สรุปบทที่ 4 และ 5*การเข้าถึงส่ือดจิ ทิ ลั*การส่อื สารยคุ ดจิ ทิ ลั นายอานนท์ บญุ คา 6011011448035
การเข้าถงึ สอื่ ดจิ ิทลัทกุ วนั นี อินเทอร์เน็ต โทรศพั ท์มือถือ และเทคโนโลยีการสื่อสารต่างๆ ได้กลายเป็นสิ่ง ค้นุ เคยในชีวิตของทกุ คนทกุ วยั คนจ้านวนมากสามารถใช้เทคโนโลยีเหล่านี อย่างคล่องแคล่ว และอาจ เข้าใจว่าจะอย่ไู ม่ได้หากไม่มีโซเชียลมีเดีย อินเทอร์เน็ตเปิดโอกาสในการเติมเต็มสิทธิเด็กในหลายๆ ด้าน สาหรับด้านการศึกษา ผ้เู รียนสามารถพฒั นาการเรียนรู้ได้อย่างเต็มศกั ยภาพ รวมถึงการแสดง ความคิดเห็นและมีคนรับฟังความคิดเห็นเหล่านั น อินเทอร์เน็ต สามารถสนบั สนนุ ครูผ้สู อนและสื่อ การเรียนการสอนที่จ้าเป็นไปสู่ผู้เรียนที่อยู่ต่างพืน้ ท่ีกัน และช่วยให้ผู้เรียนบางกลุ่มท่ีเข้าไม่ถึงระบบ การศึกษาสามารถเช่ือมโยงเข้าถึงฐานความรู้ได้เชน่ เดียวกบั ผ้เู รียนคนอ่ืนๆสงิ่ จาเป็นในการเข้าถึงส่อื ดจิ ิทลัอุปกรณ์ที่ใช้เข้าถึงส่ือดิจิทลั การเข้าถึงส่ือดิจิทลั จ้าเป็นต้องใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ท่ีมีอย่มู ากมายหลายแบบ หลายรูปร่าง จงึ ควรท้าความรู้จกั กบั อปุ กรณ์เหล่าน เชน่ คอมพวิ เตอร์ โน๊ตบ๊คุ แท็บแลต็ข้อมลู และสารสนเทศในรูปของส่ือดจิ ทิ ลั ข้อมลู (Data) คือข้อเท็จจริงตา่ งๆ ท่ีอาจอยใู่ นรูปของตวั อกั ษร ตวั เลข สญั ลกั ษณ์ รูปภาพ เสยี งซง่ึ จะเปลยี่ นสถานะไปเป็นสารสนเทศ (Information) เม่ือน้าข้อมลู ที่มีอยไู่ ปผา่ น กระบวนการประมวลผล หรือการวเิ คราะห์ หรือสงั เคราะห์ หรือวิธีการใดๆ ทีส่ ามารถน้าผลลพั ธ์ท่ี เกิดขึ นใหมไ่ ปใช้ประโยชน์ในการท้าสง่ิ ใดสง่ิ หนง่ึข้อมูล (Data) คือ ข้อเท็จจริงต่างๆ ที่อาจอยู่ในรูปของตวั อักษรตัวเลข สัญลักษณ์ รูปภาพ เสียง ซ่ึงจะเปลี่ยนสถานะไปเป็ นสารสนเทศ ( Information) เม่ือน้ าข้ อมูลที่มีอยู่ไปผ่านกระบวนการประมวลผล หรือการวิเคราะห์ หรือสังเคราะห์ หรือวิธีการใดๆ ท่ีสามารถน้าผลลพั ธ์ท่ี เกิดขึ นใหมไ่ ปใช้ประโยชน์ในการท้าส่งิ ใดสง่ิ หนงึ่
1. สื่อดิจิทลั ในรูปแบบตวั อกั ษร (Text) หรือไฟลเ์ อกสารท่ีเกิดจากการสร้างงาน ดว้ ยคอมพวิ เตอร์ ดว้ ยโปรแกรมที่ม่ีผใู้ ช้มากที่สุด นน่ั คือ โปรแกรมในกลุ่ม Microsoft ที่ประกอบดว้ ย Word, Excel และ PowerPoint ผลงานท่ีเกิดจากการสร้างสรรคด์ ว้ ยโปรแกรมกลุ่มนี มกั มีนามสกุล ของไฟล์ คือ .TXT, .DOC, .DOCX, .XLS, .XLSX, .PPT, .PPTX2. ส่ือดิจิทลั ในรูปแบบภาพ (Image) ท่ีมีการนา้ เขา้ สู่คอมพิวเตอร์มีไดห้ ลายวธิ ี ซ่ึงแตล่ ะวธิ ีจะทา้ ใหเ้ กิดภาพที่มีลกั ษณะแตกตา่ งกนั คือ 2.1 ภาพนิ่ง (Picture) ภาพวาด (Drawing) เกิดจากการถ่ายดว้ ยกลอ้ งดิจิทลั (Digital camera) หรือการใช้เคร่ืองสแกน (Scanner) แลว้ ถ่ายโอนเขา้ สู่คอมพิวเตอร์ 2.2 ภาพกราฟิ ก (Graphic) ภาพคลิปอาร์ต (Clipart) เกิดจากการสร้างลายเส้น เรขาคณิตโดยอาศยั โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ ทา้ ใหเ้ กิดเป็นภาพต่างๆ3. สื่อดิจิทลั ในรูปแบบเสียง (Sound) เป็ นขอ้ มูลที่เกิดจากการบนั ทึกเสียงดว้ ย คอมพิวเตอร์ลกั ษณะต่างๆ ซ่ึงจะทา้ ใหเ้ กิดส่ือดิจิทลั ที่มีคุณภาพของเสียงที่ต่างกนั นามสกุลของไฟล์ เสียงท่ีพบเห็นได้บ่อย ไดแ้ ก่ .M4A, .GSM, .WAV, .MPA,.MP2, .MP3, .MPEG, .MIDI, .WMA เป็นตน้4. สื่อดิจิทลั ในรูปแบบภาพเคล่ือนไหว (Animation) และภาพยนตร์ (Movie) เกิดจากการสร้างสื่อดิจิทลั ดว้ ยโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ส้าหรับตดั ต่อวิดีโอ หรือการใชก้ ลอ้ งวดิ ีโอ (Video camera) สร้างสรรคง์ านที่เกิดจากการถ่ายภาพต่อเน่ืองดว้ ยความรวดเร็ว เม่ือผา่ นการ ประมวลผลจึงทา้ ใหต้ าเราเห็นเป็นภาพเคล่ือนไหวต่อเนื่องกนั นามสกลุ ของไฟล์ภาพยนตร์ท่ีพบเห็นได้ บ่อย ไดแ้ ก่ .MOV, .AVI, .DIVX, .DAT, .FLA, .FLY, .MP4, .RMV, .SWF, .3GP
เทคนิคการเข้าถงึ สอื่ ดจิ ทิ ลั ที่ควรรู้ในสงั คมยคุ ดิจิทัล และเทคโนโลยีเว็บก้าวมาถึงช่วงปลายของ Web 3.0ข้อมลู สารสนเทศมีการผลิตและเผยแพร่ได้โดยตรงจากใครก็ได้ที่สามารถเชื่อมต่อเข้าสรู่ ะบบเครือขา่ ย อินเทอร์เน็ต นนั่ ท้าให้ข้อมลู สารสนเทศมมี ากเกินกว่าที่ใครคนใดคนหน่ึงจะใช้ประโยชน์ได้หมด การค้นหา การคดั กรองให้ได้ข้อมูลท่ีตรงกบั ความต้องการมีปริมาณให้เลือกใช้อย่างพอเหมาะในชว่ งเวลาหนง่ึ ๆ ยอ่ มเป็นวิถีทคี่ นในยคุ ดิจิทลั นีต้ ้องการ อินเทอร์เน็ต นอกจากประโยชน์ท่ีใช้เพ่ือสื่อสารถึงกัน เพื่อความบันเทิง เพื่อสร้ างโอกาส ยังมี ประโยชน์ส้าหรับการค้นหาข้อมูลที่อยากรู้ได้อย่างง่ายดาย ตั งแต่พยากรณ์อากาศ เร่ืองราวของ สถานท่ีท่องเท่ียวท่ีน่าสนใจ พร้อมภาพประกอบท่ีสมบรู ณ์ ทั งภาพนิ่งและภาพเคลือ่ นไหว แค่พิมพ์ ค้ า หรือข้ อความที่ต้ องการสืบค้ นในเว็บไซต์ Google หรือเว็บไซต์ที่เป็ นเครื่องกลค้ นหา (Search engine) อื่นๆ เช่น อยากเรียนรู้วธิ ีการท้าคลปิ วดิ ีโอ ก็พิมพ์ค้าว่า ท้าคลปิ ง่ายๆ เพียง เท่านั น รายละเอียด เก่ียวกับการท้าคลิปวิดีโอจะปรากฎออกมาให้เลือกน้าไปใช้อย่างมากมาย แม้กระทง่ั ความเป็นไปใน โลกปัจจบุ นั ก็สามารถบอกชาวโลกผา่ นกล้องดจิ ิทลั ที่ติดอยกู่ บั โทรศพั ท์ไป ยงั ที่ตา่ งๆ ได้ตลอดเวลา ดงั นั นเราจึงสามารถเข้าถงึ ข้อมลู หรือเหตกุ ารณ์ตา่ งๆ บนโลกใบนี ได้อยา่ ง ไม่อยากเยน็ โดยสิง่ จ้าเป็นในการเข้าถึงส่ือดิจิทลั โดยการเข้าถึงสื่อดจิ ิทลั นั น จ้าเป็นต้องใช้อปุ กรณ์ คอมพิวเตอร์ท่ีมีอย่มู ากมาย หลายแบบ หลายรูปร่าง เราจึงควรท้าความรู้จกั กบั อุปกรณ์เหล่านี ได้ แก่ 1) Desktop หรื อคอมพิวเตอร์ ตั งโต๊ ะ 2) Laptop หรื อท่ีบางคนนิยมเรี ยก Notebook และ 3) Tablet
การสื่อสารยคุ ดจิ ิทลัการส่ือสาร เป็นการสง่ ข้อมลู จากท่ีหนึ่งไปยงั อีกท่ีหนึ่งจากผ้สู ่งสารถึงผ้รู ับสารด้วยวิธีการ ตา่ งๆ ทงั้ การส่ือสารด้วยภาษาพดู ภาษาเขียน หรือภาษาทา่ ทาง ซงึ่ ปัจจบุ นั การส่ือสารของมนษุ ย์ ได้รับการพฒั นาให้ส่ือสารถึงกนั อย่างรวดเร็ว อนั เป็นผลมาจากความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์ ท่ีได้เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจ้าวนั ของมนษุ ย์มากขึ นเป็นการส่ือสารในยคุ ดจิ ิทลั ท้าให้มีการส่ือสาร ถึงกนั อยา่ งรวดเร็วและมีประสทิ ธิภาพหลกั การของการสือ่ สาร ประเภทการส่ือสารกระบวนการสง่ ขา่ วสารข้อมลู จากผ้สู ง่ ขา่ วสารไปยงั 1. แบบจาลองการสื่อสารลกั ษณะทางเดียว (Oneผ้รู ับขา่ วสาร มีวตั ถปุ ระสงคเ์ พื่อชกั จงู ให้ผ้รู ับข่าวสาร – way communication) การสื่อสารมีปฏิกิริยาตอบสนองกลบั มา โดยคาดหวงั ให้เป็นไป ลกั ษณะทางเดียว เป็นกระบวนการสื่อสารที่เกิดตามท่ีผ้สู ง่ ต้องการ เป็นการที่ บคุ คลในสงั คมมี จากผ้สู ง่ สารสง่ ข้อมลู ข่าวสารผา่ นชอ่ งทางการปฏิสมั พนั ธ์โต้ตอบกนั ผา่ นทางข้อมลู ขา่ วสาร สื่อสารไปยงั ผ้รู ับสาร โดยผ้รู ับสารไมไ่ ด้แสดงสญั ลกั ษณ์และเคร่ืองหมายตา่ งๆ ด้วยหลกั การ ปฏิกิริยาตอบกลบั มาใดๆ มายงั ผ้สู ง่ สารสื่อสารท่ีดีไมค่ วรส่ือสารอะไรให้ยากเกินไปหรือง่ายเกินไป 2. แบบจาลองการส่ือสารลกั ษณะสองทาง (Two – way communication) การสื่อสาร 1. ความหมายของการส่ือสาร ลกั ษณะสองทาง เป็นกระบวนการส่ือสารที่ผ้รู ับ 2. องคป์ ระกอบของการสื่อสาร สารสามารถถ่ายทอด ข้อมลู ท่ีได้รับจากผ้สู ง่ สาร 3. หลกั สาคญั ท่ีควรคานงึ ถึงในการส่ือสาร สง่ กลบั ไปยงั ผ้สู ง่ สารได้ เชน่ ความรู้สกึ ความ คดิ เห็นท่ีมีตอ่ ขา่ วสารหรือการ ซกั ถามผ้สู ง่ สารเพ่ือ สร้างความเข้าใจที่ถกู ต้อง ซงึ่ การส่ือสารในรูปแบบ นี จะเกิดขึ นกรณีที่ผ้สู ง่ สารและ ผ้รู ับสารสามารถ โต้ตอบกนั ได้ เชน่ การส่ือสารระหวา่ งบคุ คล หรือ การส่ือสารทางอินเทอร์เน็ต
สื่อสงั คมออนไลน์ปัจจบุ นั สอ่ื สงั คมออนไลน์ (Social Media) เป็นรปู แบบการสอ่ื สารขอ้ มลู ทเ่ี ขา้ ถงึ ผคู้ นได้ ทกุ ระดบั และมแี นวโน้มจะกลายเป็นส่อื หลกั ในอนาคตซง่ึ มกี ารพฒั นาดา้ นซอฟตแ์ วรเ์ พอ่ื น้ามาใชใ้ น การสอ่ื สารในสงั คมออนไลน์ใหม้ ีประสทิ ธภิ าพมากขนึ1. แอปพลเิ คชนั ทน่ี ามาใชง้ านสงั คมออนไลน์ แอปพลเิ คชนั ทน่ี ้ามาใชง้ านสงั คมออนไลน์เพอ่ื ใชใ้ นการส่อื สารท่ีผใู้ ชน้ ยิ ม มดี งั นี 1.1 Facebook เป็นบรกิ ารเครอื ข่ายสงั คมเป็นโปรแกรมประยกุ ตท์ ช่ี ่วยใหผ้ ใู้ ช้ สามารถพมิ พข์ อ้ ความ ส่งภาพเสยี ง วดิ โี อ และมสี ญั ลกั ษณ์ทใ่ี ชแ้ ทนอารมณ์ทท่ี า้ ใหเ้ กดิ ความรสู้ กึ รว่ ม ในเรอ่ื งราว เหตุการณ์ สามารถน้าเสนอความคดิ หรอื เรอ่ื งราวของตนเอง สอ่ื สารและสง่ ต่อออกไปสสู่ า ธรณชนหรอื เฉพาะกลมุ่ หรอื กลมุ่ ปิดได้ 1.2 Line คอื แอปพลเิ คชนั ทม่ี คี วามสามารถในการสนทนา เช่น การสง่ ขอ้ ความ การแชรไ์ ฟล์ การสรา้ งกลมุ่พดู คุย หรอื การสนทนาผา่ นเสยี ง ผา่ นเครอื ขา่ ยอนิ เตอรเ์ น็ต บนอุปกรณ์ ประเภทพกพา (Mobile Devices) เช่นสมารท์ โฟน แทบ็ เลต็ สามารถตดิ ตั งและใชง้ านบนเคร่อื ง คอมพวิ เตอรท์ วั่ ไปไดด้ ว้ ย 1.3 Instagram เป็นแอปพลเิ คชนั ทส่ี ามารถใชใ้ นการแบ่งปันรปู ภาพและคลปิ วดิ โี อสั นๆ ผใู้ ชง้ านสามารถถ่ายรปู และตกแต่งรปู ภาพไดต้ ามทต่ี อ้ งการและแบง่ ปันรปู ภาพนั นผ่านเครอื ข่ายสงั คม ออนไลน์ 1.4 YouTube เป็นแอปพลเิ คชนั ทส่ี ามารถสรา้ งภาพนงิ่ และภาพเคล่อื นไหว และส่ง ต่อหรอื เผยแพรไ่ ดส้ ะดวกรวดเรว็ รวมทั งสามารถรบั ชมสอ่ื ต่างๆ ทวั่ โลกทม่ี กี ารสง่ ขอ้ มลู และความรู้ ทุกประเภทและสามารถแสดงความคดิ เหน็ ในสง่ิ ทน่ี บั ชมสอ่ื ต่างๆ ได้ 1.5 Twitter เป็นบรกิ ารส่งขอ้ ความเป็นประโยคสั นๆ เป็นบรกิ ารเครอื ขา่ ยสงั คม ออนไลน์จา้ พวกไมโครบลอ็ กโดยผใู้ ชส้ ามารถสง่ ขอ้ ความยาวไมเ่ กนิ 280 ตวั อกั ษร โดยผใู้ ชส้ ามารถ 85 ตดิ ตาม (Follow) คนอ่นื ๆ ทเ่ี ขยี นขอ้ ความลงไปใน Twitter นั นได้ เพ่อื ตดิ ตามความเคลอ่ื นไหววา่ คน ทก่ี า้ ลงั ตดิ ตามกา้ ลงั ทา้ อะไรอยู่ Twitter เป็นเครอ่ื งมอื ในการกระจายขอ้ มลู (Broadcast) ของคน หน่งึ ไปยงั คนหลาย ๆ คน ไดโ้ ดยส่งผา่ นเครอื ขา่ ยอนิ เทอรเ์ น็ต
2. พฤตกิ รรมการใชส้ อ่ื สงั คมออนไลน์ 2.1 พฤตกิ รรมการใชS้ ocial Media ทวั่ โลก ดจิ ทิ ลั เอเยนซ่ี (We Are Social) และ ผใู้ หบ้ รกิ ารระบบจดั การ Social Media และ MarketingSolutions (Hoot suite) ไดร้ วบรวมสถติ กิ ารใชง้ านอนิ เทอรเ์ น็ตทวั่ โลก เพ่อื ฉาย ภาพการเปลย่ี นแปลงทั งภาคธุรกจิ ออนไลน์ และพฤตกิ รรมการใชอ้ นิ เทอรเ์ น็ตของผบู้ รโิ ภคในแต่ละ ประเทศไดเ้ ผยวา่ ขณะนี มผี ใู้ ชง้ านอนิ เทอรเ์ น็ตมากกวา่ 4,000 ลา้ นคนทวั่ โลก การเพม่ิ ขึ นของจา้ นวนสมารท์ โฟน และผใู้ ชง้ านอนิ เทอรเ์ น็ต-สมารท์ โฟน ยอ่ มส่งผล โดยตรงต่อการเพมิ่ ขึ นของจา้ นวนผใู้ ชง้ าน Social Media โดยปัจจบุ นั ประชากรกว่า 3,000 ลา้ นคน ทวั่ โลก ใช้ SocialMedia เป็นประจา้ ทกุ เดอื น โดย 9 ใน 10 คนของผใู้ ชง้ าน Social Media การใช้ประโยชน์จากสอ่ื สงั คมออนไลน์ 1.ประโยชน์ของเครอื ขา่ ยสงั คมออนไลน์ ประโยชน์ของเครอื ขา่ ยสงั คมออนไลน์ สามารถใชใ้ นการส่อื สารแลกเปลย่ี นขอ้ มลู ความรใู้ นสงิ่ ทส่ี นใจรว่ มกนั ไดส้ ามารถ เสนอและแสดงความคดิ เหน็ แลกเปลย่ี นความรู้ หรอื ตั งคา้ ถาม ในเรอ่ื งต่างๆ เพ่อื ให้ บคุ คลอ่นื ทส่ี นใจหรอื มคี า้ ตอบไดเ้ ขา้ มาช่วยกนั ตอบคา้ ถาม เป็นการส่อื สารท่ี สะดวก รวดเรว็ สามารถใชเ้ ป็นสอ่ื ในการน้าเสนอรปู ภาพ หรอื วดี โิ อต่างๆ การโฆษณาและ การ ประชาสมั พนั ธ์ เพอ่ื ใหผ้ อู้ ่นื ไดเ้ ขา้ มารบั ชมและแสดงความคดิ เหน็
2.ข้อดี-ข้อเสีย ของสื่อสงั คมออนไลน์ 2.2 ข้อเสยี ของสอื่ สงั คมออนไลน์2.1 ข้อดีของสอ่ื สงั คมออนไลน์ 1) มารยาทและรูปแบบการใช้งานแตกตา่ งจากสอื่ รูปแบบอื่น 891) สามารถใช้สร้างเป็นพื นทใี่ นการสนทนาหรือสอ่ื สารแก่สาธารณะได้ 2) มคี วามเสย่ี งของความไมแ่ ท้จริง การหลอกลวง ความซ่อื สตั ย์ และความไม่ โปร่งใสในการใช้งาน2) หนว่ ยงานหรือองคก์ รตา่ งๆ สามารถเข้าไปใกล้ชดิ กบั สาธรณชนได้มากขนึ ้ 3) มศี กั ยภาพในการเปลย่ี นแปลงอยา่ งรวดเร็วและ อยเู่ หนือการควบคมุ ของ เจ้าของ3) สามารถสร้างความนา่ เช่ือถือ และความไว้วางใจ 4) การหาเครือขา่ ยใหม่ การสร้างเรื่องใหมๆ่ เป็น4) สนบั สนนุ ความโปร่งใสและธรรมาภบิ าล เร่ืองยากทีจ่ ะคาดเดาได้ วา่ จะมจี ้านวนผ้ใู ช้เทา่ ใด และไมม่ ีการรับรองผลวา่ การสอื่ สารจะเกิดขึ นและ5) สร้างโอกาสให้บคุ คลหรือกลมุ่ ที่ 3 ในการเข้ามามสี ว่ นร่วม สง่ สารไปยงั ผ้รู ับสอื่และสนบั สนนุ เผยแพร่ 5) สอื่ สงั คมออนไลน์ไมใ่ ชท่ างลดั ทม่ี ีประสทิ ธิภาพ6) การสง่ ตอ่ ข้อมลู ในลกั ษณะท้าซ ้า้ ตวั เอง (Viral เพยี งอยา่ งเดยี ว แตย่ งั ต้อง น้าสอ่ื หลกั และหลกั การDistribution) ท้าให้มกี าร กระจายข้อมลู อยา่ งรวดเร็ว สอื่ สารท่ดี มี าใช้ควบคกู่ นั ไป7) ลดต้นทนุ การด้าเนนิ การ8) ชว่ ยให้เข้าใจความคดิ เห็นของประชาชนได้มากขึ น9) สามารถตดิ ตามความเคลอ่ื นไหวได้ตลอดเวลา10) ลดเวลาทจ่ี ะได้รับข้อมลู ขา่ วสาร11) สามารถท่ีจะน้ามาเป็นสว่ นหนงึ่ ของกลยทุ ธ์ในการสอื่ สาร และเป็นสอ่ื กลาง ในการขายการเข้าถงึ ข้อมลูขา่ วสาร และเผยแพร่ขา่ วสาร
Search
Read the Text Version
- 1 - 9
Pages: