เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา การขยายพนั ธุ์พชื ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 1 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้การงานอาชพี โรงเรียนบ้านบางสาน
สารบญั เรือ่ ง หนา้ หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 ความหมาย และความสำคัญของการขยายพนั ธพ์ุ ืช.................................... 1 ความหมายของการขยายพันธ์พุ ชื ................................................................................................. 1 ความสำคญั ของการขยายพนั ธุ์พืช................................................................................................. 1 วตั ถุประสงค์ของการขยายพันธุ์พชื ............................................................................................... 2 ประโยชน์ของการขยายพนั ธพ์ุ ชื .................................................................................................... 2 ใบงานหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ความหมาย ความสำคัญและประโยชนข์ องการขยายพันธ์พุ ืช.. 4 หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 2 ประเภทของการขยายพนั ธุพ์ ืช.................................................................... 5 ประเภทของการขยายพันธพ์ุ ืช...................................................................................................... 5 ตัวอย่างการขยายพันธ์ุพืชชนิดตา่ ง ๆ .......................................................................................... 5 ใบงานหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 แผนผังมโนทศั น์ เรอ่ื ง ประเภทของการขยายพันธุ์พืช...................... 7 หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 3 เครื่องมอื ท่ีใชใ้ นการขยายพันธ์ุพืช.............................................................. 8 วสั ดทุ ใ่ี ช้ในการขยายพนั ธุ์และปลกู พืช.......................................................................................... 8 อปุ กรณ์ใชใ้ นการขยายพันธุ์พืช..................................................................................................... 9 เคร่อื งมอื ท่ีใช้ในการขยายพนั ธ์ุพชื ................................................................................................. 10 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 4 การขยายพนั ธพ์ุ ชื ด้วยการเพาะเมล็ด.......................................................... 11 ความหมายการขยายพนั ธุ์พชื ด้วยการเพาะเมลด็ .......................................................................... 11 ขน้ั ตอนการเพาะเมลด็ ................................................................................................................... 11 ขอ้ ดแี ละขอ้ เสยี ของการขยายพนั ธ์แุ บบอาศัยเพศโดยใช้เมล็ด...................................................... 15 บทปฏิบตั ิการท่ี 4 เร่ือง เทคนิคการขยายพนั ธุด์ ว้ ยเมล็ด.............................................................. 16 หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 5 การขยายพันธ์พุ ืชด้วยวิธีการตัดชำ (Cutting)............................................ 18 ความหมายการขยายพันธ์พุ ชื ดว้ ยวธิ กี ารตดั ชำ(Cutting).............................................................. 18 ชนดิ ของการตัดชำ........................................................................................................................ 18 ข้อดีขอ้ เสียของการขยายพันธุ์ดว้ ยการตดั ชำ................................................................................ 22 บทปฏิบัติการท่ี 5 เรื่อง เทคนิคการปกั ชำ.................................................................................... 23 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 6 การขยายพันธุ์พชื ดว้ ยวธิ ีการตอนก่ิง........................................................... 24 ความหมายการขยายพนั ธุ์พืชดว้ ยวิธกี ารตอนกง่ิ .......................................................................... 24 อุปกรณ์ทใี่ ชใ้ นการตอนก่งิ ............................................................................................................ 24 ประเภทการตอนก่ิงที่นิยม............................................................................................................ 24 ข้อดีข้อเสยี ของการตอนกิ่ง............................................................................................................ 32 บทปฏบิ ัตกิ ารที่ 6 เรื่อง เทคนิคการตอนก่งิ .................................................................................. 33
เรื่อง หนา้ หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 7 การขยายพนั ธพ์ุ ืชดว้ ยวธิ ีการตดิ ตา............................................................. 34 ความหมายการขยายพันธพุ์ ชื ดว้ ยวธิ กี ารติดตา............................................................................. 34 การเลือกตน้ ตอและก่ิงพันธด์ุ ี........................................................................................................ 34 ประเภทของการตดิ ตา.................................................................................................................. 34 หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 8 การขยายพันธุพ์ ืชด้วยวธิ กี ารต่อก่ิง และทาบก่งิ .......................................... 38 การขยายพันธุพ์ ืชดว้ ยวธิ ีการต่อกิ่ง................................................................................................ 38 การขยายพนั ธุ์พชื ดว้ ยวิธีการทาบก่งิ ............................................................................................. 41 ประโยชนท์ ีไ่ ดร้ ับจากการทาบกิ่ง................................................................................................... 43 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 9 การขยายพันธ์พุ ืชด้วยวธิ กี ารเพาะเลยี้ งเนอ้ื เยื่อพืช...................................... 44 ความหมายการขยายพันธุ์พชื ด้วยวิธีการเพาะเล้ียงเน้ือเย่ือพชื ..................................................... 44 ประโยชน์ของการเพาะเลย้ี งเนือ้ เยอื่ พชื ........................................................................................ 44 ขอ้ จำกดั สำหรบั การขยายพนั ธุด์ ว้ ยเทคนคิ การเพาะเลยี้ งเนื้อเย่ือ................................................. 45 เอกสารอ้างองิ .............................................................................................................................. 46
~1~ หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1 ความหมาย และความสำคัญของการขยายพนั ธพุ์ ืช ในชีวิตประจำวันของมนุษย์จะมีส่วนสัมพันธ์กับพืชเป็นอย่างมาก จึงมีความต้องการพืชในปริมาณมาก การขยายพันธพ์ุ ชื จึงเป็นการเพ่มิ จำนวนตน้ พืชดว้ ยวธิ ีการต่าง ๆ เพ่ือการเพาะปลูกหรือใชป้ ระโยชน์อื่น ๆ และ เป็นขั้นตอนพื้นฐานของการเกษตร ซึ่งพืชแต่ละชนิดมีวิธีการขยายพันธุ์ที่ได้ผลดีที่สุดเพื่อการดำรงพันธุ์ตาม ธรรมชาติ โดยในอดีตมนุษย์จะขยายพันธุ์พืชด้วยเมล็ด ต่อมามีการพัฒนาเป็นการขยายพันธุ์แบบไม่ใช้เพศ และมกี ารปรบั ปรุงพนั ธุ์ด้วยวธิ ีมาตรฐาน (Conventional Breeding) ซ่งึ ตอ้ งใชเ้ วลานานและมโี อกาสน้อยท่ีจะ ได้พันธด์ุ ี แตใ่ นยคุ โลกาภวิ ตั นน์ ว้ี ทิ ยาศาสตรก์ า้ วหน้าขึ้นมกี ารพฒั นาอปุ กรณ์ต่าง ๆ เชน่ ระบบการใหน้ ้ำ ระบบ การรักษาความสดของกิ่งพืช มีการค้นพบฮอร์โมนเร่งราก มีการพัฒนาระบบและวิธีการขยายพันธุ์ เช่น การ ขยายพันธุ์ด้วยวิธีการเพาะเลี้ยงเนื้อเย่ือ การค้นหาต้นตอที่มีคุณสมบัติต้านทานต่อโรคและแมลง ประกอบกับ เทคโนโลยสี ารสนเทศกา้ วหนา้ ข้อมูลข่าวสารตา่ ง ๆ กระจายไปทว่ั โลก จงึ มโี อกาสพัฒนาความรูต้ า่ ง ๆ ไดก้ ว้าง ขึ้น ฉะนั้นนักขยายพันธุ์พืชจำเป็นต้องรู้วิธีการขยายพันธุ์พืชที่เหมาะสม และเลือกขยายพันธุ์จากต้นที่มี คุณลักษณะตามที่ต้องการ พร้อมกันนั้นจำเป็นจะต้องมีการพัฒนาสายพันธุ์ใหม่เพื่อแข่งขันในตลาดโลก ถ้า เกษตรกรหรือบุคคลทั่วไปมีความรู้ในการขยายพันธุ์พืชก็สามารถลดต้นทุนในการผลิต และเพิ่มรายได้ โดยไม่ ต้องซ้ือหาพนั ธ์มุ าปลูก และเปน็ การอนุรักษไ์ ม่ให้พนั ธุพ์ ืชสญู หาย 1. ความหมายของการขยายพันธพุ์ ืช การขยายพันธ์ุพืช (Plant Propagation) เป็นการเพมิ่ จำนวนต้นที่มีอยใู่ ห้มากขน้ึ ด้วยวิธีการต่าง ๆ เพ่ือ วัตถุประสงคท์ ี่ต้องการ โดยไมน่ ำมาจากแหลง่ อื่น รวมถึงเป็นการรักษาต้นไม้ท่ีมีลักษณะพันธุ์ดีไว้ไม่ให้สูญพันธุ์ หรือปรบั ปรงุ คณุ ภาพดา้ นลักษณะ และคุณสมบตั ใิ หด้ ยี ิง่ ขึน้ ไป โดยสามารถขยายพันธ์ุดว้ ยการใชเ้ พศ และไม่ใช้ เพศ 2. ความสำคญั ของการขยายพันธ์ุพชื พืชเป็นปัจจัยสี่ในการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิต และมนุษย์ ซึ่งเป็นปัจจัยสี่ที่สำคัญของมนุษย์ ได้แก่ อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย ยารักษาโรค นอกจากนั้น พืชยังเป็นสิ่งที่มีความสำคัญคือ ช่วยให้อากาศที่ บริสุทธิ์ และยังเป็นที่ให้ความร่มรื่นแก่มนุษย์ ดังนั้นจึงมีความจำเป็นอย่างมากในการเพิ่มจำนวนพืชให้มี ปริมาณทเี่ พียงพอกบั ความต้องการ โดยส่วนมากจะทำการขยายพันธุ์พืชด้วยวธิ ีการใช้เมล็ด โดยมีธรรมชาติเป็นตัวช่วย แต่มีบ้างที่มนุษย์ และสัตว์เป็นตัวช่วยในการขยายพันธุ์ เช่น การเก็บเมล็ดพันธุ์เพื่อใช้เป็นพันธุ์ในการปลูกฤดกู าลต่อไป ปัจจัยส่ี เรมิ่ ขาดแคลน ไม่สามารถใหพ้ ชื ขยายพันธด์ุ ้วยธรรมชาติได้ จงึ ตอ้ งมกี ารขยายพันธดุ์ ว้ ยวิธีอนื่ ๆ
~2~ 2.1 งานอาชีพเกษตรทางพืชทีต่ ้องมกี ารขยายพันธุพ์ ืชเข้ามาเกย่ี วข้อง ไดแ้ ก่ 1) สวนผลไม้ ตอ้ งมกี ารขยายพนั ธพ์ุ ืช เพ่ือซ่อมแซมตน้ ทต่ี ายขยายจำนวนใหม้ ากขน้ึ หรืออาจ ทำเพื่อจำหน่ายพันธุ์ งานขยายพันธุ์พืชด้านนี้มี การตอนกิ่ง การทาบกิ่ง การติดตา การปักชำ การแบ่ง การ แยก ตลอดจนการเพาะเมล็ด ถา้ หากขยายดว้ ยตนเองไม่ไดก้ ็ตอ้ งซ้ือดว้ ยราคาแพงทำให้เพมิ่ ตน้ ทุนขึ้น ฯลฯ 2) พชื ไร่ ต้องมกี ารผสมพันธุเ์ พอ่ื ใหเ้ กิดพนั ธุ์ใหม่ ๆ และการเพาะเมลด็ เปน็ ตน้ 3) ไม้ดอกไม้ประดับ การขยายพันธุ์พืชยิ่งสำคัญมากซึ่งมีทั้งการเพาะเมล็ด การปักชำ การ ตอน การติดตา การต่อกง่ิ ฯลฯ 2.2 ความสำคญั ของการขยายพนั ธ์พุ ืชด้านอ่ืน ๆ ไดแ้ ก่ 1) ความสำคญั ตอ่ การดำรงพนั ธุ์ของพืช การขยายพนั ธุ์โดยอาศยั เพศมกั ทำให้เกดิ การกลาย พันธุ์ ดังนั้นการที่จะคงพันธุ์พืชที่ดีไว้จึงจำเป็นที่จะต้องหาวิธีการขยายพันธุ์โดยวิธีการอื่นที่ไม่ก่อให้เกิดการ กลายพนั ธุ์ โดยการขยายพนั ธโ์ุ ดยไม่อาศยั เพศ เชน่ ตดั ชำ ตอนกิ่ง ตอ่ ก่ิง และทาบก่ิง เปน็ ตน้ 2) เพื่อหาพันธุ์ใหม่ที่ดีกว่าเดิม เช่น การขยายพันธุ์โดยอาศัยเพศ หรือใช้เมล็ดเพาะปลูก ถึงแม้จะทำใหม้ โี อกาสกลายพันธไ์ุ ดม้ าก แต่การกลายพนั ธ์อุ าจได้พนั ธ์ใุ หม่ท่ีมีลักษณะดีกว่าเดิม เช่น ลำไยพันธ์ุ ต่าง ๆ ที่ปลูกในภาคเหนือ ซึ่งเป็นพันธุ์ที่นำมาจากประเทศจีน ต่อมามีการกลายพันธุ์เกิดขึ้นทำให้ได้ลักษณะ พนั ธุ์ใหมท่ ่มี ีคณุ ภาพดกี วา่ พนั ธเุ์ ดมิ 3) ความสำคัญต่ออาชีพเกษตร อาชีพเกษตรมีความผูกพันกับการขยายพันธุ์พืชอยู่ ตลอดเวลา โดยเฉพาะสาขาพชื ไมว่ า่ จะมีอาชีพปลูกพชื นดิ ใด จะต้องเก่ียวขอ้ งกับการขยายพนั ธุเ์ พื่อปริมาณอยู่ ตลอดเวลา จึงควรอย่างยิ่งที่เกษตรกรสาขาพืชจะเรียนรู้หลักการและวิธีการขยายพันธุ์พืชที่ถูกต้อง และ เหมาะสมเพ่ือช่วยการประกอบอาชพี การเกษตรให้ประสบความสำเร็จและมีประสิทธภิ าพย่ิงข้ึน 3. วัตถปุ ระสงค์ของการขยายพนั ธพ์ุ ชื 1. เพื่อทวหี รือเพม่ิ จำนวนตน้ พชื ให้มากขึ้น 2. เพ่ือทีจ่ ะคงพนั ธุเ์ ดมิ ไว้ 3. เพอ่ื ปรับปรงุ พนั ธุพ์ ืช ทำใหไ้ ด้พนั ธพ์ุ ชื ใหม่ ๆ 4. เพือ่ หาพนั ธ์ุทีด่ ี ทนทานต่อโรคและเหมาะสมต่อสภาพแวดลอ้ ม 4. ประโยชนข์ องการขยายพนั ธพุ์ ชื 1. ชว่ ยเพม่ิ ปริมาณพชื ใหไ้ ดจ้ ำนวนมากและรวดเร็วกวา่ การขยายพนั ธุใ์ นธรรมชาติ 2. ได้ต้นพืชใหม่ที่มีลักษณะตรงตามความต้องการและแข็งแรง ทนต่อโรคและแมลง เช่น การทาบกิ่ง หรือเสียบยอดที่ใช้ต้นตอที่แข็งแรงทนต่อสภาพแวดล้อม แต่ยอดหรือกิ่งพันธุ์จะเป็นพันธุ์ที่แข็งแรงตรงตามท่ี ตอ้ งการ 3. รกั ษาพันธ์ดุ ขี องสายพันธ์ุไว้ โดยการขยายพันธด์ุ ว้ ยการไมใ่ ชเ้ พศ 4. ย่นระยะเวลาในการคัดเลือกและปรับปรงุ พันธพ์ุ ืช
~3~ 5. ใช้แก้ไขปัญหาของโรคพืชของชนิดได้ เช่น การเสียบยอด เสียบกิ่งป้องกันโรคโคนเน่าของพืชบาง ชนิด 6. ใชซ้ ่อมแซมตน้ ไม้ทไ่ี ด้รบั การเสยี หาย เช่น การเสยี บกง่ิ เสียบยอด 7. นอกจากน้ี ยงั สามารถทำเปน็ อาชพี หรืออาชีพเสริม 5. สรุป การขยายพันธุ์พืช หมายถึง “การทวีจำนวนต้นพืชให้มีมากกว่าเดิม แต่มิได้รวมถึงการเพิ่มจำนวนตน้ พืชด้วยวธิ ีการนำมาจากที่อื่น”การขยายพันธุพ์ ืชอาจจะกระทำเพื่อคงพันธุ์ของต้นพืชชนดิ ใดชนิดหนึ่งท่ีเห็นว่า เป็นประโยชน์ไว้ เพอื่ เปน็ ประโยชน์ต่อความเปน็ อยู่ของมนุษย์ ดังนัน้ การขยายพันธุ์พืชจึงต้องกระทำโดยมีการ ควบคุมที่ถูกต้อง เลอื กขยายพนั ธ์ุเฉพาะพืชทเ่ี ปน็ ประโยชน์ต่อมนุษย์ หรอื พชื ทอ่ี าจจะมปี ระโยชนใ์ นอนาคต
~4~ ใบงานหน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 เรอ่ื ง ความหมาย ความสำคัญและประโยชนข์ องการขยายพนั ธ์พุ ชื 1. จงบอกความหมายของการขยายพนั ธพุ์ ืช 2.อธบิ ายความสำคญั ของการขยายพันธพ์ุ ชื 3. บอกประโยชน์ที่ไดจ้ ากการขยายพันธ์พุ ืชมาอย่างนอ้ ย 3 ข้อ
~5~ หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 2 ประเภทของการขยายพันธพ์ุ ชื 1. การขยายพันธุ์พชื แบ่งออกเป็น 2 ประเภทดังน้ี 1.การขยายพันธุ์พืชแบบอาศัยเพศได้แก่ การเพาะเมล็ด เป็นการขยายพันธุ์โดยใช้ส่วนของเมล็ดท่ี เกดิ จากการผสมเกสรระหวา่ งเกสรเพศผู้และเกสรเพศเมีย โดยนำมาเพาะในวสั ดเุ พาะ เช่น ทรายหยาบ แกลบ ดำ ปุ๋ยคอก และดิน ตามอตั ราส่วนทีเ่ หมาะสม 2.การขยายพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศเป็นการขยายพันธุ์พืชด้วยการใช้ส่วนต่างๆ ของพืช ได้แก่ ราก ลำ ต้น ใบ โดยส่วนต่างๆ ของพืชเหล่าที่สามารถเกิดราก และเจริญเติบโตเป็นต้นพืชได้ การขยายพันธุแบบไม่ อาศยั เพศ เชน่ การปักชำกิง่ การตอนกง่ิ การติดตา การทาบก่ิง เสยี บยอด และการเพาะเลยี้ งเน้อื เยอื้ 2 ตวั อย่างการขยายพนั ธ์ุพืชชนิดต่าง ๆ 1. ตัวอยา่ งวธิ ขี ยายพนั ธุ์พืชไร่ สามารถแบ่งวิธกี ารขยายพันธอ์ุ อกได้ ดงั น้ี 1. การเพาะเมล็ด ได้แก่ ถั่วลิสง ถั่วเขียว ถั่วเหลือง ข้าวต่าง ๆ ข้าวโพด ข้าวฟ่าง ข้าวสาลี ฝ้าย ละหุง งา ปอแกว้ ไทย ยาสบู เป็นต้น 2. การตัดชำ ไดแ้ ก่ มนั เทศ มนั สำปะหลัง อ้อย 2. วิธีการขยายพนั ธ์ุไม้ผล สามารถแบ่งวิธกี ารขยายพันธุอ์ อกได้ ดงั นี้ 1. การเพาะเมล็ด ได้แก่ ส้ม มะพรา้ ว มะละกอ มงั คุด นอ้ ยหนา่ ฝร่ัง ขนนุ เปน็ ตน้ 2. การตัดชำ ได้แก่ องุน่ สม้ ชมพู่ ขนุน สาเก มะตมู เป็นตน้ 3. การตอน ได้แก่ เงาะ ส้มเขียวหวาน ทุเรียน ละมุด ขนุน มะม่วง สาเก องุ่น ชมพู่ มะยม มะขวดิ มะกรูด มะนาว ฝรง่ั เปน็ ตน้ 4. เพาะเลย้ี งเน้อื เยื่อ ไดแ้ ก่ กลว้ ย มะละกอ แก้วมังกร เป็นตน้ 3. วธิ ีขยายพันธ์พุ ืชผัก สามารถแบง่ วธิ กี ารขยายพันธ์ุออกได้ ดงั นี้ 1. การเพาะเมล็ด ไดแ้ ก่ พริกชนดิ ต่าง ๆ บวบชนิดตา่ ง ๆ ถว่ั ชนิดต่าง ๆ กระเพรา กระเจ๊ียบ กะหล่ำดอก กะหล่ำปม มะเขือ มะระ ผักชี ผกั กาด ผกั กาดหอม ผักบงุ้ จนี ฟักทอง ตัง้ โอ๋ ค้ึนฉา่ ย กยุ้ ช่าย หอม ใหญ่ คะนา้ บที แครอท เป็นตน้ 2. การตดั ชำ ได้แก่ ผักหวาน โหระพา ผกั บุ้งไทย พรกิ ไทย ดปี ลี ชะอม ชะพลู สะระแหน่ มนั เทศ มะเขอื เทศ เป็นต้น 3. การแบ่งและแยก ได้แก่ หอม กระเทียม ตะไคร้ มันเทศ มันฝรั่ง เผือก ขมิ้น ขิง ข่า กระชาย
~6~ 4. วิธขี ยายพันธ์ไุ ม้ดอกไม้ประดบั สามารถแบง่ วิธีการขยายพันธุอ์ อกได้ ดงั นี้ 1. การเพาะเมล็ด ได้แก่ สร้อยทอง บานไม่รู้โรย หงอนไก่ ดาวกระจาย ทานตะวัน ผีเสื้อ เทียน เบญจมาศ บานชื้น ลิ้นมังกร แพงพวยฝั่ง กาหลง รำเพย จำปี ฉัตรทอง ตาเสือ พวงทอง พวงชมพู ทองอุไร ปริก โปรง่ ฟา้ สน ชา ฤๅษผี สม ยี่เข่ง โยธะกา ล่ันทม กล้วยไม้ วาสนา ก้ามก้งุ จนั ผา ชงโค ดาวเรอื ง พี ทูเนีย ทองกวาว เลบ็ มือนาง นมแมว แคแสด สุพรรณกิ าร์ สนฉัตร เป็นต้น 2. การตัดชำ ได้แก่ เล็บครุฑ โกสน จันทร์ฉาย แสงจันทร์ หมากผู้หมากเมีย ไฮเดรนเยีย ลั่นทม ช้องนาง กุหลาบ ลดาวัลย์ ช่อม่วง โมกข์บ้าน สร้อยอินทนิล เทียนหยด ผกากรอง เสาวรส ดอนย่า หางกระรอก นางแย้ม หลิว รำเพย ชบา ชมนาค ใบละบาด คริสต์มาส หูกระต่าย หูปลาช่อน เฟื่องฟ้า คริสตม์ าส แพรเซยี่ งไฮ้ เบญจมาศ เสือโครง่ โพธแิ์ ดง เปน็ ต้น 3. การตอน ได้แก่ แปรงขวด สร้อยอินทนิล อรพิม เสาวรส รสสุคนธ์ การะเวก พวงชมพู ตีนตุ๊กแก พวงแสด พวงหยก บานบุรีหอม มณฑา เข็มต่าง ๆ จำปา จำปี ราตรี นางแย้ม รำเพย แก้ว ประทัด พุดตาน ราชาวดี สายหยุด ประยงค์ สนต่าง ๆ สายน้ำผึ้ง โศกเหลือง ซองออฟอินเดีย ไทรต่าง ๆ ลิ้นกระบือ ยางอินเดีย พุด ดอนย่า ชำมะนาค มะลวิ ลั ย์ เป็นต้น 4. การตดิ ตาตอ่ กงิ่ ได้แก่ กหุ ลาบ โกสน เล็บครฑุ พู่ระหงษ์ ชบา เฟอื่ งฟา้ เปน็ ตน้ 5. การแบ่งและแยก ได้แก่ สรอ้ ยทอง ซอ่ นกลนิ่ ต่าง ๆ เยอร์บรี า่ รกั เร่ ประทัด เฟิรน์ บางชนดิ บอน เตยหอม หญา้ ซมุ้ กระตา่ ย วา่ นตา่ ง ๆ ออ้ ลาย พุทธรกั ษา หมากแดง หมากเหลือง บวั ฝรงั่ จ๋งั กล้วยไม้ดิน ปรงทะเล ปรงญี่ปุ่น ปรงจีน โปร่งฟ้า มหาหงส์ กระดาษ ธรรมรักษา ปาล์มบางชนิด ขิงแดง กาหลง ก้ามกั้ง กา้ มก้งุ กลว้ ยบวั สวรรค์ ศรนารายณ์ สับปะรดแกว้ พลับพลึง กลว้ ยไมส้ กุลหวาย เป็นตน้ 6. การเลี้ยงเนื้อเยื่อ ได้แก่ หน้าวัวใบ อโกนีมา กล้วยไม้ แคคตัส กุหลาบ สาวน้อยประแป้ง เป็นต้น
~7~ ใบงานหนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 2 แผนผังมโนทัศน์ เรือ่ ง ประเภทของการขยายพันธ์พุ ชื
~8~ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เคร่ืองมอื ทใ่ี ช้ในการขยายพนั ธุพ์ ืช 1 วัสดุที่ใช้ในการขยายพันธุแ์ ละปลูกพชื 3.1 คณุ สมบัตขิ องวัสดปุ ลูก มดี ังน้ี 1. มีความคงตัวและแน่นเพียงพอสำหรับยดึ กิง่ ชำหรือเมล็ดในชว่ งการออกรากและการเพาะ เมล็ดแตค่ วรมีนำ้ หนกั เบา 2. มคี วามโปร่ง มีการระบายนำ้ และการถา่ ยเทอากาศได้ดีแต่สามารถเกบ็ รักษาความชื้นได้ดี ด้วย 3. มธี าตอุ าหารเพียงพอท่พี ืชจะใช้ประโยชนไ์ ดน้ านพอสมควร 4. ไมเ่ ปน็ กรดหรอื ด่างเกนิ ไป หรือมีสารอ่นื ๆ ที่เป็นพษิ ต่อพืช 5. ไมม่ ีโรค ศตั รพู ืชท่อี าศัยอยู่ในดนิ และเมล็ดวัชพืช 6. มีราคาถูกและสามารถหาไดง้ ่าย 3.2 วสั ดุชนิดต่าง ๆ ที่ใชใ้ นการขยายพันธ์ุ และปลกู ไม้กระถาง 1. ดิน (Soil) โครงสร้างของดินมีหลายประเภท เช่น ทราย ดินร่วน ดินตะกอนและดิน เหนยี ว ประกอบ ด้วยแร่ธาตุอาหารที่พชื ตอ้ งการใช้อยา่ งครบถ้วน 2. ทราย (Sand) ได้มาจากการผุพังของหนิ ชนิดต่าง ๆ กลายเปน็ หินก้อนเล็ก ๆ จงึ มีน้ำหนัก มาก มคี วามอย่ตู ัวสงู ระบายน้ำได้ดี ทรายทีใ่ ช้เป็นทรายหยาบเหมาะใช้ผสมวสั ดปุ ลกู 3. พีท (Peat) ได้จากซากพืชที่อยู่ในน้ำในสภาพที่สลายตัวไม่สมบูรณ์ อุ้มน้ำได้มากถึง 15 เทา่ ของน้ำหนกั แหง้ มคี วามเป็นกรดสงู มีธาตอุ าหารอย่นู อ้ ยหรอื ไม่มเี ลย ใชเ้ พาะเมล็ดทางพืชสวน ราคาสงู 4. สแฟกนัมมอส (Sphagnum Moss) เป็นซากพืชที่ขึ้นตามหนองบึงหรือส่วนที่ยังมีชีวิต อยมู่ าทำให้แหง้ มีนำ้ หนักเบา อุ้มนำ้ ได้สงู ถึง 10 - 20 เท่า มีแรธ่ าตอุ าหารน้อย นยิ มใชป้ ลกู กล้าไม้เล็ก ๆ หรือ เกบ็ ความชื้นให้กับรากและกิง่ ขณะทำการขนสง่ 5. เวอร์มิคูไลท์ (Vermiculite) เป็นแร่ไมก้าที่ขยายตัวเพิ่มขึ้นจากการผ่านความร้อน มีน้ำหนักเบา ไมล่ ะลายน้ำ สามารถอุ้มน้ำได้ 3 - 4 แกลลอนตอ่ ลูกบาศก์ฟุต ประกอบด้วยธาตแุ มกนีเซียมและ โพแทสเซยี มมากพอท่จี ะให้กับพืชทุกชนิด ทีม่ จี ำหนา่ ยอยมู่ ีหลายเกรด ตามขนาดเส้นผา่ ศูนย์กลาง 6. เพอร์ไลท์ (Perlite) เป็นซิลิกาสีขาวอมเทาได้มาจากลาวาของภูเขาไฟ ผ่านการบดและ สภาพความร้อนสูงถึง 760 องศาเซลเซียส ขยายตัวพองเหมือนฟองน้ำ มีน้ำหนักเบา สามารถอุ้มน้ำได้ 3-4 เทา่ ไมม่ ีธาตอุ าหาร 7. พมั มิซ (Pumice) ประกอบด้วยซลิ ิคอนไดออกไซด์และอะลูมิเนียมออกไซด์เป็นส่วนมาก ช่วยทำให้วสั ดชุ ำโปร่งขึ้น ระบายนำ้ ได้ดี
~9~ 8. ร็อควูล (Rockwool) เป็นวัสดุที่ได้มาจากการหลอมหินชนิดต่าง ๆ ที่อุณหภูมิ 1,200 องศาเซลเซียส แล้วนำมาปั่นจนเป็นเส้นใย มีความสามารถดูดน้ำได้ปริมาณมากมีการนำมาใช้หลาย รูปแบบเชน่ แท่ง ชิ้น เม็ด แผ่น เปน็ สีเ่ หล่ียมลูกบาศก์ 9. เปลือกไม้ชิ้นเล็ก ๆ และขี้เลื่อย (Shredded Bark and Wood Shavings) ราคาไม่ แพง นำ้ หนักเบา การสลายตวั ช้า ควรหมกั ประมาณ 10-14 สปั ดาห์ ก่อนนำมาใช้ 10. พลาสติกสังเคราะห์ (Synthetic Plastic Aggregates) หรือเม็ดโฟม (Urea Formaldehyde) สามารถนำมาใช้ช่วยเพิ่มการระบายน้ำและอากาศ นอกจากนี้ยังลดความหนาแน่นของ เครื่องปลกู มีน้ำหนักเบา 11. ปยุ๋ หมกั (Compost) ไดม้ าจากอินทรียวัตถุที่หมักสลายตัวแล้วสว่ นใหญ่ได้มาจากใบไม้ ช่วยเพ่ิมฮิวมัสทำให้ดนิ อุม้ น้ำไดด้ ขี นึ้ 12. ขุยมะพร้าว (Coconut Dust) น้ำหนักเบา สามารถอุ้มน้ำได้มาก ถ่ายเทอากาศดี มีความยืดหยุ่นตัวดีไม่อัดแน่นง่าย มีธาตุโพแทสเซียมอยู่ด้วย ใช้เป็นวัสดุตอนกิ่งและผสมกับทรายหยาบเป็น วสั ดุเพาะเมลด็ ไดด้ ี 13. แกลบดิบหรือเปลือกข้าว น้ำหนักเบา หาได้ง่าย ราคาถูก มีการระบายน้ำและการ ถา่ ยเทอากาศไดด้ ี จึงนยิ มนำมาใช้เปน็ ส่วนผสมของวสั ดุปลูก 14. ถ่านแกลบ หรือขี้เถ้าแกลบ (Paddy Huskcharcoals) ได้จากการเผาแกลบดิบใน สภาพเผาไหม้ยังไม่สมบูรณ์เต็มที่ มีน้ำหนักเบา สามารถอุ้มน้ำได้ดี มีความเป็นด่างสูงควรล้างก่อนใช้ นิยม นำมาใชผ้ สมกบั ทรายหยาบเปน็ วัสดตุ ัดชำ ถา้ ใช้ในกระบะพน่ หมอกสามารถนำมาใชไ้ ด้เลย 2. อุปกรณใ์ ช้ในการขยายพันธ์ุพืช 1. กระบะปักชำหรือกระบะเพาะ มีผนังทึบทั้ง 4 ด้าน ขนาดกว้าง 1 เมตร สูง 50 เซนติเมตร ยาวไม่ จำกัด ใช้ปกั ชำพืชทอี่ อกรากได้งา่ ย เช่น โกสน เลบ็ ครุฑ ระฆังทอง ฯลฯ นยิ มนำไปตง้ั ไว้ท่ีมแี สงรำไร ประมาณ 30 - 50 % ยงั ใชเ้ พาะเมล็ดพชื บางชนดิ เชน่ มะมว่ ง ทเุ รียน ขนนุ มังคดุ ฯลฯ 2. กระบะเก็บความชื้น มีลักษณะปิดด้วยกระจกหรือพลาสติก ด้านบนต้องมีแสงรำไร มีช่องระบาย อากาศ ใช้สำหรับเป็นที่พักฟืน้ พันธ์ุไม้ทีไ่ ด้จากการขยายพันธุ์ ด้วยวิธีต่าง ๆ มาใหม่ ๆ ในปัจจุบนั การต่อกิ่งพืชบางชนิดแล้วจะใช้ถุงพลาสติกครอบส่วนของกิ่งพันธุ์ดีไว้ทั้งหมดแล้วรัดด้วยยาง เพื่อรักษา ความชื้นไว้ 3. แปลงพน่ หมอก ทำเป็นแปลงอยูก่ ลางแจง้ ไมม่ ีหลังคาพรางแสงแดด แต่อาจจะมีหลังคาพลาสติกใส เพ่ือปอ้ งกนั กิ่งชำเนา่ ในฤดูทม่ี ฝี นตกชุก อปุ กรณท์ ีส่ ำคญั คือต้องมีกระบะปกั ชำ และมีเครอ่ื งบังคับให้น้ำพ่นเป็น หมอกละอองเป็นระยะ ๆ ตามความต้องการอยา่ งอัตโนมัติ ไมต่ ้องเสยี เวลาปิด - เปิด ใชส้ ำหรับปักชำกิ่งท่ีมีใบ ตดิ 4. ถงุ พลาสติก มี 2 ชนิด คือ ถุงพลาสตกิ ชนิดใส และถุงพลาสตกิ ชนดิ สดี ำ ซง่ึ มหี ลายขนาดด้วยกัน 5. พลาสตกิ ใช้ในการติดตา การตอน การทาบก่ิง การตอ่ ก่งิ ใชท้ ั้งในรปู เป็นแผน่ และเปน็ ถงุ
~ 10 ~ 6. ภาชนะทใ่ี ชป้ ลกู พันธไ์ุ ม้ เชน่ กระถางดินเผา กระถางพลาสติก ถงุ ดำ กระบอกไม้ไผ่ ฯลฯ 7. เชือกฟางและลวด การขยายพันธุ์บางวิธี เช่น การตอน การต่อกิ่ง และการทาบกิ่งจำเป็นต้องใช้ เชอื กฟางหรอื ลวด เพอ่ื ให้เกิดความกระชับแนน่ 8. ถุงกระดาษ ใช้ในการต่อกิ่งเพอ่ื หมุ้ ยอดปอ้ งกนั แสงแดด 3. เครือ่ งมือท่ใี ช้ในการขยายพันธุ์พืช 1. กรรไกรตัดกิ่ง ใช้สำหรับตัดแต่งกิ่งไม้ขนาดเล็ก ตัดใบพืชที่แห้ง เป็นโรคทิ้ง ตัดแต่งต้นไม้ที่มีใบหนาเกินไป เมอื่ ใชแ้ ลว้ ควรเช็ดทำความสะอาดแล้วทาดว้ ยน้ำมันเพ่ือกันสนิมและหยอดนำ้ มันสปริงขากรรไกร เก็บเข้าที่ให้ เรยี บรอ้ ย กรรไกรตดั ก่ิง ท่ีมา : www.kanokproduct.com/ 2. มีดติดตาตอ่ ก่งิ หรอื คตั เตอร์ ใช้สำหรับเฉือนหรือปาดแผ่นตา และเตรียมต้นตอสำหรบั การติดตา ต่อกิ่ง และทาบกิ่ง มีด ตดิ ตาตอ้ งคมมาก มฉิ ะนน้ั จะทำให้แผลช้ำ สว่ นทา้ ยดา้ มมีดใชใ้ นการแงะเผยอเปลือก หรอื ลอกเปลือกออก ทำ จากเขาของสัตว์ หรอื ทองเหลอื ง มดี ติดตาตอ่ กิ่ง 3. เล่ือยตดั แตง่ ก่ิง ทมี่ า : http://www.tools-thailand.com/ ฟนั เลื่อยหา่ งๆ มีขนาดเล็ก ใช้สำหรบั ตดั กง่ิ หรอื แตง่ ก่ิงไม้ขนาดใหญ่ เล่อื ยตดั แตง่ กิ่ง ทมี่ า : http://www.tools-thailand.com/
~ 11 ~ หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 4 การขยายพันธ์ุพืชด้วยการเพาะเมลด็ การเพาะเมล็ด หมายถึง เป็นการขยายพันธุ์โดยใช้ส่วนของเมล็ดที่เกิดจากการผสมเกสรระหวา่ งเกสร เพศผแู้ ละเกสรเพศเมีย ขน้ั ตอนการเพาะเมล็ด 1. การเพาะเมล็ดในภาชนะเพาะ เปน็ การเตรยี มกล้าพชื เพื่อใชป้ ลูกก่อนที่จะปลูกในแปลงหรือในกระถางถาวร โดยเพาะเมล็ด ในเนื้อที่ แคบ ๆ จนกระท่ังตน้ พชื ทีเ่ พาะหรือทเ่ี รียกว่า “ ตน้ กล้า ” มขี นาดโตพอถึงจะทำการย้ายปลูกการเพาะเมล็ดใน ภาชนะเพาะ เป็นการเพาะเมล็ดที่ทำอยู่ในภาชนะที่สามารถเคลื่อนย้ายได้ง่าย เช่น อาจเพาะในกระบะ ใน กระถาง หรือ ภาชนะอื่นใดที่มีคุณสมบัติทำนองเดียวกันก็ได้ เป็นวิธีที่มักใช้ในงานปลูกพืชที่ต้องการต้นพืช จำนวนไม่มากนัก เช่น ในการเพาะจำหน่ายพันธ์ุไม้ การปลกู ผกั สวนครัวหลงั บ้าน การปลูกไมด้ อกไม้ประดับใน บริเวณบ้าน หรืออาจใช้ในการปลูกผักและไมด้ อกเพ่ือการค้า เล็ก ๆ น้อย ๆ เช่น การปลูกมะเขือเทศจำหนา่ ย ผล หรือการปลูกแอสเทอร์จำหน่ายต้น และเพื่อให้ผลผลิตทันจำหน่ายในเทศกาลปีใหม่จึงต้องเพาะล่วงหน้า ในขณะที่สภาพฟ้าฝนไม่อำนวย ซึ่งไม่สามารถจะทำการเพาะภายนอกอาคารได้ แต่จะทำได้ดีในภาชนะเพาะ เพราะสามารถจะหลบหนหี รอื ปอ้ งกันภาชนะไมใ่ หต้ ้นพชื ทเ่ี พาะได้รบั ความเสียหายได้ง่าย 1.1 อุปกรณแ์ ละวัสดุท่ีใช้มีดงั น้ี 1. ภาชนะที่ใช้เพาะ ภาชนะที่เหมาะสำหรับใช้เพาะสำหรับพืชควรมีคุณสมบัติดังนี้ คือ มี นำ้ หนกั เบา ไม่แตกหักหรือผุพังง่าย หาได้งา่ ยและมีราคาถูก ไม่เปน็ พิษต่อต้นพืชท่ีใช้เพาะ มีขนาดพอเหมาะท่ี จะหยิบยกได้สะดวก และมีรูระบายนำ้ ให้ไหลออกไดง้ ่าย 2. วัสดุที่ใช้เพาะ วัสดุที่ใช้เพาะโดยปกติ หมายถึง ดินที่ใช้เพาะเมล็ด ควรจะมีคุณสมบัติ เหมาะกบั การงอกและการเจริญของกลา้ พชื สำหรับดนิ ทม่ี ีคณุ สมบัติเหมาะสมในการเพาะเมลด็ พืช สตู รดนิ ท่ัวไปสำหรับเพาะเมล็ด มีส่วนผสม ดังนี้ ทราย 1 - 2 สว่ นโดยปริมาตร ดนิ รว่ น 1 สว่ นโดยปรมิ าตร ใบไม้ผุหรือปยุ๋ หมกั 1 ส่วนโดยปริมาตร 3. เมล็ดทจ่ี ะนำมาเพาะ ควรจะเปน็ เมล็ดที่ได้จากต้นแม่ท่แี ขง็ แรง เมลด็ ท่คี วามสมบูรณ์ดี คือ เมล็ดเต่งและมีน้ำหนักดี เป็นเมล็ดที่ไม่อยู่ในระยะพักตัว งอกได้มาก หรือมีเปอร์เซ็นต์ความงอกสูง งอกได้เร็ว และสม่ำเสมอ ไม่มีวัตถุอื่นเจือปนมากับเมล็ด เป็นเมล็ดที่ปราศจากเชื้อโรค หรือผ่านการคลุกยาฆ่าเชื้อโรค มาแลว้
~ 12 ~ 1.2 วิธีการเพาะเมลด็ ในภาชนะ 1. การบรรจุดินลงภาชนะเพาะ ถึงแม้ภาชนะเพาะจะมีรูระบายนำ้ ไว้แล้ว เพื่อให้น้ำที่ใชร้ ดมี ทางไหลออกไปได้ แต่การบรรจุดินเพาะเมลด็ ล้วน ๆ ลงในภาชนะนั้น ๆ ดินอาจไปอดุ ตันรูระบายนำ้ น้ันได้ เพื่อ ป้องกันข้อบกพร่องขอ้ นี้ การบรรจุดินจงึ ควรมีวสั ดุช่วยระบายนำ้ อีกช้ันหนึ่งกอ่ นท่ีจะถึงวัตถุท่ีใช้เพาะ สำหรับ วัสดุช่วยระบายที่นิยมกันอาจใช้เศษอิฐหัก เศษหิน หรือเศษหญ้าแห้ง เปลือกถั่วลิสง ใยกาบมะพร้าว หรือ แกลบดิบอย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้ ส่วนการบรรจุดินควรปฏิบัติดังนี้ คือ ใส่วัสดุช่วยระบายที่ก้นภาชนะเพาะสูง 1/4 - 1/2 นิ้วแล้วบรรจุดินที่ใช้เพาะให้เต็มภาชนะเพาะ ปรับหน้าดินเพาะให้เรียบและได้ระดับ และปรับให้ ระดับหน้าดินเพาะต่ำกว่าขอบภาชนะเล็กน้อย เพื่อป้องกันการชะล้างหน้าดินเนื่องมาจากรดน้ำมากเกินไป และหลงั จากปรับหน้าดนิ เรียบร้อยแลว้ ความหนาของเนอื้ ดินที่ใช้เพาะควรหนาอย่างน้อย 3 น้วิ 2. การหว่านเมล็ดภายในภาชนะเพาะ มักจะทำอยู่ 2 แบบ คือ หว่านเป็นแถว และหว่าน ทั่วไปทั้งภาชนะ ถ้าหว่านเป็นแถวมักจะวางแถวตามความยาวของภาชนะเพาะ ซึ่งถ้าเป็นกระบะเพาะขนาด 12\" x 15\" x 4\" ก็จะหว่านไดป้ ระมาณ 4-6 แถว การหวา่ นหรอื โรยเมล็ด ขั้นแรกจะโรยพอ บาง ๆ ก่อน แต่ ถ้าเห็นว่ายังบางไปก็อาจจะโรยซ้ำให้หนาขึ้นได้ ซึ่งจะช่วยให้การตกของเมล็ดสม่ำเสมอขึ้น สำหรับเมล็ดที่มี ขนาดเล็กมาก ๆ ไม่สะดวกที่จะหยิบโรยได้ง่าย ควรจะผสมกับวัสดุอื่นที่มีสีต่างไปจากดินที่ใช้เพาะ เช่น ผสม กบั ทรายหรือผงถา่ นหรือปยุ มะพร้าวปน่ ทง้ั นเ้ี พื่อสะดวกในการหวา่ นหรือโรยเมล็ด และชว่ ยให้เมล็ดไม่ตกหนา ที่หนง่ึ ทใ่ี ดมากเกนิ ไป 3. การกลบดินทบั เมล็ด โดยปกติจะใชด้ นิ ทีเ่ พาะเมล็ดน้ัน ๆ สำหรบั การกลบเมล็ดตื้นหรือลึก ขนาดไหนนั้น ขึ้นอยู่กับชนิดและขนาดของเมล็ดถ้าเป็นเมล็ดที่ต้องการแสงในการงอก ก็จะกลบแต่พอบาง ๆ แต่ถา้ เป็นเมล็ดที่ไม่ต้องการแสงในการงอก ก็จะกลบให้หนาหรือลึก แต่กไ็ มค่ วรกลบเมล็ดใหห้ นาเกิน 2-3 เท่า ของเส้นผ่านศูนย์กลางของเมล็ด และหลังจากกลบดินทับเมล็ดแล้วควรจะกดดินให้พอกระชับเมล็ด เพื่อให้ เมลด็ ได้รับความชื้นและงอกไดส้ มำ่ เสมอ จากนัน้ จึงจะรดน้ำให้ช่มุ 4. การดูแลรกั ษา การดแู ลรกั ษากลา้ พชื ในระยะแรก คือ การเปดิ ให้ต้นกลา้ ไดร้ บั แสงหลงั จาก ที่งอกโผล่พ้นผิวดิน นอกจากแสงแล้วอุณหภูมิก็มีส่วนเกี่ยวข้องกับการเจริญของกล้าพืชอีกด้วย โดยปกติ อุณหภูมิขนาดปานกลางถึงค่อนข้างต่ำจะช่วยให้กล้าพืชเจริญได้แข็งแรง การให้น้ำแก่กล้าพืชนั้นจะต้องคอย สังเกตความชื้นในแปลงเพาะและความต้องการน้ำของกล้าพืชเป็นสำคัญ โดยรักษาระดับความชื้นในแปลง เพาะให้พอเหมาะไม่มากเกินไปจนทำให้อากาศถ่ายเทในดินไม่สะดวก อันจะเป็นทางหนึ่งที่ทำให้เกิดโรคโคน เนา่ คอดนิ ระบาดไดร้ วดเรว็ การรดนำ้ กล้าพืชควรจะทำตอนเช้าหรอื ตอนบา่ ย 3 - 4 โมงเย็น 2. การเพาะเมล็ดในแปลงเพาะ การเพาะเมล็ดในแปลงเพาะ ส่วนมากเป็นการเพาะเมล็ดในฤดูกาลตามปกติ ซ่งึ มดี ินฟ้าอากาศอำนวย ฉะนั้นงานใดที่ต้องใช้กล้าจำนวนมาก ๆ จึงมักจะใช้การเพาะเมล็ดโดยวิธีนี้ ความสำเร็จของการเพาะเมล็ดใน แปลงเพาะส่วนใหญ่มักจะขน้ึ อยู่กับการเลือกสภาพพ้ืนท่ีและวธิ ีการเตรยี มแปลง สว่ นการดูแลรักษาต้นกล้านั้น สามารถทำไดง้ า่ ยในฤดูนี้
~ 13 ~ 2.1 การเลือกพ้นื ทแ่ี ละการเตรยี มแปลงเพาะ มวี ิธปี ฏบิ ตั ดิ ังนี้ 1. เลือกพื้นที่ที่มีวัชพืชขึ้นน้อย และดินมีความสมบูรณ์พอสมควร ไม่เป็นที่ที่เคยปลูกพืชอื่น มากอ่ น โดยเฉพาะพืชทเ่ี กิดโรคง่าย หรอื แมลงชอบทำลาย 2. ถางหญ้าและเกบ็ เศษวัชพืชต่าง ๆ ออกให้หมด โดยเฉพาะวชั พชื ที่มหี วั หรือเหง้า เชน่ แห้ว หมู ผักเปด็ ชนั กาด หรือหญ้าคา เปน็ ต้น 3. วางหรอื กะแปลงเพาะให้หัวท้ายของแปลงอยู่ในแนวทิศเหนือและทิศใต้ และกะให้แปลงมี ขนาดความยาว ประมาณ 6 เมตร กว้าง ประมาณ 1.20 เมตร 4. ถา้ เป็นพน้ื ท่ดี นิ เหนยี ว จะตอ้ งฟ้ืนดนิ 5. ถ้าเป็นพื้นที่ดินเหนียวจะต้องฟื้นดินตากแดดให้แห้ง การฟื้นดินควรฟื้นขึ้นเป็นรูป D เพอ่ื ใหม้ พี น้ื ทีถ่ ูกแดดไดม้ าก ซง่ึ จะชว่ ยใหด้ นิ แห้งเรว็ ขึ้น 6. เมื่อดินแห้งดีแล้วจึงค่อยย่อยดิน พร้อมกันนี้จะใส่ปุ๋ยคอกลงไป มากน้อยแล้วแต่ความ สมบูรณ์และชนิดของดิน และอาจใส่ปูนขาวเล็กน้อยเมื่อเห็นว่าดินมีฤทธิ์เป็นกรดมากเกินไป รดน้ำให้ดินชื้น จากนั้นจึงย่อยดินให้ทั่วแปลงสำหรับขนาดของดินที่ย่อยแล้ว ควรจะมีขนาดราว 1 ลูกบาศก์เซนติเมตร โดยเฉพาะใน ระดับ 11 เซนติเมตร จากผิวหนา้ ดนิ แล้วจึงแต่งดินยกเป็นรูปแปลงตามขนาดที่กะไว้ โดยให้ตัว แปลงสูงจากพืน้ ทางเดนิ ราว 15-20 เซนติเมตร 7. เพื่อความแน่ใจว่าแปลงเพาะจะไม่มีโรคหรือแมลงที่เป็นศัตรูของเมล็ดและกล้าพืชที่เพาะ จึงควรจะอบดินเสียก่อน เชน่ อาจใชส้ ารเมทลิ โบรไมด์ ในการอบฆา่ ศัตรใู นดิน เปน็ ตน้ 2.2 การหวา่ นเมล็ดในแปลงเพาะ นิยมหว่านเมล็ดทั่วแปลง แต่เนื่องจากแปลงเพาะมีขนาดกว้างจึงต้องแบ่งหว่านครั้งละซีก แปลง การหว่านถือหลักเชน่ เดียวกับการหว่านเมล็ดในภาชนะเพาะ ในกรณีที่เมล็ดมขี นาดเล็ก หรือการยอ่ ยดิน ไมล่ ะเอยี ดพอก่อนหวา่ นเมลด็ มักนิยมใชป้ ุ๋ยคอกเกา่ ๆ หวา่ นให้ท่วั แปลง แล้วรดนำ้ ให้ปุ๋ยคอกลงไปอุดช่องดิน เสียก่อน ทั้งนี้เพื่อป้องกันเมล็ดตกลงไปตามซอกก้อนดินซึ่งลึกเกินไปจนไม่อาจงอกและโผล่พ้นผิวดินได้การ หว่านเมล็ดควรจะหว่านพอบาง ๆ ก่อนแล้วจึงหว่านทบั อีกเมือ่ เห็นว่าเมลด็ ตกบางเกินไป ส่วนการกลบดินทับ เมลด็ กป็ ฏิบตั ิเชน่ เดยี วกับการเพาะเมลด็ ในภาชนะเพาะ 2.3 การทำร่มให้แก่ต้นกลา้ ในแปลงเพาะ ไม่ว่าจะเป็นการเพาะเมล็ดในภาชนะเพาะหรือเพาะเมล็ดในแปลงเพาะ จะต้องทำร่มให้แก่ กล้าที่เพาะเช่นเดียวกัน ตั้งแต่ระยะที่กล้าพืชเริ่มงอกจนกระทั่งถึงระยะย้ายปลูก ทั้งนี้เพื่อป้องกันสภาพ ธรรมชาติ เช่น ฝนแรง และแดดจัด ซึ่งกล้าพืชที่ยังออ่ น ๆ หรือเพิ่งเร่ิมงอกไมอ่ าจทนได้ การทำร่มให้แก่แปลง เพาะนโ้ี ดยหลักการ คือ เมอื่ ตน้ พชื ยังเล็กอยู่ก็จะให้แสงแตน่ ้อย คือ ให้เฉพาะเช้าหรือเยน็ ขณะที่แดดยังไม่ร้อน เกินไป แต่เมื่อต้นพืชโตขึ้นก็จะให้แสงให้มากขึ้น ๆ จนกระทั่งถึงระยะถอนย้าย ซึ่งจะไม่ให้ร่มแก่กล้าพืชเลย ท้ังนี้เป็นการช่วยให้ต้นกล้าที่จะถูกถอนย้ายปรับตัวที่จะไปอยู่สภาพแปลงปลูกใหม่ได้ดีขึ้น สำหรับการทำร่ม พรางแสงนน้ั จะใชว้ ัสดุอะไรก็ได้ที่ทบึ แสงมาวางให้สงู จากกล้าพืชพอสม ควรโดยจัดวางให้กล้าพืชได้รับแสงแต่
~ 14 ~ น้อย แต่ถ้าเป็นการให้ร่มที่ต้องการป้องกันฝนด้วยก็อาจใช้ผ้าพลาสติกที่โปร่งแสงหรือผ้าฝ้ายสีขาวทำเป็นผืน ยาวเทา่ ขนาดแปลงคลุมทบั โครงไมท้ ป่ี กั ครอ่ มแปลงเพาะอยูว่ ธิ เี ตรียมโครงไม้และผ้าคลุม 2.4 การดูแลรักษาแปลงเพาะ 1. การรดน้ำหลังจากหว่าเมล็ดใหม่ๆ ต้องรดน้ำให้ชุ่มในระยะ 7 วันแรก หลังจาก 10 วันไป แล้วควรรดนำ้ ให้น้อยลง และเมื่อต้นกล้าแกใบพอสมควร ก็ลดการให้น้ำลงอีกเพื่อป้องกนั โรคโคนเน่า (Damping off) 2. การพน่ ยา ควรพน่ ยาฆา่ แมลงและเชือ้ ราทุกๆ 7 วัน 3. การเปดิ – ปิดผา้ คลุมแปลง เมอ่ื ตน้ กลา้ เร่ิมงอกออกจากเมล็ดมีใบจริง 2-3 ใบ ควรเปิดผ้า คลมุ ในตอนเชา้ (เวลา 06.00 – 09.00 น.) และบ่าย (เวลา16.00 ไปตลอดคืน) แดดอ่อนๆตอนบา่ ยจะ ชว่ ยใหก้ ลา้ แข็งแรงมากย่ิงข้นึ และคอ่ ยๆ เพมิ่ เวลาการเปิดผา้ จนสามมารถเปดิ ทัง้ หมดได้ 4. การเร่งปุ๋ย นอกเหนือจากปุ๋ยอินทรีย์ที่ใช้ในขณะเตรียมดินเพาะแล้วนิยมใช้ปุ๋ย วิทยาศาสตรเ์ พ่ือใหต้ ้นกล้าแขง็ แรงยิ่งขน้ึ 5. การกำจัดวัชพืช ในแปลงเพาะ นิยมใช้มือถอนวัชพืชออกโดยต้องระวังอย่าให้ต้นกล้าติด ข้ึนมา 2.5 การยา้ ยกลา้ 1. ก่อนการถอนย้ายต้นกล้าควรฝึกให้ต้นกล้าทนต่อการกระทบกระเทือน โดยการลดการให้ นำ้ 2 วนั 2. ก่อนการย้ายกล้าต้องรดนำ้ ทิ้งไว้อยา่ งน้อย 30 นาที เพื่อให้ดนิ ชุ่มทั่วถึงกอ่ น เมื่อถอนราก ของตน้ กล้าจะได้ไม่เกิดการเสียหาย 3. ในการถอนต้นกล้าถ้าเป็นไปได้ควรใช้ไม้หรือช้อนปลูกแซะต้นกล้าขึ้นมาให้มีดินติดมาก ท่ีสดุ 4. เม่อื ถอนย้ายต้นกลา้ แล้ว ควรเก็บไวใ้ นทีม่ ีความชืน้ อย่าให้ถกู แสงแดดโดยตรงจะทำให้กล้า เห่ยี วเฉา ถ้าเป็นไปไดค้ วรนำไปปลูกทันที 5. การตอนกล้าควรทำในตอนเยน็ เพราะต้นกล้าจะได้มีเวลาพักฟื้นในตอนกลางคืนทำให้ต้ัง ตวั ได้เรว็ 6. ต้นกล้าที่เพาะไว้ในภาชนะต่างๆ เมื่อจะปลูกก็นำไปปลูกได้เลย แต่ควรจะถอดเอาภาชนะ ออกเสียก่อน การปลูกด้วยต้นกล้าประเภทนี้จะตั้งตัวไดเ้ ร็วกวา่ ตน้ กล้าท่ีตอ้ งมีการถอนย้ายจากแปลง หรือกระบะ
~ 15 ~ ข้อดีและข้อเสยี ของการขยายพันธแ์ุ บบอาศยั เพศโดยใชเ้ มล็ด ขอ้ ดี 1. ทำได้ง่าย และไดป้ รมิ าณมากเพราะสะดวกในการปฏิบัติงาน 2. เป็นวธิ กี ารท่พี ืชบางชนดิ สามารถขยายพันธ์ไุ ด้เองตามธรรมชาติ 3. สามารถทำได้เป็นจำนวนมากตามความตอ้ งการ 4. เสยี คา่ ใช้จา่ ยนอ้ ย เพราะไมต่ อ้ งใช้เคร่อื งมือหรืออปุ กรณ์ตลอดจนฝมี อื ในการปฏบิ ตั ิมากนัก 5. เก็บรักษาได้นาน เพราะไม่ต้องการสิ่งแวดล้อมในการดำรงชีวิตมาก เพียงแต่ต้องมีการเก็บรักษาท่ี ถกู ตอ้ ง 6. ไดพ้ ชื ทม่ี รี ะบบรากดี เพราะมรี ากแก้ว ดงั น้ันจงึ มรี ากหย่ังลึก และการที่ต้นพืชมีรากลึกนี้ ทำให้ทนต่อ สภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมได้ดี เพราะสามารถดูดน้ำแลละธาตุอาหารจากทั้งผิวหน้าดินและใน ระดับลึก ๆ ได้ 7. อายุยนื ทนทานต่อเมล็ด ไมท่ รดุ โทรมเรว็ 8. ต้นท่ไี ดไ้ ม่เปน็ ไวรสั 9. สามารถทำไดท้ กุ ฤดกู าล ข้อเสีย 1. เกดิ การกลายพนั ธุไ์ ดง้ า่ ย และมักแสดงลกั ษณะที่ไม่ดี 2. ลำต้นสูงใหญ่ ไมส่ ะดวกในการเกบ็ เก่ยี ว และดูแลรกั ษา 3. ขนาดของต้นท่ไี ด้ ไม่สม่ำเสมอ 4. ต้นมีโอกาสรบั แรงปะทะลมได้มาก ทำใหด้ อกและผลรว่ งหลน่ เสียหายมาก 5. มักใหด้ อก ผลชา้ ต้องใชเ้ วลาในการเลี้ยงดนู าน กว่าจะใหผ้ ลตอบแทน เชน่ มงั คุด มะมว่ ง 6. ปลูกไดน้ อ้ ยต้นในเนอ้ื ทเี่ ทา่ กนั จงึ อาจใหผ้ ลน้อยกว่าการขยายพนั ธโ์ุ ดยวิธีอืน่
~ 16 ~ บทปฏบิ ัตกิ ารท่ี 4 เรื่อง เทคนคิ การขยายพันธ์ุด้วยเมล็ด จุดประสงค์ สามารถปฏบิ ัตกิ ารขยายพันธุ์พืชได้อยา่ งน้อย 3 วิธี เนื้อหา วธิ ีการเพาะเมล็ดในภาชนะ 1. การบรรจดุ นิ ลงภาชนะเพาะ ถึงแม้ภาชนะเพาะจะมีรูระบายน้ำไวแ้ ล้ว เพอื่ ให้น้ำท่ีใช้รดมที างไหล ออกไปได้ แต่การบรรจุดินเพาะเมลด็ ล้วน ๆ ลงในภาชนะน้ัน ๆ ดนิ อาจไปอดุ ตนั รรู ะบายน้ำน้ันได้ เพื่อป้องกัน ขอ้ บกพร่องข้อนี้ การบรรจดุ ินจึงควรมีวสั ดชุ ่วยระบายน้ำอีกช้นั หนึ่งก่อนที่จะถงึ วัตถุท่ีใช้เพาะ สำหรบั วสั ดชุ ว่ ย ระบายทน่ี ยิ มกนั อาจใชเ้ ศษอิฐหัก เศษหิน หรอื เศษหญ้าแหง้ เปลอื กถั่วลิสง ใยกาบมะพรา้ ว หรือแกลบดิบ อยา่ งใดอยา่ งหน่ึงก็ได้ ส่วนการบรรจดุ นิ ควรปฏิบัตดิ ังนี้ คือ ใส่วัสดชุ ่วยระบายท่ีกน้ ภาชนะเพาะสงู 1/4 - 1/2 น้วิ แลว้ บรรจดุ ินทใี่ ชเ้ พาะใหเ้ ตม็ ภาชนะเพาะ ปรบั หน้าดนิ เพาะให้เรียบและไดร้ ะดับ และปรบั ใหร้ ะดับหนา้ ดิน เพาะตำ่ กว่าขอบภาชนะเลก็ น้อย เพ่ือป้องกนั การชะลา้ งหน้าดนิ เนือ่ งมาจากรดน้ำมากเกินไป และหลงั จากปรับ หน้าดนิ เรยี บร้อยแล้วความหนาของเนื้อดนิ ท่ีใชเ้ พาะควรหนาอย่างน้อย 3 นว้ิ 2. การหว่านเมลด็ ภายในภาชนะเพาะ มักจะทำอยู่ 2 แบบ คอื หว่านเปน็ แถว และหว่านท่วั ไปทงั้ ภาชนะ ถา้ หวา่ นเป็นแถวมกั จะวางแถวตามความยาวของภาชนะเพาะ ซ่งึ ถ้าเป็นกระบะเพาะขนาด 12\" x 15\" x 4\" ก็จะหวา่ นไดป้ ระมาณ 4-6 แถว การหว่านหรือโรยเมลด็ ขั้นแรกจะโรยพอ บาง ๆ ก่อน แต่ถ้าเหน็ ว่ายงั บางไปก็อาจจะโรยซ้ำให้หนาขนึ้ ได้ ซงึ่ จะชว่ ยใหก้ ารตกของเมล็ดสมำ่ เสมอขนึ้ สำหรบั เมลด็ ท่มี ีขนาดเล็กมาก ๆ ไม่สะดวกทีจ่ ะหยบิ โรยไดง้ ่าย ควรจะผสมกบั วัสดุอ่นื ทม่ี ีสตี ่างไปจากดินทใ่ี ช้เพาะ เช่น ผสมกับทรายหรือผง ถ่านหรอื ปุยมะพร้าวป่น ท้งั นเี้ พอ่ื สะดวกในการหว่านหรือโรยเมล็ด และชว่ ยใหเ้ มล็ดไมต่ กหนาที่หนงึ่ ทีใ่ ดมาก เกนิ ไป 3. การกลบดินทับเมลด็ โดยปกตจิ ะใชด้ นิ ทเ่ี พาะเมลด็ น้นั ๆ สำหรบั การกลบเมลด็ ตืน้ หรือลกึ ขนาด ไหนน้นั ขน้ึ อยู่กับชนิดและขนาดของเมล็ดถา้ เป็นเมลด็ ทต่ี ้องการแสงในการงอก กจ็ ะกลบแต่พอบาง ๆ แต่ถ้า เปน็ เมล็ดที่ไม่ตอ้ งการแสงในการงอก กจ็ ะกลบให้หนาหรือลึก แตก่ ไ็ ม่ควรกลบเมลด็ ให้หนาเกิน 2-3 เท่าของ เส้นผ่านศูนยก์ ลางของเมลด็ และหลังจากกลบดินทบั เมล็ดแล้วควรจะกดดนิ ให้พอกระชับเมล็ด เพื่อให้เมล็ด ไดร้ บั ความชื้นและงอกได้สมำ่ เสมอ จากนั้นจึงจะรดน้ำให้ชุ่ม 4. การดแู ลรกั ษา การดแู ลรักษากล้าพชื ในระยะแรก คือ การเปดิ ใหต้ ้นกล้าได้รบั แสงหลังจากที่งอก โผลพ่ น้ ผิวดิน นอกจากแสงแล้วอุณหภูมกิ ม็ ีสว่ นเก่ียวข้องกับการเจรญิ ของกล้าพืชอีกด้วย โดยปกตอิ ุณหภูมิ ขนาดปานกลางถึงค่อนข้างต่ำจะช่วยให้กลา้ พืชเจรญิ ได้แขง็ แรง การใหน้ ้ำแก่กลา้ พชื นนั้ จะต้องคอยสังเกต ความชนื้ ในแปลงเพาะและความตอ้ งการนำ้ ของกล้าพืชเป็นสำคญั โดยรกั ษาระดับความช้ืนในแปลงเพาะให้ พอเหมาะไมม่ ากเกนิ ไปจนทำให้อากาศถ่ายเทในดินไม่สะดวก อันจะเปน็ ทางหนงึ่ ท่ีทำให้เกิดโรคโคนเนา่ คอดนิ ระบาดได้รวดเรว็ การรดนำ้ กล้าพชื ควรจะทำตอนเชา้ หรอื ตอนบา่ ย 3 - 4 โมงเย็น
~ 17 ~ กจิ กรรม 1. ครูสาธติ การทำบทปฏบิ ัติการใหแ้ กผ่ ้เู รียนและสาธติ วธิ กี ารเพาะเมล็ด 2. ผเู้ รียนทำการเพาะเมล็ดผัก ไม้ผลหรือไมด้ อกไม้ประดบั ตามทสี่ นใจ จากนั้นใหน้ ักเรยี นปฏบิ ตั ิ
~ 18 ~ หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 5 การขยายพันธพ์ุ ชื ดว้ ยวธิ ีการตัดชำ (Cutting) 1.การตดั ชำ (Cutting) การตัดชำ คือ การตัดส่วนหนึ่งส่วนใดของต้นพืช เช่น การตัดกิ่ง ตัดรากหรือตัดใบมาจากต้นพืชที่ ต้องการขยายพนั ธุ์ แล้วนำไปไว้ในสภาพที่เหมาะสม ท่ีทำใหเ้ กิดรากหรือตน้ โดยอาจใชส้ ารเคมีและ/หรือ ทำให้ สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมช่วย โดยทั่วไปแล้วต้นพืชใหม่ที่ได้จะเป็นสายต้นหรือโคลนที่มีลักษณะ เหมือนต้น พชื เดมิ ทกุ อยา่ ง 2. ชนิดของการตัดชำ 2.1. การตัดชํากิ่ง (Stem cutting) เป็นการตัดส่วนของกิ่งไปปักชำในวัสดุที่เหมาะสม ซึ่งโดยทั่วไป ถงึ จะมีจุดกำเนิดรากอยแู่ ลว้ การ ตดั ชำกงิ่ มหี ลายประเภท โดยการจำแนกตามลักษณะของก่งิ ได้ดงั นี้ รูปท่ี 1 การปกั ชำกิ่ง 1. การตดั ชำกิง่ แก่ (hardwood cutting) คือการตดั ชำพชื พวกผลัดใบ ทอ่ี ย่ใู นระยะพักตัว และ เพ่ิงเกิดมาเม่ือต้นฤดทู ี่แล้ว หรอื อาจตดั ชำพชื ท่ีมสี ีเขียวตลอดท้ังปี ที่เป็นกง่ิ แก่ และทำขณะท่ีใบได้ร่วงไป แล้วก็ได้ วิธีการคือ ควรตัดให้กิ่งยาวประมาณ 6-8 นิ้ว โดยตัดให้ฐานรอยตัดชิดกับข้อ และตัดด้านปลาย กิ่ง เหนือตาบนเล็กน้อย กิ่งแก่ที่ทำการตัดชำสามารถเก็บไว้ได้นาน ทนต่อสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมได้ ดีกว่า กิ่งประเภทอื่น ๆ และควรปักชำก่อนที่กิ่งจะเริ่มแตกยอดอ่อน พืชที่เหมาะสมในการตัดชำประเภทนี้ ได้แก่ เฟ่อื งฟ้า วาสนา ไผ่ เปน็ ตน้
~ 19 ~ รปู ที่ 2 ตน้ วาสนา 2. การตัดชำก่ิงถึงแก่ก่ิงอ่อน (Semi-hardwood cutting) คือ การตัดชำ พืชใบกว้างและ ใบแคบ ที่มใี บเขียวตลอดปี ควรตดั ชำกง่ิ ให้มีใบติดมาดว้ ย ขอ้ ดีคอื สามารถตัดชำได้ทกุ ฤดูกาล หรือทุกระยะ ถ้า กง่ิ ๆ นัน้ แข็งแรงพอ วธิ ีการคอื ตดั กง่ิ ก่ิงออ่ นถงึ แก่ทีม่ ีความยาว 5-6 นิว้ โดยใหฐ้ านรอยตัดชิดขอ้ และให้ก่งิ มี ใบมากที่สุด เว้นแต่บริเวณโคนกิ่ง ควรปักชำในวัสดุปักชำที่มีความชื้นสูง วิธีนี้ใช้ได้กับไม้ทั่ว ๆ ไป เช่น ชมพู่ มะนาว ฝร่ัง โกสน ไทร เปน็ ตน้ รูปท่ี 3 ต้นโกสน 3. การตัดชำกิ่งอ่อน หรือยอดอ่อน (Soft Wood Cutting) คือ การตัดชำยอดอ่อนของ ต้นไม้นั้น มีวิธีการคือ โดยการตัดใหก้ ิ่งมีความยาว 3-5 นิ้ว แล้วริดใบท่ีโคนออก และปักชำในวสั ดุทีม่ ีความชน้ื สงู การปกั ชำวธิ ีนส้ี ามารถทำให้ก่ิงพืชจะออกรากได้ง่าย เช่น สาวนอ้ ยปะแปง้ เขยี วหม่ืนปี กุหลาบหิน กระดุม ทอง เบญจมาศ เป็นต้น รูปที่ 4 ตน้ เขียวหมื่นปี 4. การตัดชำไมช้ ุ่มนำ้ หรือไม้อวบนำ้ (Herbaceous Cutting) คลา้ ยกับการตัดชำ กิ่งอ่อน หรือ ยอดอ่อน โดยตัดให้กิ่งมีความยาว 3-5 นิ้ว ริดใบที่โคนออก นำกิ่งที่ตัดไปปักชำในวัสดุชำที่มีความชื้นสูง พชื ประเภทน้ไี ด้แก่ ฤษผี สม บีโกเนยี เป็นตน้
~ 20 ~ รปู ที่ 5 ตน้ ฤษผี สม เทคนิคในการขยายพนั ธ์ุดว้ ยการตดั ชำ การตัดชำกิ่งพืช ทั้งกิ่งอ่อนถึงแก่นั้น ควรตัดกิ่งให้ชิดข้อเฉียงเป็นมุม 45 - 60 องศา ทำรอยแผล บริเวณปลายกิ่งเพื่อเพิ่มพื้นที่ในการออกราก และต้องดูแลวัสดุปักชำให้มีความชื้นที่สูงอยู่เสมอ โดยปกติ อุณหภมู ิที่โคนกิง่ นั้นควรสงู กวา่ ภายนอกเลก็ นอ้ ย รูปท่ี 6 ตดั กิง่ เฉยี ง 45 องศา 2.2 การตัดชำใบ (Leaves Cutting) พชื หลายชนดิ สามารถขยายพนั ธุ์ได้ด้วยการตัดชำใบ ซึ่งการตดั ชำใบพืชจะเกิดรากได้เร็วกว่าเกิด ต้น รากใหม่พัฒนามาจาก Primary (preformed) meristem ซึ่งเป็นกลุ่ม ของเซลล์ที่มาจากเซลล์ เอ็มบริโอที่เป็นเนื้อเยื่อเจริญโดยตลอด เช่นโคมญี่ปุ่น, piggyback plant และ พืช ตระกูลเฟิร์น walking fern และพัฒนามาจาก Secondary (Wound) meristem คือ กลุ่มของเซลล์ที่ เปลี่ยนแปลงไปแล้วและ ทำหน้าที่ในระบบเนื้อเยื่อมาก่อนแล้วจึงเปลี่ยนแปลงกลับมาเป็นเนื้อเยื่อเจริญใหม่ เพื่อสร้างส่วนที่พืชขาด ให้ได้ต้นใหม่ที่สมบูรณ์ เช่น อัฟริกันไวโอเล็ต ( Saintpaulia), ลิลี (Lithium longiflorum และ Lilium candidum) รปู ที่ 7 ตดั ชำใบ
~ 21 ~ การตัดชําใบ ส่วนใหญ่เป็นการขยายพันธุ์พืชที่มีใบอวบน้ํา (Fresh leaves) การตัดชําใบนี้โดย สว่ นมากจะออกรากได้เร็วกวา่ การปกั ชํากง่ิ การตดั ชําใบสามารถทําได้หลายวิธีข้นึ อยู่กับชนดิ ของพืช เช่น 1. การตัดชําแผ่นใบ คือ การตดั ใบทัง้ ใบไปปกั ชาํ เชน่ ใบโคมญีป่ ุ่น ใบลิ้นมังกร 2. การตัดชําใบกบั ก้านใบ เปน็ การตดั ชาํ ใบที่ตดิ ก้านใบไปดว้ ย แล้วนาํ กา้ นใบไปปักชําลงในวัสดุปักชํา เช่นใบแอฟรกิ นั ไวโอเลต ใบบโี กเนีย 3. การตัดชาํ ส่วนของใบหรือแผ่นใบ คือ การตัดชาํ โดยตัดออกเป็นส่วน ๆ แล้วนําแต่ละส่วนไปปกั ชํา โดยใหม้ ีเส้นกลางใบติดอยู่ดว้ ย เพื่อให้เกดิ เปน็ พืชตน้ ใหม่ จากเสน้ กลางใบตอ่ ไป เชน่ ใบบโี กเนยี รูปท่ี 7 ตัดชำใบล้ินมงั กร 2.3 การตัดชําใบมีตาติด (Leaves with bud cutting) บางครั้งเรียกว่า single eye หรือ single node Cutting เป็นการตัดชําใบท่ีมีตาติดทโ่ี คนก้านใบ (Axillary bud) ติดไปดว้ ย ใชก้ บั พืชทอ่ี อกรากใหม่ แต่ ไม่ใช่ต้นใหม่ จึงต้องมีตาติดใบด้วย จะได้เกิดราก ด้วย และยอดด้วย โดยตัดให้มีใบเพียงใบเดียวที่มีตา (Axillary bud) เดยี วเทา่ นั้น เช่น ยางอินเดยี รปู ที่ 8 ตัดชำใบยางอนิ เดีย 2.4 การตัดชาํ ราก (Root cutting) การตัดชาํ รากนนั้ สามารถทําได้ในพืชบางชนิด เพราะท่ีรากจะมี ตาพิเศษทีเ่ รียกว่า Adventitious bud ซ่งึ จะทําให้เกดิ ต้นและราก บนรากของพืชท่ีเราเอามาตัดชาํ โดยพืชจะ เกิดเป็นต้น (Adventitious shoot) ทางด้านโคนรากที่ติดกับลําต้นก่อนเกิดรากทางด้านปลายราก (distal end) พชื ที่สามารถปักชํา รากไดน้ นั้ โดยปกตเิ ปน็ พชื ท่ีมีแนวโน้มตามธรรมชาตใิ นการเกิดหน่อที่ราก (sucker) พืชทีส่ ามารถตัดชําได้ ดีด้วยวธิ กี ารตดั ชาํ รากน้ไี ด้แก่ สน แคแสด สาเก เปน็ ต้น
~ 22 ~ การขยายพนั ธุพ์ ืชโดยใช้สว่ นตา่ ง ๆ ของลำตน้ เปน็ การขยายพันธ์ุพืชโดยไม่อาศยั เพศ ซ่ึงการปัก ชำ เป็นวิธกี ารทงี่ ่ายและทำไดส้ ะดวก และสามารถทำไดห้ ลายวธิ เี ช่น การตัดชำกง่ิ (Stem Cutting) การ ตัดชำใบ (Leaves Cutting) และการตัดชำราก (Root cutting) เป็นต้น รปู ท่ี 9 ตดั ชำราก 3.ขอ้ ดีขอ้ เสยี ของการขยายพนั ธดุ์ ว้ ยการตัดชำ การตดั ชำเป็นวิธีขยายพันธ์ุที่สำคัญท่ีสดุ ของพชื จำพวกไม้ดอกและไม้ประดบั ท้ังทเ่ี ป็นไม้ล้มลุก ไม้พุ่ม ไม้ยนื ตน้ ท่ใี ช้ประดับ ท้ังไมผ้ ลดั ใบและไม้เขยี วตลอดปี ทัง้ พชื ใบกว้างและพืชใบแคบ และการตดั ชำ ใช้มากกับ การขยายพันธุ์พืชในโรงเรือน การขยายพันธุ์ด้วยวิธีการตัดชำนี้มีข้อดีคือ ต้นพืชที่เกิดขึ้นใหม่จะ มีลักษณะ เหมอื นตน้ แม่ทุกประการ ใช้เวลาส้ัน ๆ เปน็ วธิ ที ่ที ำง่าย ใชเ้ ทคนิควิธีการที่ไม่สลับซบั ซอ้ น ประหยัดคา่ ใช้จ่าย
~ 23 ~ บทปฏิบัตกิ ารที่ 5 เรื่อง เทคนิคการปักชำ จุดประสงค์ สามารถปฏิบตั ิการขยายพนั ธพุ์ ืชได้อย่างน้อย 3 วิธี เนอ้ื หา การตัดชำ (Cutting) การตัดชำ คือ การตัดส่วนหนึ่งส่วนใดของต้นพืช เช่น การตัดกิ่ง ตัดรากหรือตัดใบมาจากต้นพืชท่ี ตอ้ งการขยายพันธุ์ แล้วนำไปไว้ในสภาพทเี่ หมาะสม ทที่ ำใหเ้ กดิ รากหรือต้นโดยอาจใช้สารเคมีและ/หรือ ทำให้ สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมช่วย โดยทั่วไปแล้วต้นพืชใหม่ที่ได้จะเป็นสายต้นหรือโคลนที่มีลักษณะ เหมือนต้น พืชเดิมทกุ อยา่ ง ชนิดของการตัดชำ 1. การตดั ชำก่ิง (Stem Cutting) 1.1 การตัดชำกิ่งแก่ (hardwood cutting) ทั้งที่เป็นไม้ผลิใบ ( deciduous) และ พชื ใบ แคบเขยี วตลอดปี (narrow-leaved evergreen) 1.2 การตดั ชำกิ่งถึงแกก่ ่งิ ออ่ น (Semi-hard wood cutting) 1.3 การตดั ชำกิง่ ออ่ น (Soft wood cutting) 1.4 การตัดชำไม้ชุ่มนำ้ หรอื ไมอ้ วบนำ้ (Herbaceous Cutting) 2. การตัดชำใบ (Leaves Cutting) 2.1 การตดั ชำแผ่นใบ 2.2 การตดั ชำใบกบั ก้านใบ 2.3 การตัดชำสว่ นของใบหรอื แผ่นใบ 3. การตัดชําใบตดิ ตา (leaves bud Cutting) บางครั้งเรยี กวา่ single eye 4. การตัดชาํ ราก (Root Cutting) กิจกรรม 1. ครูสาธติ การทำบทปฏบิ ตั ิการใหแ้ ก่ผู้เรียนและสาธิตวิธีการปักชำ 2. ผ้เู รยี นดูคลิปและสรุปจากคลิป https://youtu.be/D3EWp_Zph1A เรื่อง การปักชำ
~ 24 ~ หน่วยการเรียนรู้ท่ี 6 การขยายพันธพุ์ ชื ดว้ ยวิธีการตอนก่ิง การตอนกงิ่ หมายถงึ การทำใหก้ งิ่ พืชเกิดรากในขณะทย่ี งั ติดอยู่กับตน้ แม่ ซง่ึ จะทำใหไ้ ด้ต้นพชื ใหมท่ ่มี ี ลกั ษณะทางสายพนั ธุ์เหมือนกับต้นแมท่ ุกประการ เมื่อกิ่งออกรากดแี ลว้ จงึ ตัดไปชำก่อนปลกู หรอื ตดั ปลูกเลย ต้นท่ปี ลูกและตง้ั ตวั ได้แล้วจะกลายเป็นตน้ พืชใหมต่ ่อไป การตอนกิ่งเป็นการตัดท่อลำเลียงอาหารของพืชส่วนท่อน้ำยังมีอยู่ตามปกติ จึงทำให้กิ่งที่ทำการตอน ได้รบั น้ำอยตู่ ลอดเวลา ดว้ ยเหตนุ จ้ี งึ ทำให้ก่งิ ตอนสดอยู่เสมอจนกว่าจะออกราก การออกรากของกิ่งตอน จะขึ้นอยู่กับความชื้น การถ่ายเทอากาศ และระดับอุณหภูมิที่เหมาะสม แต่ ถ้าปลอ่ ยให้ดนิ หรือวสั ดุหุ้มกงิ่ แห้งโดยไม่ไดด้ ูแล ย่อมจะเป็นอุปสรรคต่อการเกิดรากได้เช่นกัน ดังน้ัน ฤดูกาลท่ี เหมาะสมทส่ี ุดในการตอนกง่ิ ควรเปน็ ฤดฝู น การตอนกิ่ง ใช้แก้ปัญหาโดยเฉพาะพืชบางชนิดท่ีไม่สามารถออกรากได้โดยใช้วิธีตัดชำ แต่ออกรากได้ โดยวธิ ตี อนกิง่ สามารถทำไดง้ า่ ยท้งั กลางแจ้งและในเรือนเพาะชำ นอกจากนก้ี ่ิงตอนยังมจี ำนวนรากมากกว่ากิ่ง ตัดชำ เมื่อนำไปปลกู จงึ มีโอกาสตั้งตัวได้เรว็ และมเี ปอร์เซ็นตก์ ารตายนอ้ ยกว่าก่ิงตัดชำ ประการสำคัญอีกอย่าง หนึ่ง คือ พืชต้นใหม่ที่ได้จากการตอนจะมีลักษณะเป็นไม้พุ่มเตี้ย จึงสะดวกต่อการดูแลปฏิบัติบำรุงรักษาและ เก็บเกี่ยว โดยเฉพาะไม้ประดับจะได้ทรงพุ่มที่สวยงาม เป็นต้น แต่กิ่งตอนมีข้อเสีย คือ พืชที่นำไปปลูกเมื่อโต เต็มท่ีจะล้มงา่ ย เพราะไม่มรี ากแกว้ 1. อปุ กรณท์ ใ่ี ช้ในการตอนกง่ิ 1. มีดขยายพนั ธ์ุหรือคัตเตอร์ (Cutter) หรอื มีดติดตาต่อกง่ิ 2. ถงุ พลาสติก 3. วสั ดหุ ้มุ ก่งิ ตอน เช่น กาบมะพรา้ ว ถา่ นแกลบหรอื ขุยมะพรา้ ว 4. เชอื กมดั วัสดหุ มุ้ กง่ิ ตอน เช่น เชอื กฟาง 5. ฮอรโ์ มนเรง่ ราก 2. ประเภทการตอนกิ่งทนี่ ิยม ไดแ้ ก่ 1) การตอนก่ิงในอากาศ (Air Layering) การตอนกิ่งในอากาศ โดยเฉพาะแบบควั่นกิ่ง เหมาะสำหรับไม้ดอกไม้ประดับ เช่น กุหลาบ โมก โกสน แสงจันทร์ เล็บครุฑ ฯลฯ และไม้ผลบางชนิด เช่น มะม่วง ลำไย มังคุด มะเฟือง ฯลฯ เป็นต้น มี ข้ันตอน ดงั น้ี 1. เลือกกิ่งที่มีอายุไม่เกิน 1 ปี หรืออยู่ในวัยหนุ่มสาว ซึ่งจะออกรากได้ดีกว่ากิ่งที่มีอายุมาก และควรเปน็ ก่ิงกระโดงหรอื ก่งิ น้ำคา้ งทส่ี มบูรณ์ ปราศจากโรคและแมลง
~ 25 ~ 2. คว่นั เปลือกก่ิง ความยาวของรอยแผล ประมาณเสน้ รอบวงของกิ่ง ทงั้ ด้านบนและล่างของ กิ่งแล้วลอกเอาเปลอื กออกและขดู เย่ือเจริญทีเ่ ปน็ เมอื กลน่ื ๆ รอบกิ่งออกให้หมด 3. นำตุ้มตอน (ขุยมะพร้าวเก่าที่แช่น้ำจนอิ่มตัว แล้วบีบน้ำออกพอหมาด ๆ อัดลงใน ถุงพลาสติกแล้วผูกปากถุงให้แน่น) มาผ่าตามความยาวแล้วนำไปหุ้มรอยแผลของกิ่งตอน มัดด้วยเชือกทั้งบน และล่างรอยแผลทีค่ ว่ัน 4. เมอื่ กง่ิ ตอนงอกรากซง่ึ จะเกิดตรงบริเวณรอยควน่ั ดา้ นบน และรากเร่มิ แก่เป็นสเี หลอื ง หรือ มสี นี ้ำตาล ปลายรากมสี ขี าวและมจี ำนวนรากมากพอ จึงตัดกง่ิ ตอนไปชำหรอื ปลูกได้ 5. ตัดกิ่งตอนไปชำในภาชนะ ในกระถางหรือถงุ พลาสติก เพ่ือรอการปลูกตอ่ ไป
~ 26 ~
~ 27 ~ 2) การตอนก่ิงแบบฝังยอด (Tip Layering) การตอนกิ่งแบบน้ี รากจะออกตรงบรเิ วณใกลก้ บั ยอดที่นำฝังลงดิน เหมาะกับพชื บาง ชนิด เชน่ ต้นประทดั จีน มขี น้ั ตอน ดังนี้ 1. ใชเ้ สียมหรอื พลวั่ กาบออ้ ย ขุดดนิ ใหเ้ ป็นหลุมลกึ ประมาณ 7 – 8 เซนตเิ มตร 2. สอดปลายยอดเขา้ ไปในหลมุ แลว้ กลบดนิ ทับ 3. รดน้ำทุกวนั และดูแลอย่าใหว้ ัชพืชขน้ึ บดบงั แสง 4. ประมาณ 30 – 45 วัน เมื่อยอดใหม่โผล่ขึ้นมาจากดิน จะมีราก พร้อมที่จะย้ายปลูกได้ ทันที
~ 28 ~ 3) การตอนกงิ่ แบบฝงั ก่งิ ใหย้ อดโผล่พน้ ดนิ (Simple Layering) การตอนก่ิงแบบน้ี เหมาะสำหรับพืชทีม่ ีกง่ิ ยาวและมีลักษณะดดั โค้งได้งา่ ย เช่น มะลิชนิดต่าง ๆ เป็นต้น มขี ้นั ตอน ดังน้ี 1. เลือกกง่ิ ท่มี ีอายมุ ากกวา่ 1 ปี 2. ทำแผลให้เกิดขึ้นโดยการบดิ ให้แตกหรือใช้มดี ปาด 3. โน้มกิ่งลงหาพื้นดินแล้วกลบดินบริเวณบางส่วนของกิ่ง โดยให้ยอดโผล่ขึ้นเหนือดิน ยาว ประมาณ 15-30 เซนตเิ มตร 4. ใช้ไม้ปกั ผูกมัดยอดให้ตรง เพ่อื ใหร้ ากเกิดข้ึนเรว็ บริเวณกง่ิ ท่กี ลบดิน 5. รดน้ำทุกวนั และดแู ลอยา่ ให้วชั พชื ข้ึนบดบังแสง 6. ประมาณ 50 - 60 วนั จะมรี ากเกิดขึน้ บรเิ วณทีเ่ ป็นแผล พร้อมทจี่ ะยา้ ยปลกู ได้ทันที
~ 29 ~ 4) การตอนกิง่ แบบงูเลื้อย (Compound Layering) การตอนก่งิ แบบนค้ี ล้ายกับวธิ ีท่ี 3 เหมาะกบั พชื ชนดิ ต่าง ๆ ได้แก่ ไม้ดอกไมป้ ระดบั เช่น มะลิ เล็บมือนาง การเวก พลูชนิดต่าง ๆ ตีนตุ๊กแก และไม้ผลชนิดต่าง ๆ เช่น องุ่น มันเทศ พริกไทย เป็นต้น มี ขั้นตอน ดงั น้ี 1. เลอื กกง่ิ ยาวและมลี กั ษณะดดั โคง้ ได้ง่าย แบ่งเป็นตอน ๆ ยาวประมาณ 30 เซนติเมตร 2. ใช้มีดปาดให้เกดิ แผล แล้วกลบดินทบั เป็นตอน ๆ ตลอดความยาวของกิง่ 3. รดน้ำทุกวัน และดแู ลอย่าใหว้ ัชพืชข้นึ บดบงั แสง 4. ประมาณ 30 – 45 วนั เม่อื ยอดใหม่โผล่ข้ึนมาจากดิน จะมรี ากพร้อมทจ่ี ะย้ายปลูกได้ทันที
~ 30 ~ 5) การตอนกิ่งแบบขุดร่อง (Trench Layering) การตอนก่งิ แบบน้ีเหมาะสำหรับไม้ผลเมอื งหนาว บางชนดิ เช่น สาลี ทอ้ และเชอร่ี เปน็ ตน้ มีขัน้ ตอน ดังนี้ 1. ขดุ รอ่ งลึก ประมาณ 5 เซนตเิ มตร เพื่อเตรยี มสำหรับโน้มกงิ่ ไวก้ ่อน 2. เมื่อกิ่งตน้ แม่เริม่ แตกยอดอ่อน ให้โน้มกิ่งขนานติดกับผิวหน้าดิน โดยใชต้ ะขอเหล็กเส้นรูป ตัวยู (U) ปกั ยดึ ไว้ ใหก้ ิ่งนอนราบกับพ้นื รอ่ งท่ีเตรียมไว้ 3. ตัดปลายก่ิงออกเลก็ น้อย แลว้ ใช้ดินร่วนกลบให้หนา ประมาณ 3 – 5 เซนติเมตร 4. รดน้ำทุกวนั และดูแลอยา่ ใหว้ ชั พชื ข้ึนบดบงั แสง 5. เมื่อตากิ่งเริ่มแตกยอดพ้นผิวดินที่กลบครั้งแรกให้กลบดินเพิ่มขึ้นอีก และต้องรีบกลบ กอ่ นที่ยอดจะเริม่ คลใ่ี บ 6. ในช่วง 2-3 สัปดาห์ ให้กลบดินแบบนี้เรื่อย ๆ จนกว่าจะแน่ใจว่าบริเวณของกิ่งที่แตกยอด นัน้ ไม่ได้รบั แสงแดด การกลบดนิ แตล่ ะครั้งให้กลบประมาณ ½ ของยอดทีโ่ ผลอ่ อกมาพ้นดิน 7. การเกิดราก จะเกิดขึ้นที่บริเวณฐานของกิ่งที่แตกยอดใหม่ ซึ่งใช้ระยะเวลาประมาณ 50 - 60 วัน 8. การยา้ ยปลูก ใหข้ ดุ เอาดนิ ท่ีกลบออก แล้วตัดกิ่งออกเป็นท่อน ๆ ตามจำนวนต้นที่เกิดใหม่ นำไปชำในถงุ ดำ ดแู ลรักษา จนกว่าตน้ สมบูรณด์ ี จึงนำไปปลกู ต่อไป
~ 31 ~ 6) การตอนแบบสุมโคน (Mound or Stool Layering) การตอนกงิ่ แบบน้ี จะต้องตัดต้นพืชท่ี ต้องการออกใหเ้ หลือสั้น ติดผวิ ดิน ในขณะทตี่ น้ พชื อยู่ในระยะพักตวั ส่วนมากทำกบั ต้นพืชท่ีมกี ิ่งแข็งแรง ไม่ สะดวกต่อการโน้มกิ่งลงมายังพน้ื ดนิ หรือตัดก่งิ ได้ยาก แต่มีความสามารถท่จี ะแตกก่ิงก้านจากตน้ ตอคอดนิ พชื ท่นี ยิ มทำส่วนมากเปน็ ไม้ผล เช่น พทุ รา แอปเปลิ ลำไย ลน้ิ จี่ เป็นตน้ มีขั้นตอนดังน้ี 1. เม่อื ตัดต้นทต่ี ้องการออกแลว้ จะสงั เกตเหน็ ตามที่โคนตน้ เรมิ่ แตกเป็นตน้ อ่อน 2. เม่ือต้นออ่ นทีเ่ กดิ ใหม่ ยาวประมาณ 6–12 เซนตเิ มตร ใช้ดนิ ร่วนสมุ โคน ประมาณ ½ ของ ยอดท่ีเกดิ ใหม่ 3. เมื่อต้นสูง ประมาณ 25 เซนติเมตร ให้สุมโคนครั้งที่ 2 และครั้งที่ 3 เมื่อกิ่งยาวประมาณ 50 เซนติเมตร 4. รดนำ้ ทุกวนั และดูแลอยา่ ให้วัชพืชขนึ้ บดบงั แสง 5. หลังจากนัน้ ประมาณ 2 สัปดาห์ จงึ ตัดกงิ่ ไปปลูกหรอื ชำ โดยตดั ให้ชิดโคนต้นและมรี ากติด ไปดว้ ยให้มากทสี่ ดุ 6. เมื่อตัดกิ่งไปแล้ว จะต้องเอาดินที่สุมโคนออก ให้ถึงต้นตอเดิม เพื่อให้ตอเดิมแตกยอดใหม่ อกี และทำการสมุ โคนต่อไปเม่อื ตอ้ งการต้นใหม่
~ 32 ~ 3. ข้อดีขอ้ เสียของการตอนกิ่ง 3.1 ข้อดีของการตอนก่ิง 1. สามารถใชก้ บั พชื ทีอ่ อกรากยากท่ีไม่สามารถตดั ชำได้ แตเ่ กดิ รากได้ดดี ้วยการตอนกง่ิ 2. ได้กิ่งพนั ธท์ุ ไี่ ม่กลายพนั ธุ์ 3. การปฏิบตั ิบำรุงรักษาง่าย 4. เป็นวธิ ที ป่ี ฏิบตั ิไดง้ ่ายทงั้ กลางแจ้งและในเรอื นเพาะชำ 3.2 ข้อเสียของการตอนกิ่ง 1. ไมม่ รี ากแก้ว ระบบรากตื้น โค่นลม้ งา่ ย ไม่ทนต่อความแห้งแล้ง 2. ทำไดช้ ้า ต้องใชเ้ ทคนิคและฝมี ือมากขนึ้ 3. ไม่สะดวกต่อการขนส่งในกรณกี ิง่ มขี นาดใหญ่ 4. ก่งิ มขี นาดโต จำนวนก่งิ มีนอ้ ย ไม่สะดวกทจี่ ะขยายพันธ์ุจำนวนมากๆ
~ 33 ~ บทปฏิบตั ิการท่ี 6 เรอื่ ง เทคนิคการตอนก่งิ จดุ ประสงค์ สามารถปฏิบตั ิการขยายพันธุ์พืชได้อยา่ งน้อย 3 วธิ ี เนือ้ หา การตอนก่ิง หมายถงึ การทำใหก้ ิ่งพืชเกิดรากในขณะทีย่ ังติดอยู่กบั ตน้ แม่ ซง่ึ จะทำให้ได้ต้นพืชใหม่ที่มี ลักษณะทางสายพันธุ์เหมือนกับต้นแม่ทุกประการ เมื่อกิ่งออกรากดีแล้วจึงตัดไปชำก่อนปลูก หรือตัดปลูกเลย ตน้ ท่ปี ลกู และตงั้ ตวั ไดแ้ ลว้ จะกลายเปน็ ตน้ พืชใหม่ต่อไป อปุ กรณท์ ีใ่ ชใ้ นการตอนกิง่ 1. มดี ขยายพันธ์หุ รือคตั เตอร์ (Cutter) หรือมีดติดตาต่อกิง่ 2. ถงุ พลาสติก 3. วสั ดุหมุ้ กิ่งตอน เชน่ กาบมะพร้าว ถา่ นแกลบหรอื ขุยมะพร้าว 4. เชือกมดั วัสดุหุ้มก่ิงตอน เชน่ เชอื กฟาง 5. ฮอรโ์ มนเรง่ ราก ขั้นตอนการตอนกิ่งในอากาศ (Air Layering) การตอนก่ิงในอากาศ โดยเฉพาะแบบคว่ันกิ่ง เหมาะสำหรบั ไม้ดอกไมป้ ระดับ เช่น กุหลาบ โมก โกสน แสงจันทร์ เลบ็ ครุฑ ฯลฯ และไม้ผลบางชนิด เช่น มะม่วง ลำไย มังคุด มะเฟอื ง ฯลฯ เป็นต้น มขี ัน้ ตอน ดังนี้ 1. เลือกกิ่งที่มีอายุไม่เกิน 1 ปี ซึ่งจะออกรากได้ดีกว่ากิ่งที่มีอายุมาก และควรเป็นกิ่งกระโดงหรือก่ิง น้ำค้างที่สมบูรณ์ ปราศจากโรคและแมลง 2. ควั่นเปลือกกิ่ง ความยาวของรอยแผล ประมาณเส้นรอบวงของกิ่ง ทั้งด้านบนและล่างของกิ่งแล้ว ลอกเอาเปลือกออกและขูดเยือ่ เจรญิ ท่เี ปน็ เมือกลื่น ๆ รอบก่ิงออกให้หมด 3. นำตุ้มตอน (ขุยมะพร้าวเก่าที่แช่น้ำจนอิ่มตัว แล้วบีบน้ำออกพอหมาด ๆ อัดลงในถุงพลาสติกแล้ว ผกู ปากถงุ ใหแ้ นน่ ) มาผา่ ตามความยาวแล้วนำไปห้มุ รอยแผลของกง่ิ ตอน มัดดว้ ยเชือกท้ังบนและลา่ งรอยแผลที่ ควั่น 4. เมื่อกิ่งตอนงอกรากซึ่งจะเกิดตรงบริเวณรอยควั่นด้านบน และรากเริ่มแก่เป็นสีเหลือง หรือมีสี นำ้ ตาล ปลายรากมสี ีขาวและมจี ำนวนรากมากพอ จงึ ตัดกง่ิ ตอนไปชำหรือปลกู ได้ 5. ตดั กิง่ ตอนไปชำในภาชนะ ในกระถางหรือถุงพลาสติก เพอ่ื รอการปลูกต่อไป กจิ กรรม 1. ครสู าธิตการทำบทปฏิบตั ิการให้แก่ผ้เู รียนและสาธิตวิธีการตอนกิ่ง 2. ผ้เู รยี นขยายพนั ธ์ุโดยการตอนกิง่ ตามท่ีครสู าธิต ซง่ึ ตอ้ งบอกอุปกรณท์ ี่ใช้ในการตอนก่งิ วธิ กี ารทำตุม้ ตอน เลอื กก่งิ ท่ีเหมาะสมกบั การตอน และอธบิ ายขั้นตอนการตอนกง่ิ อย่างละเอยี ด
~ 34 ~ หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 7 การขยายพนั ธพ์ุ ืชด้วยวิธีการติดตา การติดตา คือ การนำแผ่นตาเพียงแผ่นเดียวจากกิ่งพันธุ์ดีไปติดกับต้นตอ เพื่อให้ได้พันธุ์ตามต้องการ และสามารถเจริญเตบิ โตเติบโตเปน็ ตน้ พืชตน้ เดียวกนั ได้ 1. การเลอื กต้นตอและกง่ิ พันธุด์ ี การเลือกต้นตอ 1. ควรมขี นาดโตพอสมควรเม่ือเทยี บกับตาทจ่ี ะนำมาติด 2. ปราศจากโรคและแมลงตา่ ง ๆ 3. แขง็ แรงสมบรู ณ์ 4. มขี นาดเส้นผา่ ศูนย์กลางประมาณ 1 – 3 ซม. การเลือกก่งิ พนั ธดุ์ ี 1. ควรปราศจากโรคและแมลง 2. ตาทจ่ี ะนำมาติดควรเปน็ ตาทเี่ จรญิ เป็นกิ่ง ไมใ่ ชต่ าดอก 3. ไมค่ วรใช้ตาที่ 1 - 3 นบั จากปลายยอด เพราะตาดังกลา่ วสว่ นมากเป็นตาดอก 4. ควรเปน็ ตาท่ีสมบรู ณ์พร้อมทจี่ ะแตกยอด 2. ประเภทของการตดิ ตา การติดตาแบ่งออกได้ 5 ประเภทใหญ่ ๆ คือ 1) การติดตาแบบตัวที 1.1 การติดตาแบบตัวที (T-Budding หรือ Shield Budding) เป็นวิธีที่ได้รับความนิยมในการตดิ ตามากที่สุด สามารถทำได้ง่ายและรวดเร็ว โดยการเตรียม ต้นตอ เป็นรูปตัวที จึงเรียกชื่อวิธีการติดตาตามรูปร่างของแผลที่เตรียมของต้นตอหรืออาจเรียกอีกชื่อว่า Shield Budding ก็ได้ตามลักษณะการเฉือนแผ่นตาเปน็ รูปโล่ท่ีใช้สอดเข้าไปในแผลท่ีเตรยี มไว้ ต้นตอที่ใช้ควร
~ 35 ~ อยู่ในระยะที่กำลังมีการเจริญเติบโต อายุต้น 1-2 ปี หรือต้นตอที่มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 0.5 นิ้ว สามารถลอก เปลอื กของลำต้นได้งา่ ย เปลอื กไม่บางหรือหนาเกนิ ไป นิยมใชก้ ับ ส้ม กหุ ลาบ พทุ รา การเตรียมต้นตอ เลือกตำแหนง่ บนต้นตอบรเิ วณปล้อง กรดี เปลือกเปน็ แนวยาวลงมา 1 นว้ิ และกรีด ขวางแนวบนรอยแรกทางด้านบนคล้ายรูปตัวที ใช้ปลายมีดและเปลือกจากหัวตัวที ให้เผยออกมาสำหรับสอด แผ่นตาได้ การเตรยี มแผน่ ตา 1. เฉอื นแผ่นตาของกิ่งพันธด์ุ เี ปน็ รูปโลค่ วามยาวประมาณ 1 นว้ิ ให้มเี นื้อไมต้ ดิ ออกมาเลก็ น้อย 2. ใช้มอื จบั ขอบของแผน่ ตาหรือกา้ นใบทีเ่ หลอื อยู่ อยา่ แตะหรอื จบั บริเวณเนอ้ื เยื่อด้านใน 3. ลอกเอาเนือ้ ไม้ออกจากแผน่ ตา และระวงั อยา่ ใหจ้ ดุ เจริญของตาหลดุ ออกมาดว้ ย 4. สอดแผ่นตาเขา้ ไปในแผลของต้นตอที่เตรียมไว้ดันแผ่นตาทั้งแผ่น ให้เข้าไปอยู่ตรงกลางของตัวทถี ้า มีส่วนบนของแผ่นตายงั เลยหวั ตวั ทีออกมาทับเปลือกตน้ ตอต้องใช้มีดตัดสว่ นเกินนั้นออกมิฉะนั้นแผ่นตาจะเน่า และแห้งตายได้ 5. การพันด้วยพลาสติกควรพันจากด้านลา่ งขึ้นด้านบนให้ทับตาหรือเปิดคร่อมตาไว้ก็ได้เพราะเปลือก ตน้ ตอปิดทบั แผ่นตาไว้จึงไม่สูญเสีย ความชน้ื ได้ง่ายนักถ้าปิดผา้ พลาสติกทับตาไว้ต้องสังเกตในระยะท่ีตา เริ่มมี การเจริญเตบิ โตใหก้ รีดผา่ พลาสติกบรเิ วณตาใหส้ ามารถเจรญิ ออกมาไดอ้ าจจะใช้เวลานานประมาณ 3 สปั ดาห์ เมอ่ื แผ่นตาเชื่อมต่อกับต้นตอดแี ล้วให้ตดั ปลายยอดของต้นตอเหนือแผ่นตาออก 2) การติดตาแบบเพลท ใช้กับพืชที่ต้นตอมีเปลือกหนากว่าแผ่นตาและสามารถลอกเปลือกได้ ขนาดของต้นตอควรมี เส้นผ่าศูนย์กลางมากกว่า 0.5 นิ้วขึ้นไป ใช้ได้ดีกับพืชที่ติดตาได้ยากและมีน้ำยางมาก เช่น ยางพารา มะม่วง เงาะ อาโวกาโด 2.1 การตดิ ตาแบบ H-Budding การเตรียมต้นตอ กรีดเปลือกของต้นตอเป็นแนวยาวลงมา สองแนวให้ขนานกันแล้วกรีดขวางบริเวณ กลางเสน้ จะเป็นรปู รา่ งตวั H และลอกเปลือกออกท้งั ด้านบนและลา่ ง การเตรียมแผ่นตา เฉือนแผ่นตาเป็นรูปสี่เหลี่ยมหรือรูปโล่ และลอกเนื้อไม้หลังแผ่นตาออกก่อนสอด เขา้ ไปในแผลทีเ่ ตรียมไว้
~ 36 ~ 2.2 การติดตาแบบ I - Budding (Window Budding) เป็นวิธีท่ีเตรียมต้นตอเปน็ รูปตัวไอแล้วเปดิ เปลอื กออกมาจึงคล้ายกับ การเปิดหน้าต่างจึงอาจเรียกอกี ชอ่ื หนง่ึ วา่ Window Budding 3) การติดตาแบบแพทช์ 3.1 การตดิ ตาแบบ Patch Budding เป็นวิธีที่นิยมใช้กับพืชที่ติดได้ง่ายมีเปลือกหนา และสามารถลอกเปลือกได้ เช่น อาโวกาโด วอลนัท ขนาดของต้นตอและกิ่งพันธุ์ดีใกล้เคียงกัน มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1 นิ้ว ส่วนเปลือกต้นตอจะเอาแผ่น เปลอื กออกทง้ั หมด การเตรียมต้นตอ กรีดเปลือกต้นตอเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า แกะเปลือกออกมาทั้งหมด อาจมีการกรีด แผลไวโ้ ดยยงั ไมล่ อกเปลือกออกมา เพ่ือช่วยใหเ้ กิดการสร้างเนือ้ เยือ่ แคลลสั ไว้กอ่ นระยะหน่ึงก็ได้ การเตรียมแผ่นตา เฉือนแผ่นตาเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า โดยใช้วิธีการกรีดเปลือกต้นตอให้มีขนาด เทา่ กบั แผลของตน้ ตอทเ่ี ตรยี มไว้ ควรให้สวมเข้าไปขนาดพอดกี ัน การพันด้วยพลาสติกให้ปิดทับแผ่นตาทั้งหมด จะได้ผลดีกว่าคร่อมแผ่นตาไว้ เพื่อช่วยไม่ให้มีการ สูญเสียนำ้ จากรอยแผลได้ 4) การตดิ ตาแบบชพิ
~ 37 ~ การติดตาแบบ Chip Budding เป็นวิธีที่ใช้กับพืชที่ไม่สามารถลอกเปลือกได้ มีเปลือกบางหรือต้นอยู่ในระยะการพักตัว มักใช้ กับ พืชที่ไม่มีน้ำยางและมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ของต้นตอประมาณ 0.5-1.0 นิ้ว เช่น องุ่น เป็น วิธีการเฉือนเข้า ไปในเนอื้ ไมจ้ งึ เรยี กชอื่ ตามการทำงาน การเตรียมต้นตอ เฉือนต้นตอเข้าไปในเนื้อไม้ให้ลึก เลยแนวเนื้อเยื่อเจริญเข้าไปให้แผลยาวลงมา ประมาณ 0.5-1.0 นิ้ว ใช้มีด ตัดปลายด้านล่างของรอยแผลให้ จรดกับรอยที่เฉือนไว้เอียงทำมุม 45 องศา จากนั้นเฉือนข้ึนดา้ นบนลึกตามแนวเดิมและตัดปลายด้านบน เอียงทำมุม 45 องศาเช่นกัน สำหรับเป็นส่วนยึด แผ่น ตาไว้ เป็นวธิ ีทเี่ ตรยี มต้นตอค่อนข้างชา้ กว่าวิธอี น่ื ๆ การเฉอื นแผน่ ตา ทำเชน่ เดยี วกบั ขนาดของแผลทเ่ี ตรียม บนตน้ ตอใหส้ ว่ นของตาอยู่ตรงกลางแผ่น ตาสอดแผ่นตาเข้าไปทางด้านข้างของแผลที่เตรียมไว้บนต้นตอ การพันด้วยพลาสติกให้ปิดมิดทับแผ่นตา ท้ังหมด
~ 38 ~ หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 8 การขยายพันธ์พุ ืชด้วยวิธกี ารต่อก่ิง และทาบกิ่ง 1. การต่อกิ่ง คือ การนำกิ่งพันธุ์ที่มีมากกว่า 1 ตา ไปทำการต่อกิ่งบนต้นตอ เพื่อให้ได้พันธุ์ดีตามต้องการ กิ่ง พันธ์ดุ แี ละตน้ ตอน้ีจะเจริญเป็นต้นพืชตน้ เดียวกนั เป็นวิธกี ารขยายพนั ธุ์พชื ท่ีใช้กันอย่างแพร่หลายในปัจจุบันน้ี พืชทขี่ ยายพนั ธ์ุเชน่ น้ี ชบา มะม่วง พุทรา โกสน เปน็ ต้น 1.1. ประเภทของการต่อก่งิ แบ่งออกได้ 3 ประเภท คอื 1. การต่อราก (Root Grafting) การนำเอากิ่งพันธุ์ดีมาต่อกับส่วนของรากของต้นตอ โดยตรง อาจเป็นรากทั้งหมด หรือบางส่วนของรากก็ได้ วิธีนี้นิยมทำกบั พืชเมืองหนาว เช่น แอปเปิ้ล แพร์ โดย การต่อเข้าลน้ิ 2. การต่อคอดิน (Crow Grafting) การนำเอากิ่งพันธุ์ดีมาต่อบนต้นตอในระดับใต้ดิน เล็กน้อย หรือตรงจุดที่เป็นรอยต่อระหว่าง ลำต้นและรากของต้นตอ นิยมใช้กับการเปลี่ยนพันธุ์องุ่นที่มีอายุ มาก ๆ แบบของการตอ่ ก่ิงใชแ้ บบเสียบลมิ่ 3. การต่อยอด (Top Grafting) การนำเอากิ่งพันธุ์ดีมาต่อบนต้นตอเหนือระดับ ให้สูงกว่า การต่อระดับคอดิน รวมถึงการต่อต้นพืชที่อยู่สูงจากผิวดินมาก ๆ ด้วย เป็นวิธีที่นิยมแพร่หลายกันมากที่สุด เพราะใช้ได้กับพืชแทบทุกชนิด แบบต่าง ๆ ในการต่อยอด ซึ่งเป็นวิธีการที่นิยมแพร่หลายมากที่สุด สามารถ จำแนกออกไดห้ ลายแบบ คอื 1) การต่อกง่ิ แบบเสียบล่ิม (Cleft Grafting) เป็นวิธีที่ต้องตัดยอดต้นตอและไม่ต้องลอกเปลือกต้นตอใช้ได้ทั้งกิ่งที่มีขนาดเล็ก และขนาดใหญ่ แต่ ขนาดของกิ่งที่พอเหมาะจะมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1 – 4 นิ้ว กิ่งพันธุ์ดีควรเป็นกิ่งแก่อายุประมาณ 1 ปี นิยมใช้ในการเปลี่ยนยอดไม้ผลหลายชนิด เช่น ลำไย ขนุน น้อยหน่า สาลี่ พืชที่ขยายพันธุ์ด้วยวิธีนี้ควรมี เสี้ยนเนอ้ื ไม้ตรงเม่ือก่ิงพนั ธ์ุดเี จริญแล้วรอยประสาน จะแขง็ แรงกวา่ วธิ ีแบบอื่น ๆ ขอ้ เสยี คอื ต้องผ่าเนื้อไม้เข้า ไปจึงอาจมเี ชื้อโรคเข้าทำลายไดง้ ่าย และหากต่อกงิ่ ไมป่ ระสพผลสำเรจ็ จะทำให้ตน้ ตอเสียหายได้
~ 39 ~ 2) การต่อก่งิ แบบฝานบวบ (Spliced Grafting) ขนาดของกิ่งพันธุ์ดีและต้นตอควรมีขนาดใกล้เคียงกันและมีลักษณะที่ต่อเรียบและตรง โดยการเฉือน ก่ิงตน้ ตอและกง่ิ พันธุ์ดีให้เฉยี งเป็นแนว ยาวประมาณ 1.0-1.5 นิว้ ประกบแผลทั้งสองกิ่งให้เข้ากันพอดี การพัน ด้วยผ้าพลาสติกของวิธนี ้ไี ม่สามารถทำงานได้สะดวกนัก 3) การตอ่ ก่ิงแบบเข้าเดือย (Saddle Grafting) นิยมใชก้ บั การขยายพนั ธโุ์ ป๊ ยเซียน โดยการตดั ยอดตน้ ตอออกแลว้ เฉือนใหเ้ ฉียงทง้ั สองขา้ งของกง่ิ เขา้ มาจรดกนั ตรงกนั การเตรยี มกง่ิ พนั ธดุ์ ใี หเ้ ฉอื นเป็นรูปลิม่ รูปรา่ งพอดกี บั แผลท่เี ตรยี มไวบ้ นตน้ ตอแล้วครอ่ มบนต้นตอ 4) การตอ่ กงิ่ แบบเสียบเปลือก (Bark Grafting)
~ 40 ~ เป็นวิธีที่ต้องตัดยอดต้นตอและสามารถลอกเปลือกได้ จึงนิยมใช้กับพืชที่มีเปลือกหนา และต้นอยู่ใน ระยะกำลังเจริญเติบโต ข้อดีของวิธีนี้ คือ เนื้อไม้จะไม่ถูกผ่าออกจากกัน โอกาสที่รอยต่อจะเน่าหรือถูกทำลาย จากเชอื้ โรคจึงมีน้อย ข้อเสยี ของวิธนี ี้ คือ รอยตอ่ ของกิ่งพันธุด์ ีและต้นตออาจไม่แขง็ แรงนัก ฉีกหักได้ง่าย ใช้ได้ ดีกับมะม่วง อาโวกาโด วิธีการการตอ่ กง่ิ แบบเสียบเปลือก Bark Grafting เลือกต้นตอที่มีลักษณะตรง ตัดยอดต้นตอออกบริเวณใต้ข้อ ใช้มีดกรีดเปลือกลงมายาวประมาณ 1-2 นิ้ว เผยอเปลือกออกทัง้ สองขา้ งของรอยกรีด การเตรียมกิ่งพันธ์ุดีเฉือนกิ่งพันธ์ุดีให้เฉียงลงเป็นปากฉลาม แล้วบากโคนแผลของรอยเฉอื นให้เป็นบ่า และเฉือนปลายรอยเฉือนทางด้านตรงข้ามเล็กนอ้ ย เสียบยอดพันธุ์ดีให้รอยบากเข้าหาต้นตอ และให้บ่านั่งบน หวั ตน้ ตอพอดี จงึ พันดว้ ยผา้ พลาสติก 5) การตอ่ กิง่ แบบเสยี บข้าง (Side Grafting) เป็นวิธที ี่ไมต่ ้องลอกเปลือกต้นตอจึงใช้ได้กบั พืชทีอ่ ยู่ในระยะพักตัว ขณะทำการต่อกิ่งต้นตอจะมเี รอื น ยอดช่วยในการสร้างอาหารและป้องกันกิ่งพันธ์ดุ ีถูกแสงแดดมากเกินไปได้ เมอื่ เกดิ การเชื่อมประสานแล้วจึงตัด ยอดต้นตอออก หากต่อกิ่งไว้ไม่ประสบผลสำเร็จต้นตอจะไม่เสียหายมาก ควรเลือกใช้กับต้นตอที่มีขนาดเล็ก ประมาณดนิ สอดำ และมขี นาดไมใ่ หญ่มากนัก นยิ มใชก้ บั พืชหลายชนิด เชน่ สนประดบั โกสน เลบ็ ครฑุ วิธกี ารการต่อกิ่งแบบเสยี บข้าง เรยี กอีกชือ่ หนึ่งว่า Stub Grafting เลอื กต้นตอท่ีมี ลกั ษณะตรง ใชม้ ดี เฉอื นตน้ ตอเข้าไปในเน้ือไม้ เป็น มมุ 20-30 องศา เปน็ แนวยาวลงไปความยาว 2-3 น้วิ
~ 41 ~ 6) การต่อกิง่ แบบเขา้ ล้นิ ( Tongue Grafting ) เปน็ วิธที ใี่ ช้กบั พืชทม่ี ตี น้ ตอและกง่ิ พันธุ์ดีขนาดเทา่ กนั และเปน็ กิง่ ที่มขี นาดเล็กนยิ มใช้กับพืชท่ีมีก่ิงตรง และเรยี บ วธิ ีการตอ่ กิ่งแบบเข้าล้นิ เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า Whip Grafting เฉือนต้นตอเฉียงขึ้นให้เป็นปากฉลาม ยาวประมาณ 1-2 น้ิว แล้วแต่ขนาดของกิ่ง ผ่าต้นตอเข้าไปในเนื้อไม้จากตำแหน่งหนึ่งในสามจากปลายแผลลงมา ยาวเสมอถึงโคน แผลของรอยเฉือน นิยมใช้กับต้นตอที่มีรากแล้ว เพื่อต้องการใช้กิ่งพันธุ์ดีสำหรับเปลี่ยนยอดพันธุ์ส่วนบน จึง อาจเรียกตามตำแหน่งที่ต่อว่า Root Grafting บางครั้งเรียกว่า Bench Grafting เพราะเป็นแบบที่นิยมต่อกิ่ง บนโต๊ะ และทำเป็นจำนวนมากกบั พืชพวก องุ่น สาล่ี แอปเปิล ไม้ยืนต้นทใ่ี ชป้ ระดับหลายชนิด 2. เทคนิคการทาบกิ่ง การนำต้นพชื 2 ตน้ ซ่งึ ต่างกนั ก็ยังมรี ากและยอดด้วยกนั มาทำให้เชื่อมประสานติดเปน็ เนื้อเดยี วกนั ก่ิง พันธุท์ ใ่ี ช้ทาบกบั ต้นตอน้ัน ควรจะมีขนาดเทา่ ๆ กบั ต้นตอหรอื จะใหญ่กว่ากันบา้ งก็ได้ ถา้ กิ่งพันธ์ุดีมีขนาดใหญ่ กว่าต้นตอมาก ๆ ควรใช้ต้นตอทาบให้มากกว่า 1 ต้น กิ่งพันธุ์ดีนี้จะต้องเป็นกิ่งพันธุ์ที่ต้องการจึงควรเป็นต้น พันธุ์ที่ทราบคุณภาพแน่นอนแล้วว่าเป็นพันธุ์ที่ให้ผลผลิตตามที่ต้องการจริง ๆ จึงจะทาบกิ่งมาปลูก ข้อสำคัญ จะต้องเป็นพืชในตระกูลเดยี วกนั หลังจากที่ทำการทาบกิง่ พันธุ์ดกี ับต้นตอจนแผลเชือ่ มกันดีและจะตัดกิ่งทาบ ออกจากต้นแม่ ในกรณีที่ทาบแบบประกับจะตอ้ งตัดยอดต้นตอเหนือรอยต่อออกทิง้ ไปเหลือเฉพาะส่วนของกิ่ง พันธ์ุดเี ท่านน้ั ในปัจจุบันชาวสวนนิยมเตรียมต้นตอที่จะนำไปทาบ โดยอัดขุยมะพร้าวลงในถุงพลาสติกแทนการใช้ ดิน ทำให้มนี ำ้ หนักเบา และไมต่ อ้ งรดน้ำไดเ้ ปน็ เวลานาน
~ 42 ~ ต้นตอ (Stock) ต้นพืชที่นำมาเป็นส่วนรากที่เรียกว่า ต้นตอ (Stock) ซึ่งเป็นส่วนระบบรากของต้นพืชที่จะมาทาบก่ิง ติดตา หรือต่อกิ่ง ในส่วนนี้จะทำหน้าที่เป็นระบบรากของต้นพืชจะเป็นส่วนที่อยู่ต่ำกว่ารอยต่อ กิ่งพนั ธ์ดุ ี (Scion Wood) หรอื ตาพันธดุ์ ี (Bud Wood) ส่วนกิ่งหรือตาที่เราจะนำมาติดบนต้นตอนั้น เราเรียกว่า กิ่งพันธุ์ดีหรือถ้าเป็นตาจะเรียกว่าตาพันธุ์ดี เปน็ ส่วนทอี่ ยเู่ หนือรอยต่อ ทำหน้าท่ีเปน็ ยอด ใหด้ อกออกผลต่อไป 2.1 การทาบกิ่งแบบต่าง ๆ 1) การทาบกิง่ แบบประกบั Approach Grafting เปน็ วธิ กี ารท่ีตน้ พืชท้งั สองท่นี ำมาต่อกันยังไม่ถูก ตดั ยอดออก ซงึ่ จะทำการต่อกิ่งใหเ้ กดิ การเชอ่ื มต่อกันแล้วจึงตัดยอดของตน้ ท่ีไม่ตอ้ งการออก รูปแบบการทาบก่ิงแบบประกบั Approach Grafting 1.1) การทาบก่ิงแบบประกบั ธรรมดา (Spliced Approach Graft) เลือกก่งิ พันธุ์ดีและต้นตอท่ีมีขนาดใกล้เคียงกัน ใช้มดี เฉอื นก่งิ พันธดุ์ ีเป็นรูปโล่ใหแ้ ผลยาว ประมาณ 2- 3 นิ้ว ส่วนเหนือรอยเฉือนของ กิ่งพันธุ์ ดียาว 30-50 เซนติเมตร จากนั้นเฉือนต้นตอเป็นแผลขนาดเท่ากัน บริเวณใกลก้ ับส่วนโคนกิง่ แลว้ ทาบกนั ใหส้ นทิ จงึ พนั ด้วย ผ้าพลาสติก 1.2) การทาบกงิ่ แบบเข้าล้นิ (Tongued Approach Graft) ปฏิบัติเช่นเดียวกับแบบ Spliced Approach Graft แตกต่างกันบริเวณรอยเฉือนจะทำเป็นลิ้น โดย เฉือนเข้าในเนื้อไม้จากตำแหน่งหนึ่งในสามของ กิ่งทั้งสองให้หงายขึ้นและคว่ำลง ทาบกิ่งทั้งสองให้ลิ้นสอดกัน เพื่อทำให้รอยประสาน ไม่ฉีกหักง่ายและยังเป็นการเพ่ิมพื้นที่สัมผัสของแนว เนื้อเยื่อเจริญอีกด้วยนอกจากน้ัน ยังทำให้การพนั ผ้าพลาสติกทำไดส้ ะดวก
~ 43 ~ 1.3) การทาบก่งิ แบบแกะเปลือก (Inlay Approach Graft) เป็นวิธีที่ใช้กับพืชที่มีขนาดแตกต่างกันมากระหว่าง ต้นตอและกิ่งพันธุ์ดีหรือพืชที่มีเปลือกของต้นตอ หนากว่า กิ่งพันธุ์ดีมักเป็นต้นที่มีขนาดใหญ่กว่าจะต้องมีเปลือกล่อน สามารถลอกออกได้จึงจะใช้วิธีนี้ นิยมใช้ กบั มะมว่ ง มะปราง กระท้อน ขนนุ มะขามหวาน ทุเรียน 2) การทาบกิ่งแบบเสียบ Inarching เป็นวิธีการที่ตัดยอดออก แต่มีระบบรากมาเสียบเข้ากับต้นพชื อีกพนั ธหุ์ น่งึ ที่มที ้ังระบบรากและยอด 3. ประโยชนท์ ไ่ี ดร้ ับจากการทาบก่งิ 1. ช่วยให้ได้พืชพันธุ์ดีไปเพาะปลูก 2. ช่วยเปลี่ยนพนั ธุพ์ ืชที่ไม่ดีให้เป็นพันธ์ุทีต่ ้องการ เช่น นำต้นเงาะพันธุ์ดีไปทาบกับตน้ เงาะที่คณุ ภาพ ไมด่ ีเมือ่ แผลเช่ือมสนทิ ดีแลว้ ตดั ต้นพันธุด์ ีใตร้ อยต่อออกจะทำให้ได้ก่ิงพนั ธ์ุดีติดอย่บู นต้นตอพันธุ์ท่ีมีคุณภาพไม่ ดี 3. เปน็ วิธีการท่ใี ช้กบั พชื ท่ีไม่สามารถตอ่ ก่ิงกันได้ หรือต่อได้ยาก หากใชว้ ิธีการทาบกิ่งจะไดผ้ ลดกี ว่า 4. ทำให้ไดพ้ ืชหลายชนิดหลายพันธอ์ุ ยบู่ นตน้ เดียวกัน
~ 44 ~ หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 9 การขยายพันธุพ์ ืชดว้ ยวิธีการเพาะเลยี้ งเนื้อเยอื่ พชื การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ คือ การนำเอาส่วนใดส่วนหนึ่งของพืช ไม่ว่าจะเป็นส่วนอวัยวะ หรือส่วน เนื้อเยื่อ มาเลี้ยงในอาหารวิทยาศาสตร์ที่ประกอบด้วย แร่ธาตุ น้ำตาล วิตามิน และสารควบคุมความ เจรญิ เติบโต ภายใตส้ ภาพปลอดเชื้อจุลินทรีย์และอยใู่ นสภาวะควบคุมอุณหภูมิ แสง ความชน้ื โดยส่วนของพืช ที่นำมาเล้ียงนี้จะสามารถเติบโตพัฒนาได้หลายรูปแบบ ไม่ว่าจะพัฒนาเป็นส่วนอวัยวะ เกิดเป็นกลุ่มเซลล์ท่ี เรียกว่า แคลลัส หรือ คัภพะ (ต้นอ่อนขนาดเล็ก) ที่เรียกว่า “เอ็มบริโอ” ซึ่งในที่สุดก็จะสามารถบังคับให้ส่วน ต่าง ๆ เหล่าน้ีเกดิ เปน็ ตน้ ใหม่ที่มรี ากทส่ี มบูรณ์สำหรับการนำไปปลูกลงดนิ ต่อไปได้ ปัจจุบันมีการพัฒนา และนำมาใช้แก้ปัญหาหรือเพื่อประโยชน์ในภาคเกษตร และภาคอุตสาหกรรม กันมากขึ้น เช่น การนำหน่อที่มีคุณลักษณะที่ดีของหน่อไม้ฝร่ังมาผลิต-ขยายด้วยวธิ ีเพาะเลี้ยงเน้ือเยือ่ เพื่อลด ปัญหาการใช้เมล็ดซึ่งมีการคละเพศ นอกเหนือจากราคาของเมล็ดพันธุ์ที่ค่อนข้างสูงและยังต้องนำเข้าจากต่าง ประเทศอกี ด้วย เปน็ ต้น 1. ประโยชน์ของการเพาะเลยี้ งเนื้อเยอ่ื พชื 1. เพ่ือการขยายพันธพ์ุ ชื ใหไ้ ดเ้ ปน็ จำนวนมากในเวลาอันรวดเรว็ ไดแ้ ก่ การเพาะเลยี้ งแคลลัส การ เพาะเลยี้ งตายอด เป็นต้น เพอื่ ผลิตพนั ธุ์พืชซง่ึ เราสามารถขยายหรือเพิ่มปริมาณพชื ทีม่ ลี ักษณะเหมือนพ่อแม่ใน ปริมาณมาก และรวดเร็ว โดยอาศัยสูตรอาหารสังเคราะห์ที่เหมาะสมต่อพืชแต่ละชนิดสามารถเพิ่มจำนวนตน้ พืชเป็นทวีคูณ สะดวกต่อการเก็บรักษารวบรวมพันธุ์ แนวทางนี้ใช้กันแพร่หลายทั่วไปในประเทศ ไทย มีพืช หลายชนดิ ที่เรานำมาขยายพันธ์ุดว้ ยวิธนี ้ี เชน่ กล้วยไม้ ปาล์มน้ำมนั กลว้ ย สตรอเบอร่ี ไมด้ อกไมป้ ระดับต่าง ๆ เปน็ ตน้ 2. เพื่อการผลิตพืชที่ปราศจากโรค ปัญหาสำคัญประการหนึ่งในการผลิตพืช คือ การเกิดโรคพืช โดยเฉพาะโรคที่มีสาเหตุจากเชื้อ แบคทีเรีย ไวรัส และไฟโตพลาสมา ที่ติดมากับเมล็ดหรือส่วนขยายพันธุ์ต่าง ๆ ที่มีความสำคัญมากต่อการผลิตพืช เนื่องจากทำให้ผลผลิตลดลงอย่างมาก ทำโดยการใช้เทคนิคการ เพาะเลย้ี งเนอ้ื เย่อื เจรญิ ปลายยอด จะสามารถผลติ พชื ที่ปราศจากเชอื้ ได้ 3. เพื่อการเก็บรักษาเชื้อพันธุกรรมของพืช โดยเก็บรักษาในรูปแคลลัส หรือต้นที่สมบูรณ์ในหลอด ทดลองสามารถทำได้คราวละมาก ๆ แต่ใชเ้ นื้อท่แี รงงานต้นทุนน้อย ปลอดภัยจากภัยธรรมชาติที่อาจเกิดขึ้นใน แปลงรักษาพนั ธุด์ ว้ ย 4. เพื่อการผลิตยาหรือสารเคมีจากพืช โดยนำเนื้อเยื่อของพืชบางชนิดที่มีคุณสมบัติเป็นยาหรือ สารเคมีท่มี ปี ระโยชน์ทางอตุ สาหกรรม 5. เพอื่ การปรบั ปรุงพนั ธุ์ สามารถคดั เลือกสายพันธุ์ที่ทนทาน หรอื ตา้ นทาน ได้จากเงอื่ นไขของอาหาร และสภาวะแวดล้อมของการเลย้ี ง หรือการชักนำการกลายพนั ธ์ุ โดยใช้รังสี หรอื สารเคมี
~ 45 ~ 6. การศกึ ษาทางชีวเคมี สรีรวทิ ยา และพันธุศาสตร์ พืชทเ่ี ล้ียงในอาหารสงั เคราะหส์ ามารถตดิ ตามการ พัฒนาและการเปลีย่ นแปลงในดา้ นเหลา่ น้ีได้ง่าย ชัดเจน และถูกต้องแม่นยำ เนื่องจากการควบคมุ ตัวแปรต่าง ๆ ทำไดด้ กี วา่ ในสภาพปลกู ปกติ 2. ข้อจำกัดสำหรบั การขยายพันธ์ุด้วยเทคนคิ การเพาะเลี้ยงเนอ้ื เย่ือ 1. ลกั ษณะทางพนั ธุกรรมท่ีตอ้ งการอาจเปลี่ยนแปลงไปจากเดมิ (ในกรณกี ารชกั นำตน้ จากแคลลสั ) 2. ในพืชบางชนิด (ไม้เนื้อแข็ง) ชักนำการเกดิ รากคอ่ นขา้ งยาก 3. การยา้ ยปลูกต้นไม้จากการเพาะเลย้ี งเนือ้ เย่ือลงปลกู ในดนิ ค่อนขา้ งยงุ่ ยาก 4. การลงทุนสูง เพราะต้องใชห้ ้องปฏิบัติการ เคร่อื งมอื และสารเคมีเฉพาะทาง ซึ่งมรี าคา งานประณีต จึงมีค่าแรงสูง ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการค้นคว้าหาเทคนิคและอาหารที่เหมาะสม รวมทั้งต้องลงทุนในการสร้าง หอ้ งปฏิบตั ิงานสงู ทำให้ตน้ ทุนการผลติ ต่อหนว่ ยค่อนข้างสูง จะต้องผลิตจำนวนมาก ๆ จึงจะคุ้ม 4. นำต้นพืชแช่ในสารปอ้ งกันเช้ือราและแบคทีเรยี เป็นเวลา 3-5 นาที ก่อนปลกู เพือ่ ป้องกันโรคต้นเน่า เน่ืองจากพืชยังออ่ นแอ ตอ่ การเขา้ ทำลายของเช้อื โรค 5. นำมาปลกู ในถาดเพาะชำหรอื เขา้ สกู่ ารอนุบาลตอ่ ไป
~ 46 ~ เอกสารอา้ งอิง การขยายพันธพุ์ ืช. 2552. แหล่งท่ีมา : http://free-ebook-ram.blogspot.com 10 ม.ิ ย. 2561 ธงชยั สุวัฒน์เมฆนิ ทร์. (2522). การขยายพนั ธุพ์ ชื . หน่วยศึกษานิเทศก์ กรมอาชีวศกึ ษา กระทรวงศึกษาธิการ. นินทยิ า วรรธนะภตู ิ. (2553). การขยายพนั ธ์ุพชื . (พิมพ์ครง้ั ท่ี 4). กรุงเทพฯ : พิมพ์ที่ โอ. เอส. พริ้น ติง้ เฮ้าส์. มหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช. (2537). เอกสารประกอบการสอนชุดวชิ าเกษตรท่ัวไป 2 : พืช เศรษฐกิจ. หนว่ ยที่ 1-7. (พิมพ์คร้ังท่ี 7). นนทบุร.ี โรงพมิ พ์ มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช. ศราวุธ อินทรเทศ. ม.ป.ป. วชิ าเทคนคิ การขยายพันธพุ์ ืช. ม.ป.พ. : 218 หนา้ สนัน่ ขำเลิศ. 2541. หลกั และวิธปี ฏิบตั กิ ารขยายพนั ธพุ์ ืช. กรงุ เทพฯ: รว้ั เขยี ว พิมพ์คร้ังที่ 2 207 น.
Search
Read the Text Version
- 1 - 50
Pages: