Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิทยาศาสตร์ ม.ต้น พว21001

วิทยาศาสตร์ ม.ต้น พว21001

Description: รายวิชาบังคับ ม.ต้น

Search

Read the Text Version

46 ทาํ ไมจึงจัดวา นาํ้ กลน่ั เปน สารประกอบ ในน้าํ กลนั่ ประกอบดว ยอนุภาคเล็ก ๆ ที่เรียกวา โมเลกุลของนํ้า (H2O) ในทุก ๆ โมเลกุล ของนาํ้ ประกอบดวยอะตอมของธาตุไฮโดรเจน และอะตอมของธาตุออกซิเจน ในอัตราสวนคงที่ H : O ในอัตราสวน 2 อะตอม : 1 อะตอม เสมอ และเราสามารถใชวิธีการทางเคมีในการแยก โมเลกุลของนาํ้ ออกเปนกาซไฮโดรเจน และกาซออกซเิ จนได โดยจะไดไ ฮโดรเจน 2 หนวยปริมาตร ตอ ออกซิเจน 1 หนว ยปริมาตร เสมอโดยใชกระแสไฟฟา ดังสมการเคมตี อไปน้ี น้าํ บริสทุ ธ์ิ  กา ซไฮโดรเจน + กาซออกซเิ จน 2 H2O  2 H2 + O2 เม่ือนาํ้ มีองคประกอบของธาตมุ ากกวา 1 ธาตุ จึงจัดวา เปนสารปะกอบ ทองเหลอื งเกดิ จากธาตทุ องแดงกบั ธาตสุ งั กะสี ทําไมจงึ จัดเปน สารละลาย ไมจ ัดเปน สารประกอบ เราสามารถใชว ิธกี ารทางเคมี คือ การแยกสลายดว ยกระแสไฟฟา ในการแยกธาตุทองแดง และธาตุสงั กะสีออกจากแทง ทองเหลืองได ในทองเหลืองจงึ มอี งคป ระกอบมากกวา 1 ธาตุ ดวยเหตุท่ีอัตราสวนของทองแดงกับสังกะสี ในทองเหลืองนั้น ไมคงที่ กลาวคือ ในการ หลอมทองแดงกับสังกะสีแตละครั้งใหเกิดเปนทองเหลืองน้ัน อัตราสวนของธาตุทั้งสองนั้น ไม จําเปนตองคงท่ี จึงจัดวา ทองเหลอื งเปนสารละลาย มใิ ชส ารประกอบ การเกิดสารประกอบนั้น ขอสําคัญที่ตองระลึกไว คือ อัตราสวนในการรวมตัวของธาตุ องคประกอบในสารประกอบชนิดหนึง่ ๆ มีคาคงที่ เสมอ เรียกวา กฎสดั สว นคงท่ี ดตู วั อยาง ในนํ้า (water) มีอัตราสวนโดยจํานวน อะตอม H : O เปน 2:1 เสมอ อัตราสวนโดยมวล (หนว ยเปนกรมั ) H 2 กรมั รวมพอดีกับ O 16 กรมั เสมอ ถา หากอตั ราสวนเปลย่ี นไปจากน้ี จะเปน สารอืน่ เชน ไฮโดรเจนเปอรออกไซด( H2O2) ทใี่ ชเ ปนสารฆาเช้ือโรค ใชเปนสารฟอกสี มีอัตราสวน โดยจํานวน อะตอม H : O เปน 2 อะตอม :2 อะตอม (หรือ 1 อะตอม : 1 อะตอม) เสมอ และมี

47 อัตราสวนโดยมวล (หนวยเปนกรัม) H 2 กรัม รวมพอดีกับ O 32 กรัม เสมอ และนํ้ากับ ไฮโดรเจนเปอรออกไซดม ีสมบัติทางกายภาพและสมบัติทางเคมแี ตกตางกนั ในคารบอนไดออกไซด (CO2) มีอัตราสวนโดยจํานวนอะตอม C : O เปน1อะตอม : 2 อะตอม เสมอ อัตราสวนโดยมวล(หนวยเปนกรัม) C 12 กรัม รวมพอดีกับ O 32 กรัมเสมอ ถาหาก อตั ราสว นเปลีย่ นไปจากนี้ จะเปน สารอ่ืน เชน คารบอนมอนอกไซด (CO) ซ่ึงเปนแกสพิษจากการ เผาไหมแบบไมสมบรู ณของเคร่ืองยนต โดยเฉพาะเคร่อื งยนตเกา มีอัตราสวนโดยจํานวน อะตอม C : O เปน 1 อะตอม: 1 อะตอม เสมอ และมีอัตราสวนโดยมวล(หนวยเปนกรัม) C 12 กรัม รวม พอดกี บั O 16 กรัมเสมอ โดยท่ีสมบตั ิของกาซทัง้ สองนี้ทง้ั สมบตั ทิ างกายภาพและสมบตั ทิ างเคมีแตกตางกนั เชนกัน เราสามารถแยกแทงทองแดงใหเปนธาตุอนื่ หรอื เปลย่ี นแทง ทองแดงใหเ ปน ธาตอุ ื่นไดหรอื ไม ทองแดง ประกอบดวยอะตอมของธาตุเพียงธาตุเดียว คือ ธาตุทองแดง (Cu) เราจึงไม สามารถแยกแทงทองแดงใหเปนธาตุอื่นหรือเปล่ียนแทงทองแดงใหเปนธาตุอ่ืนไมได ทองแดงจึง จดั เปน ธาตุ ธาตุอ่ืน ๆ เชน เงิน ทองคํา สังกะสี ปรอท ก็ไมสามารถแยกหรือเปล่ียนใหเปนธาตุอ่ืนได สารบริสุทธิ์เหลา นี้ จดั เปน ธาตุ ไมใชส ารประกอบ

48 ยกตัวอยา งสารประกอบและธาตุในชวี ติ ประจาํ วนั พรอ มอธบิ ายสารประกอบและธาตนุ นั้ ยอ ๆ ในชีวิตประจําวันของเรา เก่ียวของกับสารประกอบมากมายหลายชนิด รอบ ๆ ตัวเรา ดงั ตวั อยางตอ ไปน้ี - อาหารประเภทแปง และนาํ้ ตาล เมอ่ื กินเขา ไปแลวสุดยายจะถกู ยอยยอยและเปลี่ยนเปน นํ้าตาลกลูโคส (Glucose , C6H12O6) กลูโคสเปนสารประกอบ ละลายอยูในนํ้าเลือดเปนแหลง พลงั งานใหก บั รางกาย - ในระดับเซลล กลูโคสถูกเผาผลาญ โดยทําปฏิกิริยากับกาซออกซิเจน (O2) [กาซออกซิเจนเปน ธาต)ุ เกดิ เปนคารบอนไดออกไซด (CO2) เปนสารประกอบซ่ึงถูกปลอยออกมา ทางลมหายใจ - ในหองครวั เราปรุงรสหวานใชน้ําตาลทราย หรือซูโครส (Sucrose , C12H22O11) ซ่ึงเปน สารประกอบ ปรุงรสเค็มดวยเกลือแกงหรือโซเดียมคลอไรด (NaCl) ซึ่งเปนสารประกอบ ปรุงรส เปร้ยี วดว ยน้ําสม สายชู ซ่งึ เปน สารละลายของ กรดแอซีติก (Acetic acid, CH3COOH) ละลายอยู ในน้าํ กรดแอซีตกิ ทบ่ี รสิ ทุ ธ์ิ จัดเปน สารประกอบ - ในแบตเตอร่ีรถยนต นํ้ากรดท่ีทําใหแบตเตอรีมีกระแสไฟฟาไหลไดครบวงจร คือ กรดซัลฟวรกิ (H2SO4) ซงึ่ เกดิ จากการละลายในกา ซซัลเฟอรไตรออกไซด SO3 ในนา้ํ กา ซซัลเฟอรไ ตรออกไซด (SO3) เปน สารประกอบ - ดินปน เกิดจากการบดดินประสิว ผงถาน และผงกํามะถันรวมกัน ดินประสิวหรือ โพแทสเซียมไนเตรต (KNO3) เปนสารประกอบ ผงถานเปนธาตุคารบอน (C) ผงกํามะถันเปนธาตุ ซัลเฟอร(S) - โลหะเหลวสีเทาเงินที่บรรจุในเทอรมอมิเตอรวดั ไข คอื โลหะปรอท (Hg) ปรอทจดั เปน ธาตุ - โลหะทองแดง (Cu) และ ใชเปนลวดตัวนําไฟฟา ในสายไฟฟาขนาดเล็ก ลวดอลูมิเนียม (Al) ใชเปน สายไฟฟาในสายสง ไฟฟา - ธาตุคารบอน (C) มี 3 รูป ไดแก ถานและถานหิน ใชเปนเชื้อเพลิง แกรไฟตซ่ึงเปนรูป เดียวของคารบอนทีน่ ําไฟฟาได ใชเ ปน ขัว้ ไฟฟา ในแกนถานไฟฉาย เพชรใชเปนเคร่ืองประดับ วัสดุ ตดั กระจก

49 ธาตุกมั มนั ตรงั สี (Radioactive Element) คอื อะไร ธาตุกัมมันตรังสี คือธาตุท่ีสามารถปลดปลอยรังสีออกมา อันเปนผลมาจากการเกิดการ เปลี่ยนแปลงหรือเกิดปฏิกิริยาท่ีนิวเคลียสของธาตุนั้น ปฏิกิริยาที่เกิดการเปลี่ยนแปลงของ นิวเคลยี สของธาตนุ ้ี มีชอ่ื เรยี กเฉพาะวา ปฏิกริ ยิ านิวเคลยี ร (Nuclear Reation) รังสีที่ธาตุปลดปลอ ยออกมา มี 2 ลกั ษณะ คอื 1) รงั สที เี่ ปนอนภุ าคซง่ึ มีพลังงานสงู ไดแก รงั สแี อลฟา (Alpha ray ,α) เปนอนุภาค นิวเคลียสของธาตุฮีเลียม ( 4 He ) ที่มีพลังงานสูง และรังสีบีตา (Beta ray , β) เปนอนุภาคบีตา 2 ( 0 e )ท่มี พี ลังงานสงู -1 2) รังสีท่ีเปนคลื่นแมเหล็กไฟฟา ไมมีมวล ไมมีอนุภาค เปนพลังงานรูปหน่ึง ไดแกรังสี แกมมา (Gamma ray,) (00 ) ตวั อยา งการแผร ังสีแอลฟา 4 He * 2 ธาตยุ ูเรเนียม-238 ( 238 U ) ในธรรมชาติ แผรังสีแอลฟา โดยเกิดปฎิกิริยาเปลี่ยนเปนธาตุ 92 ทอเรยี ม ( 23940Th ) และอนภุ าคแอลฟา ( 4 He * ) ที่มีพลังงานสูง (เครื่องหมาย * หมายถึงมีพลังงาน 2 สงู หรือสะสมพลังงานเอาไว) ดงั สมการนวิ เคลยี รต อไปน้ี  +U238 4 * 2 92 23940Th He ธาตุเรเดียม-226 ( )226 ในธรรมชาติ แผรังสีแอลฟา โดย เกิดปฎิกิริยาเปล่ียนเปนธาตุ 88 Ra เรดอน ( 222 Rn ) และอนภุ าคแอลฟา ( 4 He ) ท่ีมีพลังงานสูง (เคร่ืองหมาย * หมายถึงมีพลังงานสูง 86 2 หรือสะสมพลงั งานเอาไว) ดังสมการนิวเคลียรตอไปนี้  +226 222 4 He * 88 86 2 Ra Rn

50 ตวั อยา งการแผรงั สบี ตี า ธาตุโคบอลต-60 ( 60 Co ) ในธรรมชาติ แผรังสีบีตา โดย เกิดปฎิกิริยาเปลี่ยนเปนธาตุ 27 นิกเกิล ( 60 Ni ) และอนุภาคบีตา ( 0 e *) ท่ีมีพลังงานสูง(เคร่ืองหมาย * หมายถึงมีพลังงานสูงหรือ 28 -1 สะสมพลงั งานเอาไว) ดังสมการนิวเคลยี รตอไปน้ี  +60 60 Ni 0 e * 28 -1 27 Co ลองดูอีกตวั อยางหนง่ึ ธาตคุ ารบ อน-14 ( 14 C ) ทเ่ี ปนองคป ระกอบในสิ่งมชี ีวิตตามธรรมชาติ เชนในเนอ้ื เยื่อของ 6 พืช สามารถแผรงั สีบตี า โดย เกิดปฎกิ ิริยาเปล่ยี นเปนธาตไุ นโตรเจน ( 14 N ) และอนุภาคบตี า ( 0 e *) 7 -1 ทม่ี ีพลังงานสูง (เคร่ืองหมาย * หมายถงึ มพี ลังงานสงู หรือสะสมพลังงานเอาไว) ดงั สมการนวิ เคลยี ร ตอไปน้ี  +14C 14 N 0 e * 7 -1 6 เม่ือรงั สแี กมมา ไมใชอ นภุ าค แลว การแผร งั สแี กมมา เกดิ ขนึ้ ไดอ ยา งไร โดยธรรมชาตแิ ลว การแผรงั สแี กมมา จะไมเกิดตามลําพงั แตจ ะเกิดตามหลังการแผรงั สี แอลฟา หรอื การแผร ังสีบตี า โดย อนุภาคแอลฟาทม่ี พี ลังงานสูงหรอื อนุภาคบตี า ทีม่ พี ลังงานสงู น้ัน ปลดปลอ ยพลงั งานออกมาในรปู คลืน่ แมเ หลก็ ไฟฟา กค็ ือ รังสแี กมมา น่ันเอง ตวั อยาง กรณีเกิดตามหลังการแผร ังสแี อลฟา  +226 222 4 He * 88 86 2 Ra Rn ตอมา 4 He * ปลดปลอ ยพลงั งานออกมา ดงั น้ี ;  +4 * 4 00 (รังสแี กมมา) 2 2 2 He He

51 กรณเี กิดตามหลังการแผรงั สีบีตา  +60 60 0 e * 28 -1 27 Co Ni ตอมา 0 e * ปลดปลอ ยพลังงานออกมา ดังน้ี ; 0e * 0 e + 00 (รังสีแกมมา) -1 -1 -1 ธาตกุ มั มนั ตรงั สี มปี ระโยชนหรอื โทษอยา งไรบาง ยกตัวอยาง ประโยชน ธาตุยูเรเนียม ชนิด U-235 สามารถใชเปนแหลงกําเนิดพลังงานนิวเคลียร ในเตาปฏิกรณ นวิ เคลียร ซง่ึ สามารถใชเปนแหลงผลิตไฟฟา ในโรงไฟฟา นวิ เคลยี ร หรือใชเปน ตนกําเนิดพลังงานใน การขบั ดนั เรือดําน้ําได ธาตไุ อโอดนี ชนดิ I-131 ใชใ นการตดิ ตามรกั ษาโรคของตอ มไธรอยด ธาตุโคบอลต-60 ใชเปนแหลงกําเนิดรังสีในการรักษาโรคมะเร็งดวยการฉายแสงหรือรังสี รักษา(Radiotherapy) ใชเปนตน กาํ เนิดในของรังสีทีใ่ ชฉ ายเพอื่ การถนอมอาหาร คารบอน-14 ใชในการคํานวณหาอายุของซากพืช อายุของวัตถุโบราณ (Carbon-14 dating) โดยอาศัยหลักการสําคัญวา คารบอน -14 มีคร่ึงชีวิต 5,730 ป (หมายความวาเมื่อเวลา ผานไป 5,730 ป กัมมันตภาพหรือความสามารถในการปลดปลอยรังสีของ คารบอน-14 ลดลง เหลอื ครึ่งหน่ึงของคารบอน-14 ในพชื ขณะมชี ีวิต) ตวั อยา งเชน ถาวัดกัมมันตภาพของคารบอน-14 ในซากเรือโบราณ แลวพบวา เปนครึ่งหนึ่งของ กัมมันตภาพในพืชที่มีชีวิต แสดงวาเวลาผานไปแลวเทากับครึ่งชีวิตของ คารบอน-14 คือมีอายุ 5,730 ป ถาวัดกัมมันตภาพของคารบอน-14 ในซากเรือโบราณ แลวพบวา เหลือ 1 ใน 4 ของ กมั มันตภาพในพืชท่ีมีชีวิต แสดงวาเวลาผานไปแลวเทากับ 2 เทา ของครึ่งชีวิตของ คารบอน-14 คือ มอี ายุ เปน 2 เทาของเวลา 5,730 ป หรอื 11,460 ป หรือถาวัดกัมมันตภาพของคารบอน-14 ในซากเรือโบราณ แลวพบวา เหลือ 1 ใน 8 ของกมั มันตภาพในพืชที่มชี ีวิต แสดงวา เวลาผา นไปแลว เทากับ 3 เทา ของครึ่งชีวิตของ คารบอน- 14 คอื มีอายุ เปน 2-เทา ของเวลา 5,730 ป หรอื 17,190 ป เปน ตน

52 โทษ เนื่องจากธาตกุ มั มันตรังสีทุกชนิดพรอมท่ีจะปลดปลอยพลังงานออกมา ดังน้ัน การสัมผัส กับวัตถทุ มธี าตุกมั มนั ตรงั สีเกินคา ความปลอดภัยน้ัน ยอ มกอ ใหเ กดิ อนั ตรายตอ รา งกาย อวัยวะตาง ๆ มีโอกาสถกู ทําลาย ขาว เนื่อเยื่อของอวยั วะอาจถูกทาํ ลาย เม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาวลดลง ทําให รา งกายมภี มู ติ านทานลดลง เสี่ยงตอการติดเช้ือ ในกรณีไดรับรังสีเปนปริมาณมาก ๆ ตอเนื่องกัน เปนเวลานานอาจเปนเหตใุ หเ สียชวี ติ ได

53 บทที่ 9 สารละลาย สารละลาย มีองคป ระกอบอยางไร ดังทไ่ี ดก ลา วมาแลวในเรื่องการจําแนกสาร วา สารละลาย คือสารเนื้อเดียวท่ีมีองคประกอบของ สารมากกวา 1 ชนิด มารวมเปนเน้อื เดยี วกัน องคประกอบสาํ คญั ของสารละลาย จึงประกอบดวย 1) ตัวทาํ ละลาย (solvent) 2) ตวั ถูกละลายหรือตวั ละลาย (solute) ตัวอยา ง - นา้ํ เชื่อมประกอบดว ยนํ้าตาลทรายกับนา้ํ โดยมีนํ้าตาลทรายเปนตัวถูกละลาย น้ําเปนตัว ทําละลายคารบ อนไดออกไซด - นํ้าอัดลม มีสารสําคัญ คือ นํ้า นํ้าตาลทราย อินเวอรสชูการ (หมายถึงของผสมระหวาง นํ้าตาลกลูโคสกับนํ้าตาลฟรุกโทส) กาซคารบอนไดออกไซด และสารอ่ืน ๆ อีกเล็กนอย (เชน สี สารแตง กลนิ่ ) กรณีนี้ มีน้ําเปน ตัวทําละลาย สารอ่ืน ๆ ทเ่ี หลือเปน ตัวถกู ละลาย - ซิลเวอรอมลั กมั เปนโลหะท่ีใชเ ปนวัสดุอุดฟนชนดิ หนึ่ง ประกอบดว ยโลหะปรอทกับโลหะ เงนิ เปน สารละลายทเ่ี กิดจากโลหะปรอท (Hg) กบั โลหะเงิน (Ag) กรณนี ี้โลหะเงนิ เปนตัวทําละลาย โลหะปรอทเปนตวั ถูกละลาย เกณฑในการตัดสนิ วาสารใดเปน ตวั ทาํ ละลาย สารใดเปน ตวั ถกู ละลาย มีเกณฑส ําคญั อยา งไร เกณฑการตดั สนิ วา สารใดเปน ตัวทาํ ละลาย สารใดเปน ตัวถูกละลาย แบงเปน 2 กรณี ดังนี้ 1) กรณที ี่องคป ระกอบของสารละลาย มีสถานะตางกัน เชน กรณีของนํ้าเชื่อมเกิดจากน้ํา (ของเหลว) ผสมกบั น้าํ ตาล (ของแขง็ ) เมื่อเปนสารละลายมีสถานะเปนของเหลว กรณีนี้ จะถือวา สารทมี่ สี ถานะเหมือนสถานะของสารละลาย (ในท่ีนี้คือ นํ้า) เปนตัวทําละลาย สารที่เหลือเปนตัว ถูกละลาย กรณีของน้ําโซดา เกิดจากกาซคารบอนไดออกไซด (กาซ) กับนํ้า (ของเหลว) สารละลายท่ไี ดเ ปนของเหลว ในกรณีน้ี จึงถอื วา นํ้าเปนตัวทําละลาย กาซคารบอนไดออกไวดเปน

54 ตวั ถูกละลาย กรณีซิลเวอรอ มลั กัม ประกอบดวยปรอท (ของเหลว) กับเงนิ (ของแข็ง) สารละลายที่ ไดม ีสถานะเปน ของแขง็ จึงถอื วาเงนิ เปน ตัวทําละลาย ปรอทเปน ตัวถูกละลาย 2) กรณที อ่ี งคป ระกอบมีสถานะเหมอื นกนั ถือวา องคป ระกอบท่มี ีมากกวา เปน ตัวทาํ ละลาย ท่ีเหลือเปนตัวถูกละลาย เชน อากาศท่ีบริสุทธิ์ (ไมมีฝุนละออง หมอกควัน) ประกอบดวย กาซไนโตรเจนประมาณ 78% ออกซิเจนประมาณ 21% ที่เหลือเปนกาซอื่น ๆ จึงถือวา กาซไนโตรเจนเปนตัวทําละลาย กาซอื่น ๆ เปนตัวถูกละลาย กรณีของทองเหลือง (มีสังกะสี ระหวาง 5-45% มีทองแดงระหวาง 55 – 95 %) เนื่องจากองคประกอบท้ังสองมีสถานะ เหมือนกัน จึงถอื วาทองแดง(ซ่ึงมปี รมิ าณมากกวา) เปนตัวทําละลาย สังกะสเี ปน ตัวถูกละลาย สารละลายมีสมบตั ิทเ่ี ปลยี่ นแปลงไปจากสมบตั ิของตวั ทําละลาย (ของสารละลายนน้ั ) อยางไรบาง เมือ่ เตมิ ตัวถูกละลาย ลงในตวั ทาํ ละลายททําใหเ กิดสารละลาย สมบตั ิสาํ คัญของสารละลายจะ เปล่ียนแปลงไปจากสมบัตขิ องตัวทําละลายบริสทุ ธิข์ องสารละลายนัน้ ดังนี้ 1) ความดนั ไอของสารละลายตาํ่ กวาความดันไอของตัวทาํ ละลายบริสุทธ์ิ 2) จุดเดอื ดของสารละลายสงู กวาจุดเดือดของตัวทําละลายบรสิ ุทธิ์ 3) จดุ เยอื กแข็งของสารละลายต่าํ กวา จุดเยือกแขง็ ของตวั ทําละลายบริสุทธิ์ 4) เกิดแรงดันออสโมซสิ ความสามารถในการละลายของสาร (solubility) หมายถงึ อะไร ความสามารถในการละลายของสารใด ๆ หมายถงึ ปรมิ าณของสารนั้น ๆ (หนวยเปน กรัม) ทีล่ ะลายในตวั ทาํ ละลายชนดิ หน่ึง ๆ (ปริมาณ 100 กรัม) ณ อุณหภูมคิ า หน่ึง

55 ปจ จยั ทีม่ ีผลตอความสามารถในการละลายของสาร มปี จจยั ใดบา ง ปจจยั ทม่ี ผี ลตอ ความสามารถในการละลายของสาร ไดแกปจ จัยตอไปน้ี 1) ชนิดของสารหรือธรรมชาติของสารนั้น ๆ เอง แชน เกลือแกงละลายไดดีในน้ํา แต ละลายไดน อ ยในแอลกอฮอล นาํ้ มันพืชละลายไดดีในตัวทาํ ละลายอินทรีย แตล ะลายไดน อยหรือไม ละลายในนํ้า 2) อุณหภูมิ การเปล่ียนแปลงอุณหภูมิมีผลใหความสามารถของการละลายของสาร เปล่ียนแปลงไป มีสารบางชนิด เม่ืออุณหภมิสูงข้ึน (รอนข้ึน) ละลายไดดีขึ้น เม่ืออุณหภูมิลดลง (เย็นลง) ละลายไดลดลง เชน เกลือแกงละลายในน้ําไดดีขึ้นเม่ืออุณหภูมิเพ่ิมข้ึน ในขณะท่ีมีสาร บางชนดิ เปน ไปในทางกลับกัน คือมอื่ อุณหภมิสูงข้ึน (รอนข้ึน) ละลายไดลดลง เมื่ออุณหภูมิลดลง (เยน็ ลง) ละลายไดดีขึ้น เชนแคลเซียมโครเมต (CaCrO4) ละลายไดดีในนํ้าเย็น ละลายไดลดลงใน นาํ้ รอ น เปน ตน การละลายของแกสทกุ ชนิดในนา้ํ จะละลายไดลดลงเมอื่ อุณหภูมสิ ูงขึ้น 3) ความดัน การเปลี่ยนแปลงความดัน จะมีผลชัดเจน ในการละลายของสารที่เปนแกส เชน กาซคารบอนไดออกไซดสามารถละลายในน้ําไดดี เม่ืออัดดวยความดันสูง จะเห็นไดชัดวา เม่อื เปด ฝาขวด (ความดันลดลง) คารบอนไดออกไซดละลายไดลดลง จึงทําใหคารบอนไดออกไซด สว นทล่ี ะลายได (ขณะทม่ี คี วามดันสงู ) ปุดออกมาเหน็ เปนฟอง (ขณะท่คี วามดนั ตํ่า) ความเขมขนของสารละลายคอื อะไร สารละลายเขม ขน สารละลายเจอื จางหมายความวา อยา งไร ความเขมขน (concentration) ของสารละลาย หมายถงึ การบอกปรมิ าณตัวถูกละลายใน สารละลายปริมาณหนึ่ง หรือในตัวทําละลายปริมาณหนึ่งวามีตัวถูกละลายอยูมากนอยเพียงใด โดยสามารถบอกไดใ นหลายหนว ย สารละลายเขมขน หมายถงึ สารละลายท่ีมปี ริมาณตวั ถูกละลายอยปู ริมาณมาก สารละลายเจือจาง หมายถงึ สารละลายทมี่ ปี รมิ าณตัวถูกละลายอยูปรมิ าณนอย

56 หนวยความเขม ขน ของสารละลาย ทส่ี ําคญั สามารถบอกในหนว ยใดไดบ าง การบอกความเขม ขนของสารละลาย สามารถบอกไดใ นหลายหนว ย โดยมีหนว ยทส่ี ําคัญ ดงั น้ี 1. รอยละ แบงออกไดเ ปน 3 ลักษณะ คอื 1.1 รอยละโดยมวลตอมวล เรียกยอวา รอยละโดยมวล เปนการบอกมวลของตัวถูก ละลาย วามีก่ีหนวยมวล (เชน กี่กรัม) ในสารละลาย 100 หนวยมวลเดียวกัน (เชน 100 กรมั ) 1.2 รอยละโดยปริมาตรตอปริมาตร เรียกยอวา รอยละโดยปริมาตร เปนการบอก ปรมิ าตรของตัวถูกละลาย วามีกี่หนวยปริมาตร (เชน ก่ี cm3) ในสารละลาย 100 หนวยปรมิ าตรเดียวกนั (เชน 100 cm3) 1.3 รอยละโดยมวลตอปริมาตร เปนการบอกมวลของตัวถูกละลายเปนกรัม ใน สารละลายปรมิ าตร 100 cm3 2. โมลตอลูกบาศกเดซิเมตร หรือ โมลาริตี Molarity ,mol/dm3 ) ยอวา โมลาร (M) เปนการบอกปริมาณตัวถูกละลายเปนโมลในสารละลายปริมาตร 1 dm3 หรอื 1 ลติ ร 3. โมลตอกิโลกรัมหรือโมแลลิตี (molality ,mol/kg) ยอวา โมแลล (m) เปนการบอก ปรมิ าณตวั ถูกละลายเปนโมล ในตัวทําละลายหนัก 1 kg 4. สวนในลานสวน (part per million ยอ ppm) เปนการบอกปริมาณตัวถูกละลายวามี กหี่ นวย ใน สารละลาย 1 หนวยเดยี วกัน ในการเตรียมสารละลายใหม คี วามเขม ขนตามที่ตอ งการ มอี ปุ กรณจาํ เปน อะไรบา ง การเตรียมสารละลาย หมายถึงการนําตวั ถกู ละลายกบั ตวั ทําละลายมาผสมกนั ใหไ ดความ เขม ขน เทา ทต่ี องการ อปุ กรณท ่ีจาํ เปน ตอ งใช ไดแกอ ุปกรณต อ ไปนี้ 1) เคร่ืองชง่ั ทีส่ ามารถบอกนาํ้ หนักไดละเอยี ด กรณีที่ตองการความเขมขนท่เี ที่ยงตรงมาก ๆ อาจจาํ เปนใชเครอื่ งช่ังท่สี ามารถมีความละเอยี ดถึง 0.0001 กรัม 2) อุปกรณทใ่ี ชวดั ปริมาตรไดถูกตอ ง เทย่ี งตรง

57 - ขวดวัดปรมิ าตร ซ่งึ มีลกั ษณะเปน ขวดแกว คอแคบ ทรงสูง เพ่อื ลดความผิดพลาดใน การอา นปริมาตร ขนาดของขวดบรรจไุ ดพียงปรมิ าตรคา เดยี ว เชน ขวดขนาด 50 cm3 100 cm3 250 cm3 500 cm3 - ปเปตต มี 2 แบบ คือแบบท่ีวัดปริมาตรไดคา เดียวกับแบบทีใ่ ชวดั ปริมาตร ตาม ปริมาณท่ีตอ งการ 3) ภาชนะ เชน บีกเกอร ท่ใี ชใ นการละลาย กอนท่จี ะเทสารละลายลงในขวดวัดปรมิ าตร 4) แทง แกว คน 5) ขวดบรรจุน้าํ กลั่น 6) กระดาษรองสาร ใชใ นการชั่งสาร/ชอนตักสาร ใหอ ธิบายขน้ั ตอนการเตรียมสารละลายโซเดยี มคลอไรด 1% โดยมวลตอ ปรมิ าตร ปรมิ าตร ของสารละลายทต่ี องการใช คอื 100 cm3 สารละลายโซเดียมคลอไรด (NaCl) 1% หมายความวา ในสารละลายปริมาตรสุดทาย 100 cm3 ตองมี NaCl ละลายอยู 1 กรัม ขั้นตอนการเตรียม มดี ังน้ี 1) หยิบขวดวัดปริมาตร ขนาด 100 cm3 มา 1 ใบ 2) ใชกระดาษรองชั่งสาร วางบนจานชั่ง ปรับน้ําหนักใหอานท่ี 0.0000 กรัม ใชชอนตัก NaCl วางบนกระดาษบนจานช่งั ทีละนอย ๆ จน อา นนา้ํ หนกั ได 1.0000 กรมั พอดี 3) ละลาย NaCl ดวยนํ้ากลั่น ในบีกเกอร (ควรใชนํ้าปริมาณนอย ๆ) คนดวยแทงแกวจน ละลายหมด เทสารละลายทั้งหมดลงในขวดวัดปริมาตร ลางบีกเกอรซํ้าดวยน้ํากล่ันหลาย ๆ คร้ัง เทนํ้ากล่ันท่ีลางบีกเกอรนั้นลงในขวดวัดปริมาตร (ปริมาตรจากการลางทุกครั้งรวมกับปริมาตร ครงั้ แรก ตองนอยกวา 100 cm3) 4) เติมนํ้ากลั่นลงในขวดวัดปริมาตร จนถึงขีดบอกปริมาตร 100 cm3 เขยาใหเขากัน โดยการพลกิ ขวดกลับไปกลับมา สารละลายท่ีได มี NaCl 1 กรัม ในสารละลายปริมาตร 100 cm3 มีความเขมขนและปริมาตรที่ ตองการ

58 ใหอธบิ ายขั้นตอนการเตรียมสารละลายกลโู คส 5% โดยมวลตอปริมาตร ปริมาตรของ สารละลายทต่ี อ งการใช คอื 200 cm3 สารละลายโซเดียมกลูโคส 5% หมายความวา ในสารละลายปริมาตรสุดทาย 100 cm3 ตองมี กลูโคส ละลายอยู 5 กรัม ดังน้ัน ในสารละลายปริมาตรสุดทาย 200 cm3 จึงตองมีกลูโคส 10 กรมั ขน้ั ตอนการเตรียม มดี งั น้ี 1) หยิบขวดวัดปริมาตร ขนาด 200 cm3 มา 1 ใบ 2) ใชก ระดาษรองช่งั สาร วางบนจานช่ัง ปรับนํ้าหนักใหอานท่ี 0.0000 กรัม ใชชอนตักผง กลูโคส วางบนกระดาษบนจานชงั่ ทีละนอย ๆ จน อา นนาํ้ หนกั ได 10.0000 กรัม พอดี 3) ละลายกลูโคส ดว ยน้ํากลั่น ในบีกเกอร (ควรใชน้ําปริมาณนอย ๆ) คนดวยแทงแกวจน ละลายหมด เทสารละลายทั้งหมดลงในขวดวัดปริมาตร ลางบีกเกอรซํ้าดวยน้ํากล่ันหลาย ๆ คร้ัง เทน้ํากล่ันท่ีลางบีกเกอรน้ันลงในขวดวัดปริมาตร (ปริมาตรจากการลางทุกครั้งรวมกับปริมาตร ครั้งแรก ตอ งนอยกวา 200 cm3) 4) เติมน้ํากลั่นลงในขวดวัดปริมาตร จนถึงขีดบอกปริมาตร 200 cm3 เขยาใหเขากัน โดยการพลกิ ขวดกลบั ไปกลบั มา สารละลายที่ได มี กลูโคส 200 กรัม ในสารละลายปริมาตร 200 cm3 จึงมีความเขมขน 5% และ ปรมิ าตร 200 cm3 ตามที่ตองการ ใหอธิบายขนั้ ตอนการเตรยี มสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด(NaOH) 1 M ปริมาตรของ สารละลายทต่ี อ งการใช คอื 100 cm3 สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด (NaOH) 1 M หมายความวา ในสารละลายปริมาตรสุดทาย 1 dm3(หรือเทา กบั 1,000 cm3) ตองมี NaOH ละลายอยู 1 mol ( NaOH 1 mol มีมวล 40 กรมั ) ในสารละลาย 1,000 cm3 ตอ งมี NaOH ละลายอยู 40 กรมั ดังนนั้ ในสารละลาย 100 cm3 จึงตองมี NaOH ละลายอยู (40 กรัม)x(100 cm3)/(1,000 cm3) = 4 กรมั

59 ขนั้ ตอนการเตรียม มดี ังนี้ 1) หยบิ ขวดวัดปรมิ าตร ขนาด 100 cm3 มา 1 ใบ 2) ใชกระดาษรองช่ังสาร วางบนจานชั่ง ปรับน้ําหนักใหอานที่ 0.0000 กรัม ใชชอนตัก NaOH วางบนกระดาษบนจานชง่ั ทีละนอย ๆ จน อานนํ้าหนักได 4.0000 กรัม พอดี 3) ละลาย NaOH ดวยนํ้ากลนั่ ในบีกเกอร (ควรใชนํา้ ปริมาณนอย ๆ ) คนดวยแทงแกวจน ละลายหมด เทสารละลายท้ังหมดลงในขวดวดั ปริมาตร ลางบีกเกอรซ้ําดวยน้ํากลั่นหลาย ๆ ครั้ง เทนํ้ากลั่นที่ลางบีกเกอรนั้นลงในขวดวัดปริมาตร (ปริมาตรจากการลางทุกคร้ังรวมกับปริมาตร ครั้งแรก ตองนอยกวา 100 cm3) 4) เติมนํ้ากลั่นลงในขวดวัดปริมาตร จนถึงขีดบอกปริมาตร 100 cm3 เขยาใหเขากัน โดยการพลิกขวดกลับไปกลับมา สารละลายทีไ่ ด มีความเขม ขน และปริมาตรทต่ี อ งการ กรด หมายถงึ อะไร เบส หมายถึงอะไร นยิ ามเชงิ ทฤษฎี กรดหมายถงึ สารทล่ี ะลายน้าํ แลว สามารถแตกตัวให H+ ไอออน(ไฮโดรเจนออน) เบส หมายถึง สารท่ลี ะลายนา้ํ แลว สามารถแตกตัวให OH- ไอออน(ไฮดรอกไซดไ อออน) (เรยี กนยิ ามนี้วา นยิ ามกรดเบสของอารเรเนียส) กรดหมายถงึ สารทสี่ ามารถใหโปรตอน (H+) แกส ารอน่ื ได เบส หมายถึง สารที่สามารถรบั โปรตอน (H+) จากสารอนื่ ได (เรียกนยิ ามนี้วา นยิ ามกรดเบสของบรอนสเตด – เลาวร ี) นิยามเชิงปฏบิ ตั กิ าร กรด คือสารท่ีละลายน้ําแลวไดสารละลายท่ีสามารถเปล่ียนสีกระดาษลิตมัสจากสีนํ้าเงิน เปน แดง เบส คอื สารที่ละลายนํ้าแลวไดสารละลายทีส่ ามารถเปลี่ยนสกี ระดาษลิตมัสจากสีแดงเปน นา้ํ เงนิ

60 โดยนยิ ามนี้ สารท่ีไมเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสทั้งสีแดง และสีน้ําเงิน กลาวคือ เม่ือทดสอบ กับกระดาษลิตมัสสีแดง ก็ยังคงใหสีแดงเหมือนเดิม และเม่ือทดสอบกับกระดาษลิตมัสสีน้ําเงิน ยังคงเปนสีนํ้าเงิน สารท่ีมีสมบัติเชนน้ี เรียกวา เปนกลาง เชน นํ้ากลั่น น้ําเกลือ(เกลือแกง) สารละลายนํ้าตาลทราย สมบตั ขิ องกรดทเ่ี ดน ๆ มอี ะไรบาง และสมบตั ทิ เี่ ดน ๆ ของเบส มอี ะไรบา ง สมบัตขิ องกรด มดี งั ตอไปนี้ 1. มธี าตไุ ฮโดรเจนเปนองคป ระกอบ 2. มีรสเปร้ยี ว 3. ทําปฏิกิริยากับโลหะบางชนดิ เชน สังกะสี อลมู เิ นียม แมกนเี ซยี ม จะไดแกสไฮโดรเจน และโลหะเหลา น้ัน จะกรอ นไป เปลย่ี นไปเปนไอออนของโลหะทส่ี ามารถละลายนา้ํ ได 4. ทาํ ปฏิกริ ยิ ากับหินปนู ซ่งึ มีสารประกอบแคลเซียมคารบอเนตเปนองคป ระกอบหลกั หนิ ปูนสึกกรอ น ไดแ กส คารบอนไดออกไซด 5. สารละลายกรดบางชนิดนาํ ไฟฟา ไดด ี (เรียกวา กรดแก) บางชนดิ นําไฟฟา ไดเ ล็กนอ ย (เรียกวา กรดออน) สมบตั ขิ องเบส 1. ลน่ื คลายสบู 2. ทําปฏกิ ิริยากบั สารประกอบพวกแอมโมเนยี ม จะใหแ กส แอมโมเนยี ซึ่งมกี ล่ินฉุน 3. ทาํ ปฏกิ ริ ิยากบั น้าํ มนั หรอื ไขมนั ไดผลิตภัณฑเ ปน พวกสบู 4. ทําปฏกิ ริ ิยากับโลหะบางชนิด เชน อลมู ิเนียม เกิดกา ซไฮโดรเจน 5. มีรสฝาด ปฎกิ ริ ยิ าการสะเทิน หรอื การทําใหเ ปน กลาง (Neutralization) คอื อะไร ถาผสมสารละลายกรด กับสารละลายเบส เขาดวยกัน กรดกับเบส จะทําปฎิกิริยากัน เกิดเกลอื (salt) กับนํา้ ความเปน กรด ถา จํานวนกรดกบั เบสทาํ ปฏิกิริยากันพอดี ความเปนกรดจะ

61 หายไป และความเปนเบสกห็ ายไปดวย จึงเรียกปฏิกิริยานี้ วาการสะเทิน หรือการทําใหเปนกลาง (Neutralization) ดูตวั อยา ง กรดไฮโดรคลอริก + โซเดียมไฮดรอกไซด  เกลอื โซเดียมคลอไรด + น้ํา กรด HCl เบส NaOH เกลือ NaCl H2O (กรดเกลอื ) (เกลอื แกง) กรดไนตริก + โพแทสเซียมไฮดรอกไซด  เกลอื โพแทสเซยี มไนเตรต + นํ้า กรด HNO3 เบส KOH เกลือ KNO3 H2O (กรดดินประสวิ ) (ดนิ ประสวิ ) โดยนัยนี้ เกลอื จงึ หมายถึงสารประกอบทเ่ี กิดจากการทาํ ปฏกิ ิรยิ าระหวา งกรดกบั เบส เกลือ ในทางเคมีจึงมีมากมายหลายชนิด มิไดหมายถึง เกลือแกง อยางเดียว เกลือแกงเปนเพียงเลกือ ชนดิ หน่งึ เทา นน้ั สารละลายอเิ ล็กโตรไลต คอื อะไร สารละลายอิเล็กโตรไลต (Electrolyte) สารละลายที่สามารถนําไฟฟาได ไดแก สารละลายกรด สารละลายเบส และสารละลายของเกลือ สวนสารละลายท่ีไมนําไฟฟา เชน สารละลายนํ้าตาลทรายในนํ้า สารละลายกลูโคสในนํา้ หรอื สารละลายของเอทิลแอลกอฮอลในนํ้า ไมนาํ ไฟฟา เรียก สารละลายนอนอเิ ล็กโตรไลต (Non-Electrolyte) pH คอื อะไร คา pH เปนคา ท่ใี ชบอกความเปนกรด เปนเบสของสาร โดยมีสเกลระหวาง 0-14 คาท่ีตํ่า กวา 7 บอกวาสารนั้น เปน กรด ย่ิงต่ํากวา 7 มาก ๆ ยิ่งเปนกรดมาก คาท่ีสูงกวา 7 เปนการบอก วา สารน้ัน เปนเบส ย่ิงสูงกวา 7 มาก ๆ ยิ่งเปนเบสมาก สวนคา 7 พอดีนั้น บอกวาสารน้ันเปน กลาง

62 โดยนัยนี้ สารละลายที่มีคา pH = 1 จึงเปนกรดแรงกวาสารละลายที่มีคา pH 5 สารละลายที่มคี า pH = 12 จึงเปน เบสแรงกวา สารละลายท่มี คี า pH 8 เปน ตน อนิ ดเิ คเตอร คอื อะไร มคี วามสําคัญอยางไร อินดิเคเตอร (Indicator) มาจากคําวา Indicate ท่ีแปลวาบงช้ี Indicator หมายถึง ตัวบงช้ีความเปนกรดเปนเบส ของสาร นั่นเอง อินดิเคเตอรมีหลายชนิด กระดาษลิตมัสท่ีได อธิบายไปแลว นนั้ เปน อนิ ดเิ คเตอรชนิดหนึ่ง อนิ ดิเคตอร ชนิดอ่ืน ๆ เชน สารละลายฟนอลฟธาลีน ถาหยดลงในสารละลายท่ีมีคา pH ตํ่ากวา 8.3 จะไมมสี ี แตถ าหนดลงในสารละลายท่มี คี า pH 8.3 ข้ึน ไป สารละลายจะเปล่ียนเปน สชี มพู สจี ะย่งิ เขม ข้ึนเม่อื pH สูงขน้ึ อินดิเคเตอร ที่สามารถบอกคา pH ไดหลาย ๆ คา เรียกวา ยูนิเวอรแซลอินดิเคเตอร (Universal Indicator) Universal แปลวา ครอบจักรวาล มีหลาย 2 แบบ คือ แบบชุบแถบ กระดาษ กับแบบสารละลาย แบบชุบถบกระดาษ วิธีการหคา pH ทําไดโดยใชแทงแกวจุม สารละลายท่ีตองการวัดคา pH แลวนํามาแตะกับแถบกระดาษ แถบกระดาษยูนิเวอรแซลอินดิ เคเตอรนี้ จะเปล่ียนสี นําไปเททียบสีกับแถบสีที่หนากลอง อานคา pH ออกมาได สวนแบบ สารละลาย วธิ ีการวดั คา pH ทาํ ไดโดยหยดสารละลายอนิ ดิเคเตอรลงในสารรละลายที่ตองการวัด คา pH นาํ สารละลายที่ไดไ ปเทียบสีกับแถบสี อา นคาท pH ไดเชนกนั อินดิเคเตอรมีประโยชน คือ ใชในการบอกคา pH ของสารละลายท่ีตองการทราบ เชน วัดคา pH ของนา้ํ ในบอเลย้ี งปลา คา pH ของดนิ เปน ตน

63 อยางไรก็ตาม ดวยความกาวหนาทางเทคโนโลยี ปจจุบันมีเครื่องมือที่ใชวัดคา pH ได แมน ยาํ เรียกวา pH meter เปน เคร่อื งวดั กระแสไฟฟาแบบหนึ่ง ใหยกตัวอยา งกรดเบสทใ่ี ชใ นชีวิตประจําวนั และเหตกุ ารณทีเ่ กีย่ วของกับความเปนกรดเบสของสาร ในชีวติ ประจาํ วัน เราเกี่ยวขอ งกับสารทเ่ี ปนกรด เบสมากมาย ดังตวั อยางตอไปน้ี - ในการปรุงอาหาร เราปรุงรสเปร้ียวดวยนํ้าสมสายชู ไมวาจะเปนนํ้าสมสายชูหมัก หรือ น้ําสมสายชูกลั่น นั่นคือ สารละลายของกรดแอซีติก (Acetic acid, CH3COOH) ในนํ้า หากปรุงรสเปร่ียวดวยนํ้ามะนาว หรือนํ้ามะนาวสังเคราะห น่ันคือ สารละลายของกรดซิตริก (Citric acid ,C6H8O7) - ในอตุ สาหกรรมยางพารา การทาํ ใหเนอ้ื ยางแยกออกจากน้าํ ยางเกิดเปนยางกอนและยาง แผน ทําไดโดยการเติม “น้ําสมฆายาง” คือสารละลายกรดฟอรมิก (formic acid , HCOOH) ซึ่งเปนกรดชิดเดียวกับท่ีอยูในตัวมดแดง เราจึงเรียกกรดชนิดนี้วากรดมด (formic มาจากคําวา formaca ในภาษาละตนิ หมายถงึ มด) - ในแบตเตอรรี ถยนต สารละลายที่ทําหนาท่ีเปนสารละลายอิเล็กโตรไลต คือ สารละลาย กรดซลั ฟวริก (Sulfuric acid , H2SO4) - กรดไฮโดรคลอริก (Hydrochloric acid ,HCl) หรือกรดเกลือเปนองคประกอบในน้ํายา ลา งพื้นหองนํา้ - ในนาํ้ อัดลม หรือ นา้ํ โซดา เปนสารละลายของกรดคารบอนิก (Carbonic acid ,H2CO3) ซงึ่ เกดิ จากการรวมตัวของโมเลกุลคารบออนไดออกไซด (CO2)กบั โมเลกลุ ของน้าํ (H2O) - วิตามินซี มีชอ่ื วา กรดแอสคอรบิก (Ascorbic acid ,C6H8O6) - ยาแกปวดกลุมแอสไพริน ซ่ึงมีชื่อทางเคมีวา แอซีทิลซาลิซิลิกแอซิด (Acetyl salicylic acid, C9H8O4) มีฤทธิ์เปนกรด การกินยาแอสไพริน จึงควรกินหลังอาหาร หรือด่ืมน้ําตามมาก ๆ เพราะหากกินกอนอาหาร หรือไมดืม่ นํ้าตามมาก ๆ อาจกดั กระเพาะได - สารละลายเบส โซเดียมไฮดรอกไซด (NaOH) ใชในอุตสาหกรรมการผลิตสบู แกว กระดาษ ผงชูรส - สารละลายเบส โพแทสเซียมไฮดรอกไซด (KOH) ใชในอตุ สาหกรรมการผลิตสบู

64 - แอมโมเนยี (NH3) เปนสารต้ังตนในการผลิตปุยยูเรีย (NH2CONH2) และปุยแอมโมเนียม ซลั เฟต [ (NH4)2SO4] - ยาลดกรดท่ีใชรักษาโรคกระเพาะอาหาร (Alum milk) ประกอบดวย Aluminium hudroxide (Al(OH)3) ซง่ึ มสี มบตั เิ ปนเบส - ยาแกอาการทองอืด ทองเฟอ ประกอบดวย (Sodium hydrogencarbonate , NaHCO3) ซงึ่ มสี มบัติเปนเบส เม่ือทําปฏิกิริยากับกรด จะเกิดเปนแกสคารบอนไดออกไซด เกลือ และน้ํา

65 บทท่ี 10 สารและผลติ ภณั ฑในชีวติ สารและผลติ ภณั ฑใ นชีวติ ประจําวนั คอื อะไร โดยทว่ั ไป สิง่ ที่มีตัวตน มีมวลหรอื นํ้าหนกั ตองการทอ่ี ยูและสามารถสมั ผัสได เชน ดิน หิน อากาศ พชื และสัตว ทกุ สิ่งทุกอยางมท่อี ยูรอบๆ ตัวเรา จัดเปนสารทั้งสิ้น เม่ือนํามาแปรรูปใหอยู ในรปู ที่พรอ มนํามาใชประโยชนในการดําเนนิ ชวี ติ เรยี กวาผลิตภัณฑข องสาร สารและผลติ ภณั ฑของสารทใี่ ชในชวี ติ ประจาํ วัน มแี หลงที่มาจากแหลง ใดบา ง สารท่ีใชในชีวิตประจําวัน มีท่ีมาจากแหลงตาง ๆ หลากหลาย แตพอท่ีจะแยกไดกวาง ๆ วา มาจาก 2 แหลงตอไปน้ี 1) มาจากธรรมชาติหรือเปนผลผลิตทางธรรมชาติ (Natural Product) เปนสารท่ีเกิดข้ึน ในธรรมชาติ อาจจะอยูในแรธ าตุ เปนองคป ระกอบในพืช ในสัตว เชน แปง นํ้าตาล ไขมัน วิตามิน ตาง ๆ เปนสวนประกอบในพืช ไขมัน นํ้ามันไดจากพืช เกลือแรไดจากแหลงแรธาตุทั้งจากในดิน ในนํ้าทะเล ยารกั ษาโรคหลายชนิดมาจากธรรมชาติ สารพวกพอลิเมอร เชน เสนใย ยางธรรมชาติ ผลิตภณั ฑป โ ตรเลยี ม เปนตน 2) ไดจ ากการสงั เคราะห (Synthetic product) เปน สารท่ีไดจากการนาํ สารจากธรรมชาติ มาเขาสูกระบวนการทางเคมี สังเคราะหใหเปนสารใหม ที่มีคุณสมบัติ ลักษณะ ใหตรงกับความ ตองการในการใชงาน เชน นําผลผลิตจากการกล่ันปโตรเลียมมาสังเคราะหเปนพลาสติก เสนใย ยาง กาว และผลิตภัณฑตาง ๆ นําผลผลิตจากแปงมันสําปะหลังหรือกากน้ําตาลจากออยมา สงั เคราะหผงชูรสและสารปรุงแตง อาหารอ่ืน ๆ

66 จงยกตวั อยางสารทีเ่ กีย่ วขอ งกบั ชวี ิตประจําวัน วามกี ลมุ ใดบาง เรามคี วามเกี่ยวขอ งกับสารรอบ ๆ ตวั เราหลายกลุม เชน กลุมสารตอ ไปนี้ 1) สารอาหาร (nutrients) หรอื โภชนสาร เปน สว นประกอบทเี่ ปนสารเคมีที่มีอยูในอาหาร มีความจําเปนตอรางกาย เม่ือนําเขาสูรางกายแลว สามารถนําไปใชประโยชนได ไดแก คารโ บไฮเดรต ไขมนั โปรตีน ไขมัน วิตามนิ แรธ าตุ น้ํา 2) สารปรุงแตงอาหาร เปนสารที่ใชใสในอาหารเพ่ือทําใหอาหารมีรสดีข้ึน เชน น้ําตาล นา้ํ ปลา นา้ํ สมสายชู น้ํามะนาว ซอสตาง ๆ ผงชูรส 3) สารปนเปอนในอาหารและสิ่งเจือปน เปนสารที่ปนมากับอาหาร อาจจะเนื่องมาจาก ข้ันตอนการผลิต การเกบ็ รกั ษา หรือตกคา งอยูในวตั ถดุ บิ ทใ่ี ชใ นการผลติ เชน เมลามีน(เปนสารที่มี พิษ)ปนมาในผลิตภัณฑนมผง เนื่องจากตกคา งจากกระบวนผลติ อาหารสตั ว ปรอท ตะกัว่ ปนมาใน สัตวน้ําจําพวกปลา ฟอรมาลีน ปะปนมากับอาหารทะเล ดินประสิวตกคางในผลิตภัณฑเน้ือสด หรอื เปนสารท่ีเกิดข้ึนเนื่องจากปฏิกิริยาทางชีวเคมีของผลผลิตน้ัน เชน สารอะฟลาทอกซิน(Afla toxin) ในถ่ัวลิสงปนที่ช้ืน เนื่องจากเกิดปฏิกิริยาเคมี โดยจุลินทรียที่ช่ือวา Aspergillus Flavus (A.Flavus) [ Aflatoxin หมายถงึ สารพษิ ท่ีเกดิ จากจลุ ินทรีย A.Flavus , Toxin แปลวา พิษ) 4) สารพิษ (Toxin) เปนสารท่ีกอใหเกิดพิษ(Toxic) ตอรางกาย ทั้งที่เปนพิษในส่ิงมีชีวิต ตามธรรรมชาติ ตัวอยาง พิษจากเห็ด พืชบางชนิดหากนํามาบริโภคอยางไมถูกตอง จะเกิดพิษได เชน พิษไซยาไนดจากมันสาํ ปะหลงั ดบิ (พิษนี้จะหายไปเมื่อทําใหสกุ ดว ยความรอน) พิษจากพืชพวก กลอย (ซง่ึ ตอ งลา งนาํ้ ปริมาณมาก ๆ หรือแชนา้ํ เปนเวลานาน ๆ จึงจะหมดพิษ) พษิ จากการบริโภค สัตวทะเลบางชนิดเชน แมงดาทะเล ปลาปกเปา สารพิษท่ีเกิดจากจุลินทรียในกระบวนการเก็บ รักษาอาหารหรือถนอมอาหารที่ไมเหมาะสม เชน Aflatoxin ในพวกถ่ัว สารพิษท่ีเกิดจาก Clostridium botulinum เปนจลุ ินทรียที่เปนสาเหตุใหเกิดพิษในอาหารกระปอง ในผลลิตภัณฑ หนอไมบรรจุปบ รวมทั้งพิษจากโลหะหนักท่ีปนเปอนมากับภาชนะบรจุอาหาร เชน ตะก่ัวท่ี ปนเปอนมากับตะกวั่ บดั กรใี นหมอ กว ยเตี๋ยว

67 สารสงั เคราะหห มายถึงอะไร ใหย กตัวอยางสารสังเคราะหท ี่ใชใ นชวี ิตประจําวัน สารสังเคราะห(Synthetic substance) หมายถึงสารที่เกิดจากการนําเอาวัตถุดิบจาก ธรรมชาติมาเขาสูก ระบวนการทางเคมีผลิตข้ึนโดยปฏิกิริยาเคมี ในชีวิตประจําวันเราเก่ียวของกับ สารสงั เคราะหม ากมาย ในท่นี ี้ จะยกตวั อยา งจากสารรอบ ๆ ตัว เชน 1) สบูและผลิตภัณฑสบู (ยาสระผม น้ํายาชางจาน) เปนสารสังเคราะหจากการทํา ปฏิกริ ิยาของไฮโดรลซิ สิ ไขมนั หรือนา้ํ มนั (ไดจ ากสัตวหรือพชื ) ดวยสารละลายเบส (เชน โซเดียมไฮ ดรอกไซด หรือ โพแทสเซียมไฮดรอกไซด) เรียก ปฏิกิริยาการสังเคราะหนี้วา สะปอนนิฟเคชัน (saponification) ดงั น้ี ไขมันหรอื น้าํ มัน (fat or oil) + เบส  สบู + กลเี ซอรอล สบูมีหลายชนิดทั้งสบูเหลว สบูกอน ทั้งนี้ขึ้นกับชนิดของไขมัน หรือนํ้ามัน และเบสที่ใช อกี ทัง้ ยงั สามารถเตมิ สแี ตงกล่ิน ไดห ลากหลาย 2) สารสังเคราะหที่ใชในการเกษตร ไดแกพวกท่ีมีสมบัติคลายฮอรโมนพืช นํามาใช เพอ่ื การเรง หรอื เพิมผลผลิตพชื เชน สารสังเคราะหที่มีคุณสมบัติเหมือนออกซิน สังเคราะห เพื่อ ใชประโยชนทางการเกษตร สาํ หรับใชเรง รากของกิ่งตอนหรือก่ิงปกชํา ชวยในการเปลี่ยนเพศดอก บางชนิด ชวยใหผ ลตดิ มากขน้ึ ปอ งกนั การรว งของผล สารสังเคราะหเ หลา น้ี ไดแก - IBA (indolebutylic acid ) - NAA (naphtaleneacetic acid ) - 2, 4 - D (2-4 dichlorophenoxyacetic acid) สารสังเคราะหท่ีมีคุณสมบัติเหมือนไซโทไคนิน นิยมนํามาใชกระตุนการเจริญของตาพืช ชว ยรกั ษาความสด ของไมตัดดอกใหอ ยูไดนาน ไดแ ก - BA (6-benzylamino purine) - PBA (tetrahydropyranyl benzyladenine) สารสงั เคราะหทีม่ ีคณุ สมบัตเิ หมอื นเอทลิ นี ไดแก - สารเอทิฟอน (ethephon, 2-chloroethyl phosphonic acid ) นํามาใชเพิ่ม ผลผลติ ของน้าํ ยางพารา ใชใ นการเรง การออกดอกของสบั ปะรด

68 3) ผลิตภัณฑททําความสะอาดอ่ืน ๆ เชน ผลิตภัณฑทําความสะอาดคอมพิวเตอร (Computer Cleaners) เปนสวนผสมของสารประกอบไฮโดรคารบอนหลาย ๆ ชนิด (aliphatic hydrocarbon) สารประกอบไฮโดรคารบอน ท่ีเราคุนเคยกัน เชน นํ้ามันสน แกสโซลีน ทินเนอร สมบตั ิของไฮโดรคารบ อนคือทําละลายสารทีไ่ มล ะลายนาํ้ ไดดี จึงใชทําความสะอาดการปนเปอนท่ี ไมส ามารถชาํ ระลางดวยน้ําหรือสบูได แตมีขอท่ีตองระวังคือ สารประกอบไฮโดรคารบอนน้ี เปน สารไวไฟ ติดไฟไดงาย และระคายเคืองตอผิวหนัง เนื่องจากมันสามารถทําละลายไขมันที่เปน องคป ระกอบในผวิ หนังไดด ี ซงึ่ อาจทําใหผ ิวหนังเกิดอาการแพเชนเปนผ่ืนแดง และจัดเปนสารที่มี พษิ ตอรา งกายอีกดวย ตัวอยางสารทําความสะอาดอื่น ๆ เชน นํ้ายาลางเล็บ ประกอบดวยตัวทํา ละลายอนิ ทรยี  พวกแอซีโตนซึ่งสามารถทําละลายสารท่ีไมละลายนํ้าไดดี แตมีขอควรระมัดระวัง คือ การสมั ผัสกบั ผิวหนงั นาน ๆ กอ ใหเกดิ พาได 4) เคร่อื งสําอางและผลิตภัณฑบ ํารงุ ผวิ ผลิตภณั ฑกลมุ นม้ี ีทงั้ ชนดิ ครมี โลชันขุน โลช่ันใส เจล สเปรย หลักการทํางานของมนั ก็คือ เพอื่ ใหผวิ หนงั มีความชุม ชืน้ เพ่ิมขนึ้ องคประกอบมีท้ังสาร ชวยเพมิ่ น้ําในช้นั ผวิ หนงั เชน กรดอะมโิ น โซเดียมพีซีเอ (Sodium Pyrrolidone Carboxylic Acid) โพลิเพปไทด ยเู รีย แลคเตต เปน ตน สว นสารปองกันการระเหยของน้ําจากช้ันผิวก็เปนพวกนํ้ามัน และข้ีผ้ึง ไขสัตว ซิลิโคน บางผลิตภัณฑจะเติมสารดูดความชื้นจากบรรยากาศเพื่อปองกันการ ระเหยของนํา้ จากเนือ้ ครีม เชน กลีเซอรนี นา้ํ ผงึ้ กรดแลคตกิ 5) กลมุ ผลติ ภณั ฑท ทาํ ความสะอาดหองน้ําและกําจัดสิ่งอุดตัน ไดแก ผลิตภัณฑที่ใชใน การทําความสะอาดพ้ืนหองนํ้า ซ่ึงมีกรดไฮโดรคลอริก (HCl) หรือกรดเกลือเปนองคประกอบ กรดเกลือมีฤทธ์ิกัดกรอนโดยเฉพาะสารพวกหินปูน จึงใชททําความสะอาดในรองที่เปนแนว กระเบื้องไดดี แตเปนสารที่มีความระคายเคืองตอผิวหนัง ผลิตภัณฑท่ีใชในการกําจัดส่ิงอุดตันใน ทอนํ้าท้ิง อันเกิดจากครบไขมันสะสม สารกลุมนี้ใชพวก โซเดียมไฮดรอกไซด หรือ โซดาไฟ (sodium hydroxide) ซึ่งละลายนาํ้ ไดด ี เมอ่ื ละลายแลวจะเกิดความรอนซึ่งจะเปนตัวชวยในการ ชําระลางคราบไขมันได ขอควรระวังคือโซเดียมไฮดรอกไซด มีความเปนพิษมาก เพราะฤทธิ์กัด กรอน การสัมผัสทางผิวหนังทําใหเกิดแผลไหม การสัมผัสถูกตามีฤทธิ์กัดกรอน ทําใหเกิดการ ระคายเคืองอยา งรนุ แรง เปนแผลแสบไหม หากเขา ตาอาจทาํ ใหม องไมเ หน็ และถึงขัน้ ตาบอดได

69 6) กลมุ ผลติ ภณั ฑไ ลแมลงในบาน (Household Insect Repellents) ไดแกกลมุ ยอย ตอ ไปน้ี - ผลิตภัณฑท่ีใชไล/กําจัดยุง ผลิตภัณฑไลยุง มีหลายชนิด หลายรูปแบบ เชน ลูกกลิ้ง (roll on) โลชัน่ ทากนั ยุง และแปงทาตัว แตผ ลติ ภณั ฑกันยงุ ทม่ี ีขายอยตู ามทองตลาดโดยสวนใหญ แลว จะมีสว นประกอบท่ีสําคญั คือสารเคมีท่ีมีเปอรเซนตสูง โดยผลิตภัณฑกันยุงท่ีใชกันมีสารเคมี ทีเ่ ปน สารออกฤทธ์สิ าํ คญั คือ ไดเอทิล -เมตา -โทลูเอมิด (Diethyl-meta-toluamide), ไดเมทิลพ ทาเลต (dimethyl phthalate) และ เอทิล บิวทิลอะเซติลอะมิโน โพรพิโนเอต (ethyl butylacetylamino propionate) ไดเอทิล -เมตา -โทลูเอมิด (Diethyl-meta- toluamide) เปนสารออกฤทธทิ์ น่ี ิยมใชม าก เปนพษิ ขอควรระวังในการใช สารกลุมนี้มีพิษท้ังแแบบเฉียบพลัน คือ ถาสัมผัสทางผิวหนัง กอ ใหเ กิดการระคายเคืองตอ ผิวหนังและตา หากสูดดมขาไป ทําใหเกิดการระคายเคืองที่แผนเยื่อ เมือกและทางเดินหายใจสวนบน และแบบเรื้อรังคือการไดรับสารเปนเวลานานอาจกอใหเกิด อาการแพได กลุมผลติ ภัณฑที่ใชไลแมลงในบาน ไดแก ลูกเหม็น มีแนพธาลีน (Naphthalene) เปน สารออกฤทธ์ิ แนพาลีนเปนผลึกสีขาว ระเหิดไดงาย ไอทท่ีเกิดจากการระเหิดน้ีมีฤทธิ์ไลแมลง แนพธาลีนจัดเปนสารพาหากกินหรือกลืนเขาไปทําใหมีอาการปวดศีรษะ คล่ืนไส อาเจียน มึนงง ระคายเคอื งตอกระเพาะอาหารและลําไส การไดรับเขา ไปในปริมาณทม่ี ากอาจทาํ ลายเซลเมด็ เลือด แดง การหายใจเขาไปจะทําใหเจ็บคอ ไอ ปวดศีรษะ และคล่ืนไส การสัมผัสทางผิวหนังทําใหเกิด การระคายเคอื งปวดแสบปวดรอน แนพธาลีนสามารถดูดซึมผานผิวหนังและทําใหเปนอันตรายได การสัมผสั ถูกตาทาํ ใหป วดตา และสายตาพรามัว นอกจากแนพธาลีนแลว สารออกฤทธ์ิที่มีสมบัติ คลา ยกันอกี 2 ชนิด ชนิดแรกคือ p-Dichlorobenzene (1,4- Dichlorobenzene หรือ p-DCB) ซ่ึงสามารถระเหิดกไดยางชาๆ และไอของมันจะทําหนาที่ดับกล่ิน หรือฆาแมลง p- Dichlorobenzene มีพิษคลายๆแนพธาลีน ชนิดท่ี 2 คือ แคมเฟอร หรือ การบูร (Camphor; 1,7,7-Trimethylbicyclo[2.2.1]heptan-2-one) ซ่ึงมีฤททธิ์เปนสารไลแมลง เชนกัน การบูรมี ความเปนพษิ มาก ถา หายใจเขาไปกอ ใหเกิดการระคายเคืองตอทางเดนิ หายใจ ไอ หายใจถี่ มีผลตอ ระบบประสาทเปนไดตั้งแตมึนงงจนถึงชัก ขึ้นอยูกับปริมาณและระยะเวลาท่ีไดรับสาร การกลืน หรือกินเขา ไปกอใหเกิดการระคายเคืองตอทางเดนิ อาหาร เกิดอาการคลนื่ ไส อาเจียน ทองเสีย อาจ

70 ทาํ ใหปวดศีรษะ เปน ลม การสัมผัสทางผวิ หนงั กอใหเ กิดอาการเปนผ่ืนแดง คัน และเจ็บ สามารถดูด ซมึ ผานผิวหนงั ไดอยางรวดเร็ว ถาไดรับสารเปนเวลานานอาจทําลายตับและไต อีกดวย 7) กลุมน้ํายาขัดพื้นและเฟอรนิเจอร มีสวนผสมของสารเคมีหลัก ๆ อยู 2-3 ชนิด คือ ไดเอธิลีนไกลคอล (Diethylene Glycol) นํ้ามันปโ ตรเลยี ม และไนโตรเบนซีน สารกลุมน้ีสามารถ ทําละลาบคราบทไ่ี มละลายน้ําและไมสามารถชําระลางไดดวยน้ําและสบู มีขอควรระวังในการใช คือ เปนสารไวไฟ ไอระเหยทีอ่ าจสูดดมเขา ไปเปน พษิ ตอระบบเลือด มีความระคายเคืองตอผิวหนัง และระบบทางเดนิ หายใจ เรามหี ลกั ในการใชสารในชีวติ ประจําวนั เพอื่ ความปลอดภยั ท่ีสาํ คญั อยางไรบา ง หลกั สาํ คญั ทตี่ อ งคาํ นงึ ถงึ ในการใชส ารเคมีอยางปลอดภัย ในการใชส ารเคมเี พือ่ ความปลอดภยั มีหลักสําคญั ดังน้ี 1) การจัดเก็บตองจัดเก็บใหถูกตอง เหมาะสมกับสมบัติของสารนั้น การจัดเก็บตองเปน สัดสว น สารไวไฟตองเก็ยในขวดทม่ี ิดปดชิด อากาศแหง เย็น หางจากประกายไฟแหลงความรอน สารพิษท สารที่มีฤทธ์ิกัดกรอน ตองเก็บแยกตางหาก มีปายบอกท่ีเก็บเปนสัดสวน ชัดเจน ไมจ ัดเกบ็ ปะปนกับวัตถุดบิ ทนี่ ํามาใชในกระบวนการปรงุ อาหาร ท่ีสําคัญที่สุด ตองเก็บใหหางจาก มอื เดก็ เดก็ ไมสามารถนาํ ออกมาได 2) รจู ักฉลากและใสใจในการอานฉลากอยางละเอียด กอนนํามาใช เน่ืองจากผลิตภัณฑที่ ใชในบานสวนใหญ เปนสารที่มีพิษ ใหโทษรุนแรงในระดับตาง ๆ กัน กอนนํามาใชจึงตองอาน ฉลากใหเ ขา ใจและปฏิบัตติ ามคําแนะนาํ ทีผ่ ูผลติ ระบุไวท ีฉ่ ลากอยา งเครง ครัด ตัวอยางคําอธิบายใน ฉลาก เชน - อนั ตราย (DANGER) แสดงใหเห็นวาควรใชผลิตภัณฑดวยความระมัดระวังเพิ่มมาก ขึ้นเปนพิเศษ สารเคมีทไี่ มไดถ กู ทําใหเ จือจาง เมอ่ื สมั ผสั ถูกกับตาหรอื ผวิ หนังโดยไมไดต ้งั ใจ อาจทํา ใหเนอื้ เย่ือบรเิ วณนน้ั ถกู กดั ทําลาย หรอื สารบางอยา งอาจติดไฟไดถ า สัมผัสกบั เปลวไฟ - สารพษิ (POISON) คือ สารทท่ี าํ ใหเปนอันตราย หรอื ทาํ ใหเสียชีวิต ถาถูกดูดซึมเขา สูรา งกายทางผิวหนงั รบั ประทาน หรอื สดู ดม คาํ นี้เปน เปนขอเตอื นถึงอนั ตรายที่รุนแรงทสี่ ุด - เปนพิษ (TOXIC) หมายถงึ เปน อนั ตราย ทาํ ใหอ วยั วะตา งๆทาํ หนา ท่ีผิดปกติไป หรือ ทาํ ใหเสียชวี ติ ได ถาถกู ดูดซมึ เขา สูรา งกายทางผิวหนงั รบั ประทาน หรือ สูดดม

71 - สารกอความระคายเคือง (IRRITANT) หมายถึง สารที่ทําใหเกิดความระคายเคือง หรืออาการบวมตอ ผวิ หนงั ตา เยื่อบุ และระบบทางเดนิ หายใจ - ติดไฟได (FLAMMABLE) หมายถึง สามารถติดไฟไดงาย และมีแนวโนมท่ีจะเผาไหม ไดอ ยา งรวดเร็ว - สารกัดกรอน (CORROSIVE) หมายถึง สารเคมี หรือไอระเหยของสารเคมีน้ัน สามารถทําใหวสั ดถุ ูกกัดกรอน ผุ หรอื ส่ิงมชี วี ติ ถูกทําลายได 3) ซ้อื มาเกบ็ เทาที่จาํ เปน ไมจาํ เปนตอ งมากกั ตุนไวจ ํานวนมาก ผลิตภัณฑเหลานี้ไมมีความ จําเปนตองนํามาเก็บสํารองในปริมาณมาก การสํารอง เทากับเปนการนําสารพิษมาเก็บไวโดยไม ตั้งใจ นอกจากนยี้ ังตองหม่นั ตรวจสอบวา ผลิตภัณฑมีสมบัติเปลี่ยนแปลงไปจากตอนท่ีซื้อมาใหม หรือไม เชน สี กลิน่ เปล่ยี นแปลงไป ซ่งึ อาจจะหมดอายุ หรอื หมดสภาพ จําเปนตองนําไปท้ิง หรือ ทาํ ลายดวยวธิ ีการทถี่ ูกตอง 4) ไมค วรเกบ็ สารเคมปี ะปนกับอาหาร ทั้งนี้เน่ืองจากสารเคมีอาจหกหรือมีไอระเหยทําให ปนเปอนกบั อาหารได และเม่ือใชผลติ ภณั ฑสารเคมีเสร็จแลว ควรลา งมอื ใหส ะอาดทุกคร้ัง 5) การทง้ิ ภาชนะบรรจุหรอื ผลิตภณั ฑที่หมดอายุ ตองคํานึงเสมอวาภาชนะบรรจุหรือผลิต ภณั ฑท่หี มดอายทุ จี่ ําเปน ตองท้ิง อาจกอ ใหเ กดิ พิษตอส่ิงแวดลอม การท้ิงขยะจากผลิตภัณฑเหลาน้ี ตองแยกและนําทิ้งในระบบการจัดเก็บขยะมีพิษของเทศบาล หนวยงานที่เกี่ยวของ หากไมมี จาํ เปนตอ งฝงกลบหรือทาํ ลายใหดคู ําแนะนําในฉลากและปฏิบตั ิตามอยางเครงครดั 6) หลกั ปลอดภัยสูงสดุ ในขณะใช ตองคํานึงไวเสมอวา สารเคมีทุกอยางมีพิษ แมจะมั่นใจ วามีพิษนอย ก็ใหป ฏบิ ัติเสมือนสารเคมีท่ีมีพิษมาก เพื่อความปลอดภัย การหยิบจับ ตองใชถุงมือ มีส้ือคลุมกนั เปอ น ใชผา ปดจมูก (mask) สวมแวนตากันสารเคมี (Goggle) หากสมั ผัส สดุ ดมเอาไอ ระเหย หรือเผลอกลนื กินเขาไป ใหดวู ธิ กี ารปฐมพยาบาลเบอ้ื งตนจากฉลาก และรีบพบแพทยทันที โดยนาํ ภาชนะผลิตภัณฑทม่ี ีฉลากตดิ ตวั ไปดว ย

72 การใชสารเคมใี นชีวติ ประจาํ วนั สงผลกระทบตอ สง่ิ แวดลอมอยา งไร สารทีใ่ ชในชวี ิตประวัน ท่ีเปนสารพษิ หากใชในปริมาณมาก ๆ เกินความจําเปน จัดเก็บไม เหมาะสม หรือมีการท้ิงลงสูสงิ่ แวลดลอ มแลว อาจเกิดผลกระทบตอสงิ่ แวดลอ ม ดงั นี้ - อาจกอใหเกิดภาวะมลพิษทางอากาศ ( Air Pollution) สารกลุมท่ีระเหยไดงาย ไอสาร เหลา นไ้ี ปกระจายตัวในอากาศ เปน มลพษิ ทางอากาศ(Air pollutants) เชน ไอระเหยของสารเคมี ในกลุมผลติ ภัณฑท าํ ความสะอาด ผลิตภัณฑขับไลแมลง ซึ่งอาจสงผลใหมีพิษตอสิ่งมีชีวิตชนิดอื่น ในระบบนิเวศ เชน แมลงบางชนดิ ท่ีเปน ประโยชนใ นการผสมพันธพุ ืช แมลงที่เปนประโยชนในการ ควบคุมศตั รพู ชื เปน ตน - อาจกอใหเกิดภาวะมลพิษทางนํ้า (Water Pollution) สารเคมีที่ละลายนํ้าไดงาย จากผลิตภัณฑทาํ ความสะอาด เชน สบู ผงซักฟอก เม่ือทิ้งลงในแหลงนํ้าปริมาณมาก ๆ โดยไมได ผานกระบวนการบําบัด สารเหลาน้ีมีสมบัติเปนปุยใหพืชน้ํา ทําใหพืชนํ้าเจริญ ผิวน้ําถูกปกคลุม ดวยพืชน้ํา แสงสวางสองลงไปไมถึง เปนยสาเหตุใหสัตวน้ําตาย ปริมาณออกวิเจนในน้ําลดลง เปน เหตใุ หเกดิ นํ้าเสียได นอกจากนี้สารท่ีเปนพิษ เม่ือลงสูแหลงน้ํา ก็อาจกอใหเกิดพิษดยตรงตอ สัตวน ้าํ ทําใหน า้ํ เนา เสยี บางชนดิ อาจตกคางในสัตวน้ําและสงผลกระทบตอมนุษยเมื่อไปจับสัตว นํ้านั้นมาเปน อาหาร

73 บทท่ี 11 แรงและการใชป ระโยชน แรงคืออะไร แรง (Force) คอื การกระทําจากภายนอก ปริมาณหรอื สิง่ ท่สี ามารถทําใหวัตถุเปล่ียนแปลง ระบบทางกายภาพได แรงมีหนว ยเปนนวิ ตันใชสญั ลักษณ N ผลจากการกระทาํ ของแรงจะเกดิ อะไร เม่ือแรงกระทํากับวตั ถุหนง่ึ วัตถนุ ้ันสามารถไดร บั ผลกระทบ 4 ประเภท ดังน้ี 1. วัตถุทอ่ี ยนู งิ่ อาจเรมิ่ เคลื่อนที่ 2. ความเรว็ ของวตั ถุท่ีกาํ ลังเคลื่อนท่ีอยูเปลีย่ นแปลงไป 3. ทศิ ทางการเคลื่อนท่ีของวัตถุอาจเปลี่ยนแปลงไป 4. รูปราง ขนาดของวัตถุอาจเปลี่ยนแปลงไป แรงเปนปริมาณประเภทใดในทางฟสกิ ส แรงเปน ปรมิ าณเวกเตอรท ม่ี ีทัง้ ขนาดและทศิ ทางการรวมหรอื หักลางกันของแรงจึงตอง เปน ไปตามแบบเวกเตอร ปริมาณในทางฟส กิ สแ บง เปนกป่ี ระเภท ปรมิ าณในทางฟส กิ สแบงออกเปน 2 ประเภท คือ 1. ปริมาณสเกลาร (scalar quantity) คือปริมาณที่บอกแตขนาดอยางเดียว โดยไมตอง บอกทิศทาง เชนเวลา ระยะทาง มวล พลังงาน งาน ปรมิ าตร ฯลฯในการหาผลลัพธของปริมาณส เกลารจ ะอาศยั หลักทางพีชคณติ คือ ใชว ิธกี ารบวก ลบคูณ หาร

74 2. ปริมาณเวกเตอร (vector quantity) คือปริมาณท่ีตองการบอกทั้งขนาดและทิศทาง เชน ความเรว็ ความเรง การกระจัด โมเมนตมั แรง ฯลฯ ลักษณะทีส่ ําคญั ของปรมิ าณเวกเตอรเ ปน อยางไร 1. สัญลักษณของปริมาณเวกเตอรการแสดงขนาดและทิศทางของปริมาณเวกเตอรจะใช ลูกศรแทนโดยขนาดของปริมาณเวกเตอรแทนดวยความยาวของลูกศรและทิศทางของปริมาณ เวกเตอรแ ทนดว ยทศิ ทางของหวั ลูกศรเชนเวกเตอร A มีขนาด 4 หนวย ไปทางทิศตะวันออก และ เวกเตอร B มีขนาด 3 หนว ย ไปทางทศิ ใต 2. เวกเตอรท่ีเทา กนั เวกเตอร 2 เวกเตอรจะเทากนั ก็ตอ เมอื่ มขี นาดเทา กนั และทศิ ทางไป ทางเดียวกัน 3. เวกเตอรตรงขา มกัน เวกเตอร 2 เวกเตอรจะตรงขามกันกต็ อเมือ่ เวกเตอรทง้ั สองมขี นาด เทากัน แตม ีทิศทางตรงขา มกนั แรงลพั ธห มายถงึ อะไร แรงลัพธ หมายถึง ผลรวมของแรงทกี่ ระทําตอวัตถทุ ้ังขนาดและทิศทาง

75 แรงลพั ธหาไดอยางไร เราสามารถหาแรงลัพธไดโดย เมื่อแรงยอยมีทิศเดียวกันใหนําแรงยอยมารวมกัน ทิศทาง ของแรงลัพธจะเปนทิศเดิมแตถาแรงยอยมีทิศทางตรงกันขามกัน ใหนําแรงยอยมาลบกัน โดยแรงลัพธจะมที ิศทางตามแรงท่ีมากกวา ผลของแรงลพั ธต อ การเคล่อื นท่ีของวตั ถจุ ะเปน อยางไร วัตถตุ า งๆเม่อื มีแรงมากระทํา วัตถุจะมกี ารเปล่ียนแปลงสภาพเดิมใน 3 ลกั ษณะ คอื 1. มีการเปลี่ยนแปลงตาํ แหนง 2. มกี ารเปลี่ยนแปลงความเร็ว 3. มกี ารเปลยี่ นแปลงรูปรางและขนาด ขอ ควรทราบ - แรงทกี่ ระทาํ ไปในทิศทางเดียวกับการเคลอ่ื นท่ี จะทําใหวัตถมุ คี วามเร็วเพิม่ ข้นึ - แรงทก่ี ระทําไปในทิศทางตรงขามกับการเคลอ่ื นที่ จะทําใหวตั ถุมีความเร็วลดลง แรงในธรรมชาติแบงไดก ี่ชนดิ ในธรรมชาตแิ รงที่กระทาํ ตอ สิง่ ตา งๆ รอบตวั เราน้ัน แบงได 4 ชนดิ คือ 1. แรงโนมถวงของโลก (Gravitation Force) เปนแรงที่ใกลตัวเราท่ีสุด ทําใหเราไมหลุด ออกไปแลว อยอู ยา งอสิ ระเหมือนอยูในอวกาศ นิวตัน อธิบายโดยใชกฎแรงดึงดูดระหวางมวล คือ \"วตั ถุ 2 วัตถทุ ่ีอยูห า งกันจะเกดิ แรงดึงดูดซ่ึงกันและกัน โดยขนาดของแรงจะแปรผันตรงกับขนาด ของมวลทง้ั 2 และแปรผกผนั กับระยะหางระหวา งมวลท้ัง 2 ยกกําลังสอง\" 2. แรงแมเหล็ก (Magnetic Force) เปนแรงท่ีเกิดขึ้นจากแทงแมเหล็ก ซึ่งทําจากแร แมกนีไทต (Magnetite) เปน ออกไซดข องเหลก็ มสี ูตรทางเคมี วา Fe 3O4แรด ังกลาวน้ีมีคุณสมบัติ ท่ที ําใหเ กิดแรงขนึ้ เองตามธรรมชาติ 3. แรงไฟฟา (Electromagnetic Force) เปนแรงที่กระทําตอวัตถุไฟฟา ดวยกัน ซ่ึงจะมีท้ัง แรงผลกั และแรงดูดกัน

76 4. แรงนิวเคลียร (Nuclear Force) เมื่อประจุชนิดเดียวกัน 2 ประจุจะตองอยูรวมกัน ตอ งมีแรงมากระทําตอประจทุ ้งั สอง เพ่ือใหประจุท้ัง 2 ไมแยกออกจากกัน เน่ืองมาจากแรงผลักของ ประจุทงั้ 2 แรงที่เกดิ ขึ้นน้เี รยี กวา \"แรงนิวเคลยี ร\" เพราะเปน แรงทเ่ี กิดข้ึนบรเิ วณนวิ เคลยี สของธาตุ แรงเสยี ดทานคอื อะไร แรงเสยี ดทาน (friction) เปนแรงที่เกดิ ขึ้นเมอ่ื วตั ถหุ น่ึงพยายามเคลือ่ นท่ี หรือกาํ ลัง เคลื่อนทไ่ี ปบนผิวของอกี วัตถเุ น่ืองจากมแี รงมากระทาํ ลักษณะที่สําคญั ของแรงเสยี ดทานมีอยา งไร 1. เกดิ ขึ้นระหวางผิวสัมผสั ของวตั ถุ 2. มที ศิ ทางตรงกนั ขา มกับทิศทางท่วี ัตถเุ คลือ่ นที่หรือตรงขามทิศทางของแรงท่ีพยายามทํา ใหวัตถุเคลือ่ นท่ีดังรูป รปู แสดงลักษณะของแรงเสียดทาน ถาวาง A อยูบนวัตถุ B ออกแรง ลากวัตถุ วัตถุ A จะเคล่อื นท่หี รอื ไมก ็ตาม จะมีแรงเสยี ดทานเกดิ ขึน้ ระหวางผิวของ A และ B แรงเสียดทาน มที ศิ ทางตรงกันขา มกบั แรง ทพี่ ยายามตอ ตา นการเคลือ่ นทีข่ อง A ประเภทของแรงเสียดทานมกี ่ปี ระเภท อะไรบาง แรงเสียดทานมี 2 ประเภท คือ 1. แรงเสยี ดทานสถิต (static friction) คือ แรงเสยี ดทานที่เกิดข้นึ ระหวา งผวิ สัมผสั ของ วัตถุ ในสภาวะทวี่ ัตถุไดรับแรงกระทาํ แลวอยนู ่งิ

77 2. แรงเสยี ดทานจลน (kinetic friction) คือ แรงเสียดทานท่เี กิดขน้ึ ระหวา งผิวสัมผัสของ วัตถุ ในสภาวะทว่ี ัตถุไดร ับแรงกระทาํ แลวเกดิ การเคล่อื นทีด่ วยความเรว็ คงที่ ปจจยั ท่ีมีผลตอ แรงเสยี ดทานมอี ะไรบาง แรงเสียดทานระหวา งผิวสัมผัสจะมีคามากหรือนอยข้ึนอยูกับ 1. แรงกดตงั้ ฉากกบั ผวิ สมั ผัส ถา แรงกดตัวฉากกบั ผิวสัมผสั มากจะเกิดแรงเสียดทานมาก ถาแรงกดตัง้ ฉากกบั ผิวสัมผัสนอ ยจะเกิดแรงเสียดทานนอ ย 2. ลักษณะของผิวสมั ผัสถาผิวสัมผสั หยาบ ขรุขระจะเกิดแรงเสียดทานมากสวนผิวสัมผัส เรียบล่ืนจะเกิดแรงเสียดทานนอ ย 3. ชนิดของผิวสมั ผสั เชน คอนกรตี กบั เหล็ก เหล็กกับไมจ ะเหน็ วาผิวสัมผัสแตล ะคู มคี วาม หยาบ ขรขุ ระ หรือเรยี บลน่ื เปนมันแตกตางกนั ทาํ ใหเกดิ แรงเสียดทานไมเทา กัน การลดและเพม่ิ แรงเสยี ดทานสามารถทําไดอ ยางไร เราสามารถนาํ ประโยชนของแรงเสียดทานมาใชประโยชนในชีวิตประจาํ วันได คือ การลดแรงเสยี ดทาน สามารถทําไดห ลายวิธี เชน 1. การขดั ถูผวิ วัตถุใหเรยี บและลน่ื 2. การใชส ารลอ ลน่ื เชน นํ้ามัน 3. การใชอปุ กรณต างๆ เชน ลอ ตลบั ลกู ปน และบชุ 4. ลดแรงกดระหวา งผิวสัมผสั เชน ลดจาํ นวนสิง่ ทีบ่ รรทุกใหนอ ยลง 5. ออกแบบรปู รางยานพาหนะใหอากาศไหลผา นไดดี การเพม่ิ แรงเสียดทาน สามารถทําไดหลายวิธเี ชน 1. การทาํ ลวดลาย เพือ่ ใหผ ิวขรุขระ 2. การเพ่มิ ผวิ สัมผสั เชน การออกแบบหนา ยางรถยนตใหม ีหนา กวางพอเหมาะ 3. รองเทา บรเิ วณพน้ื ตองมีลวดลาย เพือ่ เพิ่มแรงเสยี ดทานทาํ ใหเวลาเดินไมล น่ื หกลม ไดง าย 4. การปพู ้นื หอ งนํา้ ควรใชก ระเบ้อื งที่มีผิวขรขุ ระ เพอ่ื ชว ยเพมิ่ แรงเสียดทาน เวลาเปยกน้ํา จะไดไมลืน่ ลม

78 คาํ นวณหาสัมประสิทธข์ิ องแรงเสยี ดทานไดอยางไร สมั ประสทิ ธข์ิ องแรงเสยี ดทานระหวางผวิ สมั ผสั คหู นง่ึ ๆ คือ อัตราสวนระหวา งแรงเสียดทานตอแรง กดต้ังฉากกบั ผิวสมั ผสั ตวั อยา งออกแรง 20 นิวตัน ลากวัตถไุ ปตามพื้นราบ ถาสัมประสิทธขิ์ องแรงเสียดทาน = 10 จง คาํ นวณหานา้ํ หนักของวัตถุ วธิ ีทาํ

79 โมเมนตข องแรงคอื อะไร โมเมนตของแรง (moment of force) หรือโมเมนต (moment) หมายถึงผลของแรงที่กระทํา ตอวัตถุเพ่ือใหวัตถุหมุนไปรอบจุดหมุน ดังนั้นโมเมนตของแรงก็คือ ผลคูณของแรงกับระยะต้ังฉาก จากแนวแรงถงึ จุดหมนุ เปน ปรมิ าณเวกเตอรมที ัง้ ขนาดและทิศทาง หนวยเปน นิวตนั - เมตร (N-m) โมเมนต(นิวตัน-เมตร) = แรง(นิวตัน) X ระยะต้งั ฉากจากแนวแรงถงึ จุดหมุน(เมตร) ทศิ ทางของโมเมนตเ ปน อยา งไร ทิศทางของโมเมนต มี 2 ทิศทาง คือ 1. โมเมนตต ามเข็มนาฬิกา 2. โมเมนตทวนเข็มนาฬิกา หลักการของโมเมนตม วี า อยา งไร ถามแี รงหลายแรงกระทําตอวัตถชุ ิ้นหน่งึ แลว ทําใหวัตถนุ ั้นสมดุลจะไดว า ผลรวมของโมเมนตทวนเขม็ นาฬิกา = ผลรวมของโมเมนตต ามเขม็ นาฬิกา ตวั อยา งการหาคาของโมเมนต ตวั อยางที่ 1 ยาว 4 เมตร นาํ ไปงดั กอ นหนิ หนกั 400 N ใหเ คลอื่ นท่ี ถา ตอ งการออกแรงเพยี ง 100 N ควรจะนํากอ นหนิ กอ นเลก็ ๆ มาหนุนไมที่ตาํ แหนง ใด ผลรวมของโมเมนตท วนเขม็ นาฬกิ า = ผลรวมของโมเมนตต ามเขม็ นาฬิกา (M ตาม = M ทวน) 400 (4 - X) = 100X 1600 - 400X = 100X X = 3.2 m ดังนน้ั จะตอ งนาํ กอ นหนิ เล็กหนนุ ไมห างจากกอ นหิน 3.2 m

80 ตัวอยา ง 2 แขวนไมก บั เพดานดังรูป วัตถุ y ควรหนักเทา ใด จงึ จะทาํ ใหไ มส มดลุ ผลรวมของโมเมนตทวนเขม็ นาฬกิ า = ผลรวมของโมเมนตตามเข็มนาฬกิ า (M ทวน = M ตาม) (20 x 2.5) + (Y x 0.5) = 40 x 1.5 50 + 0.5Y = 60 Y = 20 N เรานาํ เรอ่ื งโมเมนตในชีวิตประจําวนั ไดอยา งไร โมเมนตเก่ียวของกับกิจกรรมตางๆ ในชีวิตประจําวันของเราเปนอยางมากแมแตการ เคล่ือนไหวของอวัยวะบางสวนของรางกายการใชเคร่ืองใชหรืออุปกรณตางๆ หลายชนิด จากหลกั การของโมเมนตจ ะพบวาเมอ่ื มีแรงขนาดตางกันมากระทําตอวัตถุคนละดานกับจุดหมุนท่ี ระยะหา งจากจุดหมนุ ตางกนั วตั ถุน้ันกส็ ามารถอยูใ นภาวะสมดุลไดหลักการของโมเมนตจึงชวยให เราออกแรงนอ ยๆ แตสามารถยกนํา้ หนักมากๆ ไดเชนการทํา คานดีด คานงัด เครื่องมือผอนแรง ตา งๆ เปนตน คานคืออะไร คาน(Lever) คือเครอื่ งกลชนิดหนึ่งท่ีใชดีด-งัดวัตถุใหเคล่ือนที่รอบจุดหมุน(จุดFulcrum)มี ลักษณะแขง็ เปนแทง ยาวเชนทอนไมห รือโลหะยาว คานอาจจะตรงหรือโคงงอก็ไดการทํางานของ คานใชห ลักของโมเมนต สว นประกอบของคานมอี ะไรบาง สว นประกอบทสี่ ําคัญในการทาํ งานของคานมี 3 สว นดังน้ี 1. แรงความตานทาน (W) หรอื น้ําหนักของวัตถุ 2. แรงความพยายาม (E) หรอื แรงท่กี ระทาํ ตอคาน 3. จุดหมุนหรือจดุ ฟล ครัม (F=Fulcrum)

81 คานแบงเปน ก่ีประเภท อะไรบาง คานจําแนกไดเ ปน 3 ประเภท หรอื 3 อนั ดบั ดงั น้ี คานอันดับที่ 1 เปนคานท่ีมีจุดหมุน(F)อยูระหวางแรงความพยายาม(E)และแรงความ ตา นทาน(W) เคร่ืองใชที่ใชห ลักของคานอันดับหน่ึง เชน ชะแลง กรรไกรตัดผา ประแจคีมตัดลวด กรรไกรตดั เลบ็ กรรไกร กรรไกรตดั หญา ตาชง่ั จนี กรรเชียงเรือ คีมตัดโลหะ คีมถอนตะปู เปน ตน คานอันดับท่ี 2 คือคานที่มแี รงความตา นทาน(W)อยูระหวา งแรงความพยายาม(E)และจดุ หมนุ (F) เคร่อื งใชทจ่ี ัดเปนคานอนั ดับที่2 เชน รถเข็นทราย ทเี่ ปด ขวด เคร่ืองตัดกระดาษ เปนตน คานอันดบั ท่ี 3 คอื คานท่มี แี รงความพยายาม (E) อยูระหวางแรงความตานทาน (W) และ จุดหมุน (F) เครื่องใชที่จัดเปนคานอันดับ 3 เชน แหนบ คีมคีบถาน คีมคีบนํ้าแข็ง ตะเกียบ รถเครน ชวงแขนของคนเรา เปน ตน

82 บทท่ี 12 งานและพลงั งาน งานคอื อะไร ในทางฟสิกส งาน หมายถึง ผลของแรงท่ีกระทําใหวัตถุเคลื่อนที่ตามแนวแรง หาคาได โดยผลคูณ ระหวางขนาดของแรงกับระยะท่ีวัตถุเคล่ือนท่ีตามแนวแรง งานมีหนวยเปนนิวตัน- เมตร (N-m) หรอื จูล (J) งานเปนปรมิ าณสเกลารและหาไดจ ากสูตร W=FxS เมอ่ื W คอื งานที่ทําโดยแรง F มีหนวยเปนจลู S คอื ระยะที่วตั ถุเคล่อื นทีต่ ามแนวทางมีหนว ยเปน เมตร F คอื แรงกระทําตอ วัตถเุ คล่ือนที่ไปในระยะทาง S ตามแนวแรง พลังงานคอื อะไร พลังงาน เปนความสามารถในการทํางานของวัตถุ ไมมีตัวตน สัมผัสหรือจับตองไมได ไมสามารถสรางข้ึนมาใหมได แตส ามารถเปลี่ยนรูปได พลังงาน มีหนวยเชนเดียวกับงาน คือ จลู (J) พลังงานมหี ลายรูปแบบ เชน พลงั งานไฟฟา พลังงานความรอน พลงั งานแสง พลงั งานเสียง พลงั งานกล พลังงานเคมี พลังงานนวิ เคลยี ร ฯ

83 ประเภทของพลงั งานแบง ไดอ ยางไรบาง ประเภทของพลงั งานสามารถแบง ไดเ ปน 1. จําแนกตามแหลงท่ีไดม าแบง ออกเปน 2 ประเภท คือ 1.1 พลงั งานตน กําเนิด (Primary energy) หมายถึง แหลงพลังงานที่เกิดขึ้นหรือมีอยู แลวตามธรรมชาติ เชน นํา้ แสงแดด ลม เชื้อเพลิงตามธรรมชาตเิ ปนตน 1.2 พลังงานแปรรปู (Secondary energy) หมายถึง พลังงานซ่ึงไดมาจากพลังงาน ตนกําเนิดแลวมาแปรรูป ปรับปรุง ปรุงแตง สามารถนําไปใชประโยชนในลักษณะตาง ๆ เชน พลงั งานไฟฟา ผลิตภัณฑป โตรเลยี ม ถา นไม กาซปโตรเลียมเหลว เปนตน 2. จาํ แนกตามแหลง ทน่ี ํามาใชประโยชนแบงออกเปน 2 ประเภท คือ 2.1 พลังงานหมนุ เวยี น (Renewable energy resources) เปนแหลงพลังงานที่ใชแลว หมุนเวยี นมาใหใ ชเ ปน ประจาํ เชน นา้ํ แสงแดด ลม เปนตน 2.2 พลังงานที่ใชหมดเปลือง (Non - renewable energy resources) ไดแก นํ้ามนั กา ซธรรมชาติ ถานหิน เปน ตน 3. จําแนกพลังงานตามลกั ษณะการทํางานไดเปน 3 ประเภท 3.1 พลังงานศักย (Potential Energy) เปนพลังงานที่เกิดขึ้นเมื่อวัตถุถูกวางอยูใน ตําแหนง ทส่ี ามารถเคล่ือนทไี่ ดไ มวาจากแรงโนมถวงหรือแรงดึงดูดจากแมเหล็ก เชนกอนหินที่วาง อยูบนขอบทสี่ ูง พลังงานศักยแบง ออกเปน 2 ชนดิ คือ - พลังงานศักยโนมถวง เปนพลังงานศักยท่ีขึ้นอยูกับตําแหนงหากวัตถุอยูบริเวณ พื้นผิวโลกที่มแี รงดึงดดู ของโลก สมการโดยทวั่ ไปของพลังงานศกั ยโ นม ถวงคือ Ep = mgh Ep คือ พลังงานศกั ยจากแรงโนมถวง (จูล ) m คอื มวล ( กโิ ลกรมั ) h คอื ความสงู ของวตั ถุ(เมตร) - พลังงานศักยยืดหยุน เปนพลังงานท่ีสะสมอยูในสปริงหรือวัตถุยืดหยุนอื่นๆ ขณะทยี่ ืดตัวออกจากตาํ แหนงสมดุล

84 สมการโดยทัว่ ไปของพลังงานศักยย ดื หยุนคอื Ep = k Ep คือ พลังงานศักยย ดื หยุน (จูล ) K คอื คาคงตัวของสปรงิ (นิวตัน เมตร) X คอื ระยะท่เี กดิ จากงาน (เมตร) 3.2 พลังงานจลน (Kinetic Energy) เปนพลังงานท่ีเกิดขึ้นเมื่อวัตถุเคลื่อนท่ี เชน รถท่ีกาํ ลงั ว่ิง ธนูท่ีพุง ออกจากแหลง จักรยานทีก่ าํ ลงั เคลอ่ื นที่เปน ตน สมการโดยทัว่ ไปของพลังงานจลน คอื Ek = m Ek คอื พลงั งานจลน (มีหนว ยเปน จูล) m คอื มวล (กโิ ลกรัม) v คอื ความเรว็ (เมตร/วนิ าที) 3.3 พลังงานสะสม (Stored Energy) เปนพลงั งานท่ีเก็บสะสมในวัสดุหรือส่ิงของตางๆ เชน พลังงานเคมีทเ่ี กบ็ สะสมไวใ นอาหาร ในกอ นถานหิน น้ํามันหรือไมฟน ซ่ึงพลังงานดังกลาวจะ ถูกเก็บไวในรูปขององคประกอบทางเคมีหรือของวัสดุหรือสิ่งของน้ัน ๆและจะถูกปลอยออกมา เม่อื วสั ดุหรือสิ่งของดงั กลาวมกี ารเปลยี่ นรปู เชน การเผาไมฟ นจะใหพ ลงั งานความรอน พลงั งานไฟฟาคอื อะไร พลังงานไฟฟาเปนพลังงานชนิดหน่ึงที่ประกอบอยูในวัตถุธาตุทุกชนิด ซ่ึงประกอบดวย อนภุ าคขนาดเล็กคอื อะตอมแตละอะตอมจะประกอบดวยโปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอนอยู มากมาย โดยท่โี ปรตอนกับนิวตรอนจะอยูน่ิงไมเ คล่อื นที่

85 ไฟฟามีกปี่ ระเภท ไฟฟา มี 2 ประเภทคือ ไฟฟา สถิตและไฟฟา กระแส ไฟฟา สถิตเชน ฟาแลบ ฟา ผาเปนตน ไฟฟากระแส เชน ไฟฟา กระแสตรง ไฟฟา กระแสสลบั เปนตน กระแสไฟฟาคอื อะไร กระแสไฟฟา (electric current) เกิดจากการเคล่ือนที่ของอิเล็กตรอนในตัวกลางหรือ ตวั นําไฟฟา ทีอ่ ยูภ ายใตอทิ ธพิ ลของสนามไฟฟา หนว ยของกระแสไฟฟาคือหนวยของประจุตอเวลา คลู อมบตอวนิ าที หรอื แอมแปร (A) ไฟฟา กระแสมกี ีช่ นดิ กระแสไฟฟา สามารถจําแนกไดเปน 2 ชนดิ ใหญ ๆ ไดแ ก 1) ไฟฟากระแสตรง (Direct current หรือ D.C) เปนกระแสไฟฟาท่ีมีทิศทางการไหล ไปทางเดยี วกัน โดยตลอดระยะทางท่วี งจรกระแสไฟฟาปด กระแสไฟฟาจะไหลจากช้นั บวกภายใน แหลงกาํ เนิด ผานจากขั้วบวกจะไหลผานตัวตา นทานหรอื โหลด ผานตัวนาํ ไฟฟา แลวยอ นกลับเขา แหลง กาํ เนิดขั้วลบวนเวยี นไปในทางเดยี วกนั เชนน้ีตลอดเวลา ดงั เชน ถานไฟฉาย ไดนาโม เปนตน คณุ สมบตั ิของไฟฟา กระแสตรง 1. กระแสไฟฟา ไหลไปทศิ ทางเดียวตลอดเวลา 2. มคี า แรงดนั หรอื แรงเคลือ่ นเปนบวกอยเู สมอ 3. สามารถเกบ็ ประจุไวในเซลล หรือ แบตเตอร่ีได

86 ประโยชนของไฟฟา กระแสตรง 1. ใชใ นการชุบโลหะตา ง ๆ 2. ใชใ นการทดลองสารเคมี 3. ใชเชอ่ื มโลหะหรือ ตัดเหล็ก 4. ทาํ ใหเหล็กมอี ํานาจแมเหลก็ 5. ใชในการประจุกระแสไฟฟาในแบตเตอรี่ 6. ใชใ นวงจรอเิ ลก็ ทรอนิกส 7. ใชเปนไฟฟา เดนิ ทาง เชน ไฟฉาย 2) ไฟฟากระแสสลับ (Allernating current หรือ A.C.) เปนกระแสไฟฟาท่ีมีการ ไหลเวียนกลับมาท้ังขนาดของกระแสไฟฟาและแรงดันไมคงที่ จะเปล่ียนแปลงอยูเสมอคือ กระแสไฟฟา จะไหลไปทางหนึง่ กอนตอมาจะไหลสวนกลบั และกเ็ ริม่ ไหลเหมือนครงั้ แรก คุณสมบัติของไฟฟากระแสสลับ คือ สามารถสงไปท่ีไกล ๆ ไดดี กําลังไมตก และสามารถแปลง แรงดันใหสงู ขนึ้ ตาํ่ ลงตามความตองการดวยหมอ แปลง แรงดนั ไฟฟา คอื อะไร แรงดนั ไฟฟา (Voltage) คือ แรงท่ีกระทาํ ตอ อิเลก็ ตรอนทําใหอ ิเลก็ ตรอนน้ันเคล่อื นที่ มหี นวยเปนโวลต ความตา นไฟฟาคอื อะไร ความตานไฟฟา (resistance)คือสมบัตขิ องตวั นาํ ไฟฟา (conductor) ทยี่ อมใหกระแสไหล ผานไดมากหรือนอยซึ่งเปนสมบัติเฉพาะตัวของตัวนําน้ันๆจะมีคาแตกตางกันไปแลวแตชนิดของ ตวั นาํ มหี นว ยเปน โอหม

87 ตวั นําไฟฟา คืออะไร ตัวนํา (Conductor)คอื สสาร วัตถุ วสั ดหุ รือ อปุ กรณทีส่ ามารถยอมใหกระแสไฟฟาไหล ผานไดงายหรือวัตถุที่มีความตานทานตํ่า ไดแก ทองแดง อลูมิเนียม ทอง และเงินซ่ึงเปนตัวนํา ไฟฟา ทด่ี ที ่ีสุด แตใ นสายไฟทว่ั ไปจะใชทองแดงเปนตวั นาํ เพราะตัวนาํ ท่ที าํ จากจะเงินมีราคาแพง ฉนวนไฟฟาคืออะไร ฉนวน (Insulator)คือ สสาร วัตถุวัสดุ หรือ อปุ กรณท ่ไี มสามารถยอมใหก ระแสไฟฟาไหล ผานไปได หรือตานการไหลของกระแสไฟฟาไมใหผานไปได ไดแก ไมแหง พลาสติก, ยาง, แกว และกระดาษแหง เปน ตน กฎของโอหม มหี ลกั การอยางไร มีหลักสําคัญวาการเคล่ือนท่ีของกระแสไฟฟาท่ีผานตัวนําไฟฟา เปนปฏิภาคโดยตรงกับ ความตางศักยและเปนปฏิภาคผกผันกับความตานทาน กลาวคือ การเคลื่อนท่ีของกระแสไฟฟา ระหวา งจุด 2 จดุ ยอมขนึ้ อยูกบั คุณสมบตั ิสําคัญ 4 ประการของตวั นาํ ไฟฟาคือ 1. วสั ดทุ ี่ใชเปน ตัวนําไฟฟาไดดี 2. วัสดทุ ี่ใชตอ งทนความรอ นไดส งู 3. ความยาวของสายไฟตอ งไมมากจนเกนิ ไป 4. พ้นื ท่หี นา ตัดของสายไฟตองไมใ หญจนเกินไป ใชส มการกฎของโอหม ในการคาํ นวณหาคา ใดๆในวงจรไฟฟา ไดอ ยา งไร จากกฎของโอหมท่ีกลาวไววา “ ในวงจรไฟฟาใด ๆ กระแสไฟฟาจะแปรผันโดยตรงกับ แรงดนั ไฟฟา และแปรผกผนั กับคา ความตานทานของวงจร” เขียนเปน สูตรไดดังนี้ I = E R

88 เม่อื I คอื กระแสไฟฟาของวงจร มีหนว ยเปนแอมแปร ( A ) E คอื แรงดันไฟฟา มหี นวยเปน โวลต ( V ) R คือ ความตา นทานของวงจร มหี นวยเปน โอหม ( ) เพ่ือใหง ายแกการจาํ สามารถเขยี นใหอยใู นรปู สามเหลีย่ มไดดงั น้ี E IR วงจรไฟฟา คอื อะไร วงจรไฟฟาคือการตออุปกรณไฟฟาแบบตางๆเชนตัวตานทาน ตัวเก็บประจุ และ แหลง กาํ เนิดแรงเคลือ่ นไฟฟาเขาดว ยกนั อุปกรณเชนลวดนําความรอน หลอดไฟฟา ท่ีใชพลังงาน จากไฟฟา มกั จะมคี วามตานทานเสมอ เราจะเรียกวา โหลด (load) ของวงจร การตอ วงจรไฟฟา มีกีแ่ บบ การตอ วงจรไฟฟามี 3 แบบคอื 1. การตอแบบอนุกรม (Series Circuit) 2. การตอแบบขนาน (Parallel Circuit) 3. การตอแบบผสม (Compound Circuit) การตอ แบบอนุกรม (Series Circuit) การตอแบบอนุกรม การตอแบบนี้คือการนําเอาอุปกรณไฟฟา หรือโหลด (Load) ตาง ๆ มาตอเรียงกันคํานวณใหแรงเคลื่อน เทากับเคร่ืองกําเนิดไฟฟา แลวนําเอาปลายท้ังสองไปตอกับ สายเมน ตามรูป เปนการตอแบบอนุกรม โดยใชตัวตานทาน 4 ตัวมาตอเรียงกันไดจํานวนแรง เ ค ลื่ อ น เ ท า กั บ แ ร ง เ ค ล่ื อ น ไ ฟ ฟ า จ า ก ส า ย เ ม น ป ล า ย ทั้ ง ส อ ง ต อ เ ข า กั บ ส า ย เ ม น

89 ผลเสียของตอแบบนี้ก็คือ ถาหากวาความตานทานหรือโหลดตัวใดเกิดขาดหรือชํารุด เสียหายกระแสจะไมสามารถไหลผา นไปยังอปุ กรณตวั อนื่ ๆ ได ดงั น้นั การตอวิธีนี้จึงไมคอยนิยมใช กนั ทว่ั ไป จะมใี ชกันอยูในวงจรวทิ ยุ โทรทศั นก ารตอ วงจรแบบนี้จะทําใหมีกระแสไฟฟาไหลไปทาง เดยี วและผานโหลดแตละตัวโดยลาํ ดบั ดงั นนั้ เราจึงสรุปไดว า 1. ความตานทานรวมของวงจรเทากับคาของตัวตา นทานยอยทั้งหมดรวมกนั 2. กระแสไฟฟา ทไ่ี หลในวงจรเทากนั ตลอดหรอื กระแสไฟฟาทีไ่ หลผา นจุดแตล ะจุดในวงจร มีคาเดียวกนั 3. แรงดันไฟฟา ท่ีตกครอมตวั ตานทานแตล ะตัวรวมกันเทากบั แรงดันไฟฟาท่ปี อ นใหก ับ วงจร การตอ แบบขนาน (Parallel Circuit) การตอแบบขนาน เปนวิธีที่นิยมนํามาใชตอไฟฟาท่ัวไป ใชแสงสวาง ใชความรอน พัดลม วิทยุ โทรทศั น เปน ตน เปนวงจรทมี่ ีกระแสไฟฟา ไหลผานปลายทาง หรือต้งั แตสองทางข้ึนไป จนครบวงจร การตอคือ เราตอสายเมนใหญเขามาในบาน (2 สาย) แลวจึงตอจากสายเมนมาใช เปนคู ๆ ถา จะดใู หด จี ะเหน็ วา สายคูท ่ีตอมาใชน ั้นจะตอมาจากสายเมนใหญเหมือนกัน เราจึงเรียก การตอ แบบนี้วา \" การตอ แบบขนาน \"

90 จากรูป จะเห็นวากระแสไฟฟาไหลออกจากแหลงกําเนิดไฟฟา หรือแบตเตอรี่ ไปตาม สายไฟตามลูกศร ผานตัวตานทาน 4 ตัว (โหลดหรืออุปกรณไฟฟา) ซ่ึงตอแบบขนานไว แตละตัว เปนคนละวงจรกนั สามารถทจ่ี ะแยกการทาํ งานไดอยางอิสระ หรือใชสวิทชเปนตัวควบคุมรวมกัน หรอื แยกกนั แตล ะวงจรได เพราะแตละวงจรจะใชแรงดันไฟฟา เทา ๆ กนั นยิ มใชต อไฟฟาตามบาน และโรงงานอุตสาหกรรม ดงั น้ันพอจะสรปุ เปนกฎไดวา 1. แรงดันไฟฟาตกครอ มท่มี าจากวงจรยอ ยเทากับแรงดันไฟฟาของแหลงจา ย น่ันเอง เพราะวาความตานทานแตล ะตวั ตางกข็ นานกบั แหลงกําเนิด 2. กระแสไฟฟา รวมในวงจรขนานเทากับกระแสไฟฟายอ ยท้งั หมดรวมกันกลา วคอื กระแสไหลเขา = กระแสไหลออก Iรวม = I1+I2+I3+I4 3. ความตานทานรวมของวงจรขนานจะมีคานอ ยกวา หรอื เทากับตวั ตา นทานทม่ี ีคานอย ทส่ี ดุ ในวงจร การตอ แบบผสม (Compound Circuit) การตอแบบผสม คือ การตอ วงจรทงั้ แบบอนุกรมและแบบขนานเขาไปในวงจรเดียว การตอ แบบนี้ โดยท่ัวไปไมนิยมใชกัน เพราะเกิดความยุงยาก จะใชกันแตในทางดานอิเล็กทรอนิกสเปน สว นใหญ เชน ตัวตานทานตวั หน่งึ ตอ อนกุ รมกับตวั ตานทานอกี ตัวหน่ึง แลวนําตัวตานทานท้ังสอง ไปตอ ขนานกบั ตัวตานทานอกี ชดุ หน่ึง ดังในรูป

91 จะสังเกตเห็นไดวาลักษณะการตอวงจรแบบผสมน้ีเปนการนําเอาวงจรอนุกรมกับขนานมา รวมกัน และสามารถประยุกตเปนรูปแบบอื่น ๆ ได ขึ้นอยูกับการนําไปใชงานใหเหมาะสม เพราะการตอ แบบผสมนีไ้ มมกี ฎเกณฑตายตัว เปนการตอเพื่อนําคาท่ีไดไปใชกับงานอยางใดอยาง หน่ึง เชน ในวงจรอเิ ลก็ ทรอนกิ ส เปน ตน แสงคอื อะไร แสงคือ คลื่นแมเหล็กไฟฟา (Electromagnetic wave) ประเภทหน่ึงซ่ึงอยูในชวงความ ยาวคลนื่ ทส่ี ายตามนษุ ยม องเห็นหรอื บางครัง้ อาจรวมถึงการแผรังสีแมเหล็กไฟฟาในชวงความยาว คลนื่ ต้ังแตรงั สีอนิ ฟราเรด (Infrared) ถงึ รังสีอัลตราไวโอเลต (Ultraviolet) ดวย สามารถจาํ แนกวัตถตุ ามการสอ งผานของแสงไดก ปี่ ระเภท เราสามารถจาํ แนกวตั ถตุ ามการสอ งผา นของแสงได 3 ประเภทคือ วัตถโุ ปรง ใส คอื วัตถุที่ยอมใหแ สงสองทะลุผา นไดโดยงาย วัตถโุ ปรง แสง คอื วตั ถุที่ยอมใหแสงผานไปไดเพยี งบางสว น วัตถุทบึ แสง คือวตั ถุท่ีไมย อมใหแสงผา นไปไดเ ลย สมบัติของแสงมอี ะไรบาง 1. การสะทอนของแสง (Reflection)เปนปรากฏการณท่ีแสงมีการเปลี่ยนทิศทางการ เคลอ่ื นที่ท่บี รเิ วณรอยตอ ของตวั กลาง 2 ชนดิ โดยแสงจะเคลอื่ นท่ยี อ นกลับไปในตวั กลางเดมิ กฎการสะทอ นแสง 1. รังสีตกกระทบ เสน ปกตแิ ละรงั สีสะทอ นยอ มอยบู นพนื้ ระนาบเดียวกนั 2. มุมตกกระทบเทา กบั มมุ สะทอน 2. การหักเหของแสง (Refraction)เปนปรากฏการณการท่ีแสงเคลอ่ื นท่ีจากตัวกลางหนง่ึ ไปยงั อกี ตัวกลางหนึ่งโดยมีทิศทางการเคล่ือนท่แี ตกตางจากทิศทางการเคลื่อนท่ีเดิมโดยการหักเห ของแสงจะเกิดขึ้นที่บริเวณรอยตอ ระหวา งตัวกลางทัง้ 2 ชนิด

92 ส่งิ ควรทราบเก่ียวกับการหกั เหของแสง - ความถขี่ องแสงยงั คงเทา เดมิ สวนความยาวคลน่ื และความเร็วของแสงจะไมเ ทา เดิม - ทศิ ทางการเคล่ือนทข่ี องแสง จะอยใู นแนวเดมิ ถา แสงตกตัง้ ฉากกับผวิ รอยตอ ของตัวกลาง จะไมอ ยูในแนวเดมิ ถา แสงไมตกต้งั ฉากกบั ผิวรอยตอของตวั กลาง 3. การกระจายแสง หมายถึงแสงขาวซึ่งประกอบดวยแสงหลายความถี่ตกกระทบปริซึม แลว ทําใหเ กดิ การหักเหของแสง 2 ครง้ั (ท่ผี ิวรอยตอ ของปรซิ ึม ท้งั ขาเขา และขาออก) ทําใหแสงสี ตาง ๆแยกออกจากกันอยางเปนระเบียบเรียงตามความยาวคล่ืนและความถี่ที่เราเรียกวา สเปกตรัม (Spectrum) รงุ กนิ นํ้าเปน การกระจายของแสงเกิดจากแสงขาวหักเหผานผิวของละอง นํา้ ทาํ ใหแ สงสีตา ง ๆกระจายออกจากกันแลวเกดิ การสะทอนกลับหมดทผ่ี ิวดา นหลงั ของละอองนํ้า แลวหักเหออกสูอากาศ ทําใหแ สงขาวกระจายออกเปนแสงสีตาง ๆ กันแสงจะกระจายตัวออกเมื่อ กระทบถูกผิวของตัวกลางเราใชประโยชนจากการกระจายตัวของลําแสง เมื่อกระทบตัวกลางนี้ เชน ใชแผนพลาสตกิ ใสปดดวงโคม เพ่อื ลดความจา จากหลอดไฟหรอื โคมไฟชนิดปดแบบตา ง ๆ 4. การทะลุผาน (Transmission) หมายถึงการท่ีแสงพุงชนตัวกลางแลวทะลุผานมัน ออกไปอีกดา นหนึ่งโดยทค่ี วามถีไ่ มเปลี่ยนแปลงวตั ถทุ ม่ี คี ณุ สมบัติการทะลุผานได เชน กระจกผลึก ครสิ ตัล พลาสติกใส นาํ้ และของเหลวตา ง ๆ 5. การดูดกลืน (Absorbtion) หมายถึงการที่แสงถูกดูดกลืนหายเขาไปในตัวกลางเชน เตาอบพลังงานแสงอาทิตยเครือ่ งตม นํา้ พลงั งานแสงและยังนําคุณสมบัติของการดูดกลืนแสงมาใช ในชีวิตประจําวัน เชนการเลือกสวมใสเสื้อผาสีขาวจะดูดแสงนอยกวาสีดําจะเห็นไดวาเวลาใส เสอื้ ผาสีดาํ อยกู ลางแดดจะทําใหร อ นมากกวา สขี าว 6. การแทรกสอด (Interference) หมายถึงการที่แนวแสงจํานวน 2 เสนรวมตัวกันใน ทิศทางเดียวกนั หรือหักลางกนั หากเปนการรวมกันของแสงท่มี ีทศิ ทางเดียวกนั จะทําใหแสงมีความ สวางมากขึ้น แตในทางตรงกันขามถาหักลางกันแสงก็จะสวางนอยลด การใชประโยชนจากการ สอดแทรกของแสง เชน กลองถายรปู เครื่องฉายภาพตาง ๆ และการลดแสงจากการสะทอนสวนใน งานการสองสวา ง จะใชในการสะทอ นจากแผนสะทอ นแสง

93 พลังงานทดแทนคอื อะไร พลังงานทดแทนคอื พลังงานทีใ่ ชแทนน้ํามันเช้ือเพลิงซ่งึ เปน พลังงานหลักท่ใี ชกนั อยูท่วั ไป พลงั งานทดแทนแบงออกเปน 2 ประเภทคือ 1. พลังงานทดแทนจากแหลงท่ีใชแลวหมดไป เชน ถานหิน แกสธรรมชาติ หินนํ้ามัน 2. พลังงานทดแทนที่สามารถหมุนเวียนมาใชไดอีก เชน พลังงานแสงอาทิตย ลม ชีวมวล น้าํ เปนตน เราสามารถเลอื กพลังงานทดแทนมาใชประโยชนไดห รอื ไมอ ยางไร ในปจจบุ นั การใชพ ลงั งานทดแทนเริ่มมบี ทบาทมากขึน้ และมกี ารพัฒนาเทคโนโลยีตางๆที่จะนําเอา พลงั งานทดแทนมาใชโ ดยเฉพาะพลังงานทดแทนทห่ี มุนเวียนกลับมาใชไดอ กี ตวั อยา งเชน การนาํ พลงั งานแสงอาทิตย มาใชในการผลติ ไฟฟา ผา นอุปกรณทางอเิ ลค็ ทรอนิคสชนิดหน่ึง ทีเ่ รียกวา เซลลแ สงอาทิตยน าํ มาใชผลิตไฟฟาพลังงานจากดวงอาทิตยจัดเปนพลังงานหมุนเวียนที่ สําคัญที่สดุ การนําพลงั งานลม มาใชในการผลิตไฟฟา สบู นา้ํ โดยผา นส่งิ ประดษิ ฐเ ชนกงั หันลมเปนตน การนําพลงั งานความรอนใตพ ิภพ มาใชเ ชน การทาํ ความรอนใหบาน ทําใหเรือนกระจกอุนข้ึน การละลายหิมะบนถนนการผลิตกระแสไฟฟา เปนตน การนาํ พลังงานชวี มวล เชน แกลบ ขี้เลื่อย ชานออย กากมะพราว ไมฟน กากออย เศษไม เศษหญา เศษเหลอื ทงิ้ จากการเกษตร เปน ตน มาใชเปน เชอ้ื เพลงิ ในการผลติ กระแสไฟฟา การนําพลังงานน้ํา มาใชห มุนกังหันน้ําเพื่อผลิตกระแสไฟฟา การนําพลังงานจากขยะเชน กระดาษ เศษอาหาร และไมจากชุมชน ซึ่งสามารถใชเปน เชือ้ เพลงิ ในโรงไฟฟา ที่ถูกออกแบบใหใชข ยะเปนเช้ือเพลิงได การนําพลงั งานนวิ เคลียรซ่ึงเปนพลงั งานที่ไดมาจากปฏิกิริยานิวเคลียรเกิดจากการแตกตัว ของ นวิ เคลยี สของธาตเุ ช้ือเพลงิ เชน ยูเรเนียมและใหพ ลงั งานความรอ นมหาศาล จึงใชในการผลิต ไฟฟา

94 บทท่ี 13 ดวงดาวกบั ชวี ิต กลุม ดาวจักราศคี อื อะไร กลุมดาวจักรราศี หมายถึง กลุมดาวฤกษจํานวน 12 กลุม ท่ีอยูหางไกลจากดวงอาทิตย ออกไป ซึ่งเม่ือมองจากโลกจะเห็นกลุมดาวเหลานี้อยูตามแนวทางเดินของดวงอาทิตย ที่เรียกวา เสน สุรยิ ะวิถี ซึ่งกลมุ ดาวดังกลาวไมไดอยูบนแนวสุริยวิถีพอดี แตจะอยูในชวงแถบกวางประมาณ 18 องศา ผานแนวสรุ ิยวิถี โดยมี 12 กลมุ ดาว แตละกลุมดาวหา งกัน ประมาณ 30 องศา ดวงอาทิตยจ ะปรากฏเปลี่ยนตําแหนงไปตามกลุมดาวฤกษ 12 กลุม และเปล่ียนตําแหนง ครบรอบในเวลา 1 ป โดยเฉล่ียดวงอาทิตยจะใชเวลาประมาณ 1 เดือนตอ 1กลุมดาว โดยจะเปน ชวงเวลาที่ดวงอาทิตยอยูในราศีที่มีช่ือสัมพันธกับช่ือเดือน เชน ดวงอาทิตยเคล่ือนที่ปรากฏผาน กลุมดาวคนคูในชวงปลายเดือนมิถุนายน ซ่ึงเปนชวงเวลาท่ีดวงอาทิตยอยูในราศีมิถุน ตอจากน้ัน จะเคล่ือนท่ีปรากฏผานกลุมดาวปูในปลายเดือนกรกฎาคมซ่ึงเปนชวงเวลาท่ีดวงอาทิตยอยูใน ราศีกรกฎ เปน ตน 1. กลุมดาวแกะ Aries เปนกลุมดาวในราศีเมษเปนกลุมดาวทางซีกฟาดานเหนือ ดวงอาทิตยจ ะเคลอื่ นมาในกลุมดาวนี้ชวง 19 เมษายน ถึง 14 พฤษภาคม 2. กลุมดาววัว Taurus เปนกลุมดาวในราศีพฤษกเปนกลุมดาวทางฟาดานเหนือ ดวงอาทิตยจ ะเคลอ่ื นมาในกลมุ ดาวน้ชี วง วันที่ 14 พฤษภาคม ถึง 21 มิถนุ ายนมดี าวฤกษสีสมแดง สวางทีส่ ดุ อยหู น่งึ ดวงเปนตาขวาของวัว ช่อื วา ดาวอลั ดิบะแรน (ALDEBARAN) หรอื ดาวโรหณิ ี 3. กลมุ ดาวคนคู Gemini เปนกลุมดาวในราศีเมถุนอยูทางดานตะวันออกเฉียงเหนือ ของ กลุมดาวนายพราน (Orion) ดวงอาทิตยจะเคล่ือนมาในกลุมดาวน้ีชวงวันท่ี 22 มิถุนายน ถึง 21 กรกฏาคม เขาเดือนมิถุนายนมีดาวฤกษสุกสวางท่ีสังเกตงาย และอยูใกลกัน 2 ดวง คือ ดาวคาสเตอร (Caster) และ ดาวพอลลักซ (Pollux) เปนกลุมดาวที่เห็นชัดตลอดคืนในฤดูหนาว โดยเฉพาะเดอื นมกราคมจะเหน็ อยตู ลอดทงั้ คืน 4. กลุมดาวปู Cancer เปนกลมุ ดาวในราศีกรกฏถัดมาจากกลุมดาวคนคูทางทิศตะวันออก ดวงอาทติ ยจ ะเคลอื่ นมาในกลุมดาวน้ีชวง วันท่ี 21กรกฏาคม ถึง 11 สิงหาคมเขาเดือนกรกฏาคม

95 ในตนเดือนกุมภาพันธจะเห็นไดตลอดคืน ในกลุมดาวปูนี้จะมีฝาขาวๆอยู เรียกวา กระจุกดาว รวงผึ้ง (PRAESEPE) หรอื ทีค่ นไทยเรียกวา กระจุกดาวปุยฝาย 5. กลุมดาวสิงโตLeo เปนกลุมดาวในราศีสิงห ประกอบดวยดาวฤกษอยางนอย 9 ดวง ดวงอาทติ ยจะเคลือ่ นทผ่ี า นกลมุ ดาวราศสี ิงหระหวางวันท่ี 11 สิงหาคม ถึง 17 กันยายนมีดาวฤกษ ทีส่ วางคอื ดาวเรกิวลสุ (REGULUS) หรอื ดาวหัวใจสิงห 6. กลุมดาวหญิงสาว Virgo เปนกลุมดาวในราศีกันย เปนกลุมดาวทางซีกฟาดานใตดวง อาทติ ยจ ะเคลือ่ นทีผ่ า นระหวางวนั ท่ี 17 กนั ยายน ถงึ วนั ท่ี 1 พฤศจกิ ายนดาวฤกษท่ีสวางที่สุด คือ ดาวสไปกา (SPICA) เขาเดือนกันยายนเม่ือดวงอาทิตยตกจะเห็นกลุมดาวนี้อยูทางทิศตะวันตก พอดี 7. กลมุ ดาวคันขั่งLibra เปนกลุมดาวในราศีตุลยดวงอาทิตยปรากฏโคจรเขามาอยูในกลุม ดาวราศตี ุลย ในวันท่ี 23 กันยายน ซ่งึ ในวนั น้กี ลางวันกบั กลางคืนเทากนั พอดี และดวงอาทิตยขึ้นท่ี จดุ ทศิ ตะวนั ออก ตกทจ่ี ุดทิศตะวันตก โคจรผานกลางทองฟาพอดี 8. กลุมดาวแมงปอง Scorpio เปนกลุมดาวในราศีพิจิกเปนกลุมดาวทางซีกฟาดานใต ซ่งึ ดวงอาทิตยจ ะโคจรผานระหวางวันท่ี 23 ถึง 30 พฤศจิกายนดาวฤกษท่ีเห็นไดชัดเจนท่ีสุดเปน ดาวฤกษส ีแดง ชือ่ แอนทาเรส (ANTARES) หรือดาวปารชิ าต 9. กลมุ ดาวคนยิง Sagittarius เปนกลุมดาวในราศีธนูดวงอาทิตยจะเคลื่อนมาในกลุมดาว นชี้ วง วนั ท่ี 19 ธันวาคม ถงึ 21 มกราคม กลมุ ดาวคนยงิ ธนเู ปนกลมุ ดาวทีอ่ ยูใ จกลางทางชางเผอื ก 10. กลมุ ดาวแพะทะเล Capricornus เปนกลุมดาวในราศมี ังกรกลุมดาวน้ีสวนใหญอยูเลย ไปทาง ทศิ ใตข องเสน สรุ ิยะวิถี ดวงอาทิตยจะเคลื่อนมาในกลุมดาวน้ีชวง วันท่ี 22 มกราคมถึง 21 กมุ ภาพนั ธ 11. กลุมดาวคนแบกหมอน้ํา Aqurius เปนกลุมดาวในราศีกุมภเปนกลุมดาวท่ีอยูทางซีก ฟา ดา นใต ดวงอาทติ ยจะเคล่ือนมาในกลมุ ดาวนช้ี วง วนั ท่ี 16กมุ ภาพันธ ถึง 13มนี าคม 12. กลุม ดาวปลาคู Pisces เปน กลมุ ดาวในราศมี ีนดวงอาทิตยเริ่มโคจรปรากฏเขามาอยูใน บริเวณกลุมดาวซ่ึงเปน หัวปลาคูนี้ แลวคอย ๆ ปรากฏเคล่ือนไปทางทิศตะวันออก ในวันท่ี 21 มีนาคม เปน วันเร่มิ ตน ฤดใู บไมผ ลิ เปน วนั ท่ีกลางวนั และกลางคนื เทา กนั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook