Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore vijai63

vijai63

Published by linking feeling, 2021-01-13 13:56:06

Description: vijai63

Search

Read the Text Version

ก คำนำ แบบรายงานการวิจัยฉบับน้ีเปน็ การทาการวิจัยเพ่ือการสอนความรู้พืน้ ฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ โดย วิธีการพัฒนาการเรียนการสอนวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง การพัฒนาความสามารถทางการเรียนวิชา คอมพิวเตอร์ ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใชเ้ อกสารประกอบการเรียนที่สรา้ งขึ้น ปีการศึกษา 2563 โดยการวิจัยครั้งนี้ได้ทาเป็นแบบประเมินผลงาน 2 คร้ัง เพื่อเปรียบเทียบพัฒนาการ สาเหตุของการจัดทา งานวิจัยช้ินน้ี คือ เพ่ือส่งเสริมให้นักเรียน เรียนอย่างมีความสุข และได้รับความรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ จะ ทาให้นักเรยี นชอบการเรยี นและได้รับความรแู้ ละนาไปใชใ้ ห้เกิดประโยชนส์ งู สุด ดังนั้น ในการจัดทาแบบรายงานการวิจัยช้ินน้ี ข้าพเจ้าหวังเป็นอย่างย่ิงว่าจะเป็นประโยชน์ต่อการ เรยี นการสอน และเป็นการเรยี นการสอนท่ีนักเรียนจะได้รบั ความรไู้ ดด้ ี นางสาวสาอีดา วายะโยะ ผู้ทาการวจิ ัย

สำรบญั ข เนอ้ื หำ หนำ้ 1. ความสาคญั และท่ีมา 1 2. วตั ถุประสงค์ในการวิจัย 1 3. สมมตฐิ านสาหรับการวจิ ยั 1 4. ขอบเขตของการวจิ ยั 1 5. ประโยชนท์ ค่ี าดวา่ จะได้รับ 1 6. วิธีดาเนินการวิจยั 2 7. ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู 3 8. สรุปผล 6 ภาคผนวก

1 รำยงำนผลกำรวจิ ัย การพฒั นาความสามารถทางการเรียนวิชาคอมพิวเตอร์ ในระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 2 โดยใชเ้ อกสารประกอบการเรยี นที่สร้างขนึ้ 1. ควำมสำคญั และท่ีมำ จากการสอนวชิ าคอมพิวเตอร์ ระดบั ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 พบวา่ มนี ักเรยี นจานวน 15 คน ขาด ทักษะการปฏิบัติงานในแตล่ ะเนอื้ หาทีถ่ ูกต้องและบางคนไม่สามารถปฏบิ ตั ไิ ด้เลย เป็นผลทาใหไ้ ม่มีงานส่งครู หรือบางคนมีงานส่ง แตผ่ ลงานอย่ใู นเกณฑ์ตอ้ งปรบั ปรงุ เมื่อครูซักถามในประเด็นหรือเนื้อหาทส่ี าคัญของ การเรยี นแตล่ ะคร้ัง นักเรยี นไม่สามารถตอบคาถามไดถ้ ูกต้อง จากปัญหาท่ีพบ ผู้วิจัยจึงสนใจท่ีจะแก้ไขปัญหาโดยการสร้างเอกสารประกอบการเรียนข้ึนมา เพ่ือให้นักเรียนไดฝ้ ึกปฏิบตั ิบ่อย ๆ จากเนื้อหาท่ีจัดลาดบั ความง่ายไปยากและเพ่ือให้เกิดความชานาญในการ ใช้คาสงั่ ซง่ึ เป็นพ้นื ฐานของการเรยี นวชิ าคอมพวิ เตอร์ในระดับสูงต่อไป 2. วัตถปุ ระสงค์ในกำรวิจัย 1. เพ่ือพัฒนาทกั ษะการปฏบิ ัติงานของนกั เรียนให้ถูกต้องตามวธิ ีการและขัน้ ตอนยงิ่ ขน้ึ 2. เพื่อให้นักเรยี นระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 ทีม่ ีผลการเรียนทดี ีขน้ึ 3. สมมติฐำนสำหรบั กำรวิจัย นกั เรยี นมผี ลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นหลังการใช้เอกสารประกอบการเรยี นสูงกว่าก่อนการใช้เอกสาร ประกอบการเรียน 4. ขอบเขตของกำรวจิ ัย 1. ในการวจิ ัยพัฒนาคร้งั นเ้ี ป็นการสรา้ งเอกสารประกอบการเรียนวชิ าคอมพิวเตอร์ ระดับชั้น มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 2. ประชากรในการวจิ ัยครั้งนี้ คอื นักเรยี นระดบั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 จานวน 20 คน ของ โรงเรียนจนั ทร์ประภสั สรอ์ นสุ รณ์ ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2563 5. ประโยชนท์ ีค่ ำดวำ่ จะไดร้ บั 1. สามารถใช้เอกสารประกอบการเรยี นในการพฒั นาความสามารถทางการเรยี นวิชาคอมพิวเตอร์ สาหรบั มธั ยมศึกษาปีที่ 2 ได้ 2. นักเรียนมีพฒั นาการในการปฏิบัตงิ านไดถ้ ูกต้องตามวธิ ีการและขึ้นตอนดีขึ้นหลังการฝึก

2 6. วธิ ีดำเนินกำรวิจัย 1. กลมุ่ เปา้ หมาย ได้แก่ นกั เรยี นชน้ั ม.2 ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2563 จานวน 20 คน 2. ตวั แปรท่ศี ึกษา 2.1 ตัวแปรตน้ ได้แก่ เอกสารประกอบการเรยี น 2.2 ตัวแปรตาม ได้แก่ ความสามารถทางการเรยี นคอมพิวเตอร์ของนกั เรยี นช้ัน ม.2 3. วธิ ีการนาไปใช้ ใช้เอกสารประกอบการเรยี นในการฝกึ 1 ภาคเรยี น ปีการศึกษา 2563 โดยมี การทดสอบทักษะความสามารถทางการเรียน ดังนี้ 3.1 ทดสอบวัดความสามารถในการเรยี นก่อนการฝึก 1 ครัง้ 3.2 ทดสอบความสามารถในการฝึกปฏิบตั ิเป็นระยะ ๆ เมื่อจบขึ้นตอนการฝึกแต่ละเน้ือหา 3.3 ทดสอบวัดความสามารถในการเรยี นหลังการฝึก 1 ครัง้ 4. การเก็บรวบรวมข้อมลู ขอ้ มูล/ผลทจี่ ะเก็บ วิธีการ เคร่อื งมือ จานวนคร้ัง/ ระยะเวลาทเ่ี ก็บ คะแนนความสามารถในการ การทดสอบ แบบทดสอบ ทดสอบ 2 คร้ัง เรียนคอมพวิ เตอร์ จานวน 1 กอ่ นการฝกึ 1 ครงั้ ฉบบั หลงั การฝึก 1 ครง้ั คะแนนทกั ษะการปฏบิ ตั งิ าน การตรวจผลงาน แบบฝึก ตรวจผลงาน 4 ครง้ั ปฏบิ ตั ิ เมือ่ จบแตล่ ะเนื้อหา 5. วธิ ีการวเิ คราะหข์ ้อมลู 5.1 หาคา่ เฉลี่ยคะแนนความสามารถทางการเรียนคอมพวิ เตอร์กอ่ นและหลงั การฝึก 5.2 เปรยี บเทียบคะแนนความแตกต่างระหว่างก่อนฝึกและหลงั ฝกึ เปน็ รายบุคคล 5.3 หาคา่ รอ้ ยละจานวนนกั เรียนทมี่ ขี ้อบกพรอ่ งในการเรียนคอมพิวเตอรด์ ้านตา่ ง ๆ 6. สถติ ิท่ีใช้ ได้แก่ คา่ ร้อยละ และค่าเฉล่ีย

3 7. ผลกำรวิเครำะหข์ ้อมลู 7.1 คะแนนเฉลย่ี ความก้าวหนา้ ทางการเรียนคอมพวิ เตอร์ของนักเรียน ตำรำงท่ี 1 ค่าสถติ พิ น้ื ฐานคะแนนความก้าวหน้าทางการเรียนคอมพิวเตอร์ของนกั เรียน ชน้ั ม.2 จากการทดสอบ 2 ครงั้ รำยกำร จำนวนนกั เรียน คำ่ เฉลย่ี ทดสอบก่อนฝกึ N x 20 6.7 ทดสอบหลังฝกึ 20 15.35 จากตารางที่ 1 พบว่า ความสามารถในการเรียนคอมพวิ เตอรข์ องนกั เรียนระดับชน้ั ประถมศกึ ษาปี ท่ี 5-6 จากการทดสอบ 2 คร้ัง เทา่ กับ 6.7 และ 15.35 ซึ่งแสดงให้เหน็ อยา่ งชดั เจนว่านักเรยี นมี ความก้าวหนา้ ในการเรียนสูงขึน้

4 7.2 คะแนนความสามารถในการเรียนวิชาคอมพิวเตอร์ ก่อนและหลังการฝกึ ตำรำงท่ี 2 เปรยี บเทยี บคะแนนความสามารถในการเรียนวิชาคอมพวิ เตอร์ของนักเรยี นชัน้ ประถม ศกึ ษาปที ี่ 5-6 ก่อนและหลังการฝึก จานวน 15 คน คะแนนก่อนเรียน คะแนนหลงั เรยี น ควำมก้ำวหน้ำ นักเรยี นคนที่ ได้ รอ้ ยละ ได้ รอ้ ยละ ได้ ร้อยละ 1 9 45 17 85 8 40 2 8 40 18 90 10 50 3 6 30 16 80 10 50 4 9 45 15 75 6 30 5 2 10 13 65 11 55 6 6 30 15 75 9 45 7 8 40 14 70 6 30 8 8 40 15 75 7 35 9 9 45 16 80 7 35 10 10 50 17 85 7 35 11 7 35 14 70 7 35 12 9 45 13 65 4 20 13 5 25 16 80 11 55 14 6 30 17 85 11 55 15 1 5 13 65 12 60 16 6 30 16 80 10 50 17 8 40 14 70 6 30 18 6 30 16 80 10 50 19 3 15 15 75 12 60 20 8 40 17 85 9 45 คะแนนรวม 134 307 173 คะแนนเฉลีย่ 6.7 15.35 8.65

5 จากตารางที่ 2 พบว่า คะแนนเฉล่ียก่อนเรียนของนักเรยี นเทา่ กบั 6.7 คะแนนเฉลี่ยหลังเรียน เทา่ กับ 15.35 ดังน้ัน นกั เรียนมีคะแนนเฉล่ียเพิม่ ข้ึนโดยเฉล่ยี = 15.35 – 6.7 = 8.65 น่นั คือ ภายหลังการใช้เอกสารประกอบการเรียน นกั เรียนมีความสามารถในการเรียนคอมพวิ เตอร์ สูงขึน้ 7.3 จานวนนกั เรยี นทีม่ ีข้อบกพร่องในการเรียนวิชาคอมพิวเตอรด์ า้ นต่าง ๆ ตำรำงท่ี 3 แสดงจานวนนกั เรยี นท่ีมีข้อบกพร่องในการเรียนคอมพิวเตอรด์ ้านต่าง ๆ ก่อนฝกึ หลงั ฝกึ รำยกำร จำนวนนักเรียน จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ ดำ้ นทกั ษะกำรฏบิ ัติ 20 100 5 25 1. พมิ พ์ขอ้ ความภาษาไทยและภาษาอังกฤษได้ไมค่ ล่อง 16 80 5 25 2. ฟงั และอา่ นคาสั่งภาษาอังกฤษไมอ่ อกต้องใชเ้ วลานาน 15 75 3 15 3. จาขัน้ ตอนและวิธขี องแตล่ ะเนืองเรอ่ื งไม่ได้ ด้ำนกำรจดั รูปแบบของงำน 1. จดั ระยะของกระดาษไมค่ ่อยเหมาะสม 18 90 - - 2. ไม่เลอื กรปู แบบตัวอักษรและปรับขนาดตัวอกั ษรให้มคี วาม 8 40 - - หลากหลาย จะใชเ้ ทา่ ท่ีโปรแกรมกาหนดเทา่ นัน้ 3. ยงั ใช้คาสัง่ ท่ชี ่วยตกแตง่ งานให้มีความสวยงามน้อย เช่น การ 7 35 - - ใส่สตี วั อักษรกาหนดสีเส้นตารางใส่สพี ื้น ลลล จากตารางที่ 3 พบว่า ก่อนฝึกจานวนนักเรียนส่วนใหญ่มีข้อบกพร่องในการเรียนคอมพิวเตอร์ ด้านทักษะการปฏิบัติ คือ พิมพ์ข้อความภาษาไทยและภาษาอังกฤษได้ไม่คล่อง ฟังและอ่านคาสั่ง ภาษาอังกฤษไม่ออกต้องใช้เวลานาน จาข้ันตอนและวิธีการของแต่ละเน้ือเรื่องไม่ได้ คิดเป็นร้อยละ 100 , 80.00 และ 75.00 ตามลาดับ ส่วนด้านการจัดรูปแบบงาน คือ จัดระยะขอบกระดาษไม่ค่อยเหมาะสม คดิ เปน็ ร้อยละ 90.00 แต่ภายหลังการฝึก พบว่า จานวนนักเรียนท่ีมีข้อบกพร่องในด้านทักษะการ ปฏิบัติ มีจานวนลดลงมาก ส่วนในด้านการจัดรูปแบบของงานไม่มีจานวนนักเรียนท่ีมีข้อบกพร่อง นักเรียน ทุกคนสามารถจัดรปู แบบของงาน ใช้คาส่ังตา่ งๆ เพื่อตกแต่งผลงานของตนเองได้

6 8. สรปุ ผล สรปุ ผล ภายหลังการพัฒนาความสามารถทางการเรียนคอมพิวเตอร์สาหรับเด็กเรียนนักเรยี นมีความสามารถ ในการเรียนคอมพิวเตอร์ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2 โดยใช้เอกสารประกอบการเรียน ปรากฏว่า นักเรียนมีการ พัฒนาความสามารถทางการเรยี นดขี น้ึ อภปิ รำยผล จากผลการใช้เอกสารประกอบการเรียนท่ีสร้างข้ึน ปรากฏว่า นักเรียนมีความสามารถในการเรียน คอมพิวเตอร์ดีขึ้น ซ่ึงเม่ือพิจารณาความก้าวหน้าในการเรียนของนักเรียน พบว่า นักเรียนสามารถพัฒนาได้ ตามระยะเวลาและจานวนกิจกรรมท่ีฝึกและเม่ือสิ้นสุดการฝึก พบว่า นักเรียนมีทักษะการปฏิบัติและทักษะ การจัดองค์ประกอบต่าง ๆ ของผลงานดีขึ้น ท้ังนี้อาจเป็นเพราะเครื่องมือท่ีใช้ในการพัฒนามีการจัดลาดับ ความยากง่ายท่ีเหมาะสมกับผู้เรียน แสดงว่าเอกสารประกอบการเรียนท่ีสร้างข้ึนนี้ ช่วยให้นักเรียนมี ความสามารถทางการเรียนวิชาคอมพวิ เตอรด์ ีขนึ้ ข้อเสนอแนะ 1. ควรฝกึ เพ่ิมเตมิ ให้กบั นักเรียนท่ียังมีข้อบกพร่องในดา้ นทักษะการปฏิบตั ิ โดยปรบั เปล่ยี นกจิ กรรม ให้เหมาะสมกับลักษณะของข้อบกพร่องน้นั ๆ 2. พฒั นาเอกสารประกอบการเรียนให้มีความนา่ สนใจและทันสมัย 3. เพ่มิ กิจกรรมทักษะให้มีความหลากหลายในการจดั การเรยี นการสอน