คาํ ภาษาต่างประเทศ ทใ่ี ช้ในภาษาไทย ระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ ๓
สาเหตุทภ่ี าษาต่างประเทศปะปนในภาษาไทย ๑. อทิ ธิพลด้านภูมศิ าสตร์ มอี าณาเขตใกล้เคยี ง ติดต่อกนั เช่น ภาษาเขมร ภาษาพม่า ภาษาจีน ภาษาชวา-มลายู ๒. อทิ ธิพลทางด้านการค้า เช่น ภาษาจีน ภาษาองั กฤษ ภาษาฝรั่งเศส ๓. อทิ ธพิ ลด้านวฒั นธรรมและศาสนา เช่นศิลปะ วรรณคดี ศาสนาพทุ ธ ๔. อทิ ธิพลด้านการศึกษา การศึกษาต่อในต่างประเทศ ๕. อทิ ธิพลด้านความเจริญทางเทคโนโลยแี ละการเผยแพร่ข่าวสาร
อทิ ธิพลของภาษาต่างประเทศทม่ี ตี ่อภาษาไทย ๑. ทาํ ให้คาํ ภาษาไทยมหี ลายพยางค์ ภาษาเขมร เผด็จ เสวย กงั วล บําเพญ็ ถนน ภาษาจีน ตะหลวิ แซยดิ ก๋วยเตี๋ยว เอยี้ มจุ๊น ภาษาชวา บุหลนั บุหรง ยหิ วา ประไหมสุหรี ภาษาองั กฤษ คลนิ ิก สนุกเกอร์ เนกไท แคชเชียร์ ภาษาบาล,ี สันสกฤต ปรัชญา อจั ฉรา สนิท อคั นี วทิ ยา
อทิ ธิพลของภาษาต่างประเทศทมี่ ตี ่อภาษาไทย ๒. ทาํ ให้คาํ ไทยมเี สียงควบกลาํ้ มากขนึ้ และเพม่ิ เสียงควบกลาํ้ ทไี่ ม่มใี นภาษาไทยอกี ด้วย ทร - จันทรา นิทรา ทรานซิสเตอร์ เอน็ ทรานซ์ ดร - ดรีม ดรัมเมเยอร์ ดร๊าฟ บร - เบรก บรูไน บรอนซ์ บล - แบลก็ บลอ็ ก ฟร - ฟรี ฟริกโทส ฟรานซ์ ฟล - แฟลต ฟลอโชว์ ฟลูออรีน
อทิ ธิพลของภาษาต่างประเทศทมี่ ตี ่อภาษาไทย ๓. ทาํ ให้คาํ ไทยมตี ัวสะกดเพม่ิ ขนึ้ เช่น แม่กก - สุข เมฆ พยคั ฆ์ เช็ค แม่กด - ฤทธ์ิ พธุ เลศิ รัฐ ก๊าซ ฟิ ต แม่กบ - รูป ภาพ โลภ กราฟ ซุป กอล์ฟ แม่กน - เพญ็ พล การ สูญ บุญ ดล บอล
อทิ ธิพลของภาษาต่างประเทศทม่ี ตี ่อภาษาไทย ๔. ทาํ ให้ภาษาไทยมคี าํ ศัพท์เพมิ่ มากขนึ้ สามารถเลอื กใช้ ให้เหมาะสมกบั โอกาสและความต้องการได้ เช่น มคี าํ ทม่ี คี วามหมายเดียวกนั ให้เลอื กใช้ เช่น นํา้ - ชล อทุ ก วารี ธาร ชโลทร ผู้หญิง - อติ ถี สตรี นารี กลั ยา สุดา สมร วนิดา พระอาทติ ย์ - สุริยา สุริยนั รพิ รวิ ภากร ดอกไม้ - มาลี บุปผา บุษบา บุหงา โกสุม
ลกั ษณะของคาํ ทม่ี าจากภาษาบาลี คาํ ทม่ี าจากภาษาบาลี มขี ้อสังเกต ดังนี้ ๑. สระในภาษาบาลมี ี ๘ ตวั คอื อะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ ๒. พยญั ชนะในภาษาบาลมี ี ๓๓ ตวั คอื (พยญั ชนะวรรค) แถว แถวท่ี ๑ แถวท่ี ๒ แถวท่ี ๓ แถวท่ี ๔ แถวท่ี วรรค ก (ไก่) ๕ ข (ไข่) ค (ควาย) ฆ (ฆ่า) ง (ง)ู วรรค ก จ ฉ ช ฌ (ฌ.เฌอ) ญ วรรค จ ฏ ฐ ฑ ฒณ วรรค ฏ (เลก็ ) ต ถท ธน วรรค ต (ใหญ่) ป ผ พ ภม วรรค ป ย ร ล ว ส ห ฬ (อัง) เศษวรรค
๓. มหี ลกั เกณฑ์การสะกดคาํ ทแี่ น่นอน ๑) ถา้ พยญั ชนะแถวที่ ๑ สะกด แถวท่ี ๑ และ ๒ เป็นตวั ตาม เช่น อุกกาบาต ทุกข์ มจั ฉา วตั ถุ บุปผา ๒) ถา้ พยญั ชนะแถวท่ี ๓ สะกด แถวท่ี ๓ และ ๔ เป็นตวั ตาม เช่น พยคั ฆ์ อคั คี วชั ชี มชั ฌิม พุทธ ๓) ถา้ พยญั ชนะแถวท่ี ๕ สะกด ทุกแถวในวรรคเป็นตวั ตาม ได้ เช่น สัมปทาน สมั ผสั พมิ พ์ คมั ภีร์
๔. พยญั ชนะวรรค ฏ นิยมตดั ตัวสะกดเดิม แล้วใช้ตัวตาม สะกดแทน เช่น รัฏฐ เป็ น รัฐ ทฏิ ฐิ เป็ น ทฐิ ิ อฏั ฐ เป็ น อฐั วุฑฒิ เป็ น วฒุ ิ
๕. ถ้าตัวสะกดและตัวตามเป็ นตวั เดียวกนั มกั จะตัดเสียตวั หนึ่ง เช่น รัชชกาล เป็ น รัชกาล บุญญ์ เป็ น บุญ ยตุ ติ เป็ น ยตุ ิ เขตต์ เป็ น เขต อสิ สระ เป็ น อสิ ระ
๖. คาํ บาลีนิยมใชต้ วั ฬ เช่นคาํ วา่ กีฬา อาสาฬหบชู า โอฬาร ๗. คาํ บาลีนิยมใน ริ เช่น กิริยา จริยา อริยะ
คาํ ทมี่ าจากภาษาสันสกฤต มขี ้อสังเกตดงั นี้ ๑. สระในภาษาสันสกฤตมี ๑๔ ตวั คอื อะ อา อิ อี อุ อู ฤ ฤา ฦ ฦา เอ โอ ไอ เอา ๒.พยญั ชนะในภาษาสันสกฤตมี ๓๕ ตวั คอื ศ ษ วรรค แถว แถวท่ี ๑ แถวท่ี ๒ แถวท่ี ๓ แถวท่ี ๔ แถวท่ี ๕ วรรค ก ก ขค ฆ ง วรรค จ จ ฉช ฌ ญ วรรค ฎ ฎ ฐฑ ฒ ณ วรรค ต ต ถท ธ น วรรค ป ป ผพ ภ ม เศษวรรค ยรลวศษสหฬ (อัง)
๓. ภาษาสันสกฤตมกี ารสะกดคาํ ไม่แน่นอน พยญั ชนะตัวใด จะ เป็ นตัวสะกดและตวั ใดจะเป็ นตวั ตามกไ็ ด้ เช่น อคั นี พนัส ปรัชญา สัปดาห์ ๔. คาํ สันสกฤตใช้ ฑ ในขณะทภี่ าษาบาลใี ช้ ฬ เช่น จุฑา กรีฑา ๕. คาํ สันสกฤตใช้ ศ ษ เช่นคาํ ว่า ศีรษะ ศาล อภิเษก
๖. คําสันสกฤตใช้ ฤ ฤา ไอ เอา เช่นคาํ ว่า ฤทธ์ิ ฤา ไมตรี เสาร์ ๗. คําสันสกฤตใช้ รร (ร หัน) เช่นคําว่า กรรม ธรรม สวรรค์ อศั จรรย์ ๘. คาํ สันสกฤตใช้ คาํ ควบกลาํ้ เช่นคาํ ว่า จักร สมคั ร เพชร มติ ร สมุทร อนิ ทร์ ทรัพย์ หมายเหตุ คําทม่ี าจากภาษาบาลสี ันสกฤต จะไม่มรี ูปวรรณยกุ ต์และ ไม่มไี ม้ไต่คู้กาํ กบั ยกเว้น เล่ห์ พ่าห์ กระบี่ เท่ห์ พทุ โธ่ ซ่ึงเราเติมรูป วรรณยกุ ต์ขนึ้ ภายหลงั
คาํ บาลี คาํ สันสกฤต ๑. สระมี ๘ ตวั คอื อะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ ๑. สระในภาษาสันสกฤตมี ๑๔ ตวั คอื อะ อา อิ อี อุ อู ฤ ฤา ฦ ฦา เอ โอ ไอ เอา ๒. พยญั ชนะมี ๓๓ ตวั ๒. พยญั ชนะมี ๓๕ ตวั เพมิ่ ศ ษ ๓. มหี ลกั การสะกดตายตวั ๓. หลกั การสะกดไม่ตายตวั ๔. นิยมใช้ ฬ ๔. นยิ มใช้ ฑ ๕. นยิ มใช้ ริ ๕. นิยมใช้ รร
คาํ ทม่ี าจากภาษาเขมร มขี ้อสังเกตดังนี้ ๑. คาํ ทม่ี าจากภาษาเขมรไม่ใช้รูปวรรณยุกต์ ยกเว้น เสน่ง เขม่า ๒.คาํ ทมี่ าจากภาษาเขมรมกั ใช้อกั ษรควบกลาํ้ และใช้อกั ษรนํา อกั ษรตาม เช่น ฉนํา โตนด ฉนาก ขยาํ ขจี ถวาย เสวย เฉนียน เสด็จ ขนง
๓. คาํ สองพยางค์ท่ขี นึ้ ต้นด้วยคาํ ว่า กาํ คาํ จาํ ดาํ ตาํ ทาํ มักเป็ นคาํ แผลงท่มี าจากภาษาเขมร เช่น กาํ นัล กาํ เนิด กาํ หนด คาํ นับ คาํ รบ จาํ หน่าย จาํ แนก ชาํ รุด ชาํ นาญ ดาํ รง ดาํ เนิน ดาํ ริ ตาํ รา ตาํ รวจ ทาํ นบ ทาํ เนียบ
๔.คาํ ทข่ี นึ้ ต้นด้วย บงั บัน บรร บาํ มักจะมาจากภาษาเขมร บัง เช่น บงั เอญิ บงั เกดิ บังควร บงั คับ บงั อาจ บัน เช่น บนั เทงิ บนั ได บันทกึ บนั ดาล บาํ เช่น บําเพญ็ บาํ บัด บาํ บวง บรร เช่น บรรทม บรรทกุ บรรทดั บรรจง บรรสาน บรรจบ บรรเจิด บรรจุ
๕.คําทข่ี ึน้ ต้นด้วย ประ บางคาํ แผลงมาจากคาํ เขมรทข่ี นึ้ ต้นด้วย ผ เช่น ประจง แผลงมาจาก ผจง ประทม แผลงมาจาก ผทม ประสาน แผลงมาจาก ผสาน
๖. คาํ เขมรนิยมใช้ จ ญ ร ล เป็ นตัวสะกด จ สะกด อาจ เสร็จ ตรวจ ญ สะกด เจริญ เขญ็ เพญ็ ร สะกด ขจร เดริ (เดนิ ) ล สะกด ถกล ถวลิ ผาล ตาํ บล
นพิ พาน หรรษา บุคคล กรรไกร เผด็จ ทูล ตรัส ครรภ เมตตา กรรแสง ควร สกิ ขา เสวย ภรรยา เสดจ็ ผจญ ศึกษา จักขุ กติกา หวงใย ไพร วทิ ยา อเุ บกขา โรงเรยี น บันดาล เคราะหก รรม มจิ ฉาชีพ ปลาหมอ วิสสุกรรม บันลือ วปิ สสนา วลั ลภ กรรม ปสสาวะ จรยิ า บรรทัด อรยิ ะ บันได บรรหาร ภริยา บรรจบ บันทึก ทรัพย ทรดุ มัทรี อนิ ทรีย ทราบ ทราย เอสไควร บานเรือน พระพุทธ ผกา รอยัล ดวงดาว พระธรรม ขจี โกเก ไฟฟา พระสงฆ ดําริ บรรทม วิชา สัณฐาน เกษม อัศจรรย ฤกษ พัฒนา วุฒิ รฐั
Search
Read the Text Version
- 1 - 21
Pages: