ตวิ เขม้ สรปุ เนอ้ื หา วิชาภาษาไทย ระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ที่ ๓ เรื่อง บทพากยเ์ อราวณั
ผ้ทู รงพระราชนิพนธ์ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลยั รชั กาลท่ี ๒
ประวัตผิ แู้ ตง่ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงพระราชสมภพเมอ่ื วนั ที่ ๒๔ กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. ๒๓๑๐ เมื่อสมเด็จพระบรมชนกนาถปราบดาภิเษกเป็นปฐม กษัตริย์แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ใน พ.ศ. ๒๓๒๕ พระองค์ ทรงได้รับการสถาปนาเป็นเจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยเสด็จข้ึน ครองราชย์ใน พ.ศ. ๒๓๒๕ เสด็จสวรรคตเมื่อ พ.ศ. ๒๓๖๗ ครองสิริราชสมบัติเปน็ เวลา ๑๕ ปี
ลกั ษณะคาประพันธ์ กาพยฉ์ บงั ๑๖ ใช้สาหรับเปน็ คาพากย์หรอื บทพากยใ์ นการแสดง หนังใหญ่และโขน
บทพากยท์ ร่ี ัชกาลท่ี ๒ ทรงพระราชนพิ นธข์ ้นึ ใหม่ ไดแ้ ก่ ตอนนางลอย นาคบาศ เอราวณั
เนือ้ เรื่องยอ่ บทพากย์เอราวัณน้บี รรยายลักษณะของช้างเอราวัณไวอ้ ย่างพิสดาร ชา้ งนเ้ี ป็นชา้ งทรง ของพระอินทร์ ชา้ งเอราวัณในตอนนี้เป็นชา้ งทีพ่ วกฝ่าย อนิ ทรชติ คือ การณุ ราช แปลงมาโดยลอยมาบนทอ้ งฟ้า และเหลา่ ยกั ษ์แปลง ตัวเป็นเทวดา ทาใหฝ้ า่ ยทพั พระราม ยกเวน้ หนมุ าน เผลอตัวชมความงาม ดว้ ยเข้าใจวา่ เป็นเหลา่ เทวดาจริงๆ
๏ อินทรชิตบิดเบือนกายนิ เหมอื นองคอ์ มรนิ ทร์ ทรงคชเอราวัณ เผอื กผ่องผิวพรรณ เศียรหนงึ่ เจ็ดงา ๏ ช้างนมิ ติ ฤทธแิ รงแขง็ ขัน สีสงั ข์สะอาดโอฬาร์ ๏ สามสิบสามเศยี รโสภา ดงั่ เพชรรตั นร์ ูจี
๏ งาหนงึ่ เจ็ดโบกขรณี สระหน่งึ ยอ่ มมี เจ็ดกออบุ ลบนั ดาล ดอกหนง่ึ แบง่ บาน เจด็ องคโ์ สภา ๏ กอหนึง่ เจ็ดดอกดวงมาลย์ มีกลีบไดเ้ จ็ดกลีบผกา ๏ กลบี หน่ึงมีเทพธิดา แนง่ น้อยลาเพานงพาล
๏ นางหนง่ึ ยอ่ มมีบริวาร อีกเจด็ เยาวมาลย์ ล้วนรปู นิรมติ มายา ชาเลอื งหางตา ทกุ เกศกญุ ชร ๏ จบั ระบาราร่ายสา่ ยหา ทาทีดังเทพอัปสร ๏ มวี มิ านแกว้ งามบวร ดงั เวไชยันต์อมรินทร์
๏ เครื่องประดบั เกา้ แก้วโกมิน ซองหางกระวนิ สรอ้ ยสายชนกั ถักทอง ผา้ ทิพย์ปกตระพอง เปน็ เทพบุตรควาญ ๏ ตาข่ายเพชรรตั นร์ อ้ ยกรอง ห้อยพู่ทุกหคู ชสาร ๏ โลทันสารถีขนุ มาร ขับทา้ ยทนี่ ่ังชา้ งทรง
๏ บรรดาโยธาจัตุรงค์ เปลี่ยนแปลงกายคง เป็นเทพไทเทวัญ ทพั หลงั สบุ รรณ คนธรรพ์ปกี ขวา ๏ ทัพหน้าอารักขไพรสัณฑ์ กินนรนาคนาคา ๏ ปกี ซา้ ยฤาษติ วิทยา ตงั้ ตามตารบั ทัพชัย
๏ ล้วนถืออาวธุ เกรียงไกร โตมรศรชยั พระขรรคค์ ทาถ้วนตน รีบเร่งรพี้ ล พอพระสุรยิ ์ศรี ๏ ลอยฟา้ มาในเวหน มาถึงสมรภูมิชยั ฯ ๏ เม่ือน้ันจึงพระจักรี อรุณเรอื งเมฆา
๏ ลมหวนอวลกล่นิ มาลา เฟอ่ื งฟุ้งวนา นิวาสแถวแนวดง รอ่ นราถาลง ไก่ขันปีกตี ๏ ผ้ึงภู่หมู่คณาเหมหงส์ แทรกไซ้ในสร้อยสมุ าลี ๏ ดุเหวา่ เร้าเรง่ พระสุรยิ ศ์ รี กกู่ อ้ งในท้องดงดาน
๏ ปกั ษาตื่นตาขนั ขาน หาค่เู คยี งประสาน สาเนยี งเสนาะในไพร สร่างแสงอโณทัย ธิบดนิ ทรเ์ ธอบรรเทือง ๏ เดือนดาวดับเศรา้ แสงใส กผ็ า่ นพยบั รองเรอื ง ๏ จบั ฟา้ อากาศแลเหลือง บรรทมฟ้ืนจากไสยา
๏ ปกั ษาตื่นตาขนั ขาน หาค่เู คยี งประสาน สาเนยี งเสนาะในไพร สร่างแสงอโณทัย ธิบดนิ ทรเ์ ธอบรรเทือง ๏ เดือนดาวดับเศรา้ แสงใส กผ็ า่ นพยบั รองเรอื ง ๏ จบั ฟา้ อากาศแลเหลือง บรรทมฟ้ืนจากไสยา
๏ เสดจ็ ทรงรถแกว้ โกสยี ์ ไพโรจน์รจู ี จะแข่งซึง่ แสงสรุ ยิ ใ์ ส เรงิ รอ้ งถวายชัย กรกมุ พระขรรค์ ๏ เทียมสนิ ธพอาชาไนย ชันหรู ะเหดิ หฤหรรษ์ ๏ มาตลสี ารถเี ทวัญ ขับรถมากลางจัตุรงค์
๏ เพลารอยพลอยประดบั ดุมวง กึกก้องกากง กระทบกระทง่ั ธรณี พดั โบกพัชนี แตรสงั ข์เสียงประสม ๏ มยุรฉัตรชมุ สายพรายศรี กบ่ีระบายโบกลม ๏ องึ อนิ ทเภรีตีระงม ประสานเสนาะในไพร
๏ เสยี งพลโห่ร้องเอาชยั เลอ่ื นลั่นสนัน่ ใน พิภพเพียงทาลาย ออ่ นเอียงเพียงปลาย เน้อื นกตกใจ ๏ สตั ภณั ฑ์บรรพตทั้งหลาย ประนอมประนมชมชัย ๏ พสธุ าอากาศหวาดไหว ซุกซ่อนประหวน่ั ขวญั หนี
๏ ลกู ครุฑพลัดตกฉมิ พลี หัสดนิ อินทรี คาบช้างกว็ างไอยรา หกั ถอนพฤกษา แหลกล่ลู ้มลง ๏ วานรสาแดงเดชา ถือตา่ งอาวุธยทุ ธยง ๏ ไม้ไหลย้ งู ยางกลางดง ละเอียดด้วยฤทธิโยธี
๏ อากาศบดบงั สุรยิ ศ์ รี เทวญั จันทรี ทุกชนั้ อานวยอวยชยั โปรยทพิ มาลยั พุ่มบุษปมาลา ๏ บา้ งเปดิ แกลแกว้ แววไว ซอ้ งสาธุการบูชา ๏ ชกั รถรเี่ รือ่ ยเฉอื่ ยมา กงรถไมจ่ ดธรณินทร์
๏ เรง่ พลโยธาพานรินทร์ เรง่ รัดหัสดนิ วานรใหเ้ ร่งรีบมา เอ้ือนอรรถวจั นา สมรภมู ิไพรสณฑ์ ๏ เมื่อน้ันพระศรีอนชุ า ตรสั ถามสุครีพขนุ พล ๏ เหตไุ ฉนสหสั นัยน์เสดจ็ ดล เธอมาด้วยกลอันใด
๏ สคุ รพี ทลู ทดั เฉลยไข ทกุ ทีสหสั นยั น์ เสด็จดว้ ยหมู่เทวา บดั น้ีเธอมา ฤๅจะกลับเปน็ กล ๏ อวยชยั ถวายทิพมาลา เห็นวิปริตดฉู งน ๏ ทรงเครอ่ื งศสั ตราแยง่ ยล ไปเข้าดว้ ยราพณอ์ าธรรม์
๏ พระผู้เรอื งฤทธิแข็งขนั คอยดสู าคัญ อย่าไว้พระทยั ไพรี ตรัสส่ังเสนี เคลบิ เคล้ิมวรกาย ๏ เม่อื น้ันอินทรชิตยกั ษี ให้จับระบาราถวาย ๏ ใหอ้ งค์อนชุ านารายณ์ จะแผลงซ่งึ ศสั ตรศรพล
๏ อินทรชติ สถติ เหนอื เอรา วัณทอดทศั นา เห็นองคพ์ ระลักษณฤ์ ทธิรงค์ จงึ จบั ศรทรง หมายองคพ์ ระอนุชา ๏ เคลบิ เคลมิ้ หฤทัยใหลหลง พรหมาสตรอ์ ันเรอื งเดชา ๏ ทนู เหนือเศียรเกล้ายักษา ก็แผลงสาแดงฤทธริ ณ
๏ อากาศกอ้ งโกลาหล โลกล่นั องึ อล อานาจสะทา้ นธรณี ต้ององค์อนิ ทรีย์ ๏ ศรเตม็ ไปทวั่ ราศี พระลกั ษณ์ก็กล้ิงกลางพล
ความรู้ประกอบเรอ่ื ง อนิ ทรชติ เป็นโอรสองคโ์ ตของนาง มณโฑกบั ทศกัณฐ์ เดมิ ชอ่ื รณพกั ตร์ เปน็ พ่ี นางสีดาและไพนาสุรยิ วงศ์ มีชายาชื่อนาง สวุ รรณกันยุมา มีโอรส ๒ องค์ คือ ยามลิวัน และ กนั ยเุ วก
เมือ่ อายุ ๑๔ ปี ไปเรยี นวิชากบั ฤๅษีโคบตุ ร รพู้ ระเวทช่ือ “มหากาลอคั ค”ี คือ ถ้าบูชาพระเป็นเจ้าทงั้ สามได้แก่ พระอศิ วร พระนารายณ์ และพระพรหมครบ ๗ ปี จะมีฤทธิ์ยิง่ เม่ือครบ ๗ ปี พระอศิ วรประทาน ศรพรหมาสตร์ และพระเวทให้แปลงเป็นพระ อินทร์ได้ พระพรหมประทาน ศรนาคบาศ และให้พรวา่ ตายก็ใหต้ าย กลางอากาศ หากศีรษะตกพืน้ โลกจะลกุ ไหมด้ ้วยไฟกลั ป์ ตอ้ งนาพาน แก้วของพระพรหมมารับ
พระนารายณ์ประทานศรวษิ ณปุ าณมั ทศกัณฐ์ใชใ้ หไ้ ปปราบ พระอนิ ทร์ พระอินทร์แพท้ ้งิ จักรแกว้ ไว้ จึงนามาถวายทศกณั ฐ์ ทศกัณฐ์ จึงตงั้ ช่อื ให้ใหมว่ า่ “อินทรชิต” แปลว่า “ผพู้ ิชิตพระอินทร์”
อินทรชิตออกศึกครงั้ แรกไดร้ บกบั พระลักษณ์ ตอ้ งศรของพระ ลักษณ์จนเลกิ ทพั กลับไป เมอ่ื อินทรชติ กลบั ไปทาพิธีชุบศรนาคบาศทพ่ี ระพรหมประทานให้ เสร็จแล้ว ไดอ้ อกมาส้รู บกบั พระลกั ษณอ์ ีกครงั้ ผลการสู้รบคอื พระลกั ษณ์ ตอ้ งศรนาคบาศของอินทรชติ แต่ฝา่ ยพระรามก็แกพ้ ิษศรได้ตอ่ มาอนิ ทรชติ ทาพิธชี บุ ศรพรหมาสตรท์ ี่พระอิศวรประทานใหแ้ ละออกศึกอีกครง้ั โดยใช้ เวทมนตรท์ ่ี พระอศิ วรประทานให้แปลงกายเป็นพระอนิ ทรท์ รงชา้ งเอราวณั
ในสมัยกรงุ ศรอี ยธุ ยามีการนาเรอ่ื งรามเกียรต์มิ าแต่งเป็นบท สาหรับการแสดงมหรสพประเภทหนังใหญ่และโขน บทประพนั ธ์น้นั เรยี กว่าบทพากย์ บทพากยห์ นังใหญ่มกั จะดาเนนิ เรื่องตดิ ต่อกันเป็นเรือ่ งยาวจงึ เรยี กวา่ คาพากย์ยาวส่วนบทพากยโ์ ขนมกั ดาเนินเรอ่ื งเปน็ ตอนๆไม่ ตอ่ เนอื่ งกนั จงึ เรียกวา่ คาพากยส์ ้ัน
บทวิเคราะห์ ๗.๑ คณุ ค่าดา้ นเนื้อหา วรรณคดเี ร่ืองนี้แม้ไมเ่ ดน่ ดา้ นเนอื้ เรื่อง แต่ก็ทรงคุณค่าในประวัติ ความเป็นมา ทาให้เห็นได้ว่ามีการสานต่อวรรณคดีเรื่องนี้ในฐานะท่ีเป็น ราชูปโภคของกษัตริย์ กษัตริย์ไทยทรงใช้วรรณคดีในการสร้างเอกลักษณ์ ความเปน็ ชาติ
๗.๒ คณุ คา่ ด้านวรรณศลิ ป์ ๑) การใช้โวหาร กวีใช้ถ้อยคาเพ่ือสร้างจินตภาพหรือสร้างภาพให้เกิดขึ้นแก่ ผู้อ่าน โดยใชพ้ รรณนาโวหารให้เห็นภาพของช้างเอราวณั ๒) การใชภ้ าพพจน์ ๒.๑) อตพิ จน์ คอื การกลา่ วเกินจริง ๒.๒) บุคคลวัต คือ การสมมติหรือกาหนดให้สิ่งไม่มีชีวิต สามารถแสดงอากปั กิริยาไดเ้ ชน่ เดียวกบั ส่ิงมีชีวิต
๗.๒ คณุ คา่ ดา้ นวรรณศลิ ป์ ๓) การเลน่ เสียง จะมีเสียงสัมผัสใน ซึ่งจะช่วยให้การอ่านหรือการพากย์มี ความไพเราะขึ้น
๗.๓ คุณค่าดา้ นสังคมและสะทอ้ นวิถไี ทย ๑) ความเชอื่ ในเรื่องเทพเจา้ เพราะเน้ือหาและเรื่องราวล้วนมีความเกี่ยวข้องกับพระอิศวร พระพรหม พระนารายณ์ พระอนิ ทร์ ๒) ความเชอ่ื ในเรอ่ื งโชคลาง ได้สะท้อนให้เห็นความเชื่อบางประการท่ีมีความเกี่ยวโยงกับศาสนา พราหมณ์-ฮินดู เช่น เมื่อกองทพั ของพระลักษมณ์พรอ้ มที่จะสู้รบกบั กองทัพของอนิ ทรชิต ไดม้ กี ารเป่าและสังข์ พร้อมกับท่ีทหารหาญโห่รอ้ งเอาชัย
๗.๔ ข้อคดิ ท่สี ามารถนาไปประยกุ ต์ใช้ในชีวติ ประจาวัน ๑) การตง้ั ใจศกึ ษาเลา่ เรียน ๒) การใหอ้ านาจแกบ่ ุคคลใดควรไตร่ตรองใหด้ ี ๓) การมอี านาจควรใช้ไปในทางท่ถี ูกตอ้ ง ๔) การใช้ชวี ิตอย่างมีสติ ๕) สงครามคอื ความสูญเสยี
1. ขอ้ ใด มใิ ช่ ลกั ษณะหรือส่วนหนึ่งของช้างเอราวณั ดงั เพชรรตั น์รจู ี 1. สามสบิ สามเศยี รโสภา เศยี รหนง่ึ เจ็ดงา ดงั เวไชยันตอ์ มรนิ ทร์ 2. มีวมิ านแก้วงามบวร ทกุ เกศกุญชร มีกลบี ไดเ้ จด็ กลบี ผกา 3. กอหนึ่งเจ็ดดอกดวงมาลย์ ดอกหนง่ึ แบง่ บาน คาบช้างกว็ างไอยรา 4. ลูกครุฑพลดั ตกฉมิ พลี หัสดินอนิ ทรี
2. “เพลารอยพลอยประดบั ดมุ วง กึกกอ้ งกากง กระทบกระท่งั ธรณ”ี คาประพันธ์นก้ี ลา่ วถึงสิง่ ใด 1. เคร่อื งประดับชา้ ง 2. เครอ่ื งประดับมา้ 3. เครอื่ งแต่งตวั ทหาร 4. สว่ นประกอบของรถ
3. “ทรงเครื่องศัสตราแย่งยล ฤๅจะกลบั เป็นกล ไปเข้าดว้ ยราพณ์อาธรรม”์ “ราพณ”์ หมายถึงขอ้ ใด 1. ยักษ์ 2. อนิ ทรชิต 3. พระราม 4. ทศกณั ฐ์
4. สารถีของพระรามคอื ใคร 1. โลทนั 2. พระลกั ษณ์ 3. มาตลี 4. สคุ รีพ
5. “เสดจ็ ทรงรถแก้วโกสีย์ ไพโรจนร์ จู ี จะแขง่ ซึง่ แสงสุริยใ์ ส” ข้อใดเป็นคาไวพจนก์ บั คาทข่ี ีดเส้นใต้ 1. ผกา 2. สหสั นัยน์ 3. คชสาร 4. โยธี
6. “ลูกครุฑพลัดตกฉิมพลี หสั ดินอนิ ทรี คาบช้างกว็ างไอยรา” “หัสดินอินทรี” หมายถงึ ขอ้ ใด 1. สัตวใ์ นวรรณคดี มีรปู รา่ งเหมอื นช้าง มีปกี เหมอื นนก 2. สัตวใ์ นวรรณคดีช่อื นกหสั ดีลงิ ค์ ตวั ใหญ่ มกี าลงั เทา่ กบั ช้าง 5 เชอื ก มกี รงเล็บใหญ่ มงี วงคลา้ ยงวงช้าง กนิ เนอื้ คนและสตั ว์เปน็ อาหาร อยูบ่ รเิ วณป่าหมิ พานต์ 3. เปน็ ชือ่ ช้างเผือกตระกูลหนึ่ง อาศัยอย่ใู นป่าหมิ พานต์ 4. เป็นชือ่ นกอินทรยี กั ษช์ นดิ หนง่ึ มขี นาดใหญ่มาก สามารถกนิ ชา้ งเปน็ อาหาร
7. “ฉิมพลี” หมายถงึ ข้อใด 1. วิมานของคนธรรพ์ 2. วมิ านของวิทยาธร 3. ปา่ หมิ พานต์ 4. ป่างวิ้ ที่อาศัยของครฑุ
8. “เสยี งพลโหร่ ้องเอาชยั เล่อื นล่นั สน่นั ใน พิภพเพยี งทาลาย” คาประพนั ธ์นใ้ี ชโ้ วหารใด 1. อุปมา 2. อุปลักษณ์ 3. อธิพจน์ 4. บคุ คลวตั
9. ข้อใดไมใ่ ชโ้ วหาร ภาพพจน์ 1. อินทรชติ บิดเบอื นกายิน เหมอื นองค์อมรินทร์ ทรงคชเอราวัณ 2. สามสบิ สามเศยี รโสภา เศียรหน่ึงเจ็ดงา ดังเพชรรัตน์รจู ี 3. เสยี งพลโหร่ ้องเอาชยั เลอ่ื นล่ันสน่ันใน พภิ พเพียงทาลาย 4. สตั ภัณฑบ์ รรพตทงั้ หลาย อ่อนเอยี งเพยี งปลาย ประนอมประนมชมชยั
10. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง 1. วิทยาธร คือมนษุ ยผ์ ูบ้ าเพ็ญตบะจนมีมฤี ทธิ์เดชคาถาอาคม 2. คนธรรพ์ คอื เทวดาพวกท่ชี านาญด้านดนตรแี ละขบั รอ้ ง 3. กนิ นร คอื อมนษุ ยท์ ี่มรี ูปรา่ งครงึ่ คนครึง่ นก ถ้าเปน็ หญงิ เรยี กวา่ กนิ รี 4. อารกั ขไพรสณฑ์ คือ เทพารักษ์ หรือเทวดาที่มีหนา้ ที่รกั ษาป่า
10. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง 1. วิทยาธร คือมนษุ ยผ์ ูบ้ าเพ็ญตบะจนมีมฤี ทธิ์เดชคาถาอาคม 2. คนธรรพ์ คอื เทวดาพวกท่ชี านาญด้านดนตรแี ละขบั รอ้ ง 3. กนิ นร คอื อมนษุ ยท์ ี่มรี ูปรา่ งครงึ่ คนครึง่ นก ถ้าเปน็ หญงิ เรยี กวา่ กนิ รี 4. อารกั ขไพรสณฑ์ คือ เทพารักษ์ หรือเทวดาที่มีหนา้ ที่รกั ษาป่า
Search
Read the Text Version
- 1 - 46
Pages: