แผนการจัดการเรียนรู้ รหัสวชิ า 20105-2121 ชื่อวิชา หุ่นยนต์เบื้องตน้ หลักสตู ร ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ พทุ ธศกั ราช 2562 ประเภทวิชา อุตสาหกรรม สาขาวิชา ช่างอเิ ล็กทรอนกิ ส์ จดั ทาโดย นายเสกสรร ศรจี ันทร์ ครู คศ.2 วิทยาลัยเทคนคิ ปราจีนบุรี สถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 3 สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
คานา แผนการจัดการเรยี นรู้ ฉบบั น้ีจัดทาขึ้นเพอ่ื เป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้วิชา หุ่นยนตเ์ บ้อื งตน้ ซึ่ง เป็นรายวิชาที่กาหนดให้เรียน ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 ประเภทวิชา อตุ สาหกรรม แผนการจัดการเรียนรู้ฉบับน้ี มีท้ังหมด 16 หน่วย กิจกรรมการเรียนการสอนมีหลากหลายวิธี เช่น การบรรยาย การซักถาม การสาธิต การทากิจกรรมกลุ่ม การสอนออนไลน์ ผ่านแอพพลิเคช่ัน Google Clrassroom , Zoom , Line , Fackbook , Youtube และอ่ืนๆ การสืบค้นข้อมูลตา่ งๆจากอนิ เตอร์เน็ต การฝกึ ปฏิบัติรายกลมุ่ และบคุ คล ซงึ่ เป็นส่วนหนึ่งในการเรยี นรู้แบบมีส่วนร่วมของนักเรียน โดยยึดผู้เรียนเป็น ศูนย์กลาง และในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้มีการบูรณาการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และสอดแทรก คุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ดว้ ย ข้าพเจ้าหวังว่า แผนการจัดการเรียนรู้ฉบับน้ีจะเป็นประโยชน์ต่อครูอาจารย์ผู้สอนและนาไปสู่การ เรยี นรู้ ให้เกิดผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นตรงตามวัตถุประสงคข์ องหลักสูตรอยา่ งแทจ้ รงิ ลงชอื่ (นายเสกสรร ศรีจนั ทร)์ ตาแหนง่ ครู คศ.2
สารบัญ หนา้ 2 ลักษณะรายวชิ า 3 รายการสอน 4 ตารางวิเคราะหห์ ลักสตู รรายวิชา 5 ตารางกาหนดการสอน 12 กรอบแนวทางการจัดการเรียนรู้และการประเมินผลตามสภาพจริง 19 แผนการเรยี นรู้ หนว่ ยท่ี 1 27 แผนการเรยี นรู้ หนว่ ยท่ี 2 37 แผนการเรียนรู้ หนว่ ยท่ี 3 42 แผนการเรียนรู้ หน่วยท่ี 4 57 แผนการเรียนรู้ หนว่ ยท่ี 5 67 แผนการเรียนรู้ หน่วยที่ 6 72 แผนการเรียนรู้ หนว่ ยที่ 7 79 แผนการเรียนรู้ หนว่ ยที่ 8 84 แผนการเรยี นรู้ หนว่ ยท่ี 9
1 สว่ นท่ี 1 การวิเคราะหร์ ายวิชา
2 ลักษณะรายวชิ า รหัสวชิ า 20105-2121 ชอื่ รายวชิ า หุ่นยนต์เบื้องต้น ระดบั ช้ัน ปวช. สาขาวิชา ชา่ งอเิ ล็กทรอนิกส์ เวลาเรยี น 4 คาบ/สปั ดาห์ รวม 72 คาบ จานวน 2 หนว่ ยกติ จดุ ประสงค์รายวิชา 1. เข้าใจหลกั การทางานของหนุ่ ยนตเ์ บอ้ื งตน้ 2. มที กั ษะในการประกอบ ทดสอบ ควบคมุ การทางานของหนุ่ ยนต์เบ้ืองต้น 3. มีเกตกตทิ ด่ี ีตอ่ วชิ าชีพมีกจิ นิสยั ในการคน้ ควา้ เพ่มิ เตมิ ปฏบิ ตั ิงานด้วยความละเอียดครอบคอบ คานงึ ถงึ ความถูกตอ้ งเละปลอดภัย สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรู้เกีย่ วกับหลกั การทางานของหุ่นยนต์เบอ้ื งตน้ 2. ออกแบบและประกอบหนุ่ ยนต์ขนาดเล็ก 3. เขียนและทดสอบโปรแกรมควบคมุ หุน่ ยนต์ขนาดเลก็ คาอธบิ ายรายวิชา(เดมิ ) ศึกษาเละปฏิบัติเกี่ยวกับโครงสร้าง หลักการทางาน วงจรควบคุม ออกแบบ ประกอบหุ่นยนต์ ขนาดเล็กแบบควบคุมด้วยมือและแบบอัตโนมัติโดยใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ทดสอบการทางาน ของวงจรโดยใช้โปรแกรมจาลอง และการเขียนโปรแกรมควบคุมการทางานของห่นุ ยนต์เบอ้ื งตน้ ผลการวเิ คราะห์ (ใหม่ 25 พ.ค. 63) 1.ประวัตคิ วามเปน็ มาของหนุ่ ยนต์ / 1.1 ชนิดและประเภทของหุ่นยนต์ 1.2 โครงสร้างและหลกั การทางานของหนุ่ ยนต์ 1.3 การเคลอ่ื นท่ีของหุ่นยนตแ์ ขนกล 2.ไมโครคอนโทรลเลอร์ Arduino Uno / 2.1 โครงสร้างบอร์ด 2.2 การใชง้ านบอร์ด 3.ติดตั้งและทดสอบใชง้ านโปรแกรม Arduino IDE / 3.1 คาส่ังตา่ งๆ 3.2 ควบคมุ I/O 4.การออกแบบวงจรควบคุมหุ่นยนต์รว่ มกับไมโครคอนโทรลเลอร์ Arduino Uno 4.1 Arduino รว่ มกับ I/O ตา่ งๆ 4.2 เขียนโปรแกรมทดสอบ I/O ต่างๆ 5.โปรแกรม SketchUp และการออกแบบห่นุ ยนต์ขนาดเล็ก(ออกแบบแขนกลขนาดเลก็ ) 5.1 ออกแบบแขนกลขนาดเลก็ 5.2 สรา้ งชน้ิ ส่วนแขนกลขนาดเล็กดว้ ย 3D printer 6.การควบคุมแขนกลเลก็ ด้วยมอื โดยการใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์ Arduino Uno 7.การควบคุมแขนกลขนาดเล็กทางานแบบอตั โนมัตโิ ดยการใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์ Arduino Uno 8.โปรแกรม RobotStudio 2019 / 8.1 คาส่ังตา่ งๆ /9.1 การควบคมุ แขนกล KUKA 9.การเขยี นโปรแกรมควบคุมการทางานหนุ่ ยนต์แขนกล ดว้ ยโปรแกรม RobotStudio 2019
3 รายการสอน รหัสวิชา 20105-2121 ชอื่ รายวิชา หุ่นยนตเ์ บอ้ื งตน้ ระดบั ชนั้ ปวช. สาขาวิชา ช่างอิเลก็ ทรอนกิ ส์ เวลาเรียน 4 คาบ/สัปดาห์ รวม 72 คาบ จานวน 2 หน่วยกิต หนว่ ยที่ รายการสอน เวลาเรยี น (ชม.) 1 ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 2 3 ประวตั ิความเป็นมาของหุ่นยนต์ 4 -4 4 ไมโครคอนโทรลเลอร์ Arduino Uno 4 -4 5 ติดตง้ั และทดสอบใชง้ านโปรแกรม Arduino IDE - 88 6 การออกแบบวงจรควบคุมหุ่นยนต์ร่วมกบั 1 78 7 ไมโครคอนโทรลเลอร์ Arduino Uno 8 9 โปรแกรม SketchUp และการออกแบบห่นุ ยนต์ขนาดเล็ก - 12 12 10 (ออกแบบแขนกลขนาดเลก็ ) การควบคุมแขนกลเลก็ ดว้ ยมอื โดยการใช้ 1 78 ไมโครคอนโทรลเลอร์ Arduino Uno การควบคุมแขนกลขนาดเลก็ ทางานแบบอตั โนมตั ิ โดยการใช้ 1 7 8 ไมโครคอนโทรลเลอร์ Arduino Uno โปรแกรม RobotStudio 2019 - 88 การเขยี นโปรแกรมควบคมุ การทางานหุ่นยนตแ์ ขนกล ดว้ ย 1 7 8 โปรแกรม RobotStudio 2019 สอบปลายภาคเรยี น 4 -4 รวม 16 56 72
4 ตารางวเิ คราะห์หลกั สูตร รหัสวิชา 20105-2121 ชื่อรายวิชา หนุ่ ยนตเ์ บอื้ งตน้ สาขาวชิ า ชา่ งอิเลก็ ทรอนกิ ส์ ระดับชน้ั ปวช. รวม 72 คาบ จานวน 2 หนว่ ยกิต เวลาเรยี น 4 คาบ/สัปดาห์ พฤติกรรม พทุ ธพิ สิ ัย ความรู้ ช่ือหน่วย ความ ้ขาใจ นาไปใช้ ิวเคราะ ์ห สังเคราะ ์ห ประเมิน ่คา รวมพุทธิพิสัย ทักษะพิสัย จิตพิสัย รวม ลาดับ จานวนคาบ 1. ประวัติความเป็นมาของห่นุ ยนต์ 2 2 1 - - - 5 - 1 6 4 4 2. ไมโครคอนโทรลเลอร์ 2 2 1 - --5 - 1 6 4 4 Arduino Uno 3. ติดตัง้ และทดสอบใช้งาน 1 1 2 - - - 4 3 3 10 3 8 โปรแกรม Arduino IDE 4. การออกแบบวงจรควบคุม 2 1 3 - - - 6 3 2 11 2 8 หนุ่ ยนต์ร่วมกับ ไมโครคอนโทรลเลอร์ Arduino Uno 5. โปรแกรม SketchUp และการ 1 2 3 2 2 - 10 3 1 14 1 12 ออกแบบหุ่นยนต์ขนาดเลก็ (ออกแบบแขนกลขนาดเลก็ ) 6. การควบคุมแขนกลขนาดเลก็ 1 2 3 - - - 6 3 1 10 3 8 ด้วยมอื โดยการใชไ้ มโครคอน โทรลเลอร์ Arduino Uno 7. การควบคุมแขนกลขนาดเลก็ 1 2 3 - - - 6 3 1 10 3 8 ทางานแบบอัตโนมัติ โดยการใช้ ไมโครคอนโทรลเลอร์ Arduino Uno 8. โปรแกรม RobotStudio 2019 1 2 3 - - - 6 3 1 10 3 8 9. การเขียนโปรแกรมควบคมุ การ 1 2 3 - - - 6 3 1 10 3 8 ทางานหุน่ ยนต์แขนกล ดว้ ย โปรแกรม RobotStudio 2019 10. สอบปลายภาคเรียน 2 2 1 22- 5 - 1 6 4 4 รวม 14 18 23 2 2 - 59 21 13 93 - 72 ลาดับความสาคัญ 4 3 2 66- - 1 5 - - -
5 ตารางวิเคราะห์สมรรถนะรายวชิ า รหสั วชิ า 20105-2121 ชอ่ื รายวิชา ห่นุ ยนต์เบื้องต้น ระดับชัน้ ปวช. สาขาวชิ า ช่างอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ เวลาเรยี น 4 คาบ/สัปดาห์ รวม 72 คาบ จานวน 2 หนว่ ยกติ สมรรถนะรายวชิ า ชือ่ หนว่ ย 1. แสดงความรู้ 2. ออกแบบและ 3. เขียนและ เก่ียวกบั หลักการ ประกอบห่นุ ยนต์ ทดสอบ ขนาดเลก็ โปรแกรมควบคมุ ทางานของหนุ่ ยนต์ หุ่นยนตข์ นาดเลก็ เบอื้ งต้น 1. ประวตั คิ วามเปน็ มาของหนุ่ ยนต์ 2. ไมโครคอนโทรลเลอร์ Arduino Uno 3. ติดตัง้ และทดสอบใช้งานโปรแกรม Arduino IDE 4. การออกแบบวงจรควบคุมหุ่นยนตร์ ่วมกบั ไมโครคอนโทรลเลอร์ Arduino Uno 5. โปรแกรม SketchUp และการออกแบบ หุ่นยนตข์ นาดเล็ก(ออกแบบแขนกลขนาดเลก็ ) 6. การควบคมุ แขนกลขนาดเลก็ ด้วยมอื โดยการใช้ ไมโครคอนโทรลเลอร์ Arduino Uno 7. การควบคุมแขนกลขนาดเล็กทางานแบบ อตั โนมัติ โดยการใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์ Arduino Uno 8. โปรแกรม RobotStudio 2019 9. การเขียนโปรแกรมควบคุมการทางานหุน่ ยนต์ แขนกล ดว้ ยโปรแกรม RobotStudio 2019 10. สอบปลายภาคเรียน
ก รหัสวชิ า 20105-2121 ชื่อรายวิชา หนุ่ ยนต เวลาเรยี นทฤษฎี 1 คาบ ปฏิบตั ิ 3 คาบ (4 คาบ/ส ชอ่ื หน่วยการเรยี นรู้ สมรรถนะประจาหน่วย 1 รายการสอน 1. แสดงความรเู้ กีย่ วกับประวตั ิและความ 2 เป็นมาของหุ่นยนต์ 3 1. ประวัติความ 4 เปน็ มาของหนุ่ ยนต์ 1. แสดงความรเู้ กยี่ วกับหลักการทางานของ 5 ไมโครคอนโทรลเลอร์ Arduino Uno 1 2. ไมโครคอนโทรลเลอร์ ไ Arduino Uno 2 อ 3 อ 4 5 ง
กาหนดการสอน (ทฤษฎี) ตเ์ บื้องตน้ ระดบั ช้นั ปวช. สาขาวชิ า ช่างอิเล็กทรอนิกส์ สปั ดาห์) รวม 72 คาบ จานวน 2 หนว่ ยกติ (ท-ป-น : 1-3-2) เกณฑ์การปฏบิ ตั งิ าน สปั ดาห์ ช่วั โมง ที่ ที่ 1. อธบิ ายประวตั แิ ละความเปน็ มาของหนุ่ ยนตไ์ ดอ้ ยา่ งถูกต้อง 1 1-4 2. บอกประเภทของหนุ่ ยนต์ไดอ้ ย่างถกู ต้อง 3. จาแนกประเภทของหุ่นยนต์ได้อยา่ งถกู ตอ้ ง 2 5-8 4. บอกประโยชนข์ องหุ่นยนต์ได้ 5. อธิบายการนาหุ่นยนตไ์ ปประยุกตใ์ ช้งานได้ 1. อธิบายหลักการทาของไมโครคอนโทรลเลอร์ Arduino Uno ไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง 2. บอกสว่ นประกอบของคอนโทรลเลอร์ Arduino Uno ได้ อย่างถูกตอ้ ง 3. บอกขาพอร์ตตา่ งๆ ของคอนโทรลเลอร์ Arduino Uno ได้ อยา่ งถกู ต้อง 4. บอกประโยชนข์ องคอนโทรลเลอร์ Arduino Uno ได้ 5. อธบิ ายการนาคอนโทรลเลอร์ Arduino Uno ไปประยกุ ตใ์ ช้ งานได้ 6
รหสั วชิ า 20105-2121 ชือ่ รายวิชา หุ่นยนต เวลาเรียนทฤษฎี 1 คาบ ปฏิบตั ิ 3 คาบ (4 คาบ/ส ชอ่ื หน่วยการเรียนรู้ สมรรถนะประจาหนว่ ย 1 รายการสอน ถ 1. แสดงความรู้เกีย่ วกับการติดต้ังโปรแกรม 2 3. ตดิ ตง้ั และทดสอบใช้ Arduino IDE ไ งานโปรแกรม Arduino 2. เขยี นโปรแกรมทดสอบการใชด้ ว้ ยโปรแกรม 3 IDE Arduino IDE 4 ถ 4. การออกแบบวงจร 1. แสดงความรู้เกี่ยวกบั หลักการออกแบบวงจร ควบคุมหนุ่ ยนตร์ ่วมกับ ควบคุมหนุ่ ยนต์ดว้ ยบอรด์ Arduino Uno 1 ไมโครคอนโทรลเลอร์ 2. ออกแบบวงจรควบคมุ หุ่นยนต์ด้วยบอร์ด A Arduino Uno Arduino Uno 2 3. เขยี นโปรแกรมทดสอบการทางาน ของวงจร อ ควบคุมห่นุ ยนต์ ด้วยโปรแกรม Arduino IDE 3 ด
กาหนดการสอน ต์เบ้ืองต้น ระดับชนั้ ปวช. สาขาวชิ า ชา่ งอเิ ลก็ ทรอนิกส์ สปั ดาห์) รวม 72 คาบ จานวน 2 หนว่ ยกติ (ท-ป-น : 1-3-2) เกณฑ์การปฏบิ ตั ิงาน สปั ดาห์ ชวั่ โมง ที่ ที่ 1. บอกขั้นตอนในการตดิ ต้งั โปรแกรม Arduino IDE ได้อย่าง 3-4 9-16 ถกู ตอ้ ง 2. บอกหน้าทขี่ องเครือ่ งมือตา่ งๆ ของโปรแกรม Arduino IDE 5-6 17-24 ได้อยา่ งถูกตอ้ ง 3. บอกขน้ั ตอนตดิ ตั้ง Library ของ Arduino ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง 4. เขยี นโปรแกรม Arduino IDE ทดสอบการทางาน ได้อยา่ ง ถูกต้อง 1. อธบิ ายหลักการออกแบบวงจรควบคุมหุ่นยนตด์ ว้ ยบอร์ด Arduino Uno ไดอ้ ยา่ งถูกต้อง 2. ออกแบบวงจรควบคมุ หุ่นยนต์ดว้ ยบอร์ด Arduino Uno ได้ อย่างถกู ต้อง 3. เขยี นโปรแกรมทดสอบการทางาน ของวงจรควบคมุ หุ่นยนต์ ดว้ ยโปรแกรม Arduino IDE ได้อย่างถกู ตอ้ ง 7
รหัสวิชา 20105-2121 ชือ่ รายวชิ า หุ่นยนต เวลาเรยี นทฤษฎี 1 คาบ ปฏบิ ัติ 3 คาบ (4 คาบ/ส ชอื่ หนว่ ยการเรยี นรู้ สมรรถนะประจาหนว่ ย 1. รายการสอน 2. 1. แสดงความรูเ้ กี่ยวกับการติดต้ังโปรแกรม อย 5. โปรแกรม SketchUp SketchUp 3. และการออกแบบหุ่นยนต์ 2. ออกแบบหนุ่ ยนตข์ นาดเลก็ (ออกแบบแขนกล โป ขนาดเล็ก(ออกแบบแขน ขนาดเลก็ ) ดว้ ยโปรแกรม SketchUp 4. กลขนาดเล็ก) 3. สรา้ งชิน้ สว่ นแขนกลขนาดเล็กด้วย 3D Printer 5. 4. ประกอบแขนกลขนาดเล็กขับเคลือ่ นด้วย ถูก 6. การควบคุมแขนกล servo motor 1. ขนาดเลก็ ดว้ ยมอื โดยการ ขน ใชไ้ มโครคอนโทรลเลอร์ 1. เขียนโปรแกรม Arduino IED ควบคุมการ ถูก Arduino Uno ทางานแขนกลขนาดเล็กที่ใช้ Arduino Uno 2. แบบควบคมุ ดว้ ยมอื เง่อื 2. แสดงการควบคุมแขนกลขนาดเลก็ ด้วยมอื
กาหนดการสอน ต์เบ้ืองตน้ ระดบั ชั้น ปวช. สาขาวชิ า ชา่ งอิเลก็ ทรอนิกส์ สัปดาห์) รวม 72 คาบ จานวน 2 หน่วยกิต (ท-ป-น : 1-3-2) เกณฑก์ ารปฏบิ ตั งิ าน สปั ดาห์ ช่วั โมง ที่ ที่ บอกข้ันตอนในการติดตง้ั โปรแกรม SketchUp ไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง 7-9 บอกหน้าทขี่ องเครื่องมือต่างๆ ของโปรแกรม SketchUp ได้ 25-36 ย่างถกู ต้อง 10-11 ออกแบบหุ่นยนตข์ นาดเล็ก (ออกแบบแขนกลขนาดเลก็ ) ด้วย 37-44 ปรแกรม SketchUp ไดอ้ ย่างถกู ต้อง สร้างช้ินส่วนแขนกลขนาดเลก็ ดว้ ย 3D Printer ได้อย่างถูกตอ้ ง ประกอบแขนกลขนาดเล็กโดยการใช้ servo motor ได้อยา่ ง กต้อง เขียนโปรแกรม Arduino IED ควบคมุ การทางานแขนกล นาดเลก็ ทใ่ี ช้ Arduino Uno แบบควบคมุ ดว้ ยมอื ไดอ้ ยา่ ง กต้อง สาธิตการควบคุมแขนกลขนาดเลก็ ด้วยมอื ทท่ี างานตาม อนไขทีก่ าหนดได้อยา่ งถกู ต้อง 8
รหสั วชิ า 20105-2121 ช่อื รา เวลาเรยี นทฤษฎี 1 คาบ ปฏบิ ตั ิ 3 คาบ (4 ช่ือหน่วยการเรยี นรู้ สมรรถนะประจาหนว่ ย 1 รายการสอน ข 1. เขียนโปรแกรม Arduino IED ควบคุม 2 7. การควบคุมแขนกลขนาดเลก็ การทางานแขนกลขนาดเล็กท่ีใช้ Arduino ต ทางานแบบอตั โนมตั ิ โดยการใช้ Uno แบบอัตโนมัติ ไมโครคอนโทรลเลอร์ Arduino 2. แสดงการควบคมุ แขนกลขนาดเลก็ แบบ 1 Uno อตั โนมัติ อ 1. แสดงความร้เู ก่ียวกบั การติดตง้ั โปรแกรม 2 8. โปรแกรม RobotStudio RobotStudio 2019 2 2019 2. ออกแบบแขนกลทางานระบบอัตโนมัติ 3 เบื้องตน้ 4 ถ
กาหนดการสอน ายวชิ า ห่นุ ยนตเ์ บ้ืองตน้ ระดับชน้ั ปวช. สาขาวิชา ชา่ งอิเลก็ ทรอนิกส์ คาบ/สัปดาห์) รวม 72 คาบ จานวน 2 หน่วยกิต เกณฑก์ ารปฏบิ ัติงาน สปั ดาห์ ช่ัวโมง ที่ ที่ 1. เขียนโปรแกรม Arduino IED ควบคุมการทางานแขนกล ขนาดเล็กท่ีใช้ Arduino Uno แบบอัตโนมตั ิ ไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง 12-13 45-52 2. สาธติ การควบคุมแขนกลขนาดเล็กแบบอตั โนมัติ ใหท้ างาน ตามเง่ือนไขทีก่ าหนดได้อย่างถกู ตอ้ ง 1. บอกขน้ั ตอนในการตดิ ตง้ั โปรแกรม RobotStudio 2019 ได้ 14-15 53-60 อยา่ งถกู ต้อง 2. บอกหน้าทข่ี องเครื่องมอื ตา่ งๆ ของโปรแกรม RobotStudio 2019 ไดอ้ ย่างถูกต้อง 3. บอกขัน้ ตอนติดตัง้ Library Robot Arm ไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง 4. ออกแบบแขนกลทางานระบบอตั โนมตั ิเบอ้ื งต้น ไดอ้ ย่าง ถูกตอ้ ง 9
รหสั วิชา 20105-2121 ชื่อรายวิชา เวลาเรยี นทฤษฎี 1 คาบ ปฏบิ ัติ 3 คาบ (4 คาบ/ส ช่ือหนว่ ยการเรยี นรู้ สมรรถนะประจาหน่วย 1 รายการสอน ไ 1. ออกแบบแขนกลทางานแบบอัตโนมตั ิ 2 9. การเขียน 2. ออกแบบระบบอตั โนมตั ิในงานอตุ สาหกรรม ก โปรแกรมควบคมุ การ ทางานหนุ่ ยนต์แขนกล ดว้ ยโปรแกรม RobotStudio 2019 10. สอบปลายภาคเรยี น -
กาหนดการสอน ห่นุ ยนต์เบอื้ งตน้ ระดับชัน้ ปวช. สาขาวิชา ชา่ งอิเล็กทรอนกิ ส์ สัปดาห์) รวม 72 คาบ จานวน 2 หนว่ ยกิต เกณฑ์การปฏบิ ตั งิ าน สปั ดาห์ ชว่ั โมง ที่ ที่ 1. ออกแบบแขนกลทางานแบบอัตโนมตั ติ ามเงอ่ื นไขท่กี าหนด ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง 16-17 61-68 2. ออกแบบระบบอัตโนมัตใิ นงานอตุ สาหกรรมตามเงอ่ื นไขท่ี กาหนดได้อย่างถกู ต้อง - 18 69-72 10
11 ส่วนที่ 2 แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการ และการประเมนิ ตามสภาพจรงิ รายหน่วยการเรยี นรู้
กรอบแนวทางการจดั การเรยี นรู้แล รหัสวชิ า 20105-2121 ช่อื รายวชิ า ห่นุ ยนตเ์ บอ้ื งต้น เวลาเรยี นทฤษฎี 1 คาบ ปฏิบตั ิ 3 คาบ (4 คาบ/สปั ดาห์) หน่วยที่ รายการสอน สมรรถนะ 1 ประวัติความ 1. แสดงความรเู้ กย่ี วกบั 1. อธิบายประวตั แิ เปน็ มาของหนุ่ ยนต์ ประวตั ิและความ 2. บอกประเภทขอ เปน็ มาของหุ่นยนต์ 3. จาแนกประเภท 4. บอกประโยชนข์ 2 ไมโครคอนโทรลเลอร์ 1. แสดงความรเู้ กยี่ วกบั 5. อธิบายการนาห 1. อธบิ ายหลักการ Arduino Uno หลักการทางานของ ถกู ตอ้ ง 2. บอกส่วนประกอ ไมโครคอนโทรลเลอร์ 3. บอกขาพอรต์ ต่า 4. บอกประโยชนข์ Arduino Uno 5. อธิบายการนาค
ละการประเมนิ ผลตามสภาพจริงประจาหนว่ ยการเรียนรู้ ระดับชัน้ ปวช. สาขาวิชา ช่างอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ รวม 72 คาบ จานวน 2 หนว่ ยกิต แนวทางการประเมนิ เกณฑก์ ารปฏิบัติงาน ทดสอบความ ู้ร ประเ ิมนการปฏิ ับติงาน ประเ ิมนผลงาน ประเ ิมนพฤติกรรม ่อืน ๆ และความเป็นมาของหนุ่ ยนตไ์ ด้อย่างถูกต้อง องหุ่นยนต์ได้อยา่ งถูกตอ้ ง ทของหุ่นยนต์ได้อยา่ งถูกตอ้ ง ของหุน่ ยนตไ์ ด้ 12 หุ่นยนตไ์ ปประยกุ ตใ์ ชง้ านได้ รทาของไมโครคอนโทรลเลอร์ Arduino Uno ได้อย่าง อบของคอนโทรลเลอร์ Arduino Uno ได้อยา่ งถูกตอ้ ง างๆ ของคอนโทรลเลอร์ Arduino Uno ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง ของคอนโทรลเลอร์ Arduino Uno ได้ คอนโทรลเลอร์ Arduino Uno ไปประยุกตใ์ ช้งานได้
กรอบแนวทางการจัดการเรยี นรู้แล รหสั วชิ า 20105-2121 ชือ่ รายวชิ า หนุ่ ยนต์เบ้ืองตน้ เวลาเรยี นทฤษฎี 1 คาบ ปฏิบตั ิ 3 คาบ (4 คาบ/สัปดาห์) หน่วยที่ รายการสอน สมรรถนะ 3 ตดิ ตัง้ และทดสอบใช้งาน 1. แสดงความรู้เก่ียวกบั การ 1. บอกข้ันต โปรแกรม Arduino IDE ติดต้งั โปรแกรมArduino IDE 2. บอกหน้า 2. เขยี นโปรแกรมทดสอบการใช้ อยา่ งถูกตอ้ ง ด้วยโปรแกรม 3. บอกขัน้ ต Arduino IDE 4. เขยี นโปรแ 4 การออกแบบวงจร 1. แสดงความร้เู กี่ยวกบั หลกั การ 1. อธบิ ายหล ควบคมุ หุ่นยนตร์ ่วมกับ ออกแบบวงจรควบคมุ ห่นุ ยนต์ Arduino Un ไมโครคอนโทรลเลอร์ ด้วยบอร์ด Arduino Uno 2. ออกแบบ Arduino Uno ถูกตอ้ ง
ละการประเมินผลตามสภาพจริงประจาหน่วยการเรยี นรู้ ระดบั ช้นั ปวช. สาขาวชิ า ชา่ งอเิ ลก็ ทรอนิกส์ รวม 72 คาบ จานวน 2 หนว่ ยกิต แนวทางการประเมิน เกณฑ์การปฏิบัตงิ าน ทดสอบความ ู้ร ประเ ิมนการปฏิ ับติงาน ประเ ิมนผลงาน ประเ ิมนพฤติกรรม ่อืน ๆ ตอนในการติดตัง้ โปรแกรม Arduino IDE ได้อย่างถกู ต้อง าทขี่ องเคร่อื งมือต่างๆ ของโปรแกรม Arduino IDE ได้ ง ตอนติดต้งั Library ของ Arduino ไดอ้ ย่างถกู ต้อง แกรม Arduino IDE ทดสอบการทางาน ได้อย่างถกู ต้อง ลกั การออกแบบวงจรควบคุมหนุ่ ยนต์ดว้ ยบอรด์ no ได้อยา่ งถูกตอ้ ง บวงจรควบคุมหุน่ ยนตด์ ว้ ยบอรด์ Arduino Uno ได้อยา่ ง 13
กรอบแนวทางการจดั การเรียน รหสั วชิ า 20105-2121 ชอ่ื รายวชิ า หุน่ เวลาเรยี นทฤษฎี 1 คาบ ปฏิบัติ 3 คาบ (4 ค หน่วยที่ รายการสอน สมรรถนะ (ตอ่ ) 2. ออกแบบวงจรควบคุม 3. เขยี นโปรแ หนุ่ ยนต์ด้วยบอรด์ Arduino โปรแกรม Ar Uno 3. เขียนโปรแกรมทดสอบการ ทางาน ของวงจรควบคมุ หนุ่ ยนต์ ดว้ ยโปรแกรม Arduino IDE 5 โปรแกรม SketchUp 1. แสดงความรู้เกีย่ วกับการ 1. บอกขน้ั ต และการออกแบบ ติดต้งั โปรแกรม SketchUp 2. บอกหน้า หนุ่ ยนตข์ นาดเลก็ 2. ออกแบบหนุ่ ยนตข์ นาดเลก็ ถกู ต้อง (ออกแบบแขนกลขนาด (ออกแบบแขนกลขนาดเลก็ ) ดว้ ย 3. ออกแบบ เล็ก) โปรแกรม SketchUp โปรแกรม Sk
นรู้และการประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ ประจาหนว่ ยการเรยี นรู้ทดสอบความ ู้ร ประเ ิมนการปฏิ ับติงาน นยนตเ์ บ้ืองตน้ ระดับชั้น ปวช. สาขาวชิ า ช่างอเิ ล็กทรอนกิ ส์ คาบ/สปั ดาห์) รวม 72 คาบ จานวน 2 หนว่ ยกติ ประเ ิมนผลงาน ประเ ิมนพฤติกรรม แนวทางการประเมิน ่อืน ๆ เกณฑ์การปฏบิ ัตงิ าน (ต่อ) แกรมทดสอบการทางาน ของวงจรควบคุมหนุ่ ยนต์ ดว้ ย rduino IDE ไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง ตอนในการตดิ ตง้ั โปรแกรม SketchUp ได้อย่างถูกต้อง าทข่ี องเครื่องมอื ต่างๆ ของโปรแกรม SketchUp ได้อย่าง บหนุ่ ยนตข์ นาดเล็ก (ออกแบบแขนกลขนาดเล็ก) ด้วย ketchUp ได้อย่างถูกตอ้ ง 14
กรอบแนวทางการจดั การเรยี น รหสั วชิ า 20105-2121 ช่อื รายวิชา หุ่น เวลาเรยี นทฤษฎี 1 คาบ ปฏบิ ตั ิ 3 คาบ (4 ค หนว่ ยที่ รายการสอน สมรรถนะ (ตอ่ ) 3. สร้างชิ้นส่วนแขนกลขนาดเล็ก 4. สรา้ งชิน้ ส ดว้ ย 3D Printer 5. ประกอบแ 4. ประกอบแขนกลขนาดเล็ก ถกู ต้อง ขับเคลือ่ นดว้ ย servo motor 6 การควบคมุ แขนกลขนาด 1. เขียนโปรแกรม Arduino 1. เขียนโปร เลก็ ด้วยมอื โดยการใช้ IED ควบคุมการทางานแขนกล ขนาดเลก็ ท่ีใ ไมโครคอนโทรลเลอร์ ขนาดเลก็ ที่ใช้ Arduino Uno ถูกต้อง Arduino Uno แบบควบคมุ ด้วยมอื 2. สาธติ การ 2. แสดงการควบคมุ แขนกล กาหนดได้อย ขนาดเลก็ ด้วยมอื
นรู้และการประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ ประจาหนว่ ยการเรยี นรู้ นยนต์เบอ้ื งตน้ ระดบั ชัน้ ปวช. สาขาวชิ า ช่างอเิ ลก็ ทรอนิกส์ คาบ/สัปดาห์) รวม 72 คาบ จานวน 2 หน่วยกติ แนวทางการประเมิน เกณฑ์การปฏิบตั ิงาน ทดสอบความ ู้ร ประเ ิมนการปฏิ ับติงาน ประเ ิมนผลงาน ประเ ิมนพฤติกรรม ่อืน ๆ (ตอ่ ) สว่ นแขนกลขนาดเลก็ ด้วย 3D Printer ไดอ้ ย่างถูกต้อง แขนกลขนาดเล็กโดยการใช้ servo motor ได้อย่าง รแกรม Arduino IED ควบคุมการทางานแขนกล ใช้ Arduino Uno แบบควบคุมดว้ ยมือ ได้อยา่ ง รควบคมุ แขนกลขนาดเลก็ ดว้ ยมือ ทท่ี างานตามเงอ่ื นไขท่ี ย่างถูกตอ้ ง 15
กรอบแนวทางการจัดการเรียน รหสั วชิ า 20105-2121 ชื่อรายวชิ า หนุ่ เวลาเรียนทฤษฎี 1 คาบ ปฏบิ ตั ิ 3 คาบ (4 ค หนว่ ยที่ รายการสอน สมรรถนะ 7 การควบคมุ แขนกลขนาด 1. เขียนโปรแกรม Arduino 1. เขยี นโปร เล็กทางานแบบอตั โนมตั ิ IED ควบคมุ การทางานแขนกล ขนาดเล็กท่ใี โดยการใช้ ขนาดเลก็ ท่ใี ช้ Arduino Uno 2. สาธติ การ ไมโครคอนโทรลเลอร์ แบบอตั โนมตั ิ เงอ่ื นไขท่กี าห Arduino Uno 2. แสดงการควบคมุ แขนกล ขนาดเลก็ แบบอตั โนมัติ 8 โปรแกรม RobotStudio 1. แสดงความรเู้ ก่ยี วกบั การตดิ ตง้ั 1. บอกขน้ั ต 2019 โปรแกรม RobotStudio 2019 ถกู ต้อง 2. ออกแบบแขนกลทางานระบบ 2. บอกหนา้ อัตโนมัติเบือ้ งต้น 2019 ได้อยา่ 3. บอกข้นั ต 4. ออกแบบ
นรูแ้ ละการประเมินผลตามสภาพจริงประจาหน่วยการเรียนรู้ นยนต์เบอ้ื งตน้ ระดบั ชนั้ ปวช. สาขาวิชา ชา่ งอเิ ล็กทรอนิกส์ คาบ/สัปดาห์) รวม 72 คาบ จานวน 2 หน่วยกิต แนวทางการประเมนิ เกณฑก์ ารปฏิบัติงาน ทดสอบความ ู้ร ประเ ิมนการปฏิ ับติงาน ประเ ิมนผลงาน ประเ ิมนพฤติกรรม ่อืน ๆ รแกรม Arduino IED ควบคุมการทางานแขนกล ใช้ Arduino Uno แบบอัตโนมัติ ได้อยา่ งถกู ตอ้ ง รควบคุมแขนกลขนาดเล็กแบบอตั โนมตั ิ ให้ทางานตาม หนดได้อยา่ งถกู ตอ้ ง ตอนในการติดตงั้ โปรแกรม RobotStudio 2019 ไดอ้ ย่าง าทข่ี องเครอ่ื งมอื ตา่ งๆ ของโปรแกรม RobotStudio างถูกต้อง ตอนติดตง้ั Library Robot Arm ไดอ้ ย่างถกู ต้อง 16 บแขนกลทางานระบบอัตโนมตั เิ บือ้ งต้น ได้อย่างถกู ตอ้ ง
กรอบแนวทางการจัดการเรียน รหัสวิชา 20105-2121 ชอื่ รายวชิ า หุน่ เวลาเรยี นทฤษฎี 1 คาบ ปฏิบตั ิ 3 คาบ (4 ค หน่วยที่ รายการสอน สมรรถนะ 9 การเขยี น 1. ออกแบบแขนกลทางานแบบ 1. ออกแบบ โปรแกรมควบคมุ การ อตั โนมัติ อยา่ งถูกตอ้ ง ทางานหนุ่ ยนต์แขนกล 2. ออกแบบระบบอัตโนมตั ใิ นงาน 2. ออกแบบ ดว้ ยโปรแกรม อุตสาหกรรม ได้อยา่ งถูกต RobotStudio 2019 10 สอบปลายภาคเรียน -
นรู้และการประเมนิ ผลตามสภาพจริงประจาหน่วยการเรยี นรู้ นยนต์เบอ้ื งต้น ระดบั ชั้น ปวช. สาขาวิชา ช่างอิเล็กทรอนิกส์ คาบ/สัปดาห์) รวม 72 คาบ จานวน 2 หน่วยกิต แนวทางการประเมิน เกณฑ์การปฏิบตั ิงาน ทดสอบความ ู้ร ประเ ิมนการปฏิ ับติงาน ประเ ิมนผลงาน ประเ ิมนพฤติกรรม ่อืน ๆ บแขนกลทางานแบบอตั โนมัตติ ามเง่อื นไขทกี่ าหนดได้ ง บระบบอตั โนมตั ใิ นงานอตุ สาหกรรมตามเงอ่ื นไขที่กาหนด ตอ้ ง - 17
กรอบการจัดการเรียนรูแ้ บบบรู ณาการเปน็ เรอ่ื ง/ชิ้นงาน/โครงการ และบรู ณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รหัสวชิ า 20105-2121 ช่อื รายวิชา ห่นุ ยนตเ์ บอ้ื งตน้ รวม 72 คาบ จานวน 2 หน่วยกติ สมรรถนะด้านความมีเหตุผล สมรรถนะด้านความพอประมาณ สมรรถนะดา้ นความมีภมู คิ มุ้ กัน เลอื กออกแบบโครงสร้างอย่าง ออกแบบแขนกลขนาดเล็กได้ ตาม เขยี นโปรแกรมควบคุมอยา่ งรัดกุม รอบคอบ โดยเน้นการประหยัด ความเหมาะสม ขนาด ราคา และ ลดปัญหาแขนกลชารุดเสียหาย จากวัสดทุ จ่ี ัดทา วสั ดทุ ่ใี ช้ เงอื่ นไขดา้ นความร้แู ละทกั ษะ งานออกแบบและ เงอื่ นไขดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม มคี วามรู้และทักษะในการ ควบคุม คา่ นยิ ม คุณลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ ออกแบบ ประกอบ และเขียน คิดไตรต่ รองใหร้ อบคอบก่อน โปรแกรมควบคมุ แขนกลขนาด แขนกลขนาดเล็ก ตัดสินใจ ตระหนักถึงผลกระทบ เลก็ ต่อส่ิงแวดลอ้ ม มีความซ่ือสัตย์ และความรับผดิ ชอบตอ่ งาน ผลกระทบเพื่อความสมดลุ พร้อมรบั การเปลย่ี นแปลง ดา้ นสังคม ด้านเศรษฐกิจ ด้านวัฒนธรรม ด้านสง่ิ แวดลอ้ ม การออกแขนกลขนาดเล็ก การออกแบบเน้นการ การออกแบบการทางาน ใหค้ วามสาคญั กบั ภาวะ เปน็ ไปตามมาตรฐานสากล ประหยดั งบประมาณ ลด ต่างๆ ใหอ้ ยู่ในกฎของความ สงิ่ แวดลอ้ มทเ่ี กดิ จาก เพือ่ ใหน้ าไปประยกุ ตใ์ ชก้ ับงาน ต้นทนุ การผลติ แขนกล ปลอดภยั และไม่ขดั กับกฎ วัสดุในการจดั ทา แขน อ่ืนๆ ในชมุ ชนได้ ขนาดเลก็ แต่เน้นการ ของหุน่ ยนต์ และศิลธรรม กลขนาดเล็ก ออกแบบโปรแกรมการ วัฒนธรรมของมนุษย์ ควบคมุ ใหม้ ปี ระสิทธิภาพ หมายเหตุ หากเป็นการบรู ณาการในหน่วยการเรียนร้หู น่วยใดหน่วยหนง่ึ ให้นาแผนภมู นิ ้ไี ปนาเสนอในหน่วยการเรยี นรูน้ นั้ 18
แผนการจดั การเรียนรู้ หนว่ ยที่ 1 จานวน 4 ชวั่ โมง สปั ดาห์ที่ 1 ชอ่ื วิชา หุ่นยนต์เบื้องตน้ ชอื่ หน่วย ประวตั คิ วามเป็นมาของหุ่นยนต์ ช่อื งาน - 1. สาระสาคญั จากอดตี มาจนถงึ ปัจจุบนั น้เี ทคโนโลยีไดม้ กี ารพัฒนามาอย่างรวดเร็ว เทคโนโลยตี า่ งๆ ที่มนุษย์เราสรา้ งขึ้นนัน้ มีวัตถปุ ระสงค์หลักๆ กค็ อื การอานวยความสะดวกและช่วยเหลอื กิจกรรมตา่ งๆ ของมนุษย์ ไม่วา่ จะเปน็ หุ่นยนตส์ ารวจ แขนกลในโรงงานอุตสาหกรรม แขนกลท่ีช่วยในการผา่ ตดั ลว้ นถูกสรา้ งมาเพ่อื ชว่ ยเหลือและทุ่นแรงในการทางานของ มนุษย์ 2. สมรรถนะประจาหนว่ ย 1. แสดงความร้เู ก่ยี วกบั ประวตั แิ ละความเปน็ มาของหุ่นยนต์ 3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. อธิบายประวตั แิ ละความเป็นมาของหุ่นยนตไ์ ด้อยา่ งถูกตอ้ ง 2. บอกประเภทของหนุ่ ยนตไ์ ด้อย่างถกู ตอ้ ง 3. จาแนกประเภทของหุ่นยนตไ์ ดอ้ ย่างถูกตอ้ ง 4. บอกประโยชนข์ องหุ่นยนตไ์ ด้ 5. อธบิ ายการนาหุ่นยนตไ์ ปประยุกต์ใช้งานได้ 4. สาระการเรียนรู้ ความหมาย ประวตั ิ และววิ ฒั นาการของหุน่ ยนต์ หุน่ ยนตม์ าจากคาวา่ “โรบอต” (robot หรอื robota) ในภาษาเช็ก ซงึ่ แปลว่า ทาส หรอื ผถู้ ูกบังคบั ใช้แรงงาน โดยใน พ.ศ. ๒๔๖๔ คาเรล คาเปก (Karel Capek) นกั ประพันธ์ชาวเชก็ ได้ประพนั ธ์ละครเวทีเรอื่ ง “อาร์.ยู.อาร์.” (Rossum’s Universal Robots: R.U.R.) มเี นอื้ หาเกยี่ วกับมนุษย์ตอ้ งการทาสรับใช้ จงึ สรา้ งหุ่นยนตม์ าช่วยทางาน ตอ่ มา หุ่นยนตไ์ ด้พัฒนาตัวเองใหม้ ีความฉลาดมากขึ้น จึงเกิดความคดิ ตอ่ ต้านมนษุ ย์และไมย่ อมให้กดข่ีข่มเหงอีกตอ่ ไป ละคร เร่อื งน้ีโดง่ ดังมาก จนทาใหค้ าวา่ “โรบอต” เปน็ ท่ีร้จู ักไปท่วั โลก ปี 1921 นักประพันธช์ าวเชกส์ Karel Acpek ได้ทาละครลอ้ เลยี น โดยมคี าว่า Robot หรอื คาว่า Robota ซ่ึง แปลว่า ทาส หรือผู้ใชแ้ รงงาน Robot ในความหมายของ Capek หมายถึง ห่นุ ยนต์ท่มี ลี กั ษณะเหมือนมนษุ ย์ มแี ขน มีขา สามารถทางานได้มากกว่ามนุษย์ 2 เท่า มพี ลงั มากกวา่ มนุษย์ 2 เท่า
หลงั จากนั้น 21 ปี กม็ ีนกั ประพนั ธ์ทางดา้ นวทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยี ชอื่ Isaac Asimov เป็นคนที่สร้างแรงดึงดดู ให้กับเด็กรุ่นตอ่ มาสนใจเรอ่ื งห่นุ ยนต์ อยา่ งมาก ในบทประพันธเ์ รื่อง (Runaround) ซึ่งได้บญั ญัติกฎ 3 ขอ้ ของหุ่นยนต์ คือ 1.หุ่นยนต์หา้ มทาร้ายมนษุ ย์ 2.หุ่นยนต์ต้องเชื่อฟงั มนุษย์ 3.หุ่นยนตต์ ้องปอ้ งกนั ตวั เอง ซึ่งในความเปน็ จริงในยคุ สมยั น้ันยังไม่มีหุน่ ยนตจ์ ริง เปน็ เพียงแคจ่ นิ ตนาการ และความชา่ งฝนั เทา่ นั้น 10 ปตี ่อมาในปี 1952 การ์ตูนเรอ่ื ง Astro Boy ในประเทศญ่ปี นุ่ เป็นการต์ นู ท่คี งอย่ใู นความทรงจาของคนหลายคน และ ดว้ ยหุ่นยนต์ตัวเอกช่อื Tetsuwan Atom หนุ่ ยนตท์ ่สี ามารถบนิ ได้ โดยเวลาบินจะมีไฟพน่ ออกมาจากเทา้ การต์ ูนเรือ่ งน้ี ถอื วา่ ทรงอิทธิพลอย่างมากต่อการพัฒนาการสร้างหนุ่ ยนต์ ข้ึนมา เช่นเดียวกับตวั หนุ่ ยนต์ R2D2 เป็นหนุ่ ยนต์กระปอ๋ ง และห่นุ ยนต์ C3po ในภาพยนตรเ์ รอื่ ง Star Wars ที่ทาใหภ้ าพของหนุ่ ยนตอ์ ยูใ่ นความนกึ ฝันและจนิ ตนาการของใคร หลายคน หุ่นยนตต์ ัวแรกของโลกเกิดขึน้ เมือ่ ปี 1954 โดย George Devol วศิ วกร ชาวสหรัฐอเมรกิ า ทส่ี ามารถคน้ คดิ ประดษิ ฐ์แขนของหุน่ ยนต์ อย่างง่ายทส่ี ามารถเคล่ือนไหว ทางานตามโปรแกรมท่ีตง้ั ไว้ใช้ประโยชน์ในงานอุตสาหกรรม จากจุดนเี้ องท่ีทาใหก้ ารพัฒนาหุน่ ยนตเ์ กดิ ขนึ้ อยา่ งต่อเนื่อง ในระยะเวลากวา่ กงึ่ ศตวรรษจนมาถึงวันน้มี หี ลายประเทศ ที่เป็นประเทศมหาอานาจทางด้านเทคโนโลยีการผลติ หุ่นยนต์ สหรฐั อเมริกา หนึ่งในมหาอานาจของโลก ในเรอื่ งของวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยถี ือเปน็ ตน้ กาเนิดของหุ่นยนต์ บนโลก มคี วามหลากหลายของหนุ่ ยนต์ เนน้ ในการท่ีจะนาไปใชง้ านไดจ้ รงิ อย่างในปี 1959 บริษัท Planet Corporation ไดส้ ร้างหนุ่ ยนตท์ ี่เป็น First Commercial Robot ข้ึนมาเพ่ือวตั ถปุ ระสงค์ทางงานดา้ นอตุ สาหกรรมตามมาตดิ ๆ ในปี 1962 ดว้ ยบรษิ ัทยักษใ์ หญผ่ ผู้ ลติ รถยนตอ์ ยา่ ง GM general motor ก็ใชห้ ุ่นยนต์ แต่ทส่ี รา้ งชื่อเสียงมากทส่ี ดุ กค็ งเปน็ หนุ่ ยนตข์ ององคก์ าร NASA ทีไ่ ปสารวจดาวอังคาร ที่ชอื่ Mars Sojourner เป็นหุ่นยนตท์ ่สี ่ิงไปสารวจดาวองั คาร ในปี 1997 และหนุ่ ยนต์ Spirit กับ Opportunity ทถี่ ูกสง่ ตามไปสารวจดาวองั คาร ซ่งึ ถือวา่ เปน็ สดุ ยอดของเทคโนโลยีในโลก ของหุ่นยนตเ์ ลยทเี ดียว ด้านเอเชยี ญ่ีปุ่น เป็นประเทศท่เี กดิ การพัฒนาทางด้านการผลิตหุ่นยนต์ จากจนิ ตนาการที่ไดร้ ับอทิ ธิพลมาจาก การต์ ูน ลกั ษณะของหุ่นยนต์หลายตัวจึงเปน็ ลกั ษณะ Humanoid หรือหุ่นยนต์ทม่ี ีลกั ษณะทางกายภาพเหมอื นคน ลกั ษณะของหุ่นยนตท์ ่ีสรา้ งขน้ึ มาอาจจะไมไ่ ดน้ าไปใช้งานแต่การเป็นการ คิดเพ่ืออนาคต มลี กั ษณะเหมอื นคนมากที่สดุ ทง้ั ในเรอื่ งของการเคลื่อนไหวท่ีสมบรู ณ์แบบ ซึง่ ต้องใชเ้ ทคโนโลยีชนั้ สงู และยงั มีหุ่นยนต์ท่ีโดดเดน่ อย่าง AIBO หนุ่ ยนต์ สนุ ขั ที่สามารถโต้ตอบกับคนได้ ซง่ึ มกี ารนา AIBO มาใชใ้ นห้องทดลองวิจยั หลายมหาวทิ ยาลยั ด้วยกัน สามารถ ตดิ ตอ่ สอ่ื สารผ่านคลน่ื อินฟราเรดได้ ซึง่ ในอนาคตจะมกี ารพัฒนาไปสูห่ ุน่ ยนตบ์ ริการในบ้าน และยงั มีหนุ่ ยนตใ์ นลกั ษณะ Humanoid อีกตัว SDR-4X, หนุ่ ยนต์ R100 ท่ีกาลังพัฒนาให้เป็นหุ่นยนตบ์ รกิ ารทีใ่ ช้ในบ้าน และสามารถพูดคุยโต้ตอบ กันได้ เปน็ ไปในรูปแบบของ Partner Robot หนุ่ ยนต์ (robot) คอื เคร่ืองจกั รกลหรอื หนุ่ ทม่ี เี ครอื่ งกลไกอยู่ภายใน สามารถทางานได้หลายอยา่ งร่วมกบั มนษุ ย์ หรือทางานแทนมนุษย์ และสามารถจัดลาดับแผนการทางานก่อนหรือหลังได้
ระดบั ขน้ั การทางานของหนุ่ ยนตส์ ามารถจาแนกได้ ๖ ระดบั ตามเกณฑ์มาตรฐาน ของสมาคมหุ่นยนตอ์ ุตสาหกรรม แหง่ ญี่ปุ่น (Japanese Industrial Robot Association: JIRA) ดังน้ี ระดบั ท่ี 1 กลไกท่ถี กู ควบคุมดว้ ยมนษุ ย์ (manual-handling device) ระดับที่ 2 หุ่นยนต์ท่ีทางานตามแผนล่วงหนา้ ที่กาหนดไว้ โดยไม่สามารถปรับเปลยี่ นแผนงานได้ (fixed- sequence robot) ระดบั ที่ 3 หนุ่ ยนต์ทที่ างานตามแผนลว่ งหนา้ ที่กาหนดไว้ โดยสามารถปรับเปล่ียนแผนงานได้ (variable- sequence robot) ระดับที่ 4 ผู้ควบคุมเป็นผูส้ อนงานให้แก่หุ่นยนต์ หนุ่ ยนตจ์ ะทางานเล่นยอ้ นกลับ ตามทหี่ นว่ ยความจาบันทกึ ไว้ (playback robot) ระดบั ท่ี 5 ผ้คู วบคุมบันทึกข้อมลู เชงิ ตัวเลขการเคล่ือนทีใ่ หแ้ กห่ ่นุ ยนต์ และห่นุ ยนต์สามารถทางานได้เอง โดยไม่ ต้องมกี ารสอนงาน (numerical control robot) ระดับที่ 6 ห่นุ ยนตม์ คี วามฉลาด สามารถเรยี นรู้สภาพแวดล้อม และตัดสนิ ใจทางานได้ด้วยตวั เอง (intelligent robot) ห่นุ ยนตส์ ามารถจาแนกเปน็ ๒ ประเภทใหญ่ๆ ตามลักษณะการใชง้ าน คือ 1. หุ่นยนตช์ นิดตดิ ตั้งอยูก่ บั ที่ (fixed robot) ห่นุ ยนตป์ ระเภทนีม้ ลี ักษณะเป็นแขนกล ซง่ึ สามารถขยับ และ เคลอ่ื นไหวไดเ้ ฉพาะข้อต่อ นยิ มใชใ้ นโรงงานอตุ สาหกรรม 2. ห่นุ ยนตช์ นิดเคลอื่ นทไี่ ด้ (mobile robot) หนุ่ ยนต์ประเภทนส้ี ามารถเคล่อื นท่ไี ปได้ด้วยตวั เอง โดยการใช้ลอ้ ขา หรือการขบั เคลื่อนในรปู แบบอื่นๆ ประโยชน์และความสามารถของหุ่นยนต์ 1. ดา้ นเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมการผลติ ในอนาคตนน้ั ประชากรของโลกมแี นวโน้มท่ีจะเพ่มิ มากขึ้นเรอื่ ยๆ ทาใหค้ วามตอ้ งการในอาหารมีแนวโนม้ ทจ่ี ะต้องการมากขึ้นเชน่ กัน การทาเกษตรกรรมแบบด้ังเดมิ ใชเ้ วลามาก ใหผ้ ลผลติ ตา่ อกี ท้งั ยังต้องใช้แรงงานในการดูแลรกั ษาคอ่ นข้างมาก การท่จี ะเพิ่มผลผลติ ให้มากขน้ึ นอกจากการวิจยั พันธุ์พืชให้ไดผ้ ล ผลิตสูง เกบ็ เกยี่ วเรว็ และมคี วามตา้ นทานโรคสงู แล้ว วทิ ยาการหุน่ ยนตเ์ ป็นอกี ศาสตร์ทถ่ี ูกนามาใช้มากข้ึน เพ่อื เพม่ิ ผลผลิต เชน่ การนา รถไถนา รถดานาและรถเกบ็ เก่ียว มาพัฒนาเปน็ ห่นุ ยนต์ระบบอตั โนมตั ิ ในอดตี หนุ่ ยนต์นัน้ จะมี ขอ้ จากดั คอ่ นข้างมากในการใช้งานกลางแจ้ง เน่อื งจากความช้ืน สภาพทเี่ ปียกแฉะ หรือแสงแดด จะเปน็ อันตรายอยา่ ง มากกบั วงจรไฟฟ้าของหุ่นยนต์ ยิ่งการใช้งานในสวนไร่นาด้วยแล้วแทบจะเลกิ หวังได้เลย แต่ด้วยเทคโนโลยีและ ความสามารถที่เพ่ิมขึน้ ของหนุ่ ยนต์ หุ่นยนต์ถูกพฒั นาปรบั ใหเ้ ขา้ กบั สภาพแวดล้อมกลางแจง้ ไดด้ ขี ้นึ จนทุกวันนี้หนุ่ ยนต์ สามารถท่จี ะทางานกลางฝนได้ และมีความสามารถในการปนี ป่าย ข้ึนจากหลมุ ในสภาพของผืนดินของการเพาะปลูกได้ อยา่ งดี การใชห้ ุน่ ยนต์ช่วยในงานเกษตรกรรม จากจานวนประชากรทีเ่ พ่มิ ขนึ้ นอกจากความตอ้ งการทางดา้ นอาหารท่ีเพิม่ ข้ึนแล้ว ความต้องการทางดา้ น เครอ่ื งมอื เคร่อื งใชก้ ็มไี มแ่ พก้ นั โรงงานอุตสาหกรรมต่างๆจาเปน็ ตอ้ งเพ่ิมกาลังการผลติ ข้ึนเพ่ือใหเ้ พียงพอกบั ความ ตอ้ งการ การใช้แรงงานคนในการผลิตมีข้อจากัดในเรอื่ งเวลาทางาน ดังนนั้ แนวโนม้ ที่หนุ่ ยนต์จะถกู นามาใชแ้ ทนทม่ี นษุ ย์ จึงมมี ากข้ึนเรือ่ ยๆ เน่ืองจากหุ่นยนต์มขี อ้ จากัดในการทางานนอ้ ยกว่ามนุษย์ มคี วามเร็ว ความแม่นยา และความละเอยี ด
สงู ทาให้ผลผลติ ที่ได้มีมาตรฐานที่คงที่ รวดเร็ว และเพียงพอกับความตอ้ งการ โดยท่ัวไปแลว้ เทคโนโลยหี นุ่ ยนตท์ ใี่ ช้ใน โรงงานอุตสาหกรรมนัน้ คอ่ นขา้ งทจ่ี ะ เรียบง่ายเมือ่ เทียบกบั หนุ่ ยนตช์ นดิ อนื่ ๆ เนื่องจากห่นุ ยนตท์ ี่ใชใ้ นโรงงานจะเปน็ ประเภทแขนกลชนิดไม่เคลือ่ นที่ การทางานอยใู่ นวงจากัด และมีหน้าทเ่ี ฉพาะต่องานนนั้ ๆเพียงอย่างเดียวเท่าน้ัน ดังนั้น หนุ่ ยนต์ประเภทนจ้ี ึงมงุ่ เน้นพฒั นาท่ีความละเอียด และความเทยี่ งตรงในการทางาน 2. ดา้ นการสารวจ ในโลกเราใบนย้ี งั มีอีกหลายสถานทที่ มี่ นุษย์ยังไมเ่ คยได้ไปถึง หรือยงั สารวจไดไ้ มท่ ัว่ ถึงพอ อยา่ งเช่นใต้ทะเลอนั มืดมิด สภาพอากาศทีเ่ ลวร้ายอยา่ งข้ัวโลกใต้ หรอื กลางทะเลทรายซาฮารา่ ดว้ ยสภาพภมู ปิ ระเทศ และสภาวะอากาศทไ่ี มเ่ หมาะสมกบั มนุษย์ จากพน้ื ท่ีต่างๆดงั ทไ่ี ดก้ ลา่ วมาน้ัน ทาใหเ้ ป็นอปุ สรรคอยา่ งยิง่ ในการสารวจเพ่อื แสวงหาคาตอบในคาถามของมนุษย์ การนาเทคโนโลยหี ่นุ ยนต์เขา้ มาช่วยสารวจจึงเป็นทางเลอื กหนึง่ ท่มี คี วามเหมาะ สม อยา่ งยิง่ เนือ่ งจากปัจจบุ นั ความสามารถทางวสั ดศุ าสตร์ของห่นุ ยนต์ถกู พฒั นาไปมาก ห่นุ ยนตส์ ามารถทีจ่ ะอย่ใู นสภาพ ภูมอิ ากาศทหี่ นาวเหน็บได้ อีกท้งั หุ่นยนต์ยงั สามารถทีจ่ ะแบกอุปกรณ์ทมี่ นี า้ หนักมากๆ และสามารถวเิ คราะหผ์ ลไดท้ นั ที จงึ เป็นทางเลือกในการสารวจท่สี ะดวก และประหยัดเวลามากอีกด้วย การหาแหล่งพลังงานใหม่ น้ามันซง่ึ เป็นพลงั งานหลักมีแนวโนม้ ที่จะลดลงไปเรื่อยๆ และหมดลงไปในทสี่ ุด แต่ ความตอ้ งการในการใช้พลงั งานนั้นกลบั สวนทางกับพลงั งานที่มอี ยู่อยา่ งจากัด การค้นหาแหล่งพลังงานใหม่จึงเปน็ สง่ิ ที่ จาเป็นอย่างยิ่งในปัจจบุ นั น้ี การเดนิ ทางสารวจใต้ทะเลอนั มดื มดิ นั้น เตม็ ไปดว้ ยอนั ตรายมากมาย และความกดดนั มหาศาล หุ่นยนตอ์ ัตโนมตั ทิ ใี่ ชส้ ารวจใต้ทอ้ งทะเลจงึ เป็นอกี ตวั เลือกหนงึ่ ที่จะถกู นา มาใชม้ ากขึ้นในการสารวจน้ี 3. ดา้ นการแพทย์ ปัจจบุ ันนที้ างการแพทยเ์ ร่มิ นาเทคโนโลยีหุ่นยนตเ์ ขา้ มาใช้งานมากขนึ้ เชน่ การเสรมิ สรา้ ง สมรรถภาพทางกายด้วยการใสช่ ดุ หนุ่ ยนต์เพ่ือเพ่มิ พลังใหม้ ากขนึ้ ใช้ในการยกของใหไ้ ด้มากๆ ระบบชดุ หนุ่ ยนต์หรือ อวยั วะเสรมิ ท่เี ป็นกลไกแบบหนุ่ ยนตเ์ หลา่ นไ้ี ด้รบั การ พัฒนาอยา่ งต่อเน่ือง เพื่อช่วยในการเดินสาหรบั ผ้พู กิ าร หรือ นามาใชช้ ว่ ยเสรมิ แรงให้กบั ผทู้ ีต่ อ้ งทางานเก่ยี วข้องกบั การใช้แรงมากๆ เชน่ พยาบาลหรือนกั กายภาพบาบัดทต่ี อ้ งยก ผูป้ ่วยขนึ้ ลงจากเตยี งวันละหลายๆ ครั้งเปน็ ตน้ 4. ด้านการบริการ การคมนาคมสัญจรไปมาน้ัน เดมิ ทตี ้องใชม้ นษุ ย์เป็นคนควบคมุ บางคร้งั ความเม่อื ยล้าของคน มผี ลทาให้ประสิทธภิ าพในการควบคุมยานพาหนะน้นั ลด ลง ทาใหเ้ กิดอนั ตรายไดป้ จั จุบนั นีก้ ารปรบั ปรุงหุ่นยนตม์ าใชใ้ น งานท่วั ไปอย่าง ยานยนตอ์ ัตโนมัตนิ ้นั กเ็ ริ่มเป็นรูปรา่ งมากขน้ึ แลว้ ในอนาคตอีกไม่ไกลนั้นการนั่งรถยนตโ์ ดยไมม่ ีคนขบั เป็นเรอื่ งท่ีจะเกดิ ข้ึน อย่างแน่นอน ยานยนต์อจั ฉรยิ ะถูกพฒั นาขึ้น เพื่อใหม้ ีความสามารถในการทีพ่ าตัวเองไปยังที่ จดุ หมายได้ โดยอาศัยระบบเซนเซอรต์ รวจรตู้ ่างๆรบั ขอ้ มลู จากสภาพแวดลอ้ มรอบตวั และใช้สมองกลคอมพวิ เตอร์ ประมวลผลจากอุปกรณต์ รวจรู้ต่างๆ ทส่ี ง่ เขา้ มาอยา่ งชาญฉลาด ทาใหร้ ถสามารถวิง่ ถึงจุดหมายไดอ้ ยา่ งแม่นยา และ ปลอดภยั 5. ด้านสันทนาการ เพอื่ นเปน็ สิ่งที่มนษุ ย์ทกุ คนแสวงหา การมีเพ่ือนคู่คิด หรือเพอ่ื นเลน่ เป็นส่ิงทสี่ าคญั มาก หุ่นยนต์ก็นบั เป็นอีกเทคโนโลยหี น่ึง ซง่ึ ถกู สร้างมาเพ่ือทจี่ ะตอบสนองในสิ่งนี้ ดว้ ยเทคโนโลยีที่กา้ วหนา้ อยา่ งรวดเรว็ ของ หนุ่ ยนต์ ทาใหห้ ่นุ ยนตส์ ามารถท่จี ะสามารถรบั ฟังคาสง่ั ของมนุษยไ์ ด้ และด้วยอปุ กรณ์ตา่ งๆท่ถี ูกพฒั นาประสทิ ธภิ าพขึน้ อย่างต่อเนื่อง จึงทาให้หนุ่ ยนต์สามารถตอบสนองในสิง่ ท่ีมนษุ ยต์ อ้ งการไดม้ ากข้ึน ในอนาคตไมไ่ กลคงจะได้เห็นภาพ หนุ่ ยนตเ์ ดนิ เคียงข้างมนุษย์อย่างแน่นอน
วทิ ยาการหนุ่ ยนตใ์ นอนาคต หนุ่ ยนต์จะถกู นาเขา้ มาใชง้ านในหลายๆดา้ น ซึง่ การพัฒนาหุน่ ยนตจ์ าเป็นต้องอาศัยแนวทางในวทิ ยาการ 5 สาขา หลักดงั ต่อไปน้ี 1. วทิ ยาการด้านปฏิสัมพันธ์ (interaction) เนื่องจากหุน่ ยนตจ์ ะตอ้ งทางานร่วมกบั มนุษย์ การส่อื สารจงึ ถือเปน็ ขน้ั พ้นื ฐานท่ีสดุ ทหี่ ุน่ ยนตจ์ ะตอ้ งมี ปัญญาประดษิ ฐ์ (artificial intelligence) จะชว่ ยใหห้ นุ่ ยนต์เขา้ ใจความหมายเชิง กลุ่มคาหรือประโยค หรือการตคี วามหมายจากสัญญาณอื่นๆได้ เช่น ห่นุ ยนตบ์ างตัวไดร้ บั การพฒั นาให้จดจาหน้าตา (face recognition) และทา่ ทาง (gesture recognition) ของผูใ้ ช้ได้ ด้วยเทคโนโลยีการมองเห็นของหนุ่ ยนต์ (robot vision) ซง่ึ ใช้กล้องเป็นตวั รับภาพ เพ่อื แยกแยะรูปแบบใบหนา้ และท่าทางของผู้ใช้ โดยการอาศยั ความรเู้ รือ่ งระบบภาพ (vision system) และการประมวลผลภาพในคอมพิวเตอร์(image processing) บางระบบผู้ใชส้ ามารถใช้เสยี งในการ สงั่ งานหุน่ ยนต์ผา่ นการรจู้ าเสียง (speech recognition) โดยหุ่นยนต์จะโต้ตอบกับผ้ใู ชผ้ ่านทางทา่ ทาง หนา้ จอ และ/หรือ เสียงสังเคราะห์ (synthesized sound) ผา่ นทางลาโพงเป็นต้น 2. วทิ ยาการด้านการเคลื่อนท่ี (locomotion) การเคลอ่ื นทน่ี บั เป็นอกี หนง่ึ ทสี่ าคญั ของห่นุ ยนต์ ปจั จบุ นั หนุ่ ยนต์ ทใี่ ชข้ าสามารถลุกขนึ้ เดิน ยนื และว่ิงเหยาะๆ ไดแ้ ลว้ โดยอาศัยความรคู้ วามเข้าใจด้านพลศาสตร์ (dynamics) การ พฒั นาของอุปกรณ์ขบั เร้า (actuator) ก็เปน็ อกี หนึง่ ปจั จยั ทที่ าใหห้ นุ่ ยนตม์ ปี ระสทิ ธภิ าพในการเคลอ่ื นที่เพิม่ ขึ้น ซงึ่ ความรู้ในสาขานีไ้ ด้นามาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการพัฒนาแขน-ขาเทียมสาหรบั ผู้ พิการ หรือรวมไปถึงห่นุ ยนต์เพ่ืออานวยความ สะดวกในการเดินอีกดว้ ย 3. วทิ ยาการดา้ นการนาทาง (navigation) การรู้ตาแหนง่ ของตวั เองในห่นุ ยนตเ์ ป็นสงิ่ ท่จี าเป็นมาก ในการ กาหนดทศิ ทางการเคลอ่ื นท่หี รือการทางาน ยกตัวอย่างเช่นระบบรถอัตโนมตั กิ ารรู้วา่ ตัวเองอยู่ทไ่ี หน? จะไปทีใ่ ด? ไป อย่างไร? ในเสน้ ทางไหน? มีความจาเปน็ มากต่อหุ่นยนต์ ดงั น้นั ในห่นุ ยนต์จะมกี ารตดิ ต้ังอปุ กรณ์ตรวจรูท้ ี่เกี่ยวขอ้ งกับการ ระบุ ตาแหนง่ และการนาทางทีม่ ีประสทิ ธิภาพสูงกวา่ ส่งิ ทีม่ นุษย์มีมาตามธรรมชาติ เชน่ อุปกรณ์ตรวจรู้ตาแหน่งจาก สญั ญาณดาวเทียมจีพเี อส ตวั ตรวจรูร้ ะบบอลั ตรา้ โซนคิ เป็นต้น 4. วทิ ยาการดา้ นการเคลื่อนยา้ ยชิ้นงาน (manipulation) ในโรงงานอุตสาหกรรมนน้ั การหยบิ จับเคล่อื นยา้ ย ชิน้ งานเป็นส่ิงทีม่ คี วามสาคญั มาก การหยบิ จับชน้ิ งานทเ่ี หมาะสม จะช่วยรน่ ระยะเวลาในการทางาน และความเสียหาย ของชนิ้ งานได้ นักวิทยาศาสตร์จึงพยายามคิดคน้ มอื จบั และการเคลอ่ื นไหวของแขนหุ่นยนต์ในลักษณะตา่ งๆ เพ่อื ให้ เหมาะสมกบั งาน และสามารถปรบั เปลยี่ นได้ดียง่ิ ขน้ึ ซึง่ ในอนาคตนนั้ หุ่นยนต์จะมีความสามารถในการหยบิ จบั เคลือ่ นย้าย ชิน้ งานได้ หลายรปู แบบมากขนึ้ โดยแขนของหุ่นยนตท์ ส่ี ามารถ ยดื หด และปรบั เปล่ยี นใหม้ ีความเหมาะสมกบั ลักษณะ การใช้งาน ทาใหห้ ุ่นยนตส์ ามารถช่วยเหลือมนษุ ยไ์ ดม้ ากขนึ้ 5. วทิ ยาการด้านอัจฉริยะ (intelligence) ห่นุ ยนต์ทีส่ ามารถคดิ เองไดน้ ้นั มไิ ด้มีอยู่แตเ่ พียงในภาพยนตร์เทา่ น้ัน ปัจจุบนั หุ่นยนต์ได้รับการพฒั นาจนสามารถคน้ หาคาตอบสาหรับปญั หาใหม่จากฐาน ขอ้ มลู เดมิ ที่มีอยู่ (deduction) โดย แนวโนม้ ที่หุ่นยนตจ์ ะสามารถสรา้ งองค์ความรไู้ ดด้ ว้ ยตวั เองเชน่ เดียวกบั มนษุ ย์มีความเป็นไปได้อย่างมากในอนาคต
5. กิจกรรมการเรยี นรู้ (สัปดาหท์ ี่ 1) ข้ันสนใจปัญหา (Motivation) 1. แนะนาตวั ครูผ้สู อน ผู้เรยี น ชอื่ วิชา รหัสวชิ า จุดประสงค์ของรายวิชา คาอธบิ ายรายวิชา เกณฑ์การประเมินผลทฤษฎ/ี ปฏิบตั ิ 2. ครูยกตัวอยา่ งหุ่นยนต์ในภาพยนตรต์ า่ งๆ และใช้งานภาคอุตสาหกรรมปจั จุบัน 3. ครูให้นักเรยี นทาแบบทดสอบก่อนเรียน ขน้ั ให้เนอื้ หา (Information) 1. ผู้เรียนฟังครบู รรยายเรอ่ื งประวัติและความเป็นมาของหุ่นยนต์ 2. ผู้เรยี นฟังครูบรรยายเรอื่ งประเภทของห่นุ ยนต์ ขน้ั พยายาม (Application) 1. ครถู ามคาถาม และให้ผูเ้ รยี นตอบคาถามในช้นั เรียน 2. ผเู้ รียนทาแบบทดสอบหลงั เรยี น ขัน้ สาเรจ็ ผล (Progress) 1. ครูและผูเ้ รยี นร่วมกันเฉลยแบบทดสอบหลังเรียน 2.บรรยายสรุปหน่วยการเรียนท่ี 1 เร่อื งประวตั คิ วามเป็นมาของหนุ่ ยนต์ 6. สือ่ และแหล่งการเรยี นรู้ 1. ใบความรู้เรือ่ งประวัตคิ วามเปน็ มาของหุ่นยนต์ 2. โปรแกรมนาเสนอ Power Point เร่อื ง ประวัติและความเปน็ มาของหุ่นยนต์ 3. สืบคน้ ข้อมูลในอนิ เทอร์เนต็ 7. หลักฐานการเรียนรู้ 7.1 หลักฐานความรู้ - คะแนนการทาแบบทดสอบก่อนเรียน - คะแนนการทาแบบทดสอบหลังเรยี น 7.2 หลักฐานการปฏบิ ัตงิ าน - ไมม่ ี
8. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 8.1. เคร่ืองมือการประเมนิ - ถาม – ตอบ ในชั้นเรยี น - แบบทดสอบกอ่ นเรยี น - แบบทดสอบหลังเรยี น 8.2. เกณฑ์การประเมนิ - แบบประเมนิ ความรู้ ตอ้ งไดค้ ะแนนไม่ตา่ กว่าร้อยละ 60 - แบบประเมินพฤตกิ รรมของผเู้ รยี น ต้องไดค้ ะแนนไมต่ า่ กวา่ ร้อยละ 80 9. กจิ กรรมเสนอแนะ/งานท่มี อบหมาย (ถา้ มี) ไม่มี 10. เอกสารอา้ งองิ 1. แขนกลอุตสาหกรรม ห่นุ ยนต์ในงานอตุ สาหกรรม. กรงุ เทพมหานคร : มูลนธิ ิคีนันแหง่ เอเชีย., 2562 2. website : www.ipelp.ac.th สืบคน้ เมอื่ มกราคม 2562 3. website : www. nxtkrunisit.rwb.ac.th สืบคน้ เมอ่ื มกราคม 2562 4. website : www. saranukromthai.or.th สบื ค้นเมอื่ มกราคม 2562 5. website : www. tpa.or.th สืบค้นเมอ่ื มกราคม 2562
11. บนั ทกึ ผลหลงั การจดั การเรยี นรู้ 11.1 ขอ้ สรปุ หลังการจดั การเรยี นรู้ 11.2 ปญั หาอุปสรรคท่พี บ 11.3 แนวทางแกป้ ญั หาและหรือพัฒนา
รายการตรวจสอบและอนญุ าตให้ใช้ เห็นควรอนุญาตให้ใชก้ ารสอนได้ เห็นควรปรับปรุงเกี่ยวกับ ควรอนุญาตใหน้ าไปใช้สอนได้ ลงช่อื .................................................................. ควรปรบั ปรุงเกี่ยวกบั . () อื่น ๆ หัวหน้าสาขาวิชา // อนญุ าตใหน้ าไปใช้สอนได้ อ่ืน ๆ ลงช่อื .................................................................. () รองผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ // ลงชื่อ.................................................................. () ผูอ้ านวยการ //
Search
Read the Text Version
- 1 - 41
Pages: