Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Microsoft_PowerPoint

Microsoft_PowerPoint

Description: ใช้เพื่อการศึกษาเท่านั้น

Search

Read the Text Version

นั้นเรามาลองดู พอเราทำ Slide Show มาแล้ว Slide Show แล้วเราบอกว่าเราต้องการที่จะแสดง Animations คลิกปปุ๊ เลข 1 มาเหน็ ไหม Fry มาจากทางด้านซ้าย คลกิ ป๊ปุ เลข 2 มา คลกิ เลข 3 โดยเราทำไว้ 3 Animations ใช่ไหม แลว้ เราก็เพ่ิมอีกว่า พอเราคลิกอีกคร้งั หนึ่ง หมายเลข 4 คอื หมายเลข 1 หายไป Animation ที่ 5 เลข 2 หายไป Animation ท่ี 6 เลข 3 หายไป เปน็ ลกั ษณะนเี้ ป็นตน้ 99

พอจะเข้าใจใช่ไหม ว่าการใช้ Animations เราสามารถเลือกได้มากกวา่ 1 แต่ทงั้ นี้ทง้ั นน้ั ในการท่ีเราจะ เลือก Animations มากกวา่ 1 เราจะต้องไปทำการ Add Animation เข้าไป อีกอันหนึ่ง อีก Animation หนึ่งที่ดิฉันอยากให้ดูก็คือการให้มันเคลื่อนย้ายในลักษณะท่ีเป็นแบบอิสระ ยกตวั อยา่ งเชน่ ดฉิ นั Insert Picture เข้ามา เอาเปน็ ภาพโลโกแ้ ล้วกัน เข้ามา เสร็จแล้ว ดิฉันต้องการให้โลโก้ตรง นี้ เคลอ่ื นทจ่ี ากตรงนี้ แลว้ กข็ ึ้นไปด้านบน ไปประกบตรงน้เี ลย สมมติ แบบนเ้ี ปน็ ต้น 100

ฉนั้น Animation ลักษณะนี้ถ้าให้มันเคลื่อนอิสระ เราก็ไปที่ Tab Animations แล้วก็ไปกำหนด Animations ทเ่ี ปน็ ลักษณะของ Motion Paths ถ้าเป็นเสน้ ของ Lines มนั กจ็ ะว่ิงข้ึนลง ตามรูปแบบท่มี นั มี ฉนัน้ ดฉิ ันไมใ่ ช้ ลบออก และกท็ ำการเลือก และกล็ บ เอาใหม่ จะใช้ Animations ทเี่ ปน็ แบบอิสระเลยก็ คือ Custom Path แบบนี้ 101

เราสามารถที่จะกำหนดได้ว่าจุดเริ่มต้นของภาพนี้อยู่ที่นี่ และก็ลากเมาส์ขึ้นไป จุดที่ 2 จุดที่ 3 จุดที่ 4 จุดท่ี 5 จุดที่ 6 สุดทา้ ย Double Click เหน็ ไหมการเคลอื่ นทขี่ องเขากจ็ ะเคลอ่ื นท่ีตามเส้นท่เี รากำหนด 102

ฉนั้นอันนี้กค็ อื รูปแบบของ Animations ทมี่ ที งั้ หมด 4 รปู แบบ ซง่ึ ทีเ่ ราเหน็ สสี นั ที่เห็น ก็คือความแตกตา่ งกัน พร้อมกันนั้น ถ้าเราใช้ Tab ของ Animation Pane ให้ปรากฏขึ้น เราก็จะทราบว่าบนสไลด์ มี Object ไหนบา้ งท่ถี กู กำหนดใหเ้ กดิ Animations 103

ในขณะท่ถี ้าเราบอกวา่ เวลาทเี่ รานำเสนอแล้วเน่ีย Animations มันเยอะเกิน เราไมใ่ ชบ้ าง Animations เราก็ใช้ตัว Animation Pane ตัวเนี่ยให้แสดงรายการ Animations แล้วก็ทำการลบ Animations ที่ไม่ต้องการ ออกไป Animation อีกอันหนึ่ง ที่เรามักจะใช้กัน ก็คือ Animations ที่ใช้กับข้อความ เมื่อกี้เราใช้กับพวก รูปภาพ หรือว่าเปน็ พวก Icon ต่างๆ ถ้าเป็นข้อความ เช่นเดียวกันเลย ถ้าเป็นการเปิดตัว หรือเปิดหวั เรือ่ งนี้ เขา จะมักใช้ Animations ที่เป็นพวก Fry in อย่างเนี่ย Fry in ควรจะมาจากอะไรคะ Options มาจากข้างบน From Top, Fry ลงมา 104

พอ Fry ลงมาเสร็จ มันควรจะมาทีตวั ละอกั ษรไหม ฉน้นั การทเ่ี ราจะไปกำหนดวา่ ในการ Fry ลงมา ปกติ มันจะมาทั้งหมดเลย แต่ถ้าเราอยากจะให้ Animations มันลึกเข้าไปมากกว่านั้น ก็สามารถที่จะเข้าไปตรง Animation Pane แลว้ กไ็ ปคลิกขวาเลอื กตวั Effect Options หรอื Double Click กไ็ ด้ เขาก็จะขึ้นหน้าต่างของ Animations ตรงนี้ขึ้นมาให้ว่า เจ้าตัวอักษรแบบนี้ มันจะทำการ Animate Text มาทั้งหมดเลย กค็ ือมาท้ังคำเลย และเราสามารถเลือกไดว้ ่าให้เป็น By letter หรือ By word, By word ก็ เป็นคำ By letter ก็คือเป็นตัวอักษร By letter เสร็จ มีเสียงไหม ในขณะที่มันลงมาเนี่ย ให้มันมีเสียง เป็นเสียง Laser เสียง Click เสียงเครื่องพิมพ์ดีด ตึ๊ด ตึ๊ด ตึ๊ด เพื่อเป็น Effect ให้คนตื่นขึ้นมาดูอ้าว...มี Animations อาจจะเรียกเสยี งหรือเรียกความสนใจกลบั มาอกี ครั้งหน่งึ อย่างน้เี ป็นต้น Animations กป็ รากฏมาทีละตัว 105

กลับไปใหม่ ใน Effect Options ตรงนี้ เราสามารถกำหนดการ Delay ของการกำหนดตัวอักษรได้ ว่า ให้มัน Delay ชา้ นิดหนึ่งหรอื เร็วขึ้นเปน็ ต้น พอดีอันนี้ไม่ได้เปิดลำโพงไว้ คือถ้าเปิดไว้ เราก็จะได้ยินเสียง ของตัว Animations เป็นต้น อันนี้ก็คือใช้ กบั พวกข้อความ 106

ดงั นั้นเดย๋ี วเรากลับมา จากการใช้ Animations ถา้ ดิฉันกลับมาที่สไลด์ทเ่ี ปน็ หนา้ แรก หลายท่านจะเห็น วา่ ก่อนที่เปิดขึน้ มาเนีย่ ดิฉนั แนะนำตัวว่า เราเขา้ ส่หู ลกั สูตร Microsoft PowerPoint กนั ในวันนี้ก็แนะนำตัวช่ือ จะเห็นว่าใช้ Animations ให้ปรากฏทีละส่วน เพื่อที่จะให้ทุกคนได้เห็นว่าดิฉันกำลังพูดถึงอะไร และปรากฏ ข้อความเพอื่ ให้สอ่ื ความหมายนน้ั ๆ นั้นจะเห็นว่าตวั เลข 1 2 3 นคี่ ืออะไร เปดิ สไลดม์ า ทกุ คนก็จะเห็นวา่ ดิฉันค้าง ช่ือเนอื้ หาไวก้ ่อนวา่ วันนี้เราจะพดู ถึงหวั เร่อื งอะไร เห็นไหมคะ พอคลิกปุ๊ป แนะนำตวั แนะนำตวั เสร็จ ดฉิ ันก็อยากให้ทกุ คนเนี่ยเขา้ ไปทำการดาวนโ์ หลดเอกสาร ดิฉันก็ เอา Animations ของข้อความนี้เอาไว้เป็นอันดับสุดท้าย เพื่อหลังจากที่พูดภาพรวมทั้งหมด แนะนำตัวเสร็จ เรียบร้อยกท็ ำการดาวน์โหลดเอกสารไฟลไ์ ด้เลย เหน็ ไหม อนั นี้คอื เทคนคิ ของการใช้ Animations กับ Object 107

หรือคำวา่ Object เมื่อกเี้ ราทราบแลว้ ว่า Object ก็คือข้อความ หรือรปู ภาพ แตท่ นี ้ี Object มนั ไม่หมด แคน่ ั้น จำรปู แบบกราฟได้ไหม ท่เี ราสรา้ งไว้ กราฟกับตัว SmartArt ท่ีเราสรา้ งไว้ มาดูกัน ตรงนี้ก็คือ Object เช่นเดียวกัน ฉนั้นมันสามารถกำหนด Animations ได้เหมือนกัน มาดูจากตัวกราฟ กอ่ น ในตวั กราฟ เวลาทเ่ี ราทำการนำเสนอ ดิฉันใช้ Slide Show ให้เหน็ ภาพก่อนว่า พอเรานำเสนอปั๊ป กราฟก็ จะปรากฏทัง้ หนา้ หมดเลย มที ้งั กราฟ ทัง้ SmartArt ทง้ั ตาราง พร้อมกันเลย 108

ถ้าดิฉันต้องการกำหนด Animations ว่าให้ตารางขึ้นมาก่อนนะ และให้กราฟขึ้นมา และให้ SmartArt มาพูดสรุปอีกทีหนึ่ง เห็นไหมคะ Animations อะไรเป็นลำดับ 1 2 และ 3 เราวางโครงไว้แล้ว คราวนี้เรามา กำหนดกนั เดี๋ยวดฉิ นั ขอปรับสีตารางใหส้ วยงามนิดหนึ่ง ตาราง จำได้ไหม เราจะทำใหส้ สี ันสวยงามนิดหนึ่ง ไปที่ ตารางก่อน แลว้ ก็ไปท่ี Tab Table Design และกไ็ ปเลือกสสี ันให้กบั ตาราง ถ้าไมส่ วย เด๋ยี วเรา Present ไม่ค่อย ดนู ่าสนใจเท่าไหร่ เลือกตารางเสร็จ เราจะให้ตารางปรากฏขึ้นมาเปน็ อันดับแรก ก็ในขณะที่เราค้าง Tab Animation Pane ไว้ ไป ที่ Tab Animations เราจะให้ตารางค่อยๆ เฟสมา เฟสจากซ้ายไปขวา หรือว่า เอาเป็น Appear แล้วกัน Appear กค็ อื ปรากฏมาอย่างน้กี ไ็ ด้ อันน้ีคือส่วนของตารางอันที่ 1 109

พอตารางปรากฏเสรจ็ เรามาพูดถึงกราฟ กราฟนีก้ ็จะให้ทำการ Wipe กค็ ือคอ่ ยๆ ปรากฏไลม่ า เห็นไหม ไล่จากด้านซ้ายปรากฏมา เห็นไหม กราฟปรากฏมาเสร็จปุ๊ป มาท่ี SmartArt, SmartArt ก็แนะนำว่าก็ไม่ควรใช้ ให้มันตื่นเต้นมาก อาจจะเป็นการ Zoom มาอย่างนี้ อย่าหมุน เพราะว่าคนดูอาจจะเวียนหัวจากการใช้ Animations ทีห่ ลากหลายของเราได้ จะเห็นวา่ ในสไลดน์ ีม้ ีทั้งหมด 3 Animations เรามาลองดู จากเดิมท่ีข้ึนมา ทั้งแผงเลย ทุกอย่างข้นึ มาหมด ผ้ฟู ังกไ็ ม่ร้วู ่าจะโฟกสั ท่ีจุดไหนดี คราวน้ีเรามาโฟกัสในการนำ Animations มาใช้ พอสรปุ ยอดขาย เรามาดูตารางขอ้ มูลกัน ดูขอ้ มูลไมร่ ้เู ร่อื งใช่ไหมคะ เรามาดูกนั ในรูปแบบของกราฟ เหน็ ไหม น้นั โดยสรุป เนี่ยเราทำการเข้าไปเจาะยอดขายเปรียบเทียบค่าใช้จ่าย เป้าการขายกับยอดขายที่ได้จริงในแต่ละภาคดังนี้ เป็นไงคดแู ล้วเชือ่ มโยง ฟังแล้วเข้าใจง่ายขึน้ ไหม 110

หลายท่านบอกพอแล้วนะ ยังค่ะ เรายังไม่พอ เรามีเทคนิคมากกว่านั้นอีก มาดู ณ ตอนนี้ ดิฉันเห็นว่า กราฟมันปรากฏมาจริง แต่มันควรจะขึ้นมาทีละแท่งไหม ให้กราฟปรากฏขึ้นมาทีละแท่ง ทำได้ไหม ทำได้สิ นั้น มาดูว่า เมื่อกี้เราบอกว่าให้กราฟมัน Wipe ก็คือปรากฎจากซ้ายไปขวาใช่ไหม ในขณะเดียวกัน จำตัว Effect Options ได้ไหม ของกราฟตรงนี้ กค็ ือชารต์ ท่ี 6 คลกิ ขวาเลอื ก Effect Options หรอื Double Click เขา้ ไป เราสามารถกำหนดได้ว่าเจ้าชาร์ตตัวนี้ ที่มันขึ้นมานี้ ไปที่ Tab Chart Animation มันขึ้นมา As One Object เลย ก็คือมาทีเดียวทุกแท่งเลย เรากำหนดได้เลยว่าให้มาเป็นทีละ Series นะ มาทีละ Series ก็คือมาที ละสี สีส้มหรอื สนี ้ำเงิน มันก็จะขึ้นมาสนี ้ำเงิน สีส้มใชไ่ หม ก็คือสีน้ำเงินกค็ ือโชว์อะไร สีน้ำเงินโชว์เป้าการขายมา ก่อน และก็มาโชว์ยอดขายที่ขายได้จริง มันก็จะดูอ้อ...เป้าขายตั้งไว้เท่านี้ ยอดขายเป็นยังไง สูงกว่า มันก็จะมี ความนา่ ต่ืนเตน้ มากข้ึน 111

หรอื บางท่านบอกมนั ไม่ไดน้ ะ มันต้องอธิบายทีละภาคเลย เจาะทลี ะภาคเลย เขา้ ไปใหม่ ถ้าอย่างนัน้ เรา ไม่ By Series หรือ By Category ล่ะ เราเลือก By Element เลย สมมติว่าเราจะเจาะในแต่ละภาคเลย ในแต่ ละภาคบอกว่าภาคเหนือ และก็คอ่ ยพูดทลี ะกราฟ ทล่ี ะแท่งเลยค่ะ มาดู เราเลอื กเปน็ Element by Series เนี่ย ภาคเหนอื ภาคกลาง ในยอดของเปา้ การขายในแตล่ ะภาค เขาก็จะปรากฎมาทีละแทง่ แบบนเี้ ปน็ ตน้ 112

มาดูในสว่ นของ SmartArt บา้ ง นน้ั ชาร์ตทำได้ SmartArt ก็ต้องมี Effect Options เชน่ เดยี วกันถูกไหม Diagram 11 ตัว Double Click เลย จะเห็นว่าใน SmartArt Animation Tab เราก็เลือกเป็น One by One เขาก็จะออกมาทีละ Box ทลี ะภาค เพอื่ ทจี่ ะให้เราทำการลงดเี ทลของข้อมูลนน้ั ได้ 113

เรามาดูภาพรวมทั้งหมด ทำเป็น Slide Show เหมือนเดิม จากเมื่อสักครู่นี้ เราจะทำการสรุปยอดขาย ในแต่ละภูมิภาค เริ่มจากข้อมูลเป็นตาราง จากนั้นเรามาดูในรูปแบบของกราฟกัน มาไล่ดูสิ ยอดขายเป้าที่ตั้งไว้ ภาคเหนือเท่านี้ ภาคกลางเห็นไหม ไล่ไป มาดูภาคเหนือขายจริงได้เท่าไหร่ สูงกว่านะ เห็นไหม เป็นอย่างไรดู น่าสนใจ เรามาสรุปเป็น Diagram กัน ว่าเราไปเจาะตลาดที่ภาคไหนกันบ้าง ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคใต้ ภาค ตะวันออก เห็นไหมคะ นั้นตรงนี้มันจะทำให้การ Present ของเราเนี่ย มีหมวดหมู่ หรือมีกลุ่ม มี Topic ไล่ไป เร่อื ยๆ อนั น้ีกค็ อื ตวั Animations 114

Transition : กำหนดคา่ การเปลยี่ นภาพนงิ่ , กำหนดค่าลักษณะพเิ ศษของการเปลี่ยนภาพ ถัดไปกลับมา เราทราบ Animation ที่เป็น Animation ของแต่ละ Object เรียบร้อยแล้ว ถัดไปเราจะ มาดู Animation ทีเ่ ป็น Animation ระหวา่ งสไลด์ ในแตล่ ะสไลดก์ ค็ ือตัว Transition ฉนน้ั เวลาท่ีเราจะใช้ Transition มุมมองท่.ี ..ดฉิ นั ปดิ Animation Pane กอ่ น มุมมองทเี่ ราจะใช้ แนะนำ ว่าให้ใช้มุมมองที่เป็น Slide Sorter ก็คือการเอาสไลด์มาจัดเรียงกัน ซึ่งมุมมอง จะเห็นภาพรวมของสไลด์ ทั้งหมด ว่าเรามีทั้งหมดก่สี ไลด์ เราจะไดว้ างแผนไดถ้ กู วา่ เราจะกำหนดอะไรใหก้ ับสไลดน์ ้ันๆ ไดบ้ ้าง ในส่วนของตัว Transition Tab มีอะไรบ้าง เรามาดู ปกติแล้วเนี่ย เวลาที่เรา Present เนี่ย สไลด์ที่ 1 ขึ้นมาปุ๊ป เวลาที่จะเปลี่ยนไปเป็นสไลด์ที่ 2 ใน Transition มันจะเปลี่ยนเลย เราสามารถที่จะกำหนดว่า Transition ตรงนี้มันจะมีแบบให้เลือกว่า ให้มันค่อยๆ อาจจะเป็นแบบ...รูปแบบ มี Glitter ไล่เป็น Glitter เกร็ดๆ เล็กๆๆ เพื่อเปิดตัวให้มันดูตื่นเต้น เห็นไหม เขาก็จะมี Preview ให้เราเห็นเลย ว่าหลังจากที่เราใช้ Animation กบั สไลดแ์ ล้วเนยี่ ตัว Transition ดฉิ นั ใช้คำวา่ Transition ใช้ Transition ใหก้ บั สไลดเ์ นี่ย มันจะมี สัญลักษณ์ขึ้นมาแบบนี้ เป็นรูปดาวให้เห็น เห็นไหมเพื่อที่ว่าเราจะได้ไปคลิกดูว่าเรากำหนด Transition อะไรไว้ แตม่ นั จะไม่มชี ่ือใหเ้ ห็น เป็นแค่เอาเมาส์ไปคลกิ และกท็ ำใหเ้ ราเหน็ ภาพ Preview สไลดท์ ่ี 1 เปดิ มา 115

สไลดท์ ่ี 2 เนย่ี อาจจะให้เป็นลกั ษณะกค็ ือเป็นอะไรดี เป็นแบบ คอ่ ยๆ เปน็ ภาพแวบ พบั ลงไปอย่างนี้กไ็ ด้ 116

Animation ที่ 3 หรือเป็นลักษณะก็คือเป็น Box Box ในการหมุนอย่างนี้ อันนี้เหมาะกับใช้เป็นพวก รูปภาพ หมุนเปลยี่ นภาพ Box ไปเรอ่ื ยๆ อนั น้ีกค็ ือ Animation ทเ่ี ปน็ Transition มีข้อแนะนำว่า พอเวลาเราใช้ ดิฉันให้ดูภาพก่อน เวลาที่เราต้องการดู Transition ก็แน่นอนค่ะ ใช้ มมุ มอง Slide Show เพื่อทำการนำเสนอ ในการนำเสนอ Animation ของ Object กย็ ังคงอยู่ ในขณะเดียวกัน Transition ท่ีเราใส่ไวก้ ็ทำงานระหวา่ งการเปลย่ี นสไลด์ มันจะแยกกนั ภายในสไลด์กับระหว่างสไลด์ เหน็ ไหมคะ 117

ข้อเสนอแนะ ในการใช้ Transition ก็คือไม่ควรใช้ Transition ทุกอันเลย หลายท่านบอกสนุกมาก สไลด์แต่ละสไลด์เลือกมันคนละการ Transition เลย เกิดอะไรขึ้น ผู้ฟังก็จะลุ้นละ สไลด์ถัดไปมันจะออก Transition อะไร ซ้าย ขวา หน้า หลัง อันนี้ก็คือไม่ควร ฉนั้นการใช้ให้ดูราบเรียบ จะดูดีที่สุด และก็เน้นใช้ Transition ทีเ่ ราต้องการเนน้ สไลดน์ ั้นจรงิ ๆ ถงึ จะมีการเปล่ยี น Transition นะ ทีนห้ี ลายทา่ นบอก แล้วทำยังไง มนั ตอ้ งมานั่งใสท่ ลี ะอนั ไหม ไมต่ ้อง เราสามารถทจ่ี ะเลือก Ctrl+A ทงั้ หมดเลย หรอื กด Shift และก็คลิกก็ได้ว่า ให้สไลด์ เอาเฉพาะหน้าปกเท่านั้น หน้าปกให้เป็น Glitter ให้มันดูน่าสนใจ อย่างน้ี เพ่อื การเปดิ เรือ่ งข้ึนมา 118

และสไลด์ 2 ถึง 6 อย่างเนี่ย 2-6 เนี่ย ก็เป็นการค่อยๆ อาจจะเป็นการเลื่อน ค่อยๆ เลื่อนสไลด์ เลื่อน สไลดป์ รากฏออกมา เป็นการ Flip แบบนี้ อยา่ งนี้เปน็ ตน้ หรือว่าใช้การเลือก Transition อื่นๆ ที่เราสนใจ ที่มันน่าสนใจมากกว่านี้ก็ได้ เป็นต้น อันนี้คือรูปแบบ ของตัว Transition จาก Transition ถ้าเราบอกทุกอันเลย ก็เลือก Ctrl+A และก็เลือกกำหนด Transition ให้ มัน และบอกว่า...ทุกอันเลย ใหป้ รากฏเปน็ Transition แบบเดียวกันหมดเลย จะไดไ้ มต่ ้องเลือกอะไรมาก ให้มัน ค่อยๆ ปรากฎแบบนีก้ ็ได้ 119

ถัดจากตัว Transition มาดูทางขวา เขาก็จะมีตัว Option ของแต่ละ Transition เหมือน Animation เลยค่ะ อย่างเช่น เราบอกว่าให้มันค่อยๆ ปรากฏมาเนี่ย จากด้านซ้าย ด้านขวา ด้านบน ด้านล่าง การกำหนด Wipe, Wipe ทางซ้ายไล่มาอย่างนี้ก็ได้ นั้นแล้วแต่ค่ะ Effect Options จะแตกต่างกันในแต่ละแบบของ Transition ไม่เหมือนกันนะ ขึน้ อยู่กบั แบบ Transition ท่เี ลอื ก และเพอ่ื ใหเ้ กิดความตนื่ เต้นมากยงิ่ ข้ึน เพื่อให้ผฟู้ ังเกดิ ความคึกคัก เรากส็ ามารถท่จี ะเพิ่มเสียงให้กับการ เปลย่ี นสไสด์ ยกตวั อย่างเชน่ สไลดท์ ี่ 1 เปดิ มาเนยี่ สไลดแ์ รก แตเ่ ดิมเขาเปน็ No Sound อยตู่ รงน้ี เราก็เลือกว่า อาจจะเป็นเสียงปรบมือ ถ้าเราอยากฟังเสียงที่เราใส่เข้าไปบนสไลด์ ก็คลิกที่ตรงสัญลักษณ์ที่อยู่ด้านมุมด้านล่าง ขวาของตัวสไลดไ์ ด้ ก็จะเป็นเสียงปรบมือ 120

หรอื ในสไลด์ที่ 2 เนยี่ พอเปิดสไลดม์ า ให้เป็นเสียงอะไรดี เสียงเหมอื นกบั Laser อย่างน้ี ก็จะเปน็ เสียงที่ เป็น Templates ท่อี ยใู่ นตัวโปรแกรม 121

แต่ถ้าเราอยากจะให้ใช้เสียงที่เป็นเสียงอื่น เสียงเพลงบรรเลงต่างๆ ก็สามารถที่จะเลือกเป็น Other Sound ซงึ่ ใน Other Sound เราสามารถทีจ่ ะไปเลอื ก Sound ทีเ่ ป็นพวก Music Sound มาจาก Playlist หรือ มาจากที่เรามี ที่เราดาวน์โหลดเอาไวก้ ็ได้ ซึ่งตรงนี้ก็จะเป็นเรื่องของการใสเ่ พลงลงไปบนการเปลี่ยนสไลด์ แต่ละ สไลด์ ขณะที่มีการกำหนด การเปลี่ยนสไลด์ เราจะต้องใช้...เขาเรียกว่าเป็นการเมาส์คลิกเพื่อให้เปลี่ยนสไลด์ สงั เกตว่าวิธกี ารเวลาเราทำ Slide Show สไลด์ท่ี 1 ข้นึ มาพรอ้ มกับเสียงปรบมือใช่ไหมคะ ท่เี รากำหนดไว้ พอเรา เปลย่ี นเปน็ สไลดถ์ ัดไป อันนคี้ อื Animations ทีเ่ ราใสไ่ ว้ เป็นเสียง Laser เหน็ ไหมจะตอ้ งคลกิ เมาสท์ กุ คร้ัง 122

Transition : ต้งั ค่าเวลาสำหรับการเปล่ียนภาพ ดังนั้น ถ้าเป็นการนำเสนอทีเ่ ราตอ้ งการที่จะเปลี่ยนสไลด์เอง ก็ใช้ได้ แต่ถ้าเป็นการนำเสนอที่เราอาจจะ เป็นการนำ Presentation เนี่ยไปตั้งตาม Kiosk ต่างๆ เนี่ย แล้วให้งานนำเสนอของเราเล่นไปเองเรื่อยๆ โดยท่ี เราสามารถกำหนดเวลาให้ นั่นก็คือว่าเราสามารถกำหนดได้วา่ เราไม่ต้องคลกิ เมาส์ ก็คือหลังจากน้ันผา่ นไปเนี่ย ค่ะ After กี่วินาที กี่วินาที สมมติว่า 5 วินาทีให้สไลด์เนี่ยยังคงค้างอยู่ 5 วินาที สไลด์นี้เนื้อหาเยอะหน่อย ก็ให้ ค้างอยู่ประมาณสัก 10 วินาที แบบน้ีเป็นตน้ อันนี้คือการกำหนดเวลาให้กับสไลด์แต่ละสไลด์ เพื่อให้ Present อยู่ หรือเราอาจะบอกว่าทุกสไลดเ์ นี่ย ถ้ามันเป็นการกำหนดเพ่ือใหส้ ไลด์เนี่ยนำเสนอตาม Kiosk เนีย่ กส็ ามารถทจ่ี ะกด Ctrl+A และกก็ ำหนดได้เลยว่า ใหท้ ุกสไลด์เนีย่ ไม่ตอ้ งใช้เมาสค์ ลกิ แล้ว แต่ให้แสดง สมมติวา่ เราให้มนั ผา่ นไปอย่างเรว็ ๆ เน่ีย ทุกๆ 2 วนิ าที 123

สังเกตว่าในมุมด้านล่างขวาเนีย่ ถัดจากตัว Effect ก็จะมีตัวเลขของเวลาที่จะนำเสนอสไลด์นั้นให้คงอยู่ สไลด์ละ 2 วินาที พอเราทำ Slide Show ลองดู ก็จะมีเวลาเป็นตัวควบคุมว่า สไลด์เนี่ย อันนี้ดิฉันไม่ได้จับเมาส์คลิกเลย เหน็ ไหมคะ สไลด์เน่ีย แต่ละสไลดจ์ ะ Present ใน 2 วนิ าที หลงั จากนน้ั เขากจ็ ะเปล่ยี นสไลด์ไปเอง ไปเรื่อยๆ ซึ่ง ในการกำหนดแบบนี้ เหมาะกับการนำเสนอที่เราจะเอา Presentation ตัวนี้ ไปนำเสนอบน Kiosk เพื่อให้เขา เปลย่ี นเองเปน็ ตน้ หรอื เป็นการนำเสนอภาพ เอาภาพตา่ งๆ มาใส่ เปน็ ภาพสนิ คา้ และกใ็ ส่เพลงบรรเลงไปเร่ือยๆ แล้วก็เอา Presentation ตัวเน่ยี ไปโชว์ ไปโชว์บน Projector โชว์ใหม้ ันหมนุ ไปเรื่อยๆ เป็นตน้ 124

เมื่อเราต้องการให้หยุดการนำเสนอก็กด Esc แต่ให้ดูว่า พอ Presentation ตรงนี้ เมื่อกี้เราบอกว่าให้ Present ทกุ ๆ 2 วินาที Animation ทีอ่ ยูข่ า้ งใน Object เขากจ็ ะพยายามเล่นไลๆ่ ๆๆ ตามเวลาเพื่อให้อยูใ่ นเวลา ทีก่ ำหนด คราวน้ี เด๋ยี วเรามาดวู ่าจากที่เรานำเสนอตรงน้ีไปแล้วเนย่ี พอถึงสไลด์สุดท้าย อันน้ีเราใส่เสียงไว้ ตอนน้ี เราทำตัวเลข 2 รอบ แล้วพอเราไปดูสไลด์สุดท้ายของเราเนี่ย ก็คือเรื่องของ Q&A จำได้ไหมคะ พอเป็นสไลด์ สดุ ทา้ ยกจ็ ะหยดุ นำเสนอทันที อนั นก้ี ็คอื เป็นค่า Default ของเขา น้ันเดยี๋ วเรามาดูการต้ังคา่ นดิ หนึง่ ว่าถ้ากรณที ่ีเราตอ้ งการให้ Presentation เรานำเสนอวนลูปไปเร่ือยๆ ในรูปแบบของการนำเสนอสินค้า กไ็ ปกำหนดเพ่ิมเติมนิดหน่ึง ก็คือในส่วนของตรง Slide Show จะมีเครื่องมือก็ คือตัว Set Up Show ในตัว Set Up Slide Show ไปกำหนดได้เลยว่า ให้สไลด์ตรงเนี่ย เราสามารถ Loop continuously until ‘Esc’ หมายความว่าเมื่อกี้พอจบสไลด์สุดท้าย คือหน้า Q&A เขาก็จะวนมาสไลด์ที่ 1 โดย อตั โนมัติ กค็ อื การกำหนดตรงนี้ 125

เรามาดูผลกัน ว่าดิฉันจะเริ่มจากสไลด์ก่อนสุดท้ายแล้วกัน เราก็จะได้เห็นว่าพอ Present 2 วินาที ใน สไลดน์ ี้แลว้ เนย่ี เราทำ Slide Show 1 2 ก็จะสลบั ไปสไลด์ Q&A เมอื่ กคี้ ือจบใช่ไหมคะ 126

แต่ ณ ตอนนี้ที่เรากำหนด Loop continuously until ‘Esc’ เห็นไหมคะ วนกลับมาที่สไลด์ที่ 1 แล้ว และก็วนไปเรื่อยๆ วนอยู่อย่างน้นั ไปเร่อื ยๆ จนกระทั่งถ้าเราจะหยดุ เมื่อไหร่ ใหเ้ รากดปุ่ม Esc หรือวา่ Escape อกี อันหนง่ึ ทจ่ี ะกำหนดในตัว Set Up Slide Show หรือเทคนิคตรงน้ีเนี่ย อีกอนั หน่งึ ท่มี ักจะใช้กันก็คือ ว่า ในกรณีที่เราต้องการ Review ข้อมูลหรือว่าคอนเทนต์บนสไลด์ให้ไปอย่างเร็ว Animations ที่เรากำหนดใน แต่ละ Object เนี่ย มันจะต้องแสดงไปเรื่อยๆ บางครั้งเราบอกเราอยากดูภาพรวม ไม่เอา Animations ได้ไหม แต่เราจะไม่เอา Animations ออก ชั่วคราวเราสามารถบอกว่าให้ Show without animation ได้ ตรงน้ี หมายความว่า Animation ที่ตัวอักษรปรากฏที่ละอักษระ หรือว่าตวั ที่เป็นภาพค่อยๆ เลื่อนมาต่างๆ เหล่านี้ จะ หยุดแสดงชัว่ คราว 127

เราลองมาดูกัน เราก็จะมาเริ่มตั้งแต่ตรงนี้ เห็นไหมคะว่าสไลด์ที่เราจะทำ Slide Show อันแรก Animation ไม่มาล่ะ 2 วินาที ก็ไปสไลด์ที่ 2 ไปสไลด์ที่ 3 คือถ้าเราไม่ทราบเทคนิคเนี่ย แรกๆ เลยดิฉันก็ใช้ วิธีการไปเอา Animation ออก และกว่าจะใส่ได้ มันยุ่งยากมาก เพราะบางทีเรารู้สึกว่าเราอยากจะ Review ดู คอนเทนต์และภาพรวมทั้งหมดเนี่ย มันจะทำให้เราดูลำบากมาก เพราะเราต้องรอ Animation มันเล่นจนจบ แบบวธิ ีน้ีกค็ อื วา่ เรา Skip มันชั่วคราว จนกระทั่งถ้าเราบอกว่าโอเค เราจะนำเสนอจริงแล้ว ก็กลับไปที่ Set Up Show เหมือนเดิม และก็ไป ยกเลิก Show without animation ในส่วนของตัว Set Up Show จะมีผลในเรื่องของการทำ Transition ในกรณีอีกกรณีก็คือว่า ตอนที่ เราทำ Slide Show เนยี่ คะ่ จะเหน็ ว่ามัน Show All ก็คือโชว์ตง้ั แตส่ ไลด์ที่ 1 จนกระท่ังสุดทา้ ย ซึ่งบางครั้ง เราอาจจะ Skip บางส่วน เช่นเราอาจจะทำเป็นตอนๆ ไว้ เช่น ณ วันนี้เราอยากจะเสนอแค่ ในส่วนของตั้งแต่สไลด์ที่ 5 สมมติที่ 10 เป็นต้นไป จนกระทั่งถึงสไลด์สุดทา้ ย เราอาจจะแบ่งครึ่ง การโชว์อย่างนี้ และก็กำหนดได้ ว่าให้สไลด์นี้ โชว์ตัง้ แต่สไลด์ที่เทา่ ไหร่ ถึงที่เท่าไหร่ แล้วก็วนลูปไปเรื่อยๆ โดยที่สไลด์ที่ 1 ถึง 9 จะไม่ถกู แสดง เป็นตน้ อนั น้ีก็คือส่วนของ Set Up Show ทกี่ ำหนด 128

และกใ็ ห้สงั เกตตัวเปน็ ตัว Pen Color สขี องปากกาและสีของ Laser เด๋ยี วเราจะมาดูกันค่ะว่า ตรงน้ีใช้ ยงั ไงโอเค 129

โดยสรุปในส่วนของตัว Transition นอกจากเราจะกำหนดการเปลี่ยนสไลด์แล้ว การใส่ Effect ของแต่ ละรูปแบบของ Transition การใส่เสียง หรือว่าใส่เป็น Other Sound ก็คือเสียงเพลงที่เราสามารถที่จะเอาเข้า มา เป็นพวก MP4 ต่างๆ ให้มันเล่นบรรเลงไประหว่างการเปลี่ยนสไลด์ ก็ยังกำหนดการตั้งค่าให้กับการเปลี่ยน สไลด์ได้ว่าใหส้ ไลด์เนยี่ เปลยี่ นทุกๆ กวี่ นิ าที แต่ถ้าเราบอกวา่ เราต้องการยกเลิก เพราะวา่ เราต้องการนำเสนอโดย การใชเ้ มาสค์ ลิกเองเนี่ย กท็ ำการเลือก Ctrl+A เลอื กทง้ั หมด แล้วกไ็ ปยกเลิกเวลาออก ดังนั้นเนี่ย พอเราทำการนำเสนอ Slide Show สไลด์ก็จะไม่เปลี่ยนไปตามเวลาแล้ว ฉนั้นการเปล่ียน สไลด์เนี่ย ก็จะขึ้นอยู่กับการคลิกเมาส์ ขึ้นอยู่กับการคลิกเมาส์ แต่อย่าลืม หลายๆ ท่านไปกำหนด อ้าว...แล้ว Animation ที่ฉันทำไว้ล่ะ ทำไมมนั ไม่ขนึ้ ถา้ เกดิ เคสนข้ี ึ้นมาเนีย่ ใหส้ งสยั Set Up Show ไว้เลย หลายท่านบอก วา่ เอ๊ะ...เรากท็ ำ Animation น่ีนา เขา้ ไปดูสใิ น Animation Pane คลกิ ตรงน้ี หมายเลขยังอยเู่ ลย 130

ทำไมเมื่อกี้ Present แล้วมันไม่ขึ้น เป็นเพราะว่าเราไปทำการ Skip ไว้ที่ Set Up Slide Show หรือ เปลา่ อันนใี้ หไ้ ปดู ตรวจสอบตรงน้ี และก็ถ้าเราบอกว่าไม่ลูปนะ จบก็คือจบเลย ไม่ต้องวนกลับมาแล้ว ก็อย่าลืมไปยกเลิกตรง Loop continuously ด้วย เพอ่ื ใหม้ ันยกเลกิ และกก็ ลับคนื กลับคา่ เดิม สไลดแ์ สดงทงั้ หมด เป็นต้น 131

อนั น้ีก็คอื สว่ นของตัว Animation ดงั น้ัน เราก็จะไดเ้ หน็ ภาพของ Animation และทำความเขา้ ใจแล้วว่า เราจะเลอื กกำหนดการเคลือ่ นไหว ในรูปแบบไหนใหก้ บั งานนำเสนอของเราค่ะ เทคนคิ การนำเสนอ ในเรื่องถัดไป ก็จะเป็นเรื่องของการที่เราจะทำการฉายสไลด์ หรือเราเลือกการฉายสไลด์เนี่ย ตั้งแต่ เรมิ่ ตน้ หรือสไลด์ตง้ั แต่สไลด์ทเี่ ราเลือก ก็คอื เขาก็จะมี Shortcut กด F5 หรอื ว่า Shift+F5 หรอื ถ้าจะให้ดีก็คือ เราก็เลือกเลยว่า เราจะนำเสนอตั้งแต่สไลด์แรก และก็กดตัว Slide Show ก็คือเมื่อกี้คือ Keyword ที่ใช้ ทีน้ี เวลาเราทำ Slide Show กด Slide Show แล้วเน่ยี แลว้ ในขณะท่ีเรานำเสนอ มนั กจ็ ะมีเทคนคิ ว่า ในขณะท่ีเรา นำเสนอเนี่ย เราอาจจะมีการ Discuss กันเกิดขึ้นว่าในหัวข้อที่เราจะนำเสนอเนี่ย มีเรื่องอะไรบ้าง เดี๋ยวดิฉันจะ เริ่มจากเมื่อสักครู่นี้ มาในเนื้อหาตรงนี้ เรามีรายละเอียดตรงนี้แลว้ เราต้องการจะเนน้ ให้เห็นวา่ สิ่งที่เรากำลังพดู เนย่ี มันคืออะไร ฉนนั้ เนีย่ ถา้ เรามองว่ามนั คอื การใช้ Whiteboard ในการนำเสนอแบบน้ี เราสามารถที่จะขีดเขียน Whiteboard ตรงนั้นได้ ดังนั้นการที่เราอยู่ในหน้าจอโหมดของการนำเสนอ เนีย่ ผ้ฟู ังเขาจะเหน็ สไลด์ของเราเป็นแบบเตม็ จอ เป็นแบบเตม็ จอ แต่ในขณะเดยี วกัน ผบู้ รรยายก็จะเห็นสไลด์ใน อกี ในอีกรูปแบบหนง่ึ เปน็ ต้น เราไดใ้ สเ่ ทคนิคต่างๆ เขา้ ไปใหก้ บั ตวั Presentation เราแลว้ ในสว่ นสดุ ทา้ ยเนย่ี ก็คอื การใช้เทคนิคการ นำเสนอ ดังนั้น เวลาที่เราจะนำเสนอเนี่ย สิ่งแรกเลยที่ผ่านมาจะเห็นว่าเราจะต้องใช้มุมมองที่เรียกว่า Slide 132

Show หรือถ้าท่านใดบอกว่าไม่สามารถที่จะเอาเมาส์มาคลิกและเล็งได้เนี่ย ก็กดตัว F5 เพื่อทำ Slide Show ตง้ั แต่เร่ิมตน้ หรอื กด Shift+F5 ไปยงั สไลด์ทเ่ี ราเลือก ซึ่งก็จะไดเ้ ท่ากบั มมุ มอง กค็ ือกด F5 แบบน้ี ดังนั้นเนี่ย เดี๋ยวดิฉันจะให้ดูมุมมองของผู้นำเสนอ ผู้ฟังเนี่ยเขาจะเห็นสไลด์เต็มจอแบบนี้ แต่ผู้นำเสนอ เนี่ยจะเห็นสไลด์ในหน้าจอแบบนี้ เรามาดู ตรงนี้จะเปน็ หน้าจอของผูน้ ำเสนอ หรือผู้บรรยายเนีย่ เขาก็จะเห็นว่า เขาจะไม่ได้เห็นสไลดเ์ ต็มจอเหมือนผู้ฟัง แต่เราจะเห็นว่าอันน้ีคือสไลดท์ ีเ่ รากำลงั พูดอยู่ ซึ่งฉายเต็มจอที่ผูฟ้ ังเห็น อยู่ และในขณะเดียวกัน ผู้บรรยายจะเห็นสไลด์ถัดไปว่า ถัดไปจบแลว้ นะ เป็น Q&A คอื เขาสามารถท่ีจะเหลือบ มองไดว้ า่ ตอ่ ไปเนีย่ จะโยงเขา้ สไลดถ์ ดั ไป จะพดู อะไร 133

ทีนี้นอกจากที่จะเห็นสไลด์ในรูปแบบนี้แล้ว ด้านล่างของหน้าจอ ก็จะมีเครื่องมือที่ช่วยให้ผู้บรรยายใช้ ยกตัวอย่างเช่น การใช้ปากกา ตรงนี้ ก็จะเป็นตัวปากกา ปากกาก็จะมีให้เลือก ว่าปากกา จะเป็นปากกาสีอะไร ถา้ เราเลือกตัว Pen ปกติเนีย่ Default กค็ อื สีแดง จำได้ไหมทีใ่ น Set Up Show ทใ่ี หด้ ไู ว้กอ่ นวา่ จะเห็นว่าปากกากำหนดสีหรือ Laser Pointer กำหนดสี โดย Default กค็ ือสแี ดง 134

ซึ่งตรงเนี่ย Shortcut เราก็สามารถเลือกเป็น...ในขณะที่เราบรรยาย เราสามารถกด Shortcut Ctrl+P เมาส์เราก็จะกลายเป็นปากกา หรือถ้าเรากด Ctrl+A A ก็มาจาก Arrow เมาส์ก็จะกลับไปเป็นลูกศรปกติ พอ เป็นลกู ศรคลิกปปุ๊ มันก็จะกลายเป็นสไลด์ถดั ไป ตรงน้ีเราสามารถท่จี ะย้อนสไลดก์ ลับ หรือ Next สไลด์ไปกไ็ ด้ นอกจากปากกาแล้วมีอะไรอกี นอกจากปากกาแลว้ ก็จะมีตัวที่เปน็ ตวั ยางลบ ตัว Eraser เนีย่ เปน็ ยางลบ นั้นตัววงๆ ตรงนี้ไม่ต้องกังวล เราสามารถที่จะกดตัวยางลบ เพื่อไปคลิกตามเส้นที่เราขีดตรงนี้ ลบทิ้งได้ หรือกด ตัว Ctrl+E ก็ได้ ถ้า Esc ก็จะเปน็ การยกเลิกไป 135

หรือถ้าเราบอกว่าเราต้องการ Whiteboard กระดานขาวๆ มาเขียนบรรยายเลย เพื่ออธิบาย รายละเอียด การกดตัว W ตรงนี้ ก็จะเห็นเป็น Whiteboard และเราก็ใช้ตัวปากกาโดยการคลิกขวาก็ได้ เหมือนกัน ตรงนี้ มาเขียนอธิบายว่า อันนี้คือการใส่พวกรายละเอียดเพิ่มเติม รายละเอียดเพิ่ มเติม อันนี้ก็ เหมอื นกับเราเขยี นปากกาเลย ย่ิงถ้าเราใช้ปากกาดว้ ย ก็เปน็ การเขียนได้เลย อนั นกี้ จ็ ะทำให้เราเขียนบรรยายโดย การใช้ Whiteboard 136

เหมอื นเดิม ถา้ เราจะลบ ก็กด Ctrl+E ตรงนี้บอกวา่ ก็จะใช้เปน็ ยางลบ แทนการลบได้ แตถ่ ้าเราอยากจะ ใชเ้ ปน็ Blackboard กดตวั B อันนี้กจ็ ะเป็นการเขยี นบนกระดานดำ กด Esc กย็ กเลิกกลบั มาท่ีสไลดเ์ นื้อหา แต่ถ้าเราบอกว่าการขีดเขียนตรงนี้ เราต้องการเก็บไว้บนสไลด์ด้วย ดิฉันกด Ctrl+P ใหม่ ตรงนี้ และก็ เขียนตรงน้ี อันนจ้ี ะต้องมีตัว Ctrl ด้วยนะ อนั น้ี ใส่ Ctrl เข้าไปด้วยกบั ตวั E และกด Esc, 137

Esc จะเป็นการยกเลิกกลับมา ยังมุมมอง Normal View ปกติ ตัวโปรแกรมจะถามเราว่าเราจะ Keep คอื เก็บสิ่งท่ีเราเขยี นไว้ บนสไลดไ์ ว้ไหม หรือวา่ จะ Discuss กค็ อื ยกเลกิ มนั ออกไปเลย ในที่นเ้ี ราลองเกบ็ ไวก้ อ่ น หลายท่านบอกเก็บไว้แล้วเดี๋ยวสไลด์ที่ทำมาจะพังไหม โดนขีดเขียน ไม่ต้องกังวล สิ่งที่เราเขียนด้วย ปากกาเมื่อสักครู่เนี่ย มันจะกลายมาเป็น Object เหมือนเราไปวาดเส้นนะ ฉนั้นเนี่ยเราสามารถเปลี่ยนใจมา คลิกและกล็ บทง้ิ ทหี ลงั ได้ 138

อันนี้ก็คือการใช้เครื่องมือที่ใช้ในการนำเสนอ เดี๋ยวเรากลับไปอีกครั้งหนึ่ง เรากลับมาที่มุมมอง Slide Show อกี คร้งั หน่ึง มอี ีกเคร่อื งมือหนึง่ ก็คอื ตัวท่เี ป็น Laser Pointer ตวั น้นี ่าใช้ ตวั นจ้ี ะไมม่ ีการขดี เขยี นอะไรลง บนสไลด์ แต่เป็นการเน้นและก็ชี้ เหมือนกับว่าถ้าผู้บรรยาย ไม่ได้นำ Laser Pointer มา ก็สามารถที่จะใช้ตัว Laser Pointer น้ี ในการท่ีจะโชว์ใหผ้ ู้ฟงั เหน็ วา่ เราตอ้ งการชตี้ รงจดุ ไหน หรือเน้นตรงจุดไหน ดังนั้นเจ้าตัว Laser Pointer ตรงนี้ ก็จะเปน็ เครื่องมือหนึ่งท่ีเพิ่มข้ึนมา ก็คือตัว Laser คลกิ ตรงน้ีได้เลย เมาสเ์ รากจ็ ะเปน็ ตัว Laser Pointer และก็ช้ีไปบนสไลดไ์ ดเ้ ลย 139

อันนี้ก็จะเป็นอีกเทคนิคหนึ่งที่เราใช้ในการนำเสนอ เดี๋ยวขอยกเลิกกลับออกมา เป็นมุมมองปกติก่อน นั้นเดี๋ยวเรามาใช้มุมมองในส่วนของตัว Sorter View อีกครั้งหนึ่ง เราก็จะมาดูความเรียบร้อยของตัว Presentation ทเ่ี ราไดเ้ ตรยี มไว้ ณ ตรงนี้ ในส่วนของ Presentation อกี อนั หนง่ึ ที่อยากจะแนะนำกค็ ือในเรื่องของการใส่พวกหมายเลข สไลด์ เพราะว่าเวลาที่เราส่ัง Print เนี่ย เราจะได้เรียกได้ถูกว่าสไลด์เนี่ย อยู่เป็นสไลด์ที่เท่าไหร่ หรือเราเรียก Slide Number เท่าไหร่ เมื่อเรา Print ออกมาเนี่ย ก็เหมือนกับตัวของ Microsoft Word เลย ในตรงเนี่ย เรา สามารถท่จี ะไปใช้ Insert แตก่ ลบั มาท่ีมุมมองทเ่ี ป็น Normal View 140

ดูตรง Normal View เราก็ใช้การแทรก และก็เลือก Header and Footer นั้น Header and Footer ของ PowerPoint เน่ียกจ็ ะคลา้ ยๆ กบั ของ Microsoft Word หรือว่า Excel แต่เขาจะมีชุดสำเร็จรูปให้เลยว่าจะใส่เป็นพวกวันที่ไหม เพราะว่า...แน่นอนว่าเวลาทำ Presentation เขาก็จะใส่วันที่ล่าสุดเลยว่า วันที่ ณ วันที่ ที่เราทำ คือวันที่เท่าไหร่ อันนี้ก็คือตัวรูปแบบของวันที่ ที่เราสามารถ เลอื กไดว้ า่ เป็น Short Date หรอื Long Date เป็นวนั เดอื นปรี ปู แบบเตม็ หรือไม่ เป็นภาษาไทยหรืออังกฤษ ตรง น้กี ส็ ามารถเลือกได้ อนั นคี้ ือรูปแบบของวนั ท่ีทใี่ ส่ 141

วนั ที่จะใสต่ รงไหน สังเกตไมย่ ากเลย ดทู ีม่ ุมด้านล่างซา้ ยเนี่ย เราจะเหน็ วา่ เจ้า Tab ดำๆ เนีย่ วนั ที่จะถูก วางอยู่ดา้ นลา่ งซ้ายของสไลด์ วางด้านล่างซา้ ยของสไลด์ ส่วนถัดไป ก็คือรูปแบบของ Slide Number ก็คือหมายเลขของสไลด์ หลายท่านเริ่มดูละ หมายเลข สไลด์อยดู่ า้ นลา่ งขวาแนน่ อน Slide Number ส่วน Footer ก็จะเปน็ ...ให้เราใส่บอกว่า Present by หรอื จะใช้ เปน็ ช่อื ขององค์กร หรอื ใชเ้ ปน็ ชอื่ ของหัวเร่ือง หรืออะไรก็ได้ 142

ตัวที่เป็น Check Box นี้ เขาบอกว่า Don’t show on title slide หมายความว่าเราจะไม่ให้สิ่งที่เรา เลือกทั้งหมดเนี่ย ไม่ว่าจะเป็นวันที่ หมายเลขสไลด์ หรือว่าเลขหน้าเนี่ย โชว์บนสไลด์ปก เพราะส่วนใหญ่แล้ว หน้าปกเขาจะเกบ็ ไว้ ไมใ่ หโ้ ชวค์ ะ่ เด๋ยี วเรามาลองดู ถา้ เราเลือกและเราก็บอกว่า Apply to all มาดสู ไลด์ทเี่ ปน็ Title, Title ก็คือสไลดห์ นา้ ปก จะไมไ่ ด้โชว์ 143

แต่พอมาดูสไลด์อื่นๆ เห็นไหม นี่ Zoom ดู ก็จะเห็นว่าวันที่ และก็ Footer ที่เราใส่และก็หมายเลข สไลด์ ปรากฏอยู่ทกุ สไลด์เลย ยกเวน้ สไลดท์ ่เี ป็นสไลดห์ นา้ ปก เหน็ ไหม แต่ถ้าบางท่านบอกว่า เอาหน้าปกใส่ด้วยได้ไหม ขอใส่สไลด์หน้าปกด้วย กลับไปใหม่ กลับไปที่ Insert Header and Footer เราก็ไปเอา Check Box ตรงที่บอกว่า Don’t show เนี่ยออก และก็ Apply เมื่อกี้เรา เลือกเปน็ ตัวเลขใชไ่ หม เราก็บอกตรงนี้ ใหเ้ กดิ ขึ้นกบั ทกุ สไลดเ์ ลย 144

มาแล้วเหน็ ไหมคะ กจ็ ะโชวเ์ ปน็ พวก Footer หมายเลข อันนี้สว่ นใหญ่หน้าปกจะไม่ใช้ ตามที่แนะนำไป ฉน้ันก็คอื ควรท่จี ะเอา Check Box ตรงเนย่ี ให้ปรากฏไว้ เพ่อื ไม่ให้มีการปรากฏหมายเลขหนา้ 145

ทีนี้ หลายคนบอกวา่ เลขหนา้ เลก็ ไปไหม อยากให้เลขหน้าตวั ใหญ่ข้นึ หรือว่า Footer เนยี่ เขยิบมาด้าน นี้ วันที่ไม่ใช้ ลักษณะนี้เปน็ ต้น ตรงนี้เราสามารถที่จะปรับแตง่ ได้ จำช่วงแรกที่เราเรียนไดไ้ หมคะ ที่เราบอกใส่โล โก้ ปรับแตง่ ทกุ อยา่ งกบั ทุกสไลด์ แน่นอน ถา้ ทา่ นใดยงั จำได้ เราจะใชม้ ุมมอง Slide Master 146

เข้าไปดู ในส่วนของ Slide Master เรารู้จักในเรื่องของการใส่ Title การใส่เนื้อหาย่อยลงไปแล้ว การ กำหนดเปลี่ยนแปลง Bullet หรือใส่โลโก้ ส่วนกรอบด้านล่างที่เราเห็น ตรงนี้ก็คือเป็นส่วนที่เรากำหนดใน Header Footer ฉนั้นเมื่อกี้เราบอกว่าเลขหน้าเนี่ย เราจะไม่เห็นในมุมนี้ แต่เราจะเห็นเป็นตัวชาร์ป แต่ถ้าเราบอกว่าเรา ต้องการให้เลขหน้าเนี่ย ชัดขึ้น ก็คือให้มี Font ที่ใหญ่ขึ้น ในส่วนของเลขหน้า ให้ Font ใหญ่ขึ้นและก็ให้มีสีเขม้ ชัดเจน สมมติเปน็ สีน้เี ป็นต้น เด๋ียวเราลองดู อันน้คี อื เลขหน้า 147

และก็อีกอนั ก็คือวันทเ่ี ราไม่เอา ตรงนีเ้ ราสามารถลบทิง้ ได้ เราย้าย Footer มาอยูด่ า้ นซ้ายมือ 148


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook