการ นาเสนอสารสนเทศควรมมี ากกว่าต้นทุนทใ่ี ช้

แนวทางการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ ในการบรหิ ารการพยาบาลนามาใช้ในการจัดคนจัดเวร (Staffing and Scheduling)นามาใช้ในการประเมนิ ความสามารถในการทางาน (Performance Evaluation)นามาใช้ในการออกแบบโครงการ จัดตารางการทางาน และประเมนิ ผลงาน

แนวทางการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ ในการบรหิ ารการพยาบาล นามาใชใ้ นการสนบั สนุนการตัดสินใจ นามาใชใ้ นการวางแผนการเงิน และการจดั การ นามาใชใ้ นการวางแผนกลยทุ ธ์

องค์ประกอบทีส่ าคญั ในการจัดระบบสารสนเทศ (Information System)ระดบั ปฏบิ ตั กิ ารระดับควบคุมการปฏิบตั กิ าร หรอื ระดบั บริหารงานระดับตน้ระดับบริหารระดับกลางระดบั บรหิ ารระดับสงู

ระดับปฏิบัตกิ ารผ้ใู ช้ คอื พยาบาลประจาการสารสนเทศนาเขา้ คือ จานวนผู้ป่วย ชื่อ ผู้ป่วย เบอร์เตยี ง โรค อาการปจั จบุ นั ผลการตรวจ รกั ษา เป็นต้นการปฏบิ ตั กิ าร คือ การวางแผนการทางานให้ กิจกรรมพยาบาลเป็นไปตามที่ได้วางแผนไว้การเขยี น หรอื การบันทกึ งานท่ที า

ระดับปฏิบัติการสารสนเทศทไ่ี ด้ / ส่งออก คือ รายงานผลการทางาน แก่พยาบาล รายงานแก่หวั หน้าเวรในระดับปฏบิ ตั กิ าร การทางานจะเป็นงานพน้ื ฐานซึ่ง เปน็ งานประจาขององคก์ ร โดยมวี ธิ ีการทางาน ค่อนขา้ งแน่นอน มกี ฏเกณฑต์ ายตวั การทางานเป็น แบบเดมิ ซ้าๆ กนั ได้ปริมาณงานท่ีค่อนขา้ งมาก

ระดับควบคมุ การปฏบิ ตั กิ าร หรอื ระดบั บรหิ ารงานระดับต้นผู้ใช้ คอื หัวหนา้ เวร หัวหนา้ หอผปู้ ่วย หัวหนา้ สานักงาน หวั หนา้ ห้องตรวจปฏิบัติการ เป็นต้นสารสนเทศนาเขา้ คือ จานวนผปู้ ว่ ยในหอผปู้ ว่ ยที่ รบั ผิดชอบ จานวนบุคลากรทีข่ น้ึ ปฏิบตั งิ าน จานวน ผู้ปว่ ยหนักในหอผูป้ ่วย รายชอ่ื แพทย์เวร เปน็ ตน้

ระดับปฏิบตั กิ ารการปฏบิ ัตงิ าน คอื ควบคุมดูแลการทากจิ กรรมบาบดั ทีส่ าคญั ของผูป้ ว่ ยท้ังหมด การวางแผนดาเนนิ การ ภายในหอผู้ปว่ ย การแจกจา่ ยแกบ่ คุ ลากรภายในหอ ผู้ปว่ ย การสรปุ งานทง้ั หมดของหอผูป้ ่วย เป็นตน้สารสนเทศทไ่ี ด้ / ส่งออก คอื การส่อื สารกบั หอผ้ปู ่วย อน่ื ๆ รายงานผตู้ รวจการ รายงานหวั หน้า แผนก รายงานแพทย์เวร เป็นต้น

ระดับปฏบิ ัตกิ ารในระดบั การบริหารจัดการระดบั ต้น จะดาเนินการกาหนด กิจกรรมการทางานของหอผูป้ ว่ ยของตน การควบคุมผู้ปฏิบัติการ การทางานจะใชส้ ารสนเทศจาก ระดับปฏิบัตกิ ารมาเพื่อประกอบการตัดสนิ ใจทางาน และ ควบคุมงาน โดยผลจากการทางานระดับน้ี จะไดร้ ายงาน สารสนเทศทีส่ รปุ การทางานรายเวร รายวนั รายเดอื น ราย ปี เพื่อส่งต่อไปยังผ้บู รหิ ารระดบั กลางต่อไป

ระดับบรหิ ารระดบั กลางผ้ใู ช้ คอื ผตู้ รวจการพยาบาล หัวหน้างานฝา่ ยตา่ งๆ เป็นต้นสารสนเทศนาเขา้ คอื จานวนผปู้ ่วยในแตล่ ะหอ ผู้ปว่ ย จานวนผปู้ ่วยรวมท้งั แผนก จานวนผปู้ ว่ ยหนักใน แตล่ ะหอผู้ปว่ ย จานวนผปู้ ว่ ยหนักรวมทั้งแผนก จานวน บคุ ลากรทปี่ ฏิบัตงิ านแตล่ ะหอผปู้ ่วย เปน็ ตน้

ระดบั บรหิ ารระดับกลางการปฏิบัติงาน คอื การวางแผนการทางาน การให้การ ช่วยเหลือแกห่ อผู้ป่วยท่ีมีปญั หาตา่ งๆ การเขียนบนั ทึกสรปุ รายงานและประเมินปญั หา ประเมินผลงานรวมของทั้ง แผนก เปน็ ตน้สารสนเทศที่ได้ / สง่ ออก คอื การสื่อสารรายงานท่แี สดงตอ่ หวั หนา้ เพื่อหาวธิ กี ารช่วยเหลอื สนับสนนุ หรือเพม่ิ ศักยภาพการทางานของทุกแผนกงานให้ทางานได้มาตรฐาน และบรรลตุ ามเปา้ หมายอยา่ งทว่ั ถงึ เปน็ ตน้

ระดับบริหารระดบั กลาง ในระดับการบริหารจดั การระดบั กลาง เปน็ ระดับการควบคุมที่สูงขึน้ ไปอีก โดยจะใช้สารสนเทศจากการทางานของผูบ้ ริหารระดับ ต้น รวมทงั้ สารสนเทศจากระดับย่อยตา่ งๆ และจากฝ่ายงานตา่ งๆ เพือ่ วางแผนระยะยาว รวมท้ังร่วมกาหนดยทุ ธวิธี ดาเนนิ งาน กาหนดกฏระเบียบนโยบายปฏบิ ตั ิงาน เพ่อื ช่วย สนับสนุนการทางานระดับรองลงมาใหเ้ ป็นไปตามนโยบายของ องค์กร ผลการทางานระดบั นีเ้ ปน็ รายงานสารสนเทศทสี่ รปุ ผลจาก การทางานรายปี รายงานจดุ ดอ้ ย จดุ เดน่ ขององค์กร ส่งตอ่ ไปยัง ผบู้ ริหารระดับสงู ตอ่ ไป

ระดบั บริหารระดบั สูงผูใ้ ช้ คอื หัวหน้าฝ่ายการพยาบาล หรอื ผูอ้ านวยการ ฝ่ายการพยาบาล เปน็ ตน้สารสนเทศนาเข้า คอื จานวนผู้ปว่ ยทั้งโรงพยาบาล จานวนบุคลากรแพทย์ จานวนบุคลากรพยาบาล เงนิ งบประมาณ รายรับรายจ่ายรวม เปน็ ต้น

ระดบั บรหิ ารระดบั สงูการปฏบิ ัติงานคอื การวางแผนกลยทุ ธ์ การกาหนด นโยบาย การจัดสรรเงินงบประมาณ เปน็ ตน้สารสนเทศทไี่ ด้ / สง่ ออก คือผลประโยชน์ ผลกาไร รางวลั ชอื่ เสียง การรับรองมาตรฐาน เปน็ ต้น

ระดับบริหารระดบั สงูในระดับการบริหารจัดการระดับสูง จะใช้สารสนเทศที่รายงานจากการทางานของผู้บริหารระดับกลาง ของหลายแผนกงาน มาประกอบกับสารสนเทศภายนอกองค์กร รวมถึงใช้ความรู้ความสามารถและประสบการณ์ส่วนตัวในการตัดสินใจ เพ่ือวางแผนระยะยาว กาหนดยุทธวิธีให้องค์กรประสบความสาเร็จ มีผลกาไร ซึ่งผลการทางานระดับน้ีได้สารสนเทศนาเสนอต่อประชาชน ลูกค้า ผู้ถอื หุน้ สาธารณชน รัฐบาล เปน็ ต้น

แนวทางดาเนนิ การด้านสารสนเทศทางการพยาบาล

ทบทวน ออกแบบเปา้ หมายร่วมกาหนดนโยบาย พัฒนา ระบบ จดั การขอ้ มูล องค์ความรู้ ระดับ สารสนเทศทาง องคก์ ร การพยาบาล พยาบาล

ส่อื สาร วางระบบ มอบหมาย จดั การข้อมลู นโยบาย สารสนเทศ หนา้ ที่ สารสนเทศ ภายใน รับผิดชอบใน ภายในสู่หนว่ ยงาน หน่วยงาน หน่วยงาน หน่วยงาน

รวบรวม วิเคราะห์ รายงาน ติดตามการ จัดเก็บ ข้อมลู สารสนเทศ ใช้ประโยชน์ข้อมูล จากสารสนเทศ

ประโยชนส์ ารสนเทศทางการพยาบาล• ชว่ ยใหผ้ ู้ใชส้ ามารถเข้าถึงสารสนเทศท่ตี ้องการได้อยา่ งรวดเรว็ ทนั ตอ่ เหตุการณ์• ลดความซา้ ซ้อนของการนาเขา้ ขอ้ มลู• ชว่ ยผู้ใช้ตรวจสอบประเมินผลการดาเนินงาน ศกึ ษาวเิ คราะหห์ าสาเหตุของปัญหา อุปสรรคทเี่ กิดขนึ้• ปรับปรงุ การติดต่อสือ่ สารและลดความผิดพลาด• อานวยความสะดวกในการเก็บขอ้ มูลเพอ่ื การวจิ ัย• เพมิ่ เวลาในการให้การดูแลผปู้ ่วย

บทบาทของพยาบาลในการจดั การสารสนเทศ• บทบาทเดมิ ของของพยาบาลในการจัดการสารสนเทศ คอืการรวบรวมทเ่ี ก่ียวข้องกับผปู้ ว่ ย เช่นการบันทกึ ประวตั ผิ ู้ป่วยและประวตั กิ ารแพ้ยา ,การประเมนิ ร่างกายผ้ปู ่วย , การวดั สัญญาณชีพ เชน่ BP,Temp.การปฏิบัตติ ามคาสง่ั การรกั ษาของแพทย์ ,การใหค้ วามรู้แก่ผปู้ ว่ ย

บทบาทของพยาบาลในการจัดการสารสนเทศ• เปลี่ยนจากระบบบนั ทึกในระบบเอกสารมาเป็น ระบบเอกสารอเิ ลก็ ทรอนิคส์• ตอ้ งมสี ว่ นร่วมอยา่ งเต็มทใ่ี นการออกแบบ ระบบเอกสารอิเลก็ ทรอนิคส์• สามารถผสมผสานเทคโนโลยีสารสนเทศเข้าไป ในการปฏบิ ัติ การบรหิ าร การศกึ ษา และการวิจัยทางการพยาบาล

บทบาทของพยาบาลสารสนเทศ การตลาดการศกึ ษา บทบาท การปฏบิ ตั ิการจดั การ การวิจยั การให้ คาปรกึ ษา Gassert, 2000

บทบาทของผูเ้ ชย่ี วชาญสารสนเทศทางการพยาบาล พัฒนาทฤษฎี การวิเคราะห์ความตอ้ งการสารสนเทศ การเลอื กระบบคอมพวิ เตอร์ การออกแบบระบบคอมพิวเตอร์ การทดสอบระบบคอมพวิ เตอร์

บทบาทของผูเ้ ชีย่ วชาญสารสนเทศทางการพยาบาล การฝกึ อบรมผู้ใชใ้ นระบบคอมพวิ เตอร์ การประเมนิ ประสทิ ธิภาพของระบบคอมพิวเตอร์ การบารงุ รกั ษาและสง่ เสรมิ การกาหนดเทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์ที่จะใช้ ประโยชนก์ บั พยาบาล

สมรรถนะของพยาบาลสารสนเทศระดับท่ี 1 • ผ้ใู ช้เทคโนโลยีสารสนเทศระดับท่ี 2 • ผปู้ รบั เปลย่ี นเทคโนโลยีระดบั ท่ี 3 สารสนเทศ • นกั นวตั กรรมเทคโนโลยี สารสนเทศ

บทบาทผ้ใู ชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศมคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกยี่ วกับระบบสารสนเทศดา้ นสุขภาพมกี ารเตรยี มในเรื่องการเก็บข้อมูลท่มี คี วามสัมพันธก์ บั การดแู ลผปู้ ว่ ยมคี วามสามารถในการเข้าถึงขอ้ มลู ทจี่ าเปน็ สาหรบั การจดั ให้มี การใหบ้ รกิ ารทางด้านการพยาบาลทจ่ี าเปน็ สาหรับการจดั ให้ มกี ารใหบ้ ริการทางด้านการพยาบาลและการนานโยบายไปใช้

บทบาทผูป้ รบั เปลี่ยนเทคโนโลยีสารสนเทศวิเคราะห์ จดั การ พฒั นา เปลีย่ นแปลง และประเมนิ เทคโนโลยีสารสนเทศประยุกต์ใชท้ ฤษฎี ความรู้ ศาสตร์ทางการพยาบาล วทิ ยาศาสตรส์ ารสนเทศ วิทยาการคอมพิวเตอร์ ใน การปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลสร้างงานวิจัยท่จี ะเผยแพร่องคค์ วามรู้

บทบาทนักนวตั กรรมเทคโนโลยสี ารสนเทศออกแบบ และพัฒนาฐานขอ้ มลู งานวจิ ยั ทาง เทคโนโลยสี ารสนเทศทางการพยาบาลเผยแพรอ่ งคค์ วามร้ทู างดา้ นสารสนเทศทางการ พยาบาลออกแบบเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีสนับสนนุ พยาบาลใน การส่งตอ่ การดูแลผูป้ ่วย

โมเดลระบบสารสนเทศทางการพยาบาลInformatics Cognitive Nursing Science Science Information Computer Science Science Turley, 1996

ศาสตร์ทางการ ศาสตรส์ ารสนเทศ ศาสตร์คอมพวิ เตอร์พยาบาล หมายถงึ วิธีในการเกบ็ หมายถึง ระบบการทางานหมายถึง ขอ้ มูลท่ีแสดงถงึ รวบรวม จัดกลมุ่ และ ของ computer ทีจ่ ะชว่ ยการปฏิบัตกิ ารพยาบาล จดั การข้อมูล ประมวลผลและแสดงผล ขอ้ มลู ตามท่ีกาหนด


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook