Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ตู้ฟักไข่ระบบอัตโนมัติ55556

ตู้ฟักไข่ระบบอัตโนมัติ55556

Published by ืีืnun korkham, 2020-10-21 09:25:54

Description: ตู้ฟักไข่ระบบอัตโนมัติ55556

Search

Read the Text Version

รายงานโครงงานวทิ ยาศาสตร์ ประเภทส่งิ ปรกะดิษฐ์ เร่ือง ตฟู้ กั ไขร่ ะบบอัตโนมตั ิ จัดทำโดย 1. นายญาณกร แซ่จ๋าว 2. นางสาวณัฐนนั ท์ จิตมะโน 3. นางสาวธัญสดุ า อภชิ ัยพรกุล ครูที่ปรกึ ษา 1.นายนันท์ ก้อคำ 2.นางสาววรรณกิ า ริกากรณ์

ข โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๒๔ จงั หวัดพะเยา สำนกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36 รายงานฉบบั นี้เปน็ สว่ นประกอบของโครงงานวิทยาศาสตรป์ ระเภทสิ่งประดษิ ฐ์ ระดับช้นั มัธยมศึกษาตอนปลาย โครงงานเรือ่ ง ตู้ฟกั ไข่ระบบอตั โนมัติ โรงเรียน ราชประชานเุ คราะห์ ๒๔ จงั หวดั พะเยา ครูท่ีปรกึ ษา 1. นายนันท์ ก้อคำ 2. นางสาววรรณิกา รกิ ากรณ์ ผจู้ ดั ทำโครงงาน ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 1. นายญาณกร แซจ่ า๋ ว 2. นางสาวณฐั นนั ท์ จติ มะโน ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 5 3. นางสาวธญั สุดา อภิชยั พรกุล ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 5

ก บทคัดย่อ โครงงานเรื่อง ตู้ฟักไข่ระบบอัตโนมัติมีวัตถุประสงค์เพื่อ1)เพื่อสร้างตู้ฟักไข่ระบบอัตโนมัติ 2) เพือ่ ลดต้นทุนในการซื้อตูฟ้ ักไข่แบบอตั โนมตั ิทมี่ รี าคาแพงใชเ้ อง 3)เพือ่ เพมิ่ ประสทิ ธิภาพในการฟัก เปน็ ตัวมากกว่าการใหแ้ ม่ไก่ฟกั เอง วิธีการดำเนนิ งานเร่มิ จาก1.รวมกล่มุ เพอื่ ระบุปญั หาหรือโครงงานที่อยากทำ2.รวบรวมข้อมูล และแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับปัญหารวมถึงศึกษาและค้นคว้าเกี่ยวกับตู้ฟักไข่ระบบอัตโนมัติ ที่สามารถ นำมาประยุกต์ใช้งานได้ในแบบต่างๆ และสามารถใช้งานได้จริง โดยใช้ความรู้ STEM มาช่วยในการ แก้ปัญหา และพัฒนาโครงงานนี้3.ออกแบบตู้ฟักไข่ระบบอัตโนมัติ ตามที่ได้วางแผนโดยคำนึงถึง ทรพั ยากร ข้อจำกัดและเงือ่ นไขของโครงงานสะเต็ม4.ดำเนินการส่ังซือ้ วัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ ท่ีจำเป็นใน การทำงานตามที่ได้ออกแบบไว้เรียบร้อยแล้ว5.ลงมือสร้างชิ้นงานที่ได้ทำการออกแบบไว้ทำการ ทดสอบ ประเมินผล และปรับปรุงแก้ไขปัญหาการทำงานของระบบเพื่อหาข้อบกพร่องเพื่ อการ ปรบั ปรุงและพฒั นาให้มีประสิทธิภาพในการใชง้ านได้อยา่ งเหมาะสมที่สุดตอ่ ไป ผลการสร้างตฟู้ กั ไข่ระบบอัตโนมัติ นัน้ ทำใหส้ ามารถนำความรู้ทางดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศ มาประยกุ ต์ใช้ในควบคุมตู้ฟักไข่ เพื่อให้ผ้ใู ช้งานมีความสะดวกต่อการดำรงชวี ติ โดยผู้จัดทำได้ออกแบบ การจำลองตู้ฟักไข่ระบบอัตโนมัติ สามารถแก้ปัญหาร่วมกับเพื่อนในกลุ่มในขณะที่ดำเนนิ โครงงานได้ อย่างมีประสิทธิภาพ จำนวนไข่ที่ฟักออกมาเป็นตัวระหว่างตู้ฟักไข่ระบบกลับมือและตู้ฟักไข่ระบบ อัตโนมัติที่ได้สร้างขึ้นมีเปอร์เซ็นต์การฟักออกเป็นตัวต่างกันคือตู้ฟักไข่ระบบอัตโนมัติสามารถฟัก ออกมาเป็นตัว 83% ส่วนตู้ฟักไข่ระบบกลับมือ สามารถฟักออกมาเป็นตัว 45% ต่างกันประมาณ 32% ผลการทดลองนี้ทำให้ทราบว่าตู้ฟักไขร่ ะบบอัตโนมัติ มีประสิทธิภาพของตู้ฟกั ไข่ออกมาเป็นตัว ได้ดีกว่าตู้ฟักไข่ระบบกลับมือโดยใช้การทดลองกับไข่ 8 ฟอง ตู้ฟักไข่ของกลุ่มเราทำงานแบบระบบ อัตโนมัติโดยใช้ความรู้ที่ได้ศึกษาในรายวิชาวิทยาศาสตร์ควบคู่กับรายวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอ ร์ ประยุกต์ โดยเน้นเรื่องสมองกลฝังตัวนำมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์มากที่สุดกับสังคมและชุมชน ซึ่งตู้ฟักไข่ของเราสามารถนำไปเป็นเครื่องต้นแบบให้กับผู้ที่สนใจในระบบการทำงานแบบอัตโนมัติ ต่อไป

ข กติ ตกิ รรมประกาศ โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทสิ่งประดิษฐ์ เรื่อง ตู้ฟักไข่ระบบอัตโนมัตินี้สำเร็จได้อย่างดี โดย ได้รับคำแนะนำ และคำปรึกษาจากครูนันท์ ก้อคำ และ ครูวรรณิกา ริกากรณ์ ที่เป็นครูที่ปรึกษา โครงงาน และ เพ่อื นๆ ท่ีแนะนำหนงั สือทใ่ี ชใ้ นการทำโครงงานช้นิ นี้ คณะผู้จัดทำโครงงานรู้สึกซาบซึ้งในความอนุเคราะห์จากคุณครู และขอขอบพระคุณเป็น อย่างสูงที่ได้ประสิทธิ์ประสาทวิชาให้ตลอดจนการเอื้อเฟื้อสถานที่ และ ช่วยแก้ไขปัญหาต่างๆ เกย่ี วกบั การออกแบบและประดิษฐอ์ ปุ กรณ์ สุดทา้ ยนค้ี ณะผ้จู ดั ทำโครงงานขอกราบขอบพระคุณคุณครูทุกท่าน ที่เปน็ กำลงั ใจ และให้การ สนับสนุนในทุกเรื่อง ๆ ทำให้คณะผู้จัดทำโครงงานสามารถทำโครงงานช้ินนี้สำเรจ็ ลุล่วงด้วยดีคุณคา่ และคุณประโยชนอ์ นั พึงมาจากโครงงานช้ินนี้ คณะผ้จู ัดทำโครงงานขอมอบแดผ่ มู้ ีพระคุณทกุ ท่าน คณะผู้จัดทำโครงงาน 1. ญาณกร แซจ่ า๋ ว 2. ณัฐนนั ท์ จิตมะโน 3. ธญั สุดา อภชิ ัยพรกุล

สารบัญ ค บทคดั ย่อ หน้า กติ ติกรรมประกาศ สารบญั ก สารบัญตาราง ข สารบญั แผนภาพ ค จ บทที่ 1 บทนำ ฉ ทมี่ าและความสำคญั วตั ถปุ ระสงค์ 1 เปา้ หมายและขอบเขตของโครงงาน 1 สมมติฐาน 2 ตวั แปรทีศ่ ึกษา 2 นยิ ามศัพท์เฉพาะ 2 ประโยชนท์ ่ีคาดว่าจะได้รบั 2 2 บทท่ี 2 เอกสารทเี่ กยี่ วข้อง 2 แนวคดิ และหลกั การในการสร้างตู้ฟักไขร่ ะบบอตั โนมัติ ด้าน Hardware 3 ด้าน Software 3 4 บทท่ี 3 อุปกรณ์และวธิ ีการดำเนินงาน 8 อปุ กรณ์ วิธีการดำเนนิ งาน 9 9 บทท่ี 4 ผลการดำเนินการ 9 ผลการทดลองการสรา้ งตู้ฟกั ไข่ระบบอตั โนมัติ ผลการเปรยี บเทยี บราคาต้ฟู ักไขร่ ะบบอตั โนมัติ 12 ผลการทดลองการเพิ่มประสิทธภิ าพในการฟักเปน็ ตัวมากกวา่ การให้แม่ไกฟ่ กั เอง 12 12 บทที่ 5 สรุปผล อภปิ รายผลและขอ้ เสนอแนะ 13 สรปุ ผล 16 16

อภปิ รายผล ง ข้อเสนอแนะ 17 บรรณานุกรม 17 ภาคผนวก 18 19

สารบญั ตาราง จ ตารางที่ หน้า ตารางท่ี 1 อุปกรณ์ 9 ตารางที่ 2 การหาค่าประสิทธภิ าพของต้ฟู กั ไขร่ ะบบอตั โนมตั ิ 13

สารบญั แผนภาพ ฉ แผนภาพที่ หนา้ รูปท่ี 1 ภาพแสดงตวั อยา่ ง KidBright 4 รูปท่ี 2 ภาพแสดงตัวอย่าง GogoBright 4 รปู ที่ 3 ภาพแสดงตวั อย่างชดุ รเี ลย์ 4 รูปที่ 4 ภาพแสดงตัวอยา่ งเครือ่ งวดั อณุ หภูมิและความชื้นสมั พัทธ์ 5 รปู ที่ 5 ภาพแสดงตวั อย่างกล่อง 5 รปู ที่ 6 ภาพแสดงตวั อยา่ งมอเตอร์ 5 รปู ท่ี 7 ภาพแสดงตัวอย่างหลอดไฟแบบใส้ 6 รูปท่ี 8 ภาพแสดงเซอรโ์ วมอเตอร์ 6 รูปท่ี 9 ตัวอย่าง เซน็ เซอรแ์ สง (Optical Sensor) 7 รูปที่ 10 ตวั อย่าง เซ็นเซอร์วัดอุณหภมู ิ (Temperature Sensor) 7 รูปท่ี 11 ภาพรวมการใชง้ าน KidBright 8 รูปท่ี 12 โปรแกรมสรา้ งชุดคำสัง่ 8 รูปที่ 13 การทำงานของโปรแกรมสรา้ งชุดคำส่งั 8 รปู ที่ 14 แสดงภาพโครงสร้างตฟู้ ักไข่ระบบอัตโนมตั ิ 10 รปู ที่ 15 แสดงการทดสอบการทำงานของระบบเพ่ือหาข้อบกพรอ่ ง 10 รูปที่ 16 แสดงแผนภาพและหลักการทำงาน 10 รูปที่ 17 แสดงผลการทดลองการใชง้ านด้วย ระบบ online 11 รปู ที่ 18 แสดงผลการทดลองการใช้งานดว้ ยระบบอตั โนมตั ิ 11 รูปที่ 19 แสดงผลการสรา้ งตฟู้ กั ไข่ระบบอัตโนมัติ 12 รปู ท่ี 20 (ก) ตู้ฟกั ไข่ตามท้องตลาด (ข) ต้ฟู กั ไขท่ ี่สร้างขึน้ 12 รปู ที่ 21 กราฟแสดงการทำงานระบบควบคมุ ความชนื้ และอุณหภมู ิ 14 รูปที่ 22 ผลการทดลองตฟู้ ักไข่อัตโนมัติ 14

1 บทที่ 1 บทนำ 1.1 ท่ีมาและความสำคญั เนื่องจากการฟักไข่ไก่ของเกษตรกรส่วนใหญเ่ ป็นการฟักโดยใชแ้ ม่ไก่ฟกั ซ่ึงอาจจะได้จำนวน ไม่มากคร้ังละ12-18 ฟองซึ่งเปอร์เซ็นต์การฟักออกเปน็ ตัวก็ค่อนข้างต่ำ เพราะมีมูล เศษดินไร ทำให้ เกิดเชือ้ โรคกบั ไขท่ ีก่ ำลังฟักตัวออ่ นอาจจะตายได้และยงิ่ ในฤดูฝนมีความชื้นมากอาจจะทำให้ไข่ที่กำลัง ฟกั เน่าได้เช่นกัน ทำให้เกษตรกรผู้เลีย้ งไกไ่ ขป่ ระสบปญั หา ไดล้ กู ไก่จำนวนไมม่ ากและเสียเวลาในการ ฟักไปโดยเปล่าประโยชน์รวมถึงเปอร์เซ็นต์การฟักออกเปน็ ตวั ไม่มากหรือในไข่ 12-18 ฟองอาจจะไม่ ฟักเป็นตัวเลย และคอยมาพลิกไข่มือเปล่าทุกๆ 3 ชั่วโมง ทำให้เสียเวลาในการที่จะต้องคอยมาพลิก หรือกลับไข่ตลอดเวลา ถ้าหากจะซื้อตู้ฟักไข่ที่วางจำหน่ายตามทอ้ งตลาดมาฟักนัน้ มีราคาสูงมากถงึ 6,000-10,000 บาท ซึ่งมีราคาแพงเมื่อเทียบกับรายได้ของเกษตรกรและเนื่องด้วยทางโรงเรียนของ เราได้ทำโครงการเลี้ยงไก่ไข่เพื่อผลิตไข่เพื่อส่งเป็นสินค้าให้กับทางโรงเรียนเพื่อประกอบเป็นอาหาร ให้กบั นกั เรียนซ่งึ ทางโรงเรยี นเราเปน็ โรงเรียนประจำตอ้ งรับทานอาหารท่โี รงเรียนทง้ั สามมื้อใน 1 วัน ทำให้จำนวนในการผลิตไก่ไขม่ ีจำนวนไม่เพียงพอกบั จำนวนนกั เรยี นทางกลุ่มเราจึงอยากเพิ่มผลผลติ คือไข่เพื่อให้มจี ำนวนที่เพยี งพอต่อการบริโภคของนักเรียนในโรงเรียน ซึ่งเราต้องไปซื้อแม่ไก่เพ่ือเปน็ นำมาเป็นตัวผลติ ไขซ่ ่งึ มีต้นทุนในการผลิตสงู ทางกลมุ่ ของเราจงึ คิดวา่ จะทำการฟักไข่เพื่อนำลูกไก่มา อนุบาลแลว้ เลี้ยงเปน็ แม่ไก่ไข่ต่อไปเพ่ือลดตน้ ทุนในการผลิตไข่ ซ่งึ ระบบตูฟ้ กั ไข่ของกลุ่มเราจะทำงาน แบบระบบอตั โนมตั ิเพ่ือให้การฟักไข่มปี ระสทิ ธิภาพยงิ่ ขน้ึ และเพื่อให้ได้ลกู ไกต่ ามจำนวนท่ีเราตอ้ งการ ดังนั้นคณะผู้จัดทำจึงมีความสนใจที่จะประดิษฐ์อุปกรณ์ที่สามารถช่วยเกษตรกรลดต้นทุน การผลิตและเพ่มิ ความสะดวกสบายใหก้ บั เกษตรกร จงึ คดิ คน้ ดัดแปลงประดษิ ฐ์กล่องฟกั ไข่แบบระบบ อัตโนมัติขึ้นมาเพื่อควบคุมอุณหภูมิอัตโนมัติ และความชื้นอัตโนมัติ และระบบกลับไข่โดยใช้ระบบ อัตโนมัติเพื่อให้ได้ไข่ที่ฟักออกมาอย่างมีประสิทธิภาพโดยตู้ฟักไข่ของกลุ่มเราจะทำงานแบบระบบ อัตโนมัติโดยใช้ความรู้ที่ได้ศึกษาเรื่องสมองกลฝังตัวนำมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์มากที่สุดกับ สงั คมและชุมชน ซึง่ ตฟู้ กั ไขข่ องเราสามารถนำไปเปน็ เครอื่ งตน้ แบบให้กับผทู้ ี่สนใจในระบบการทำงาน แบบอัตโนมัตติ อ่ ไป ซึ่งโปรแกรมที่เขียนขึ้นมาข้าพเจ้าได้ศึกษาและเรียนในหลักสูตรของโรงเรียนแล้วนำมา ประยุกตใ์ ช้งานที่เปน็ ประโยชน์ตอ่ ผทู้ มี่ คี วามสนใจที่จะศกึ ษาต่อไป

2 1.2 วตั ถปุ ระสงค์ 1.2.1 เพือ่ สรา้ งต้ฟู กั ไข่ระบบอตั โนมตั ิ 1.2.2 เพอื่ ลดตน้ ทุนในการซอื้ ตฟู้ กั ไขแ่ บบอตั โนมตั ิทีม่ รี าคาแพงใชเ้ อง 1.2.3 เพอ่ื เพิม่ ประสทิ ธิภาพในการฟกั เป็นตัวมากกวา่ การใหแ้ มไ่ กฟ่ ักเอง 1.3 เป้าหมายและขอบเขตของโครงงาน 1.3.1 ต้องการสรา้ งตูฟ้ ักไข่ระบบอัตโนมัตทิ ี่มีประสทิ ธภิ าพพร้อมใชง้ านได้จริง 1.3.2 ตู้ฟักไข่ระบบอัตโนมตั สิ ามารถฟักไขไ่ ดจ้ ำนวนคร้งั ละ่ 8 ใบ 1.4 สมมติฐาน 1.4.1 สามารถสร้างตฟู้ ักไขร่ ะบบอัตโนมตั ทิ ี่สามารถใชง้ านได้จรงิ 1.4.2 สามารถลดต้นทุนการซอื้ ตฟู้ ักไข่แบบอตั โนมตั ทิ ่ีมีราคาแพงให้กับเกษตรกรได้ 1.4.3 สามารถเพ่มิ ประสิทธภิ าพในการฟกั เปน็ ตวั มากกวา่ การใหแ้ มฟ่ กั เอง 1.5 ตัวแปรท่ีศึกษา ตัวแปรทตี่ น้ ต้ฟู ักไข่แบบอตั โนมัติ ตวั แปรตาม ประสทิ ธิภาพในการฟักไข่คดิ เปน็ ร้อยละ ตวั แปรควบคมุ อณุ หภูมิ ความช้นื และอุปกรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์ในตัวตฟู้ กั ไขแ่ บบอตั โนมตั ิ 1.6 นิยามศพั ท์เฉพาะ ต้ฟู ักไขแ่ บบอตั โนมัติ หมายถึง ตู้ฟักไขท่ ี่สามารถลดตน้ ทนุ การซอ้ื ตู้ฟกั ไข่แบบอตั โนมัติ ทีม่ รี าคาแพงใหก้ บั เกษตรกรได้ และ สามารถเพิ่มประสิทธิภาพในการฟกั เปน็ ตัวมากกว่าการให้แมไ่ ก่ ฟักเอง โดยใช้ระบบควบคมุ การฟกั ไข่ผ่านเทคโนโลยี 1.7 ประโยชนข์ องโครงงานท่คี าดวา่ จะได้รบั 1.7.1 ไดใ้ ชค้ วามรู้ทไี่ ดเ้ รียนมาประยุกต์ใช้ให้เกดิ ประโยชนแ์ ก่สังคมและชมุ ชน 1.7.2 เป็นตู้ฟักไขร่ ะบบอัตโนมัตติ น้ แบบที่สามารถฟักไข่ไก่ได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ

3 บทที่ 2 เอกสารทเี่ กี่ยวข้อง 2.1 แนวคดิ และหลกั การในการสร้างตู้ฟักไขร่ ะบบอตั โนมัติ ตู้ฟักไข่ระบบอัตโนมัติ มีส่วนประกอบทั้งหมด 2 ส่วนคือ ส่วนของ Software และส่วนของ Hardware โดยส่วนของ Hardware จะใช้บอร์ดKidBright และชุดรีเลย์ เป็นส่วนควบคมุ การทำงาน ตู้ฟักไข่ระบบอตั โนมัติ โดยรับคำสั่งในการควบคุมการทำงานจากส่วน Software จะใช้ชุดคำสั่งจาก โปรแกรมบอร์ดKidBright ในการเขียนโปรแกรมควบคุมการทำงานของตู้ฟักไข่ระบบอัตโนมัติ หลักการทำงานโดยรวมของตู้ฟักไข่ระบบอัตโนมัติ คือ เมื่อเปิดใช้งานตู้ฟักไข่ระบบอัตโนมัติ ซึ่งการควบคุมการทำงานจะรบั ข้อมูลจากบอร์ดKidBright เมื่อรับข้อมูลแล้วระบบจะส่งคำสัง่ ข้อมูล ต่อไปยังชุดรีเลย์ เพื่อทำการส่งคำสั่งเปิดหรือปิดการทำงานของเซนเซอร์อุณหภูมิและเซนเซอร์ ความชื้น ที่เป็นสวิตช์อัตโนมัติในการควบคุมตู้ฟักไข่ให้สามารถเปิด-ปิด ตู้ฟักไข่ โดยมีหลักการและ แนวคิดทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรม และคณิตศาสตร์ ที่ใช้ในการกำหนดแนวทางการ แกป้ ญั หาเพ่ือประเมนิ ความเปน็ ไปได้ ขอ้ ดแี ละข้อจำกัด เพ่ือเลือกแนวคดิ หรอื วธิ ีการที่เหมาะสมท่ีสุด กอ่ นลงมือทำดังนี้ วิทยาศาสตร์ (Science) 1. ความเร็วและการตั้งเวลาในการหมุนมอเตอรส์ ำหรับการการพลิกไข่เพือ่ ส่งผลต่อระยะใน การฟกั ไข่ 2. อุณหภมู ขิ องหลอดไฟท่เี หมาะสมต่อการฟักไข่ของตู้ฟักไขร่ ะบบอตั โนมัติ 3. ความชนื้ ทเี่ หมาะสมต่อการฟักไขข่ องต้ฟู ักไข่ระบบอตั โนมตั ิ เทคโนโลยี (Technology) 1. การสบื คน้ ข้อมูล 2. การเขียนชดุ คำสั่งการทำงานของตฟู้ ักไขร่ ะบบอตั โนมัติ 3. การเชื่อมต่อการทำงานระหวา่ ง Smart Phone กับตัวต้ฟู กั ไขร่ ะบบอตั โนมตั ิ วิศวกรรมศาสตร์ (Engineering) 1. การออกแบบตวั เครอ่ื งตู้ฟักไขร่ ะบบอัตโนมตั ิ 2. การออกแบบวงจรการทำงานตฟู้ กั ไข่ระบบอัตโนมตั ิ 3. การตรวจสอบระบบเพื่อความปลอดภยั ของผู้ใช้งาน คณิตศาสตร์ (Mathematics) 1. หลักการคำนวณรปู ทรงตัวตฟู้ กั ไขร่ ะบบอัตโนมัติ 2. การคำนวณหาองศาท่ีเหมาะสมต่อในการหมนุ มอเตอร์ในการพลิกไข่

ด้าน Hardware 4 2.2 KidBright KidBright คือ“ บอร์ดสมองกลฝังตวั ” พูดง่าย ๆ ก็คือคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่มีการจัดเก็บ ขอ้ มูลขนาดเล็กทสี่ ามารถใช้เป็นเครอื่ งมอื ในการสร้างบล็อกหรือ Blocky อยากไดส้ ว่ นหนึ่งของ บอร์ด KidBright ทำงานแลว้ เอาสว่ นหน่งึ มาแลว้ กก็ ำหนดใหเ้ สร็จแลว้ ก็เอาสายเชอื่ มตอ่ กับคอมพิวเตอร์แล้ว กดปุม่ โปรแกรม Build KidBright IDE จะแ ลงป้องกนั การเป็นรหสั ที่คอมพิวเตอร์เข้าใจให้ชุดคำส่ังส่ง เข้าไปในบอร์ดเทา่ น้ีเราไดช้ อ่ื วา่ เขยี นโค้ดไดแ้ ล้ว รปู ท่ี 1 ภาพแสดงตัวอย่าง KidBright 2.3 GoGo Bright เปน็ สมองกลคอมพวิ เตอรข์ นาดเลก็ เพือ่ การเรียนรูส้ ำหรับเยาวชน โดยสามารถใช้งานร่วมกับ บอร์ดKidbright มีความสามารถในการตรวจวัดและควบคุม โดยจะใช้ในกิจกรรมการเรียนรู้ที่เป็น ลักษณะของโครงงานที่ได้สร้างแรงบันดาลใจของผู้เรียนเอง เช่น ต้นแบบหุ่นยนต์, การตรวจวัด ส่ิงแวดลอ้ ม, ตน้ แบบยานพาหนะ, ต้นแบบระบบควบคมุ อัตโนมตั แิ ละอ่ืนๆ รูปท่ี 2 ภาพแสดงตัวอย่าง GoGo Bright 2.4 ชุด รเี ลย์ เป็นอุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าให้เปน็ พลังงานแม่เหล็ก เพื่อใช้ในการดงึ ดดู หน้าสัมผสั ของคอนแท็คให้เปลี่ยนสภาวะ โดยการป้อนกระแสไฟฟ้าให้กับขดลวด เพื่อทำการปิดหรือเปิด หน้าสมั ผัสคลา้ ยกับสวติ ช์อิเลก็ ทรอนกิ ส์ ซงึ่ เราสามารถนำรีเลย์ไปประยุกตใ์ ช้ ในการควบคมุ วงจรต่าง ๆ ในงานชา่ งอิเลก็ ทรอนิกส์มากมาย รูปที่ 3 ภาพแสดงตัวอย่างชุดรีเลย์

5 2.5 เครอ่ื งวัดอุณหภูมแิ ละความชืน้ สัมพทั ธ์รนุ่ ZL-7801A เป็นอุปกรณ์เครื่องควบคุมอุณหภูมแิ ละความช้ืนรุน่ ZL-7801A ที่มีความสามรถในส่วนของ อุณหภูมิและความชื้น การตั้งเวลาการกลับไข่และตั้งการเตือนต่างๆ จากการทดลองแล้ว เรื่องการ ควบคุมอุณหภูมิและความชื้น ซ่ึงได้ผลเป็นที่น่าพอใจตัวนี้มีความละเอียดถึง 0.1 องศาดังนั้นใครที่ ต้องการตัง้ ค่าที่ 37.4 องศา รูปท่ี 4 ภาพแสดงตวั อย่างเครือ่ งวดั อุณหภูมิและความชน้ื สัมพทั ธ์ 2.6 กล่อง หมายถงึ บรรจภุ ณั ฑ์ชนดิ หนงึ่ ปกติจะมรี ูปทรงเปน็ ทรงสีเ่ หลี่ยมมมุ ฉาก แต่ก็อาจพบในรูปทรง อน่ื ได้ กล่องท่วั ไปทำจากกระดาษ ไม้ หรือพลาสตกิ เป็นต้น สามารถเปดิ ไดโ้ ดยการยก ดงึ หรือเล่ือน ฝาด้านบน และปดิ ผนึกได้ดว้ ยเทปกาว แมก่ ญุ แจหรือตะปู กลอ่ งเป็นบรรจุภัณฑ์ทถ่ี ่ายทอดรูปแบบมา จากหบี โดยตรง กลอ่ งบางชนดิ ได้รบั การตกแต่งจนสามารถใชเ้ ปน็ เครอ่ื งเรอื นภายในบา้ นได้ รูปท่ี 5 ภาพแสดงตัวอยา่ งกลอ่ ง 2.7 มอเตอร์ มอเตอร์ไฟฟ้า เป็นอปุ กรณไ์ ฟฟา้ ทเี่ ปลย่ี นพลงั งานไฟฟ้าเปน็ พลังกล มอเตอร์ท่ใี ชง้ านใน ปจั จุบนั แตล่ ะชนดิ กจ็ ะมีคุณสมบัติท่แี ตกต่างออกไปตอ้ งการความเรว็ รอบหรือกำลังงานทแี่ ตกตา่ ง กนั ซงึ่ มอเตอรแ์ ต่ละชนดิ จะแบ่งได้เปน็ 2 ชนิด ตามลกั ษณะการใช้งานกระเเสไฟฟ้า รูปท่ี 6 ภาพแสดงตัวอยา่ งมอเตอร์

6 2.8 หลอดไฟแบบไส้ คือ ให้แสงสว่างโดยการให้ความร้อนแก่ไส้หลอดที่เป็นลวดโลหะกระทั่งมีอุณหภูมิสูงและ เปล่งแสง หลอดแก้วที่เติมแก๊สเฉื่อยหรือเป็นสุญญากาศป้องไม่ให้ไส้หลอดที่ร้อนสัมผัสอากาศ ในหลอดฮาโลเจน กระบวนการทางเคมีคนื ให้โลหะเปน็ ไส้หลอด ซงึ่ ขยายอายกุ ารใชง้ าน หลอดไฟฟ้า นี้ได้รับกระแสไฟฟ้าจากเทอร์มินอลต่อสายไฟ (feed-through terminal) หรือลวดที่ฝังในแก้ว หลอดไฟฟ้าส่วนใหญ่ใช้ในเต้ารับซึ่งสนับสนุนหลอดไฟฟ้าทางกลไกและเชื่อมกระแสไฟฟ้าเข้ากับ เทอร์มินัลไฟฟ้าของหลอด หลอดไส้ร้อนแบบธรรมดาผลิตออกมาหลายขนาด กำลังส่องสว่าง และอตั ราทนความต่างศกั ย์ ตั้งแต่ 1.5 โวลต์ถึงราว 300 โวลต์ หลอดประเภทนี้ไม่ต้องอาศัยอุปกรณ์ ควบคมุ ภายนอก มคี า่ บำรุงรักษาต่ำ และทำงานไดด้ ีเท่ากันทัง้ ไฟฟ้ากระแสสลับหรือกระแสตรง ด้วย เหตุนี้ หลอดไส้ร้อนแบบธรรมดาจึงใช้กันอย่างกว้างขวางในครัวเรือนและไฟฟ้าใช้ในเชิงพาณิชย์ ตลอดจนไฟฟ้าแบบพกพา อย่างเช่น ไฟตั้งโต๊ะ ไฟหน้ารถยนต์ และไฟฉาย และไฟฟ้าสำหรับตกแต่ง และโฆษณาบ้างใช้ประโยชน์จากใช้ความร้อนที่เกิดขึ้นจากไส้หลอดของหลอดไส้ร้อนแบบธรรมดา อาทิ เครื่องฟักไข่ กล่องฟักไข่สำหรับสัตว์ปีก ไฟความร้อนสำหรับสวนจำลองสภาพแวดล้อม (vivarium) ของสัตว์เลื้อยคลานการให้ความร้อนอินฟราเรดในกระบวนการให้ความรอ้ นและอบแห้ง ในอตุ สาหกรรม ความรอ้ นส่วนเกนิ นเี้ พมิ่ พลังงานทีต่ อ้ งใช้ในระบบปรบั อากาศของอาคาร รูปที่ 7 ภาพแสดงตัวอยา่ ง หลอดไฟแบบไส้

7 2.9 เซอรโ์ วมอเตอร์ (Servo Motor) เปน็ มอเตอร์ทม่ี ีการควบคมุ การเคลอ่ื นท่ขี องมนั (State) ไม่วา่ จะเป็นระยะ ความเรว็ มุมการ หมุน โดยใช้การควบคุมแบบป้อนกลับ (Feedback control) เป็นอุปกรณ์ที่สามารถควบคุม เครื่องจักรกลหรือระบบการทํางานนั้นๆให้เป็นไปตามความต้องการ เช่น ควบคุมความเร็ว (Speed), ควบคุมแรงบดิ (Torque), ควบคมุ แรงตําแหนง่ (Position), ระยะทางในการเคล่ือนท่ี(หมุน) (Position Control) ของตัวมอเตอรไ์ ด้ ซ่งึ มอเตอรท์ วั่ ไปไม่สามารถควบคุมในลักษณะงานเบ้ืองต้นได้ โดยให้ผลลัพธ์ตามความต้องการที่มีความแม่นยําสูงขนาดของ ServoMotor จะมีหน่วยในการบอก ขนาดเป็นวัตต์(Watt)Servo Motor ของ Panasonic จะมีขนาดตั้งแต่ 50W-15kWทําให้ผู้ใช้งานมี ความหลากหลายในการใชง้ าน รูปที่ 8 ตวั อย่างเซอรโ์ วมอเตอร์ (Servo Motor) 2.10 เซ็นเซอรแ์ สง (Optical Sensor) คอื อปุ กรณอ์ เิ ลก็ ทรอนิกส์ท่ีเปล่ยี นแปลงค่าความต้านทาน หรือการนำไฟฟา้ ท่ไี หลผา่ นตัวมัน ได้ เมื่อมีแสงมาตกกระทบ ตัวต้านทานแปรค่าตามแสง หรือ LDR (ย่อมาจาก Light Dependent Resistor) คืออปุ กรณ์อิเลก็ ทรอนกิ ส์ที่ใช้ตรวจจับแสง โดยหามแี สงมาตกกระทบน้อย จะทำให้มีความ ตา้ นทานมาก และหากมแี สงมาตกกระทบมาก ความตา้ นทานจะนอ้ ยลง รูปท่ี 9 ตวั อย่างเซน็ เซอร์แสง (Optical Sensor) 2.11 เซ็นเซอร์วัดอณุ หภมู ิ (Temperature Sensor) คอื เซน็ เซอรเ์ พื่อการรบั รู้หรอื ตรวจจบั ระดบั อุณหภมู ิ เซ็นเซอร์วัดอุณหภูมเิ ป็นเซ็นเซอร์อีก หนึ่งชนิดที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตต่างๆ ทั้งในงานอุตสาหกรรม, เกษตรกรรม, อาหารและและเคร่อื งดื่ม,ยารักษาโรค และอกี มากมาย รปู ท่ี 10 ตวั อย่างเซ็นเซอร์วดั อณุ หภูมิ (Temperature Sensor)

8 ด้าน Software KidBright ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ บอร์ดสมองกลฝังตัว KidBright และโปรแกรมสร้าง ชุดคำสงั่ KidBright IDE โดยผเู้ รียนสามารถสร้างชุดคำส่งั ผา่ น KidBright IDE โดยการลากและวางบล็อก คำสั่งที่ต้องการ จากนั้น KidBright IDE จะ Compileและส่งชุดคำสั่งดังกล่าวไปที่บอร์ด KidBright เพื่อให้บอร์ดทำงานตามคำสั่ง อาทิ รดน้ำต้นไม้ตามระดับความชื้นที่กำหนดหรือเปิดปิดไฟตามเวลาที่ กำหนด รูปท่ี 11 ภาพรวมการใช้งาน KidBright ยกตัวอย่างเช่น โปรแกรมสร้างชุดคำสั่ง KidBright IDE จะสร้างชุดคำสั่งโดยใช้ Block Based Programming ซึ่งสามารถลากบล็อกชุดคำสั่งมาเรียงต่อกันเพื่อควบคุมให้บอร์ด KidBrightทำงาน ตามลำดบั ที่กำหนด จากนัน้ KidBright IDE จะทำการแปลงชุดคำส่งั เป็นโค้ดหรือรหัสคำสงั่ ทบี่ อร์ดเข้าใจ และส่งผา่ นสายยูเอสบีไปยงั บอรด์ เมื่อบอรด์ ได้รบั คำสง่ั จะทำงานตามข้ันตอนทช่ี ุดคำสัง่ กำหนดไวด้ งั รูปท่ี 8 และ9 รูปท่ี 12 โปรแกรมสร้างชดุ คำสง่ั รปู ที่ 13 การทำงานของโปรแกรมสร้างชุดคำส่ัง

บทที่ 3 9 หมายเหตุ อปุ กรณ์และวิธกี ารดำเนนิ งาน 3.1 อุปกรณ์ ตารางที่ 1 วัสดุอุปกรณ์ ลำดบั ที่ ชือ่ อุปกรณ์ จำนวน 1 บอรด์ KidBright 1 บอร์ด 2 GoGo Bright 1 บอรด์ 3 กล่องพลาสติกขนาด 27*36*26 cm 1 กล่อง 4 กลอ่ งแผงวงจรขนาด 9.5*16.5*11 cm 1 กล่อง 5 กลอ่ งพลาสติกสีดำ 14.5*21*13 cm 1 กลอ่ ง 6 หลอดไฟฟ้าแบบใส้ 1 หลอด 7 ชดุ ควบคมุ อุณหภมู ิและความช้ืน 1 ชุด 8 เซอรโ์ วมอเตอร์ 1 ตวั 9 รางฟกั ไข่ 1 ชุด 10 สายไฟฟา้ ออ่ น 1 เมตร 11 พดั ลม 5v 1 ตัว 12 เซ็นเซอรแ์ สง 1ตัว 13 เซ็นเซอรอ์ ณุ หภูมิ 1ตัว

10 3.2 วิธีการดำเนนิ งาน การดำเนินโครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทสิ่งประดิษฐ์ เร่อื งต้ฟู กั ไข่ระบบอัตโนมัตินี้ โดยเริ่มจาก 1. รวมกลุม่ เพอื่ ระบปุ ัญหาหรอื โครงงานทอ่ี ยากทำ 2. รวบรวมข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับปัญหารวมถึงศึกษาและค้นคว้าเกี่ยวกับตู้ฟักไข่ ระบบอัตโนมัติ ท่ีสามารถนำมาประยุกต์ใช้งานได้ในแบบต่างๆ และสามารถใช้งานได้จริง โดยใชค้ วามรู้ STEM มาช่วยในการแกป้ ัญหา และพัฒนาโครงงานนี้ 3. ออกแบบตูฟ้ กั ไข่ระบบอตั โนมัติ ตามท่ีไดว้ างแผนโดยคำนงึ ถงึ ทรัพยากร ขอ้ จำกดั และเงอื่ นไข ของโครงงานสะเต็ม 4. ดำเนินการสงั่ ซ้อื วัสดุอปุ กรณต์ า่ ง ๆ ทจ่ี ำเป็นในการทำงานตามท่ไี ดอ้ อกแบบไวเ้ รยี บรอ้ ยแล้ว 5. ลงมอื สรา้ งช้นิ งานทีไ่ ด้ทำการออกแบบไว้ 5.1 โครงสร้างตฟู้ ักไขร่ ะบบอัตโนมัติ รปู ที่ 14 แสดงภาพโครงสร้างตฟู้ ักไขร่ ะบบอตั โนมตั ิ 5.2 ทำการทดสอบ ประเมินผล และปรับปรุงแก้ไขปัญหาการทำงานของระบบเพื่อหา ข้อบกพร่องเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาให้มีประสิทธิภาพในการใช้งานได้อย่างเหมาะสมที่สุด ต่อไป รปู ท่ี 15 แสดงการทดสอบการทำงานของระบบเพอื่ หาขอ้ บกพร่อง

11 5.2.1 แผนภาพและหลักการทำงาน ผใู้ ช้ เปิดเคร่ือง ผลการทดลอง บันทึกผลการทำงาน นำไปใช้ รูปท่ี 16 แสดงแผนภาพและหลักการทำงาน 5.2.2 การทดสอบดา้ นการใชง้ านดว้ ย ระบบ online รปู ที่ 17 แสดงผลการทดลองการใชง้ านด้วยระบบ online 5.2.3 การทดสอบดา้ นการใชง้ านด้วย ระบบอตั โนมตั ิ รูปท่ี 18 แสดงผลการทดลองการใช้งานด้วยระบบอตั โนมัติ 6. บนั ทึกผลการทดลองตฟู้ กั ไข่ระบบอัตโนมัติ 7. สรุปผลการทดลอง

12 บทที่ 4 ผลการดำเนินการ การจดั ทำโครงงาน เรอ่ื ง ต้ฟู ักไข่ระบบอตั โนมัติ มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พ่ือ 1) เพื่อสร้างตู้ฟักไข่ระบอัตโนมัติ 2)เพอ่ื ลดตน้ ทนุ ในการซ้ือตฟู้ ักไข่แบบอตั โนมัติที่มีราคาแพงใช้เอง 3)เพ่ือเพ่มิ ประสิทธิภาพในการฟัก เป็นตัวมากกวา่ การใหแ้ มไ่ กฟ่ ักเอง โดยผลการทดลองเป็นไปตามรายละเอยี ด ดงั ตอ่ ไปน้ี 4.1 ผลการทดลองการสร้างตู้ฟักไข่ระบบอตั โนมตั ิ รปู ที่ 19 แสดงผลการสรา้ งตู้ฟักไขร่ ะบบอัตโนมัติ จากรูปที่ 19 ผลการสร้างตู้ฟักไข่ระบบอัตโนมัติ นั้นทำให้สามารถนำความรู้ทางด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกตใ์ ช้ในควบคมุ ตู้ฟักไข่ เพือ่ ใหผ้ ู้ใชง้ านมีความสะดวกต่อการดำรงชีวิต โดยผู้จัดทำได้ออกแบบการจำลองตู้ฟักไข่ระบบอัตโนมัติ สามารถแก้ปัญหาร่วมกับเพื่อนในกลุ่มใน ขณะที่ดำเนนิ โครงงานไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ

13 4.2 ผลการเปรยี บเทยี บราคาตูฟ้ ักไข่ (ก) (ข) รูปที่ 20 (ก) ตู้ฟักไข่ตามท้องตลาด (ข) ตู้ฟักไข่ท่สี ร้างขึ้น จากรูปที่ 20 (ก),(ข) เมื่อเทียบราคาตู้ฟักไข่ตามท้องตลาดราคาจะอยู่ที่ 6,000 – 10,000 บาท กับตฟู้ กั ไขท่ ี่สร้างขน้ึ ราคาจะอยู่ท่ี 4,000 บาท ตู้ฟกั ไข่ตามทอ้ งตลาดจะมีราคาแพงมากกว่า ตฟู้ ักไขท่ ่สี ร้างขึ้นลดตน้ ทุนในการซ้อื ตฟู้ ักไขแ่ บบอตั โนมัตทิ ่มี ีราคาแพงใช้เอง 4.3 ผลการทดลองการเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพในการฟกั เปน็ ตวั มากกว่าการใหแ้ ม่ไก่ฟกั เอง การนำผลงานที่เกิดขึ้นไปทดลองใช้งานจริงการนำเอาตู้ฟักไข่ไปใช้งานจริงนั้น โดยเมื่อได้ ออกแบบและทำการติดตั้งอุปกรณ์เซนเซอร์และชุดกลไกการกลับไข่เรียบร้อยแล้วจะนำไปฟักไข่ จำนวน 8 ฟอง เป็นเวลา 21 วัน โดยต้ังคา่ อณุ หภมู ิไวท่ี 37.5 องศาเซลเซียล โดยเมื่อในตู้ฟกั มีอณุ หภมู ิ ถึงที่กำหนดไวก้ จ็ ำทำการตัดความร้อนทีเ่ กดิ จากหลอดใส้ขนาด 60 วัตต์ จำนวน 3 หลอดที่ติดตงั้ ไว้ใน ตู้ และในตู้ฟักไข่ก็จะมีการให้ความชื้นในตู้โดยการใส่ถาดน้ำเข้าไว้จำนวน 1 ถาด เพื่อเพิ่มปริมาณ ความชื้นในตทู้ ี่เหมาะสมกับการฟักไข่ซงึ่ อยู่ที่ 60-70 เปอร์เซ็นต์ ในส่วนของระบบกลับไข่อัตโนมัตินั้น ก็จะทำการตั้งเวลาในการกลบั ไข่ทุกๆ 3 ช่ัวโมงโดยได้ออกแบบตารางการการเก็บข้อมูลในการตัดต่อ อุณหภูมิโดยการเก็บค่า log ของอุณหภูมิของโปรแกรมที่ได้เขียนไว้ในการเก็บค่า log การตัดต่อ อุณหภูมิ โดยวิเคราะห์จากกราฟที่อ่านได้จาก log ที่บันทึกไว้ การหาค่าประสิทธิภาพของตู้ฟักไข่ อตั โนมตั ไิ ดท้ ำการหาเปอร์เซ็นต์จากอัตราการเกิดของในจำนวน 8 ฟองท่ฟี กั ออกมาเม่ือเทียบกับตู้ฟัก ไข่แบบกลบั มือ ดังตาราง

14 ตารางที่ 2 การหาค่าประสิทธภิ าพของตฟู้ กั ไข่ระบบอัตโนมัติ ประเภทของต้ฟู กั ไข่ จำนวนไข่ที่ฟกั จำนวนไขท่ ไ่ี ม่ฟกั ออกมาเปน็ ตัว รอ้ ยละ ออกเปน็ ตัว รอ้ ยละ ต้ฟู ักไข่ระบบกลบั มือ จำนวนคร้ัง ตฟู้ ักไข่ระบบอัตโนมัติ 123 จำนวนคร้ัง 452 123 677 45.83 4 3 6 54.16 83.33 2 1 1 16.66 จากตารางที่ 2 นีจ้ ะเห็นไดว้ า่ จำนวนไข่ทฟี่ ักออกมาเปน็ ตัวระหว่างตฟู้ ักไขร่ ะบบกลับมือและ ตู้ฟักไข่ระบบอัตโนมัติที่ได้สร้างขึ้นมีเปอร์เซนต์การฟักออกเป็นตัวต่างกันคือตู้ฟักไข่ระบบอัตโนมัติ สามารถฟักออกมาเป็นตัว 83% ส่วน ตู้ฟักไข่ระบบกลบั มือ สามารถฟักออกมาเป็นตัว 45% ต่างกนั ประมาณ 32% ผลการทดลองนี้ทำให้ทราบว่าตู้ฟักไข่ระบบอัตโนมัติ มีประสิทธิภาพของตู้ฟักไข่ ออกมาเป็นตวั ไดด้ กี ว่าตฟู้ ักไขร่ ะบบกลับมือโดยใชก้ ารทดลองกบั ไข่ 8 ฟอง โดยแสดงผลการทำงานของระบบควบคุมความช้นื สมั พัทธ์ และอุณหภมู ิ ดังกราฟ ความ ืช้น ความชื้น 60.5 60 59.5 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 วันที่ อุณหภูมิ ุอณหภู ิม 37.52 37.5 37.48 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 วนั ท่ี รปู ท่ี 21 กราฟแสดงการทำงานระบบควบคมุ ความชื้นและอุณหภมู ิ

15 รปู ท่ี 22 ผลการทดลองตู้ฟกั ไข่อตั โนมตั ิ

16 บทท่ี 5 สรุปผล อภปิ รายผลและข้อเสนอแนะ โครงงานสิ่งประดษิ ฐส์ มองกลฝังตวั เรอื่ งตฟู้ กั ไขร่ ะบบอตั โนมัตมิ ีวัตถุประสงค์เพอื่ 1) เพ่อื สร้างตู้ฟักไขร่ ะบบอตั โนมตั ิ 2) เพ่อื ลดตน้ ทนุ ในการซ้ือตู้ฟักไข่แบบอัตโนมตั ิทม่ี รี าคาแพงใชเ้ อง 3) เพอ่ื เพ่ิมประสิทธิภาพในการฟกั เปน็ ตัวมากกว่าการใหแ้ ม่ไกฟ่ กั เอง สรุปผล 1. สามารถสร้างตู้ฟักไข่ระบบอัตโนมัติ นั้นทำให้สามารถนำความรู้ทางด้านเทคโนโลยี สารสนเทศมาประยุกต์ใช้ในควบคุมตู้ฟักไข่ เพื่อให้ผู้ใช้งานมีความสะดวกต่อการดำรงชีวิต โดยผู้จัดทำได้ออกแบบการจำลองตู้ฟกั ไข่ระบบอัตโนมตั ิ สามารถแก้ปัญหาร่วมกับเพื่อนใน กลุม่ ในขณะที่ดำเนนิ โครงงานไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ 2. เมือ่ เทียบราคาตฟู้ ักไข่ตามท้องตลาดราคาจะอยู่ที่ 6,000 – 10,000 บาท กับตู้ฟักไข่ท่ีสร้าง ขึ้นราคาจะอยู่ที่ 4,000 บาท ตู้ฟักไข่ตามทอ้ งตลาดจะมีราคาแพงมากกวา่ ตู้ฟักไขท่ ีส่ รา้ งข้ึน ลดต้นทนุ ในการซอ้ื ตู้ฟกั ไข่แบบอัตโนมัติทมี่ รี าคาแพงใชเ้ อง 3. การศึกษาประสิทธิภาพของตู้ฟักไข่ระบบอัตโนมัติ การนำผลงานที่เกิดขึ้นไปทดลองใช้งาน จริงการนำเอาตู้ฟกั ไขไ่ ปใชง้ านจริงนนั้ โดยเมอ่ื ได้ออกแบบและทำการติดต้ังอุปกรณเ์ ซนเซอร์ และชุดกลไกการกลับไข่เรียบร้อยแล้วจะนำไปฟักไข่จำนวน 8 ฟอง เป็นเวลา 18-21 วัน โดยตั้งค่าอุณหภูมิไวที่ 37.5 องศาเซลเซยี ล โดยเมื่อในตู้ฟักมีอุณหภูมิถงึ ที่กำหนดไวก้ จ็ ำทำ การตัดความร้อนท่ีเกิดจากหลอดใส้ขนาด 60 วตั ต์ จำนวน 3 หลอดทต่ี ิดตั้งไว้ในตู้ และในตู้ ฟักไข่ก็จะมีการให้ความชื้นในตู้โดยการใส่ถาดน้ำเข้าไว้จำนวน 1 ถาด เพื่อเพิ่มปริมาณ ความชื้นในตู้ที่เหมาะสมกับการฟักไข่ซึ่งอยู่ที่ 60-70 เปอร์เซ็นต์ ในส่วนของระบบกลับไข่ อัตโนมัตินั้นก็จะทำการตั้งเวลาในการกลับไข่ทุกๆ 3 ชั่วโมงโดยได้ออกแบบตารางการการ เกบ็ ข้อมลู ในการตัดตอ่ อุณหภมู ิโดยการเก็บค่า log ของอุณหภูมขิ องโปรแกรมท่ไี ด้เขียนไว้ใน การเก็บค่า log การตัดต่ออุณหภูมิ โดยวิเคราะห์จากกราฟที่อ่านได้จาก log ที่บันทึกไว้ การหาค่าประสิทธิภาพของตู้ฟกั ไข่อัตโนมัติไดท้ ำการหาเปอรเ์ ซ็นตจ์ ากอัตราการเกิดของใน จำนวน 100 ฟองที่ฟักออกมาเม่ือเทียบกับตูฟ้ ักไข่แบบกลบั มือ จะเห็นได้วา่ จำนวนไข่ท่ฟี กั ออกมาเป็นตัวระหว่างตู้ฟักไข่ระบบกลับมือและตู้ฟักไข่ระบบอัตโนมัติที่ได้สร้างขึ้นมี เปอรเ์ ซนการฟกั ออกเป็นตัวตา่ งกนั คือต้ฟู ักไขร่ ะบบอตั โนมตั ิสามารถฟักออกมาเป็นตัว 72% ส่วน ตู้ฟักไข่ระบบกลับมือ สามารถฟักออกมาเป็นตัว45% ต่างกันประมาณ 27% ผลการ ทดลองนี้ทำให้ทราบว่าตู้ฟักไข่ระบบอัตโนมัติ มีประสิทธิภาพของตู้ฟักไข่ออกมาเป็นตัวได้ ดีกว่าตฟู้ ักไขร่ ะบบกลับมือ

17 อภปิ รายผล จากผลการทดลองผู้สร้างสามารถสรา้ งตฟู้ กั ไขร่ ะบบอัตโนมตั ิ น้ันทำใหส้ ามารถนำความรู้ทางด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกตใ์ ช้ในควบคุมตฟู้ ักไข่ เพอื่ ให้ผใู้ ช้งานมีความสะดวกต่อการดำรงชีวิต โดยผู้จัดทำได้ออกแบบการจำลองตู้ฟักไข่ระบบอัตโนมัติ สามารถแก้ปัญหาร่วมกับเพื่อนในกลุ่มใน ขณะที่ดำเนินโครงงานได้อยา่ งมีประสิทธิภาพและเมื่อเทียบราคาตู้ฟักไข่ตามท้องตลาดราคาจะอยู่ที่ 6,000 – 10,000 บาท กบั ตฟู้ กั ไขท่ ส่ี รา้ งข้นึ ราคาจะอย่ทู ่ี 4,000 บาท ตฟู้ ักไข่ตามทอ้ งตลาดจะมีราคา แพงมากกว่าต้ฟู กั ไข่ทส่ี ร้างขน้ึ ลดต้นทนุ ในการซ้อื ตฟู้ ักไขแ่ บบอตั โนมตั ทิ ่ีมรี าคาแพงใชเ้ อง โดยจากการ ทดลองศึกษาประสิทธิภาพของตฟู้ กั ไข่ระบบอตั โนมัติ การนำผลงานทเี่ กดิ ขึ้นไปทดลองใชง้ านจริงการ นำเอาตู้ฟักไขไ่ ปใชง้ านจรงิ นั้น โดยเม่อื ได้ออกแบบและทำการตดิ ตงั้ อปุ กรณเ์ ซนเซอรแ์ ละชุดกลไกการ กลับไข่เรียบร้อยแล้วจะนำไปฟักไข่จำนวน 100 ฟอง เป็นเวลา 18-21 วัน โดยตั้งค่าอุณหภูมิไว้ท่ี 37.5 องศาเซลเซียล โดยเมอื่ ในตู้ฟกั มอี ณุ หภมู ถิ งึ ทก่ี ำหนดไวก้ ็จำทำการตัดความร้อนที่เกิดจากหลอด ใสข้ นาด 60 วัตต์ จำนวน 3 หลอดท่ตี ิดต้งั ไว้ในตู้ และในตู้ฟักไขก่ ็จะมกี ารให้ความช้ืนในตู้โดยการใส่ ถาดน้ำเข้าไว้จำนวน 1 ถาด เพื่อเพิ่มปริมาณความชื้นในตู้ที่เหมาะสมกับการฟักไข่ซึ่งอยู่ที่ 60-70 เปอรเ์ ซ็นต์ ในส่วนของระบบกลับไข่อตั โนมัตนิ น้ั กจ็ ะทำการตง้ั เวลาในการกลับไข่ทกุ ๆ 3 ชว่ั โมงโดยได้ ออกแบบตารางการการเก็บข้อมลู ในการตัดตอ่ อณุ หภมู ิโดยการเก็บค่า log ของอณุ หภูมขิ องโปรแกรม ทีไ่ ดเ้ ขียนไวใ้ นการเก็บค่า log การตัดต่ออุณหภูมิ โดยวเิ คราะห์จากกราฟที่อา่ นได้จาก log ทีบ่ ันทึกไว้ การหาค่าประสทิ ธิภาพของตูฟ้ ักไข่อัตโนมัตไิ ด้ทำการหาเปอรเ์ ซ็นต์จากอตั ราการเกิดของไข่ในจำนวน 8 ฟองท่ฟี กั ออกมาเม่ือเทียบกับตฟู้ ักไข่แบบกลบั มอื จะเห็นไดว้ ่าจำนวนไข่ทฟ่ี กั ออกมาเป็นตัวระหว่าง ตฟู้ กั ไข่ระบบกลบั มอื และต้ฟู ักไขร่ ะบบอตั โนมัติที่ได้สร้างข้ึนมีเปอรเ์ ซนตก์ ารฟกั ออกเป็นตัวต่างกันคือ ตฟู้ กั ไขร่ ะบบอตั โนมตั ิสามารถฟกั ออกมาเปน็ ตวั 83% สว่ น ตู้ฟักไข่ระบบกลับมอื สามารถฟักออกมา เป็นตัว45% ต่างกันประมาณ 32% ผลการทดลองนี้ทำให้ทราบว่าตู้ฟักไข่ระบบอัตโนมัติ มปี ระสทิ ธิภาพของตฟู้ กั ไข่ออกมาเป็นตัวไดด้ กี วา่ ตู้ฟักไขร่ ะบบกลบั มือ ขอ้ เสนอแนะ 1. ควรออกแบบขนาดของตูฟ้ กั ไขใ่ นขนาดต่าง ๆ เพอ่ื ใหม้ คี วามเหมาะสมในการใช้งาน ตามวัตถปุ ระสงคม์ ากขึน้ เช่น กล่องขนาดเลก็ สามารถใชง้ านในพ้ืนทแี่ คบ ๆ หรือบริเวณท่ีต้องการฟกั ไข่จำนวนไมม่ าก เป็นตน้ 2. ควรมกี ารพัฒนาตูฟ้ กั ไข่อัตโนมตั ใิ ห้มีประสทิ ธภิ าพการใช้งานมากข้ึน เช่น สามารถ ประยกุ ต์ในการควบคมุ อุณหภูมิในโรงเรอื นเพาะชำ ฯลฯ เป็นตน้

18 บรรณานุกรม 1. การเรยี นรายงานโครงงานวทิ ยาศาสตร์ (ออนไลน์) แหล่งทีม่ า http://pioneer.netserv.chula.ac.th/~cpornth1/Web_SciProject/a11.htm 2. อณุ หภมู ทิ เ่ี หมาะสมในการฟักไข่แตล่ ่ะชนดิ (ออนไลน)์ แหลง่ ทมี่ า http://www.machine4biz.com/incubation-temperature-humidity-table/ 3. หนงั สือ : สนุกKIds สนุก code กับ Kidbright ผู้แตง่ , : สำนักงานวทิ ยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแห่งชาติ . สำนักพมิ พ์, : มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์,2561 .ปทมุ ธานี 4. คลิปวดี ีโอ :KidBright: ตอนท่ี 5 การใชง้ านบอร์ดแบบ IoT URL:https://www.youtube.com/watch?v=p07-u7rf0c8 5. คลิปวีดีโอ :KidBright จากจนิ ตนาการสู่ความเปน็ จรงิ Coding at School IoT URL: https://www.youtube.com/watch?v=NO9K2Egwb-c 6. คลปิ วดี โี อ : KidBright: ตอนท่ี 1 แนะนำ KidBright และ KidBright IDE IoT URL: https://www.youtube.com/watch?v=169SA4vodvk 7. คลปิ วดี ีโอ : KidBright: ตอนท่ี 3 การเชอ่ื มตอ่ เซนเซอร์ภายนอก URL: https://www.youtube.com/watch?v=ytQ7beMkmBA

19 ภาคผนวก รปู ภาพการสรา้ งส่ิงประดษิ ฐ์

20 ภาคผนวก รูปภาพการทดลอง

21

1


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook