๙๓ บทท่ี ๓ ระบบวงจรคุณภาพ PDCA การบริหารงานอย่างมีคุณภาพหรือวงจรคุณภาพ (PDCA) จัดเป็นกิจกรรมปรับปรุงและพัฒนา งานให้มีประสิทธิภาพ ประกอบด้วย การวางแผน การดาเนินการตามแผนการตรวจสอบ และการ ปรับปรุงแก้ไขในสายสนบั สนุน ฝ่ายบรหิ าร วิทยาลัยนาฏศิลปอ่างทอง ได้นาระบบวงจรคุณภาพ (PDCA) มาใช้ในการปฏิบัตงิ าน เพือ่ ใหม้ คี วามเขา้ ใจตรงกนั เราควรรูจ้ ัก ระบบวงจรคณุ ภาพ (PDCA) ท่ีชัดเจน ประวัติความเป็นมา แบงค์ (Bank อา้ งถึงใน เรืองวิทย์ เกษสุวรรณ, ๒๕๔๕ : ๘๙-๙๑) กล่าวถึง ประวัติของ เดมมิ่ง ว่าเปน็ ที่รู้จักกันแพร่หลายในหลกั การบริหารท่ีเรียกว่า วงจรคณุ ภาพ (PDCA) หรือวงจรเดมมิ่ง ซึง่ เปน็ ช่ือท่ี ใช้แทนกนั กบั การจดั การคุณภาพ เพราะเขาเป็นคนผลักดันให้ผู้บริหารญี่ปุ่นยอมรับแนวคิด ในการจัดการ คณุ ภาพ และเปน็ คนแรกที่มองวา่ การจัดการคุณภาพเป็นกิจกรรมขององค์กรท้ังหมด ไม่ใช่แค่งานตรวจ คุณภาพตามที่กาหนดหรือเป็นงานของกลุ่มผู้เชี่ยวชาญในการประกันคุณภาพ และเป็นคนแรกที่ระบุว่า คุณภาพเป็นความรบั ผดิ ชอบทางการบริหารของผู้บริหาร เดมม่ิงเกิดทีเ่ มืองซูส์ (Sioux) รัฐไอโอวา เมอ่ื วันที่ ๑๔ ตลุ าคม ปี พ.ศ. ๒๔๔๓ เขาจบปริญญาตรี ฟิสิกส์ จากมหาวิทยาลัยไวโอมิง ได้ปริญญาเอกฟิสิกส์คณิตศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยเยล เมื่อปี พ.ศ.๒๔๗๑ ในระหว่างปี พ.ศ. ๒๔๗๑-๒๔๘๒ เขาทางานอยู่กระทรวงเกษตรของสหรัฐอเมริกา ต่อมาปี พ.ศ. ๒๔๘๒-๒๔๘๘ ทางานอยู่ท่ีสานักสามะโนประชากรอเมริกัน และโรงงานอุตสาหกรรมอาวุธของ สหรฐั อเมริกา ในช่วงปี พ.ศ.๒๔๘๙ จนกระท่ังถึงเสียชีวิตเม่ือปี พ.ศ. ๒๕๓๖ เดมมิ่ง เป็นศาสตราจารย์ ทางสถิติอยู่ที่มหาวิทยาลัยนิวยอร์ก ช่วงต้นปี พ.ศ. ๒๔๘๓ เดมม่ิงได้พบกับชิวฮาร์ต (Schewhart) นักสถิติท่ีห้องทดลองของ บรษิ ทั เบลล์ เทเลโฟน ในนิวยอรก์ ต่อมาได้รบั ความคิดเรื่องการควบคุมทางสถิติและความแปรปรวนเชิงสุ่ม องค์กระบวนการทางาน (random variation of a work process) มาจากชิวฮาร์ต ในภายหลังเดมมิ่ง เริ่มตั้งตัวเป็นผู้บรรยายเกี่ยวกับการควบคุมคุณภาพในการผลิต เดมมิ่งออกไปบรรยายเกี่ยวกับ การควบคุมคณุ ภาพในโรงงานท่ัวสหรฐั อเมรกิ า แต่ในเวลาน้ันผู้บริหารในสหรัฐอเมริกาให้ความสนใจเดมมิ่ง ไม่มาก
๙๔ เดมมิ่งไปญ่ีปุ่นเม่ือ พ.ศ. ๒๔๙๐ สืบเนื่องมาจากหลังสงครามโลกคร้ังที่ ๒ นายพลแม็กอาร์เธอร์ (MacArthur) ผู้บัญชาการกองกาลังทหารสหรัฐอเมริกาท่ียึดครองญี่ปุ่นอยู่ได้ไล่ผู้บริหารระดับสูง และระดับกลางของบรษิ ทั ใหญ่ ๆ ของญี่ปนุ่ ออก โทษฐานทีค่ นเหลา่ น้ันเข้าไปพัวพันกับสงครามเสร็จแล้ว ก็หนุนคนรุ่นใหม่ข้ึนมาบริหารแทน นายพลแม็กอาร์เธอร์ ได้ขอความช่วยเหลือทางวิชา การ มายังสหรัฐอเมริกา เริ่มจากการขอให้สหรัฐอเมริกาช่วยส่งคนไปทาสามะโนประชากรที่ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกาจึงได้ส่งเดมม่ิงไป ตอนน้ันเดมมิ่งเร่ิมประสบความสาเร็จมาบ้างแล้วจากการใช้วิธีการ สุ่มตัวอย่าง (sampling methods) และเทคนิคการควบคุมทางสถิติเพ่ือเพ่ิมผลผลิตอุตสาหกรรม ในสหรัฐอเมรกิ า เดมมง่ิ จึงนาเทคนิคการควบคุมทางสถิติมาเผยแพร่ทญ่ี ีป่ ุน่ ดว้ ย ในเวลา ๓ ปีต่อมา สหภาพนักวิทยาศาสตร์และวิศวกรญ่ีปุ่นได้เข้ามาให้ความสนับสนุนเดมมิ่ง ในการเผยแพร่ความคิดเรื่องคุณภาพและการเพ่ิมประสิทธิภาพในการผลิต จนกระทั่งเดมมิ่งสามารถ ตัง้ กลมุ่ ผูบ้ ริหารหลกั เพอ่ื กระจายความคิดออกไปสู่ผู้บริหารอ่ืนๆ ใน พ.ศ. ๒๔๙๓ มีผู้บริหารมาเข้าร่วมถึง ๔๐๐ กวา่ คน ผบู้ ริหารทอ่ี ยใู่ นกล่มุ นลี้ ว้ นแต่เปน็ ผนู้ าในบรษิ ัทสาคัญ ๆ เชน่ โซนีนสิ สนั มิซูบิชแิ ละ โตโยต้า สาเหตุท่ีทาให้เดมม่ิงประสบความสาเร็จก็เนื่องมาจากคนญี่ปุ่นได้สนใจการควบคุมคุณภาพด้วย วธิ กี ารทางสถิตมิ าก่อน แต่ยังขาดทฤษฎี ทฤษฎกี ารควบคุมทางสถติ ิของเดมม่งิ ทาใหค้ นญ่ีปนุ่ เข้าใจ สามารถ นาไปประยุกตใ์ ช้กบั การปฏบิ ตั ิงานได้ คนญี่ปุ่นจึงยอมรับแนวทางของเดมม่ิง นับว่าเดมมิ่งได้มีส่วนช่วย พัฒนาอุตสหกรรมญี่ปุ่นในช่วงสงครามโลกคร้ังที่ ๒ ต่อมาในภายหลังญ่ีปุ่นจึงต้ังรางวัลเดมมิ่ง (Deming Prize or Deming Award) ให้กับบริษัทที่มีผลงานดีเด่นในด้านคุณภาพมาต้ังแต่ พ.ศ. ๒๔๙๔ จนกระท่งั ปี พ.ศ. ๒๕๒๓ โทรทศั นเ์ อน็ บีซจี งึ นาเอาผลงานของเดมมิง่ กลบั ไปเผยแพรใ่ นสหรัฐอเมริกา ยก ยอ่ งให้เดมม่ิงเป็น “บิดาแห่งคลื่นลูกท่ีสามของการปฏิวัติอุตสาหกรรม (father of the third wave of the industrial revolution)” ชื่อเสียงของเดมม่ิงจึงเป็นที่รู้จักกันท่ัวสหรัฐอเมริกาและท่ัวโลก ในสหรฐั อเมริกามีการตงั้ กลมุ่ ศึกษาและดาเนินตามทฤษฎีของเดมมิ่งเป็นจานวนมาก นอกเหนือจากนั้น ยงั มกี ลมุ่ ทานองเดยี วกนั ในองั กฤษ เนเธอร์แลนด์ และนิวซีแลนด์ หลังเดมม่ิงเกษียณอายุก็ได้ไปบรรยาย ในระดับปริญญาโทและเอกท่ีมหาวิทยาลัยหลายแห่งและได้รับแต่งต้ังให้ เป็นศาสตราจารย์เกียรติคุณ ของมหาวิทยาลัยนิวยอร์ก เมือ่ ปี พ.ศ. ๒๕๑๘เดมมิ่งไดเ้ ขยี นหนงั สอื บทความ และจัดสัมมนาเรื่องคุณภาพ เอาไวเ้ ปน็ จานวนมาก
๙๕ หลักการของวงจรคุณภาพ (PDCA) การบรหิ ารงานดว้ ยวงจรคณุ ภาพ (PDAC) ตามแนวคิดของเดมมง่ิ ปจั จบุ ันจัดเป็นกระบวนการสากล ทีท่ ุกคนทราบกันดี นักวิชาการหลายทา่ นได้ให้แนวคดิ ของเดมมิ่งกล่าวถึงวงจรคุณภาพ (PDCA) ไว้ ดังนี้ เดมมิ่ง (Demingin Mycoted, ๒๐๐๔) กล่าวว่า การจัดการอย่างมีคุณภาพเป็นกระบวนการ ที่ดาเนนิ การต่อเน่ืองเพื่อให้เกิดผลผลิตและบริการท่ีมีคุณภาพข้ึน โดยหลักการท่ีเรียกว่า วงจรคุณภาพ (PDCA)หรือวงจรเดมมิ่ง ซ่ึงประกอบด้วย ๔ ข้ันตอน คือ การวางแผนการปฏิบัติตามแผนการตรวจสอบ และการปรบั ปรงุ แกไ้ ขดงั น้ี Plan คือ กาหนดสาเหตุของปัญหา จากนั้นวางแผนเพื่อการเปลี่ยนแปลงหรือทดสอบ เพื่อการปรับปรุงให้ดีขึ้น Do คือ การปฏิบัตติ ามแผนหรือทดลองปฏิบัตเิ ปน็ การนารอ่ งในสว่ นยอ่ ย Check คือ ตรวจสอบเพ่อื ทราบวา่ บรรลุผลตามแผนหรือหากมีสิ่งใดท่ีทาผดิ พลาดหรอื ได้เรียนรู้อะไร มาแลว้ บา้ ง Act คือยอมรับการเปลี่ยนแปลง หากบรรลุผลเป็นที่น่าพอใจหรือหากผลการปฏิบัติไม่เป็นไป ตามแผน ให้ทาซ้าวงจรโดยใช้การเรียนรจู้ ากการกระทาในวงจรทไ่ี ด้ปฏิบตั ิไปแล้ว แม้ว่าวง จรคุณภาพจะเป็นกระบวนการ ที่ต่อเนื่องแต่สามาร ถเริ่มต้นจากขั้นตอนใดก็ได้ ข้ึน อยู่กับปัญหาและข้ันตอนการทางานหรือจะเริ่มจากการตรวจสอบสภาพความต้องการเปรียบ เ ทียบ กับสภาพที่เป็นจริงจะทาให้ได้ข้อสรุปว่าจะต้องดาเนินการอย่างไรในการแก้ไขปัญหาเพื่อให้เกิดการ ปรับเปลย่ี นไปตามเป้าหมายทีว่ างไว้ โทซาวะ (๒๕๔๔ : ๑๑๗-๑๒๒) กล่าวว่า วงจรคณุ ภาพ คอื กระบวนการทางานที่เปรียบกับวงล้อ ที่เต็มไปด้วยข้ันตอน ๔ ข้ันตอน คือ การวางแผน การดาเนินตามแผน การตรวจสอบ การปรับปรุง แก้ไข เมื่อวงล้อหมนุ ไป ๑ รอบ จะทาให้งานบรรลผุ ลตามเปา้ หมายทกี่ าหนดไว้ และหากการดาเนินงานนนั้ เกิดการสะดุด แสดงว่ามีบางข้ันตอนหายไป เช่น ส่วนของการวางแผนหาย ไป เรียกว่า ประเภท ไม่มีแผนการ ถ้าในส่วนของการตรวจสอบหรือปรับปรุงแก้ไขหายไป จะเรียกว่า พวก ทาแล้วท้ิง ซ่งึ ในกระบวนการทางานของวงจรคณุ ภาพน้นั ประกอบดว้ ย ๑.การวางแผน (Plan) การวางแผน คือ การต้งั เปา้ หมาย วางวตั ถปุ ระสงค์ เพราะการควบคมุ ดูแล คือ กระบวนการท่ีจาเป็น เพ่ือให้บรรลุถึงเป้าหมาย ดังนั้น หากไม่มีวัตถุประสงค์เสียแล้ว ไม่ว่าจะป่าวร้องว่าต้องควบคุมวงจร คุณภาพ ก็ไม่รู้ว่าทาไปเพื่ออะไร หรือจะเริ่มอย่างไร
๙๖ เมอื่ ต้งั เป้าหมายเสรจ็ แลว้ ก็ต้องมากาหนดแผนการวา่ อะไรจะตอ้ งทาเมอื่ ไร เปน็ ตารางเทียบระหว่าง งานกบั เวลาท่หี ลายคนนึกภาพกนั ออก แตจ่ ริงๆ แล้วการวางแผนไมใ่ ชจ่ บแคน่ ัน้ การวางแผนต้องครอบคลุม ว่า ใครจะทา ทาอะไร ตอ้ งให้เสร็จเม่ือไร จะทาอย่างไร อะไรต่าง ๆ ที่ครอบคลุมถึงการแบ่งหน้าท่ี วิธีการ และอืน่ ๆ ใหค้ รบถว้ นดว้ ย ๒.ลองทา (Do) การลองทา คอื กอ่ นจะลงมอื ทาไดน้ ้ัน แท้จริงแลว้ ต้องเตรียมวตั ถุดบิ เตรียมข้ันตอนต่าง ๆ เสยี ก่อน หากจะลงมอื ทาเรอื่ งใหมๆ่ กต็ อ้ งเตรยี มไปรบั การฝกึ หรอื อบรมเสยี ก่อน ข้ันตอนการเตรยี มเหล่าน้รี วมอย่ใู น การลองทานี้ดว้ ย ซึ่งต้องมกี ารตระเตรยี มเสยี กอ่ นใหพ้ ร้อม จึงจะสามารถลองทาตามแผนได้ ๓.ตรวจสอบ (Check) การตรวจสอบ คือ การพิจารณาว่า ผลจากการลองทาน้ัน ก่อให้เกิดสิ่งที่วางแผนว่าจะได้รับ หรอื ไม่ ดังนน้ั หากการวางแผนไม่มกี ารกาหนดว่าจะต้องได้อะไรเม่ือไร ตัวเลขของอะไรที่ควรจะยึดเป็น เป้าหมายไวเ้ สยี ต้ังแตต่ น้ ก็จะไม่มอี ะไรมาเป็นตัวเทยี บไดว้ า่ ผลจากการลองทาน้ันได้ตามจริง ตามแผนหรือไม่ จะได้กเ็ พยี งแต่ว่ามนั ก็เป็นไปตามแผนหรอื ไมค่ ่อยจะไดผ้ ลสักเทา่ ไร ๔.ปรับใช้ (Act) จากผลของการตรวจสอบ กไ็ มค่ วรวางใจในทันทีหากผลที่ได้เป็นไปตามแผน เพราะอาจบังเอิญ ดคี รง้ั นเี้ พียงครง้ั เดยี ว พอทาคร้งั ตอ่ ๆ ไปอาจใช้ไม่ได้ก็ได้ หากไม่มีการนากระบวนการที่ได้ลองทาไปมา กาหนดให้เป็นรูปแบบใหม่ของการทางานปัจจุบัน หากผลของการตรวจสอบพบว่าสิ่งท่ีลองทาไป ไม่กอ่ ให้เกิดผลที่ตัง้ ไวต้ ามแผน กต็ ้องปรับเปลย่ี นกระบวนการทคี่ ดิ ไว้ แลว้ ลองทาใหม่ นอกจากการเปลยี่ นแปลงกระบวนการของการลองทาแลว้ การพิจารณาวา่ ทาไมกระบวนการเดมิ จึงไม่ได้ผลตามแผน การหาสาเหตุที่แท้จริงเพ่ือหากระบวนการแก้ปัญหาจนถึงรากก็เป็นส่ิงสาคัญมาก เพราะจะนาเนอ่ื งไปถึงการวางแผนใหม่ แลว้ ลองทาใหม่ ลองตรวจสอบดูใหม่ หรือวงจรคุณภาพรอบใหม่ เพ่ือหาเปา้ หมายและกระบวนการอันถูกต้องแท้จริง อนง่ึ เรามักจะพูดถงึ วงจรแหง่ การควบคุมดูแลกันว่า PDCA จนบางคร้ังเราไปนึกเอาเองว่าวงจรนี้ ต้องเริ่มจาก P เสมอไป จริง ๆ แล้วน้ันไม่จาเป็น วงจรแห่งการควบคุมดูแลน้ันเป็นวงกลม ท่ีไม่มีต้น ไม่มปี ลาย จงึ บอกไมถ่ ูกว่าอะไรเปน็ ขน้ั ตอนแรก และอะไรเป็นข้นั ตอนสุดท้าย อย่างเช่น การวางแผนจะทา อะไรบางอย่าง บางครั้งต้องมีการตรวจสอบ การวิเคราะห์และการปรับกระบวนการเสียก่อนแล้ว จึงจะ วางแผนและลงมอื ทาได้ ดังนั้น ในบางเรือ่ งวงจรน้ีกอ็ าจเรม่ิ จาก CAPDCA อยา่ งน้ีก็เป็นได้
๙๗ วิฑูรย์ สิมะโชคดี (๒๕๔๕ :๔๓-๔๗) กล่าวถึง วงจรคุณภาพ (PDCA) เป็นกิจกรรมท่ีจะนาไปสู่ การปรับปรุงงานและการควบคมุ อย่างเปน็ ระบบอันประกอบดว้ ย การวางแผน (Plan) การนาแผนไปปฏิบัติ (Do) การตรวจสอบ (Check) และการปรับปรุงแก้ไข (Act) กล่าวคือ จะเร่ิมจากการวางแผน การนาแผนที่ วางไว้มาปฏิบัติ การตรวจสอบผลลพั ธท์ ไ่ี ด้ และหากไมไ่ ดผ้ ลลัพธ์ตามท่ีคาดหมายไว้ จะต้องทาการทบทวน แผนการโดยเริ่มตน้ ใหม่อกี คร้งั หน่ึงและทาตามวงจรคณุ ภาพซ้าอกี เมื่อวงจรคุณภาพหมุนซ้าไปเรื่อย ๆ จะทาให้ เกิดการปรับปรุงงานและทาให้ระดับผลลัพธ์สูงขึ้นเรื่อย ๆ ดังน้ัน การกระทาตามวงจรคุณภาพ จึงเท่ากับ การสร้างคุณภาพทนี่ ่าเช่ือถือมากขึ้นโดยจุดเร่ิมต้นของวงจรคุณภาพอยู่ท่ีการพยายามตอบคาถามให้ได้ว่า ทาอย่างไรจึงจะดีข้นึ ข้ันตอนที่ ๑ การวางแผน (Plan) ในบรรดาองค์ประกอบท้ัง ๔ ประการของวงจรคุณภาพน้ัน ต้องถือว่าการวางแผนเป็นเรื่องท่ี สาคัญที่สุด การวางแผนจะเป็นเรื่องที่ทาให้กิจกรรมอ่ืน ๆ ท่ีตามมาสามารถทางานได้อย่างมีประสิทธิผล เพราะถ้าแผนการไม่เหมาะสมแล้ว จะมีผลทาให้กิจกรรมอื่นไร้ประสิทธิผลตามไปด้วย แต่ถ้ามีการเริ่มต้น วางแผนที่ดี จะทาใหม้ ีการแกไ้ ขนอ้ ย และกิจกรรมจะมปี ระสทิ ธภิ าพมากข้นึ ข้ันตอนท่ี ๒ การนาแผนไปปฏิบัติให้เกิดผล (Do) เพอื่ ใหม้ ั่นใจว่ามีการนาแผนการไปปฏิบัติอย่างถูกต้องน้ัน เราจะต้องสร้างความม่ันใจว่าฝ่ายท่ี รับผิดชอบในการนาแผนไปปฏิบัติได้รับทราบถึงความสาคัญและความจาเป็นในแผนการน้ัน ๆ มีการ ติดต่อสื่อสารไปยังฝ่ายที่มีหน้าที่ในการปฏิบัติอย่างเหมาะสม มีการจัดให้มีการศึกษาและการอบรม ท่ตี ้องการเพ่อื การนาแผนการน้นั ๆ มาปฏบิ ัติ และมีการจัดหาทรัพยากรที่จาเป็นในเวลาท่ีจาเป็นด้วย ขั้นตอนท่ี ๓ การตรวจสอบ (Check) การตรวจสอบและประเมินผลลัพธ์ของการปฏิบัติตามแผน ควรจะต้องมีการประเมินใน ๒ ประการ คือ มีการปฏิบัติตามแผนหรือไม่ หรือตัวแผนการเองมีความเหมาะสมหรือไม่ การที่ไม่ประสบความสาเร็จตามท่ีตั้งเป้าหมายไว้เป็นเพราะไม่ปฏิบัติตามแผนการหรือความไม่ เหมาะสมของแผนการ หรือจากท้งั สองประการรวมกัน เราจาเป็นต้องหาว่าสาเหตุมาจากประการไหน ท้งั นี้ เนื่องจากการนาไปปฏิบตั กิ ารปรับปรุงแก้ไขจะแตกตา่ งกนั อยา่ งสิ้นเชงิ ถา้ ความล้มเหลวมาจากแผนการทีจ่ ดั ทาขน้ึ ไม่เหมาะสม อาจเปน็ ผลมาจากสาเหตดุ งั ต่อไปน้ี ๑. ความผิดพลาดในการทาความเข้าใจกับสถานการณ์ท่ีเป็นอยู่ ๒. เลือกเทคนิคท่ีใช้ผิดเน่ืองจากมีข้อมูลข่าวสารไม่เพียงพอและมีความรู้ในข้ันตอน การวางแผนไม่เพียงพอ
๙๘ ๓. ประเมินผลกระทบจากการปฏิบัติตามแผนผิดพลาด ๔. ประเมินความสามารถของบุคลากรที่ต้องนาแผนมาใช้ผิดพลาด ถ้าความล้มเหลวมาจากการไม่ปฏิบัติตามแผน อาจเป็นผลมาจากสาเหตุต่อไปนี้ ๑. ขาดความตระหนักถึงความจาเป็นในการปรับปรุง ๒. การติดต่อสื่อสารที่ไม่เหมาะสมและมีความเข้าใจในแผนไม่เพียงพอ ๓. การให้การศึกษาและการฝึกอบรมไม่เพียงพอ ๔. ปัญหาเกี่ยวกับตัวผู้นาและการประสานงานระหว่างการปฏิบัติ ๕. ประเมินทรัพยากรท่ีต้องใช้น้อยเกินไป ข้ันตอนที่ ๔ ปฏิบัตกิ ารปรบั ปรงุ แกไ้ ข (Act) ถ้าความล้มเหลวมาจากการวางแผนท่ีไม่เหมาะสม การทบทวนแผนการเท่านั้นไม่เพียง พอ ต่อการแก้ปัญหา ต้องมีการปรับปรุงคุณภาพของกระบวนการวางแผนโดยการหาปัจจัยท่ีไม่เหมาะสม สาเหตุของการวางแผน และทาการปฏิบัติการแก้ไข ความก้าวหน้าของการปรับปรุงจะเกิดข้ึน ได้ โดยการกาจัดสาเหตุ และขั้นตอนทีส่ าคญั กค็ ือ การทบทวนแผนการทต่ี อ้ งมีการชี้บง่ ถึงสาเหตแุ ห่งความลม้ เหลว อย่างถูกต้องและมีการเปลี่ยนแปลงแผนเพ่ือให้สามารถดาเนินกิจกรรมไปได้อย่างมีประสิทธิผลเพ่ิม ขึ้น ควรมีการวางแผนการปรับปรุงคุณภาพเป็นรายปี และมีการทบทวนทุกปีเพื่อให้มั่นใจว่าแผนการดังกล่าว มีความเชื่อถือได้และเหมาะสม การนาวงจรคุณภาพไปปฏิบัติอย่างจริงจังและต่อเน่ืองในทุกระดับ ขององค์กร จะทาให้เราสามารถปรับปรุงและเพ่ิมคุณภาพงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเห็นผลลัพธ์ ทชี่ ดั เจน เมือ่ ปัญหาเดมิ หมดไปเราก็สามารถแก้ปัญหาใหม่ ๆ ได้ด้วยวงจรคุณภาพต่อไป เมลนิค และเดนซเลอร์ (Melnyk & Denzler อ้างถึงใน เรืองวิทย์ เกษสุวรรณ, ๒๕๔๕:๙๘-๙๙) กล่าวถึงแนวคิดของเดมมิ่งว่าผู้บริหารระดับสูงต้องมีบทบาทหลายด้าน และการจัดการคุณภาพ ที่ประสบความสาเร็จนั้นต้องอาศัยหลักการท่ีเรียกว่า วงจรคุณภาพ (PDCA) แบ่งออกเป็น ๔ ข้ันตอน ได้แก่ ข้ันตอนที่ ๑ การวางแผน (Plan) หมายถึง วางแผนโดยใช้ข้อมูลที่มีอยู่หรืออาจเก็บรวบรวม ขึ้นมาใหม่ นอกนั้นอาจทดสอบเพื่อเป็นการนาร่องก่อนก็ได้ ขั้นตอนท่ี ๒ การทา (Do) หรอื ลงมือทา หมายถึงลงมอื เอาแผนไปทา ซ่ึงอาจทาในขอบข่ายเล็กๆ เพื่อทดลองดูก่อน ข้ันตอนที่ ๓ การตรวจสอบ (Check) หมายถึง การตรวจสอบ หรือสังเกตส่ิงที่เกิดข้ึนว่ามีการ เปลี่ยนแปลงมากน้อยเพียงใดและเป็นไปในทางใด
๙๙ ขั้นตอนท่ี ๔ การแก้ไข (Act) หรือลงมือแก้ไข (corrective action) หมายถึง หลังจากท่ีได้ศึกษา ผลลัพธ์ดูแล้ว อาจไม่เป็นไปตามที่ต้องการหรือมีปัญหาที่ต้องแก้ไข ก็ต้องดาเนินการแก้ไข ตามที่ จาเป็น หลังจากนนั้ สรปุ เปน็ บทเรยี นและพยากรณเ์ พอ่ื เปน็ พน้ื ฐานในการคดิ หาวิธีการใหม่ๆ ต่อไป การ ลงมือปฏบิ ัตดิ ังกลา่ วน้ีแสดงได้ ดังแผนภูมิที่ ๓.๑ วงลอ้ เดมมิ่ง AP การปรับปรุงไมม่ ีวันสนิ้ สดุ CD แผนภูมิท่ี ๓.๑ วงลอ้ เดมม่ิง ท่ีมา (Melnyk & Denzler อ้างถึงใน เรอื งวิทย์ เกษสุวรรณ, ๒๕๔๕ : ๙๙) การทาตามวงจรคุณภาพตอ้ งทาซ้าไปเร่ือย ๆ เพื่อสรุปเป็นบทเรียนอยู่ตลอด ย่ิงกว่าน้ันต้องเข้าใจ ด้วยว่าการจัดการคุณภาพไม่ใช่สงครามที่ผู้บริหารจะรบชนะด้วยตัวคนเดียว การจัดการคุณภาพจะประสบ ความสาเร็จได้ ต้องเป็นการกระทาทั่วท้ังองค์กร เพราะการจัดการคุณภาพเป็นปรัชญาสาหรับองค์กร และคนทกุ คนในน้ัน สมศกั ดิ์ สนิ ธรุ ะเวชญ์ (๒๕๔๒: ๑๘๘-๑๙๐) กล่าวถงึ จุดหมายทแี่ ท้ของวงจรคณุ ภาพ(PDCA)ว่าเป็น กิจกรรมพ้ืนฐานในการบริหารคุณภาพน่ันมิใช้เพียงแค่การปรับแก้ผลลัพธ์ที่เบี่ยนเบนออกไปจากเกณฑ์ มาตรฐานให้กลับมาอยใู่ นเกณฑ์ที่ต้องการเทา่ น้นั แต่เพ่ือก่อให้เกิดการปรับปรุงในแต่ละรอบของ PDCA อย่างต่อเนอื่ งเปน็ ระบบและมีการวางแผน PDCA ทม่ี ว้ นไตส่ ูงข้ึนเรือ่ ยๆ วงจรควบคมุ คณุ ภาพ PDCA มภี ารกิจหลกั ๔ขนั้ ตอน ขั้นท่ี ๑ การวางแผน (Plan-P) ขน้ั ที่ ๒ การดาเนินตามแผน (Do-D) ขั้นท่ี ๓ การตรวจสอบ (Check-C) ขั้นท่ี ๔ การแกไ้ ขปญั หา (Act-A)
วางแผน อะไร ๑๐๐ ปฏิบัติ ทาไม กาหนดปญั หา ตรวจสอบ อยา่ งไร วิเคราะหป์ ัญหา หาสาเหตุ วางแผนร่วมกัน นาไปปฏิบัติ ยนื ยันผลลพั ธ์ แกไ้ ข ทามาตรฐาน แผนภมู ิท่ี ๓.๒ กระบวนการ PDCA ท่ีมา (สมศกั ดิ์ สนิ ธุระเวชญ,์ ๒๕๔๒ : ๑๘๘) ข้ันตอนที่ ๑การวางแผน (Plan) การวางแผนงานจะช่วยพัฒนาความคิดต่าง ๆ เพื่อนาไปสู่ รูปแบบท่ีเป็นจริงขึ้นมาในรายละเอียดให้พร้อมในการเริ่มต้นลงมือปฏิบัติ แผนที่ดีควรมีลักษณะ ๕ ประการ ซง่ึ สรุปได้ ดังนี้ ๑. อยู่บนพน้ื ฐานของความเปน็ จริง (realistic) ๒. สามารถเขา้ ใจได้ (understandable) ๓. สามารถวดั ได้ (measurable) ๔. สามารถปฏบิ ัติได้ (behavioral) ๕. สามารถบรรลุผลสาเรจ็ ได้ (achievable) วางแผนทดี่ ีควรมอี งคป์ ระกอบ ดงั นี้ ๑. กาหนดขอบเขตปัญหาใหช้ ดั เจน
๑๐๑ ๒. กาหนดวตั ถุประสงคแ์ ละเปา้ หมาย ๓. กาหนดวิธีการที่จะบรรลุถึงวัตถุประสงค์และเป้าหมายให้ชัดเจนและถูกต้องแม่นยาที่สุด เทา่ ที่เป็นไปได้ ขั้นตอนท่ี ๒ ปฏบิ ตั ิ (Do) ประกอบด้วยการทางาน ๓ ระยะ ๑.การวางแผนกาหนดการ ๒.๑ การแยกกิจกรรมต่าง ๆ ทีต่ อ้ งการกระทา ๒.๒ กาหนดเวลาทคี่ าดวา่ ตอ้ งใช้ในกจิ กรรมแตล่ ะอยา่ ง ๒.๓ การจัดสรรทรัพยากรตา่ ง ๆ ๒. การจัดการแบบแมทริกซ์ การจัดการแบบน้ีสามารถช่วยดึงเอาผู้เชี่ยวชาญหลายแขนงจาก แหลง่ ตา่ งๆ มาได้ และเป็นวธิ ีชว่ ยประสานระหว่างฝ่ายต่างๆ ๓. การพฒั นาขีดความสามารถในการทางานของผรู้ ่วมงาน ๓.๑ ให้ผ้รู ว่ มงานเขา้ ใจถึงงานทั้งหมดและทราบเหตุผลทต่ี อ้ งกระทา ๓.๒ ให้ผู้ร่วมงานพร้อมในการใช้ดุลพนิ จิ ท่เี หมาะสม ๓.๓ พฒั นาจติ ใจให้รักการร่วมมอื ข้ันตอนที่ ๓ การตรวจสอบ (Check) การตรวจสอบทาให้รับรู้สภาพการณ์ของงานท่ีเป็นอยู่ เปรยี บเทียบกับสง่ิ ทว่ี างแผน ซึง่ มีกระบวนการ ดงั น้ี ๑. กาหนดวัตถปุ ระสงคข์ องการตรวจสอบ ๒. รวบรวมขอ้ มลู ๓. การทางานเป็นตอน ๆ เพ่ือแสดงจานวน และคุณภาพของผลงานที่ได้รับในแต่ละขั้นตอน เปรยี บเทียบกบั ทไ่ี ด้วางแผนไว้ ๔. การรายงานจะเสนอผลการประเมิน รวมทัง้ มาตรการปอ้ งกันความผิดพลาดหรอื ความลม้ เหลว ๔.๑ รายงานเป็นทางการอยา่ งสมบูรณ์ ๔.๒ รายงานแบบอย่างไม่เปน็ ทางการ ขั้นตอนที่ ๔ การแกไ้ ขปญั หา (Act) ผลของการตรวจสอบหากพบว่าเกิดข้อบกพร่องขึ้นทาให้งานที่ได้ ไมต่ รงตามเปา้ หมายหรอื ผลงานไมไ่ ดม้ าตรฐาน ให้ปฏบิ ัตกิ ารแกไ้ ขปัญหาตามลักษณะปญั หาที่ค้นพบ ๑. ถ้าผลงานเบย่ี งเบนไปจากเป้าหมายต้องแกไ้ ขทต่ี ้นเหตุ
๑๐๒ ๒. ถ้าพบความผิดปกติใด ๆ ให้สอบสวนค้นหาสาเหตุแล้วทาการป้องกัน เพื่อมิให้ความผิดปกติ น้นั เกิดขึน้ ซา้ อกี ในการแกไ้ ขปญั หาเพ่ือให้ผลงานได้มาตรฐานอาจใช้มาตรการดังตอ่ ไปน้ี ๑. การย้านโยบาย ๒. การปรบั ปรุงระบบหรือวธิ ีการทางาน ๓. การประชมุ เกย่ี วกับกระบวนการทางาน จากหลักการวงจรคุณภาพท่ีกล่าวข้างต้นของนักวิชาการทั้ง ๓ ท่าน พอสรุปได้ว่าวงจรคุณภาพ (PDCA) ประกอบด้วย การวางแผน (Plan) การดาเนินตามแผน (Do) การตรวจสอบ (Check) และการ ปรบั ปรุงแก้ไข (Act) โดยการวางแผน การลงมอื ปฏิบัตติ ามแผนการตรวจสอบผลลัพธ์ท่ีได้ และหากไม่ได้ ผลลพั ธต์ ามท่คี าดหมายไว้ จะต้องทาการทบทวนแผนการโดยเร่ิมต้นใหม่และทาตามวงจรคุณภาพซ้าอีก เมื่อวงจร คุณภาพหมุนซ้าไปเร่ือยๆ จะทาใหเ้ กิดการปรับปรุงงานและระดับผลลัพธ์ท่สี งู ข้นึ เร่อื ย ๆ ซง่ึ หลกั การดงั กลา่ ว หากนามาปรับใช้กับสถานศึกษาจะช่วยพัฒนาบุคลากรและผู้เรียนให้มีคุณภาพได้ ดังน้ัน การใช้วงจรคุณภาพ (PDCA) มาใช้ในสายสนับสนุน ฝ่ายบริหารกาหนดเป็นขอบข่าย และขั้นตอนการบริหารงานตามวงจรคุณภาพ (PDCA) ประกอบด้วย ขัน้ ตอนที่ ๑ การวางแผน (Plan) ได้แก่ การเตรียมการไว้ล่วงหน้าเพ่ือจะทางานให้สาเร็จอย่างมี ประสิทธภิ าพ โดยกาหนดเป้าหมาย จดั ทาแผนตามเป้าหมาย แนวทางการดาเนินงาน ระยะเวลา งบประมาณ ผู้รับผดิ ชอบ และการประเมินผล ข้ันตอนท่ี ๒ การดาเนินตามแผน (Do) ได้แก่ การดาเนินงานต่อเนื่องจากการวางแผน โดยมีการ อบรม ประชุมช้ีแจง มอบหมายผู้รับผิดชอบ และให้การสนับสนุนงบประมาณ ทรัพยากร บุคลากร และดาเนินการนิเทศ แนะนา กากับ ตดิ ตาม เพ่อื ใหง้ านเปน็ ไปตามแผนที่กาหนด ขั้นตอนที่ ๓ การตรวจสอบ (Check) ได้แก่ การประเมินผลการปฏิบัติตามแผน โดยจัดให้มีการ ประเมินผลตามแผนท่ีกาหนด วเิ คราะหป์ ัญหาและสาเหตทุ เี่ กี่ยวขอ้ งจากการเปรียบเทียบระหวา่ งเป้าหมาย กบั การดาเนินตามแผน เพอ่ื จะทราบว่าตอ้ งปรบั ปรงุ แก้ไขอย่างไร ขน้ั ตอนท่ี ๔ การปรบั ปรุงแกไ้ ข (Act) ได้แก่ การนาผลการวเิ คราะหป์ ัญหาและสาเหตุท่ีเก่ียวข้อง มาปรบั ปรงุ แก้ไข และหากผลการดาเนินงานยงั ไม่เปน็ ไปตามเปา้ หมายกต็ อ้ งปรบั เปลีย่ นวธิ กี ารดาเนินงาน ใหม่ให้เหมาะสมในการวางแผนระยะต่อไป แต่ถ้าผลการประเมินพบว่างานสาเร็จตามเป้าหมายแล้ว ในการ วางแผนคร้ังตอ่ ไปตอ้ งปรบั เปล่ยี นเปา้ หมายใหส้ งู ขน้ึ เพอื่ ให้เกดิ การพัฒนา และจัดทารายงานไวเ้ ปน็ หลกั ฐาน
Search
Read the Text Version
- 1 - 10
Pages: