๓๕ แผนการจดั การเรียนรมู้ ุ่งเนน้ สมรรถนะ หน่วยท่ี ๖ ชือ่ หน่วย สอนครงั้ ท่ี ๑๐-๑๑ สารและการเปลีย่ นแปลง ชว่ั โมงรวม ๖ ชวั่ โมง จำนวน ๖ ชว่ั โมง ๑. สาระสำคัญ สารตา่ ง ๆ ในโลกมีมากมายหลายชนิด การศึกษาเกย่ี วกับสารจึงต้องจัดหมวดหมู่เพื่อประโยชน์ต่อการศึกษา ค้นคว้าโดยการกำหนดเกณฑ์เพื่อใช้ในการจำแนกสาร เมื่อใช้เนื้อสารเป็นเกณฑ์จะจำแนกสารออกเป็น ๒ ประเภท ไดแ้ ก่ สารเนอ้ื เดียว และสารเน้อื ผสม สารเน้ือเดยี วยังแบ่งออกเป็นสารละลายและสารบริสทุ ธิ์ และสารบริสุทธิ์ยังแบ่ง ออกเป็นธาตุกับสารประกอบ การจัดจำแนกสารเมื่อใชอ้ นุภาคเป็นเกณฑ์จะแบ่งได้ ๓ ประเภท เรียงลำดับตามขนาด ของอนุภาคจากใหญ่ไปเล็ก ได้แก่ สารแขวนลอย คอลลอยด์ และสารละลายสารต่าง ๆ มีการเปลี่ยนแปลงได้ ตลอดเวลา อาจเปน็ การเปล่ยี นแปลงทางกายภาพหรือการเปล่ยี นแปลงทางเคมี ซึ่งการเปล่ียนแปลงท้ังสองอย่างนี้จะ แตกต่างกนั โดยการเปลีย่ นแปลงทางเคมีจะมีสารใหมเ่ กิดขน้ึ ทำใหก้ ารยดึ เหน่ยี วของอะตอมในโครงสรา้ งเปลยี่ นไป ๒. สมรรถนะหลัก (สมรรถนะประจำหนว่ ย) ๒.๑ แสดงความรเู้ กี่ยวกบั สารและการเปลีย่ นแปลง ๒.๒ ปฏบิ ัตเิ กีย่ วกบั สารและการเปลยี่ นแปลง ๒.๓ แสดงพฤติกรรมการมวี นิ ัย ใฝร่ ู้ มคี วามรบั ผดิ ชอบ มจี ิตสาธารณะ ๓. สมรรถนะย่อย (สมรรถนะการเรยี นร)ู้ ๓.๑ สมรรถนะที่พึงประสงค์ (ทฤษฏ)ี ๓.๑.๑ บอกความแตกต่างของสมบตั ทิ างกายภาพและทางเคมีได้อยา่ งถูกต้อง ๓.๑.๒ ระบุสมบัติของธาตุท่ีเปน็ โลหะ อโลหะ และก่ึงโลหะได้อย่างถกู ตอ้ ง ๓.๑.๓ ระบสุ มบตั ิของสารประเภทสารแขวนลอย คอลลอยด์ และสารละลายไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง ๓.๑.๔ อธิบายแรงยึดเหนย่ี วของสารทม่ี ีสถานะของแขง็ ของเหลว และแกส๊ ได้อยา่ งถูกต้อง ๓.๑.๕ อธบิ ายสัมพนั ธข์ องพลังงานความร้อนทเ่ี ก่ียวข้องกบั การเปลี่ยนสถานะได้อยา่ งถูกต้อง ๓.๑.๖ ระบปุ ัจจยั ทีม่ ีผลตอ่ การละลายของสารได้อยา่ งถูกต้อง ๓.๑.๗ บอกสารต้ังตน้ และผลติ ภณั ฑ์ในปฏกิ ริ ยิ าเคมีได้อยา่ งถกู ต้อง ๓.๒ สมรรถนะท่ีพึงประสงค์ (ปฏบิ ัต)ิ ๓.๒.๑ จำแนกความแตกต่างระหวา่ งสารเน้ือเดียวกับสารเนื้อผสมได้อยา่ งถูกต้อง ๓.๒.๒ แยกตวั ทำละลายและตวั ละลาย เมอ่ื กำหนดองค์ประกอบของสารละลายมาให้ได้อยา่ งถูกต้อง ๓.๒.๓ แยกตัวทำละลายและตัวละลาย เม่ือกำหนดองค์ประกอบของสารละลายมาให้ได้อยา่ งถูกต้อง ๓.๒.๔ จำแนกประเภทของสาร เม่ือกำหนดสารมาให้ได้อยา่ งถูกต้อง ๓.๒.๕ จำแนกการเปล่ียนแปลงทางกายภาพ และทางเคมีของสารในชีวิตประจำวนั ได้อย่างถูกต้อง ๓.๓ ด้านคุณลักษณะทพี่ งึ ประสงค์ ๓.๓.๑ ตระหนกั ถึงการมวี นิ ยั ใฝ่รู้ มีความรับผดิ ชอบ มีจติ สาธารณะ
๓๖ แผนการจดั การเรียนร้มู ุง่ เนน้ สมรรถนะ หน่วยท่ี ๖ ชื่อหน่วย สอนครงั้ ท่ี ๑๐-๑๑ สารและการเปลย่ี นแปลง ชั่วโมงรวม ๖ ชว่ั โมง ๔. เนื้อหาสาระการเรียนรู้ จำนวน ๖ ช่วั โมง ๔.๑ สาร ๔.๒ สมบัติของสาร ๔.๓ การจำแนกสาร ๔.๔ การเปลี่ยนแปลงของสาร ๕. กิจกรรมการเรยี นรู้ ในการจดั การเรียนการสอนรายวชิ าวทิ ยาศาสตรเ์ พอื่ พัฒนาทักษะชีวิต ไดก้ ำหนดกิจกรรมการเรยี นการสอน ใหผ้ ้เู รยี นเกิดการเรยี นรูโ้ ดยใช้วธิ ีการจัดการเรียนร้รู ปู แบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ ๕E ของสถาบันสง่ เสรมิ การ สอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท., ๒๕๔๖) ๕.๑ ขน้ั นำเขา้ สกู่ ิจกรรมการเรยี นรู้ ๑. จดั เตรยี มเอกสารประกอบการเรยี น สอ่ื โสตทศั น์ ครภุ ณั ฑ์ เครอ่ื งมอื วัสดุ-อปุ กรณ์ ๒. ทดสอบกอ่ นเรยี น โดยใชแ้ บบทดสอบเรื่อง สารและการเปล่ยี นแปลง แล้วให้ผู้เรยี นตรวจสอบคำตอบตาม ใบเฉลยโดยสลับกนั ตรวจแลว้ สรุป ๓. ครใู ช้คำถามเพ่ือกระตุ้นความสนใจของผู้เรยี น “สารในชวี ิตประจำวันประจำวนั ท่ีนักเรียนพบเจอมีสถานะ ใดบา้ ง” ๕.๒ ขั้นการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ สอนครงั้ ที่ ๑ ๑. ใหน้ กั เรยี นแบง่ กลุ่ม กลุม่ ละ ๕ - ๖ คนแบบคละความสามารถ ๒. ให้นักเรยี นสืบคน้ และอภปิ รายขอ้ มลู เร่ือง สารและสมบัติของสาร ๓. ใหน้ ักเรยี นแต่ละกลมุ่ นำขอ้ มูลจากการสบื ค้นและอภปิ รายภายในกลุ่ม มาอภปิ รายหนา้ หอ้ ง ๔. ครแู ละนกั เรียนร่วมกันสรุปความรจู้ ากการอภปิ ราย และครูให้ความร้เู พ่มิ เตมิ ดงั นี้ - สสาร (matter ) คือ สิ่งที่มีมวล ต้องการที่อยู่และสามารถสัมผัสได้ หรืออาจหมายถึงสิ่งต่างๆที่อยู่ รอบตัวเรา มีตัวตน ตอ้ งการท่ีอยู่ สมั ผัสได้ อาจมองเห็นหรือมองไมเ่ ห็นก็ได้ เชน่ อากาศ หิน เป็นต้น นักวิทยาศาสตร์ เรยี กสสารทรี่ จู้ ักว่า สาร - สาร (substance ) คอื สสารทศี่ กึ ษาคน้ คว้าจนทราบสมบตั ิและองค์ประกอบทีแ่ นน่ อน - สมบัติของสาร หมายถึง ลักษณะเฉพาะตัวของสาร เช่น เนื้อสาร สี กลิ่น รส การนำไฟฟ้า การละลาย น้ำ จดุ เดอื ด จดุ หลอมเหลว ความเป็นกรด–เบส เป็นตน้ แบ่งสมบตั ิของสารออกเปน็ ๒ ประเภท คือ - สมบัติทางกายภาพ หรือสมบัติทางฟิสิกส์ ( physical properties ) หมายถึง สมบัติของสารท่ี สามารถสังเกตได้จากลักษณะภายนอก หรือจากการทดลองที่ไม่เกี่ยวข้องกับปฏิกิริยาเคมี เข่น สถานะ เนื้อสาร สี กล่นิ รส ความหนาแน่น จุดเดือด จุดหลอมเหลว การนำไฟฟ้า การละลายนำ้ ความแขง็ ความเหนยี ว เปน็ ต้น
๓๗ แผนการจัดการเรยี นรมู้ ุ่งเน้นสมรรถนะ หนว่ ยท่ี ๖ ช่ือหน่วย สอนครง้ั ที่ ๑๐-๑๑ สารและการเปลี่ยนแปลง ชั่วโมงรวม ๖ ชว่ั โมง จำนวน ๖ ชั่วโมง - สมบัติทางเคมี ( chemical properties ) หมายถึง สมบัติที่เกี่ยวข้องกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี และองค์ประกอบทางเคมีของสาร เช่น การติดไฟ การผุกร่อน การทำปฏิกิริยากับน้ำ การทำปฏิกิริยากับกรด – เบส เป็นตน้ - การเปล่ยี นแปลงของสสาร สามารถแบง่ การเปล่ียนแปลงออกได้เปน็ สอง ประเภท คือ การเปล่ยี นแปลง ทางกายภาพ (Physical Change) และการเปลย่ี นแปลงทางเคมี (Chemical Change) ๑ การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ เป็นการเปลี่ยนแปลงที่สามารถสังเกตได้โดย ที่ไม่มีการ เปลยี่ นแปลงองค์ประกอบภายในของสสาร แต่เกิดการจัดเรยี งตวั ของอนภุ าคใหมเ่ ท่าน้ัน ดังรปู ที่ ๑ การเปลย่ี นสถานะ ของน้ำ โดยเมื่อน้ำแข็งได้รับความร้อนจะหลอมเหลวกลายเป็นน้ำในรูปของเหลว และเมื่อได้รับความร้อนต่อไปอีก สามารถเปลี่ยนเปน็ ไอน้ำได้ โดย ทีไ่ มม่ กี ารเปลยี่ นแปลงองคป์ ระกอบภายในของนำ้ แต่อย่างใด ๒ การเปลย่ี นแปลงทางเคมี เป็นการเปล่ียนแปลงองค์ประกอบภายในของสสาร เกดิ เป็นสารใหม่ ขึ้นมา ทั้งนี้เพราะมีปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้นนั่นเอง การเปลี่ยนแปลงทางเคมี ได้แก่ การเผาไหม้ การย่อยอาหาร การเกิด สนิม การรวมตัวของโมเลกุลของสารตา่ งๆ เป็นต้น การเปลี่ยนแปลงทางเคมี ทำให้ไดส้ ารใหม่เกิดขนึ้ เสมอ ซ่ึงสามารถ เขียนเป็นสมการเคมีขึ้นแทนปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นได้ ตัวอย่างของการเปลี่ยนแปลงทางเคมี เช่น การเกิดนมเปรี้ยว การปิง้ ขนมปัง การเกดิ สนิมของตะปู การจุดประกายของน้ำมนั ในเครอ่ื งยนต์ การเกดิ ฟองของไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ (H๒O๒) ในบาดแผล การจดุ ไมข้ ีดไฟ การกนิ ยาลดกรด เป็นต้น ๕. ครูถามนักเรียนว่า “เกณฑ์ในการจำแนกสารที่นิยมมากที่สุด คือ การใช้สิ่งใดเป็นเกณฑ์ และจำแนกได้ อยา่ งไร” โดยจากคำตอบของผเู้ รยี น ครเู ขยี นสรปุ เป็นแผนภาพต้นไม้ ดังน้ี ๖. ให้นักเรียนสืบคน้ และอภิปรายขอ้ มูล เรอ่ื ง สารบริสทุ ธ์ิ ๗. ใหน้ กั เรียนแตล่ ะกลุ่มนำข้อมลู จากการสบื ค้นและอภปิ รายภายในกลุ่ม มาอภปิ รายหนา้ หอ้ ง ๘. ครูและนักเรียนร่วมกนั สรปุ ความรจู้ ากการอภิปราย และครูใหค้ วามรูเ้ พ่มิ เติม ดงั น้ี สารบรสิ ุทธิ์ หมายถึง สารเน้อื เดยี วท่มี อี งคป์ ระกอบเพียงชนิดเดยี ว มสี มบตั ิเหมอื นกันแบง่ เปน็ ๑. ธาตุ คือ สารบริสุทธิ์ที่ประกอบด้วย ธาตุหรือสารชนิดเดียว ไม่สามารถแยกหรือสลาย ออกเปน็ สารอ่นื ได้ เชน่ เงิน ทอง คารบ์ อน ออกซเิ จน เป็นต้น จำแนกออกเป็น ๓ ชนิดดงั นี้ ๑) โลหะ มสี ถานะเป็นของแข็งท่ีอุณหภมู ปิ กติ ยกเวน้ ปรอทท่ีเป็นโลหะ แตอ่ ยู่ใน
๓๘ แผนการจัดการเรียนรมู้ ่งุ เนน้ สมรรถนะ หนว่ ยท่ี ๖ ช่ือหน่วย สอนครั้งที่ ๑๐-๑๑ สารและการเปล่ยี นแปลง ชั่วโมงรวม ๖ ชั่วโมง จำนวน ๖ ชั่วโมง สถานะของเหลว โลหะจะมผี ิวเป็นมันวาว มีจุดเดอื ดสงู และนำไฟฟา้ ได้ดี โลหะบางชนิดเปน็ สารแม่เหล็ก ตัวอย่าง ธาตโุ ลหะ เช่น เหล็ก ทองแดง สงั กะสี แมกนเี ซยี ม เป็นต้น ๒) อโลหะ เป็นได้ทั้ง ๓ สถานะ คือ ของแข็ง เช่น กำมะถันเป็นของแข็งสีเหลือง ธาตุโบรมีนเป็นของเหลวสีแดง และคลอรีนเป็นก๊าซสีเขียวอ่อน อโลหะส่วนใหญ่มีสมบัติตรงกันข้ามกับโลหะ เช่น กำมะถัน เปราะ ไม่นำไฟฟา้ มจี ดุ เดือดต่ำ ๓) ธาตกุ ่ึงโลหะ เปน็ ธาตุท่มี ีสมบัติกงึ่ โลหะและอโลหะ เชน่ โบรอนเปน็ ของแข็งสีดำ เปราะ ไมน่ ำไฟฟา้ มจี ดุ เดือดสูงถึง ๔,๐๐๐ องศาเซลเซยี ส ธาตุซิลคิ อน เป็นของแขง็ สีเงนิ วาว เปราะ นำไฟฟ้าได้ เล็กนอ้ ย มจี ุดเดือด ๓,๒๖๕ องศาเซลเซยี ส เปน็ ต้น ๒. สารประกอบ คือ สารท่ีประกอบด้วยธาตุตั้งแต่ ๒ ชนิดขึ้นไป มาทำปฏิกิริยาเคมีกันด้วย สัดส่วนที่แน่นอน กลายเป็นสารชนิดใหม่ มีสมบัติแตกต่างไปจากธาตุที่เป็นองค์ประกอบเดิม ตัวอย่างของ สารประกอบ เชน่ เกลอื แกง นำ้ คาร์บอนไดออกไซด์ กรด เบส เปน็ ต้น สารละลาย คือ สารเน้อื เดยี วที่ประกอบด้วย ตัวทำละลาย และตวั ถูกละลาย สารละลายมีทง้ั ทเี่ ปน็ ของแข็ง ของเหลว และก๊าซ - สารละลายทเี่ ป็นของแข็ง เช่น นาก - สารละลายท่ีเปน็ ของเหลว เชน่ นำ้ โซดา - สารละลายท่เี ปน็ ก๊าซ เช่น อากาศ การบ่งชวี้ า่ สารใดเปน็ ตวั ทำละลายและสารใดเป็นตวั ถกู ละลาย สังเกตดงั นี้ ๑. ตัวทำละลาย และตัวถูกละลาย มีสถานะเดียวกัน สารที่มีปริมาณน้อยกว่าเรียกว่า ตัวถูก ละลาย สารที่มีปริมาณมากกว่าเรียกว่า ตัวทำละลาย เช่น แอลกอฮอล์เช็ดแผล (๗๐%) แอลกอฮอล์เป็นตัวทำ ละลาย และน้ำเปน็ ตัวถกู ละลาย ๒. ตัวทำละลายและตัวถูกละลายมีสถานะต่าง กัน สารที่มีสถานะเหมือนกับสารละลายจัดว่า เป็น ตัวทำละลาย สารที่มีสถานะต่างไปจัดว่าเป็น ตัวถูกละลาย เช่น น้ำโซดา น้ำเป็นตัวทำละลาย และก๊าซ คารบ์ อนไดออกไซด์ เปน็ ตัวถกู ละลาย ๙. ครูสรปุ ความรจู้ ากการอภปิ รายหนา้ ช้นั เรยี นและใหน้ กั เรยี นทำใบงานที่ ๖ สาร และสมบัติของสาร ๑๐. ครใู ช้คำถามเพื่อกระต้นุ ความสนใจของนักเรยี นวา่ “นกั เรยี นคิดวา่ สารเนอ้ื ผสมมีลกั ษณะอยา่ งไร” ๑๑. ใหน้ กั เรยี นแบง่ กลมุ่ กลุม่ ละ ๕ - ๖ คนแบบคละความสามารถ ๑๒. ให้นักเรียนสืบค้นและอภปิ รายข้อมูล เรอ่ื ง สารเน้ือผสม ๑๓. ใหน้ กั เรียนแต่ละกลมุ่ นำขอ้ มูลจากการสืบคน้ และอภปิ รายภายในกลุ่ม มาอภิปรายหน้าห้อง ๑๔. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกันสรุปความรจู้ ากการอภิปราย และครใู หค้ วามรเู้ พ่มิ เติม ดงั น้ี สารเนื้อผสม ( Heterogeneous Substance ) หมายถึง สารที่มีลักษณะของเนื้อสารคละกัน ไม่ ผสมกลมกลืนเป็นเนื้อเดียวกัน สารที่เป็นส่วนผสมแต่ละชนิดก็ยังคงแสดงสมบัติของสารเดิม เพราะเป็นการรวมกัน ทางกายภาพไม่มีการเปลี่ยนแปลงทางเคมีเกิดขึ้น เราสามารถใช้ตาเปล่าสังเกตและจำแนกได้ว่าสารเนื้อผสมน้ัน ประกอบด้วยสารใดบ้าง และสามารถแยกสารเหลา่ นั้นออกจากกันไดโ้ ดยวิธีทางกายภาพธรรมดา โดยไม่ทำให้สมบัติ เดมิ เปลย่ี นแปลงไป
๓๙ แผนการจดั การเรียนรู้มงุ่ เน้นสมรรถนะ หน่วยท่ี ๖ ชือ่ หน่วย สอนครั้งที่ ๑๐-๑๑ สารและการเปลยี่ นแปลง ชว่ั โมงรวม ๖ ชัว่ โมง จำนวน ๖ ช่วั โมง สารเนอ้ื ผสมมไี ดท้ ั้ง ๓ สถานะ เชน่ ๑. สารเน้ือผสมสถานะของแข็ง เชน่ ทราย คอนกรีต ดิน เป็นตน้ ๒. สารเน้ือผสมสถานะของเหลว เชน่ นำ้ คลอง น้ำโคลน น้ำจม้ิ ไก่ เป็นตน้ ๓. สารเน้ือผสมสถานะแก๊ส เช่น ฝ่นุ ละอองในอากาศ เขม่า ควนั ดำในอากาศ เป็นต้น สารเน้ือผสม แบ่งออกเปน็ ๒ ชนดิ คือ สารแขวนลอย (Suspension) คือ ของเหลวที่มีอนุภาคของของแข็งขนาดเล็กที่มีเส้นผ่าน ศูนย์กลางใหญ่กว่า ๑๐-๔ เซนติเมตรผสมอยู่ ซึ่งเป็นสารเนื้อผสมที่มีอนุภาคขนาดใหญ่ ทำให้สามารถมองเห็น ส่วนผสมได้ชัดเจน ง่ายต่อการแยกออกเมื่อทิ้งไว้จะตกตะกอนและสามารถแยกสารที่แขวนลอยอยู่ในสารเนื้อผสม ออกมาไดโ้ ดยการกรอง สารแขวนลอยบางชนิดจะมองเห็นอนภุ าคของสารชนดิ หนึ่งหรือหลายชนิดลอยกระจายอยู่ใน สารอกี ชนดิ หนึง่ ทเี่ ป็นตวั กลาง ตวั อยา่ งของสารแขวนลอย เชน่ นำ้ แปง้ นำ้ ตาลทรายในผงกำมะถนั น้ำโคลน เป็นต้น คอลลอยด์ (Colloid) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ดิสเพอร์ชัน (Dispersion) เป็นสารเนื้อผสมที่มี ความกลมกลืนจนไม่อาจจัดเป็นสารเนื้อเดียวหรือสารเนื้อผสมลงไปได้อย่างแน่นอน มีขนาดของอนุภาคเล็กกว่าสาร แขวนลอยแต่ใหญ่กว่าสารละลาย (อนุภาคมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ ๑๐-๗ - ๑๐-๔ เซนติเมตร) ทำให้ มองเห็นสารเป็นเนอื้ เดียว ๑๖. ครูอธิบายการเกิดปรากฏการณ์ทินดอลล์ (Tyndall Effect) คือปรากฏการณ์กระเจิงแสง เมื่อฉาย ลำแสงไปในสารคอลลอยด์บางชนดิ อนภุ าคคอลลอยด์จะชว่ ยกระเจิงแสงและทำใหม้ องเห็นเป็นลำแสงได้ เช่นการทอ แสงของอากาศที่มีละอองฝ่นุ อยู่ ๑๖. ครูสาธติ การการเกดิ ปรากฏการณท์ ินดอลล์ (Tyndall Effect) และให้นกั เรียนทดลองและสังเกตผล ๑๗. ให้นักเรยี นแต่ละกลุ่มทำการทดลองตามใบงาน สมบตั ิบางประการของคอลลอยด์ ๑๘. นำข้อมูลจากการทดลองในกลุ่ม มาอภปิ รายหน้าหอ้ ง ๑๙. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้จากการอภิปราย และครูให้ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับคอลลอยด์ (Colloid) และอิมลั ชัน (Emulsion) คอลลอยด์ (colloid) หมายถึง อนุภาคของสารซึ่งมีขนาดเล็กมากแขวนลอยอยู่ในตัวกลาง อนุภาค ไม่มีการละลาย และไม่สามารถมองเห็นอนุภาคด้วยตาเปล่า มีขนาดอนุภาคในช่วง ๑๐-๗ ถึง ๑๐-๔ เซนติเมตร หรือ ๐.๐๐๑-๑.๐ ไมโครเมตร สารคอลลอยด์ทีเ่ กิดขึน้ มักมลี ักษณะขุ่นๆ และทำใหเ้ กดิ สี ชนิดของคอลลอยด์ สามารถแบ่งตาม สถานะของอนุภาคที่กระจายอยู่ในตัวกลาง และสถานะของ ตวั กลาง ได้ดังน้ี ซอล ( Sol ) เป็นคอลลอยด์ที่เกิดจากอนุภาคของของแข็งซึ่งมีโมเลกุลขนาดเล็กกระจายอยู่ใน ตัวกลางที่เป็นของเหลว เช่น น้ำแป้ง ยาลดกรดที่ทำมาจากแมกนีเซียมไฮดรอกไซด์ ( Mg(OH)๒ ) ในน้ำ กำมะถัน ซึ่งเป็นของแข็งกระจายอยู่ในน้ำ เปน็ ต้น เจล ( Gel ) เป็นคอลลอยด์ที่เกิดจากอนุภาคของของแข็งซึ่งมีโมเลกุลขนาดใหญ่กระจายอยู่ใน ตัวกลางที่เป็นของเหลว และมีพันธะเชื่อมโยงระหว่างโมเลกุล มักจะมีลักษณะเหนียวหนืด เช่น แยม วุ้น เยลลี่ กาว แป้งเปยี ก ยาสีฟนั เปน็ ตน้
๔๐ แผนการจดั การเรียนรู้ม่งุ เน้นสมรรถนะ หนว่ ยท่ี ๖ ช่ือหน่วย สอนครั้งท่ี ๑๐-๑๑ สารและการเปลี่ยนแปลง ช่วั โมงรวม ๖ ชั่วโมง จำนวน ๖ ชวั่ โมง อีมัลชัน ( Emulsion ) เป็นคอลลอยด์ที่เกิดจากอนุภาคของของเหลวที่ไม่รวมเป็นเนื้อเดียวกัน กระจายอย่ใู นตัวกลางท่ีเป็นของเหลว แต่ถูกทำใหร้ วมกนั โดยมกี ารเตมิ สารทีเ่ ป็นตัวประสานที่เรียกวา่ อมี ลั ซฟิ ายเออร์ (Emulsifier) หรือ อีมัลซิฟายอิงเอเจนต์ (Emulsifying agent) โดยสารที่ทำหน้าที่เป็นตัวประสาน จะทำให้อนุภาค ของของเหลวท้ังสองชนิดสามารถกระจดั กระจายแทรกกันอยู่ได้ ตัวอยา่ งอมี ัลชันทพี่ บในชวี ิตประจำวนั ได้แก่ นำ้ สลัด ( น้ำมันพืชกับน้ำส้มสายชู ) ใช้ไข่แดงเป็นตัวประสาน การขจัดคราบไขมันออกจากเสื้อผ้า ( ไขมันกับน้ำ ) ใ ช้ ผงซกั ฟอกเป็นตวั ประสาน เปน็ ตน้ คอลลอยด์ และอีมัลชันในชวี ติ ประจำวัน คอลลอยด์ทางกายภาพที่ตัวเราพบเห็น และคุ้นเคยมากที่สุดในชีวิตประจำวัน คือ แอโรซอล ได้แก่ เมฆ ควันไฟ เป็นต้น ส่วนคอลลอยด์ที่เป็นอาหารซึ่งพบเห็นได้มากที่สุด คือ อีมัลชัน ได้แก่ น้ำนม หรืออาจเป็ นเจล ไดแ้ ก่ วุ้น เจลล่ี หรืออาจเป็นซอล ได้แก่ น้ำแป้ง วธิ แี ยกสารคอลลอยด์ ๑. การกรอง การกรอง เป็นวิธีที่สามารถแยกอนุภาคคอลลอยด์ออกจากตัวกลางได้อย่างจำเพาะ โดยใช้กระดาษ เซลโลเฟนกรองแยกอนภุ าคออก เพราะกระดาษเซลโลเฟนจะมีขนาดช่องวา่ งเล็กกว่า ๑๐–๗ เซนติเมตร หรือ ๐.๐๐๑ ไมครอน แตก่ ารกรองดว้ ยกระดาษเซลโลเฟนอาจมอี นุภาคท่ีใหญ่กวา่ คอลลอยด์ตดิ อยดู่ ว้ ย ๒. การระเหยด้วยความรอ้ น การให้ความร้อนแก่ตัวกลาง โดยเฉพาะน้ำหรือตัวกลางที่มีจุดเดือดต่ำ จะทำให้ตัวกลางระเหยออก จากอนภุ าค แต่หากตวั อย่างมีสารละลาย คอลลอยด์ อิมัลชัน (emulsion) หมายถึง ระบบคอลลอยด์ (colloid) ที่ประกอบด้วยเหลวตัง้ แต่ ๒ ชนิดขึ้นไป ซึ่งปกติไม่ผสมเป็นเนื้อเดียวกัน เช่น น้ำกับน้ำมัน ผสมรวมเป็นเนื้อเดียวกันได้โดยไม่แยกชั้น โดยของเหลวส่วนหน่ึง แตกตวั เปน็ หยดเล็กๆ เรยี กว่า วฏั ภาคภายใน หรือสว่ นทีก่ ระจายตวั (internal or dispersed phase) ซ่ึงจะกระจาย ตวั แทรกอยใู่ นของเหลวอกี ชนิดหน่งึ เรยี กวา่ วฏั ภาคภายนอก (external or continuous phase) ส่วนทต่ี ่อเนอื่ ง อมิ ัลชนั แบ่งเปน็ ๒ ประเภทหลกั คือ อิมัลชันชนิดน้ำมันในน้ำ (oil-in-water emulsion, O/W) มีน้ำมันเป็นวัฎภาคภายใน และน้ำ เป็นวัฎภาคภายนอก เช่น น้ำนม (milk) ข้อสังเกตุ หรือวิธีทดสอบอิมัลชันประเภทน้ีคือ สามารถทำให้เจือจางได้ดว้ ย การเตมิ นำ้ มคี ่าการนำไฟฟา้ (electrical conductivity) สงู กว่า ผสมไดก้ ับสชี นิดทล่ี ะลายนำ้ (water soluble dye) อิมัลชันชนิดน้ำในน้ำมัน (water-in-oil emulsion, W/O) มีน้ำเป็นวัฎภาคภายใน และน้ำมัน เป็นวัฎภาคภายนอก เช่น เนย (butter) มายองเนส (mayonnaise) น้ำสลัด (salad dressing) ไส้กรอก (sausage) ข้อสังเกตุ หรือวิธีทดสอบอิมัลชันประเภทนี้คือ สามารถทำให้เจือจางได้ด้วยการเติมน้ำ มัน มีค่าการนำไฟฟ้า (electrical conductivity) ตำ่ กว่า ผสมไดก้ บั สีชนดิ ท่ีละลายนำ้ มัน (oil soluble dye) ๒๐. ให้นักเรียนทำใบงาน คอลลอยด์ เมื่อเสร็จแล้วให้นกั เรียนอภิปรายในกลุ่มว่าคำตอบเหมือนหรือต่างกัน อย่างไร ๒๑. ใหน้ กั เรยี นตัวแทนกลุ่มอภปิ รายหน้าชน้ั ว่าผลการทำใบงานเป็นอย่างไรบ้าง
๔๑ แผนการจัดการเรยี นร้มู งุ่ เนน้ สมรรถนะ หน่วยท่ี ๖ ชอื่ หน่วย สอนครัง้ ที่ ๑๐-๑๑ สารและการเปลี่ยนแปลง ชวั่ โมงรวม ๖ ชว่ั โมง จำนวน ๖ ชัว่ โมง ๒๒. ครูเฉลยและให้ความรูเ้ พิ่มเติมเกี่ยวกบั สารละลาย (solution) สารละลาย (solution)หมายถึง สารที่ประกอบด้วยอนุภาคของสารบริสุทธิ์ (ธาตุหรือ สารประกอบ) ตั้งแต่ ๒ ชนิดขึ้นไป ละลายเป็นเนือ้ เดยี วกัน แบ่งเป็น ๒ ส่วน คือ ตัวทำลาย และตัวถูกทำลาย โดยตวั ถูกละลายจะมีสดั ส่วนจำกดั ในระดับใดระดับหน่ึง หากมีสัดสว่ นมากเกนิ พอจะเกิดการตกผลึกกลายเป็นของแข็ง ท้ังนี้ สารละลายจะมีอัตราส่วนการรวมตัวของตัวทำลาย และตัวถูกทำลายที่ไม่คงที่ ทำให้สารละลายมีจุดเดือด และจุด หลอมเหลวไมค่ งทีต่ ามมา องค์ประกอบของสารละลาย ๑. ตัวทำละลาย (Solvent) ตัวทำละลาย คือ สารที่ให้อนุภาคของสารอื่นสามารถแทรกกระจายตัว อยู่ได้ และเป็นสารที่มีปริมาตรมากกว่าตัวถูกละลาย ซึ่งเป็นได้ทั้งของแข็ง ของเหลว และก๊าซ แต่ที่พบ และถูกใช้ ประโยชนม์ ากจะเปน็ ของเหลว โดยเฉพาะน้ำสำหรบั ทำละลาย และของแขง็ จากการทำโลหะผสม ๒. ตวั ถกู ละลาย (Solute) ตวั ถกู ละลาย เปน็ ได้ท้ังของแข็ง ของเหลว และก๊าซ ท่ลี ะลายกระจายตัว อยู่ได้ทั้งในสารทั้ง ๓ ชนิด แต่ตัวถูกละลายมีขนาดอนุภาคเล็กกว่า ๑๐-๗ เซนติเมตร หรือเล็กกว่า ๐.๐๐๑ ไมครอน จึงสามารถกระจายตัวแทรกอยู่กับตัวทำละลายเป็นเนื้อเดียวกันอย่างสมบูรณ์ ทั้งนี้ สารละลายไม่สามารถแยกออก จากตัวทำละลายด้วยวธิ ีตกตะกอน และการกรองกรอง แตส่ ามารถแยกออกจากตัวทำละลายไดใ้ นวธิ ตี ่างๆ ไดแ้ ก่ การ กลั่น โครมาโทกราฟี และการให้ความร้อนหรือการตกผลึก เป็นต้น เช่น น้ำหวานที่ได้จากการละลายน้ำตาลทรายใน น้ำ เมื่อนำนำ้ หวานมาใหค้ วามร้อนจนตัวทำละลาย คือ น้ำ ระเหยจนหมดจะคงเหลือผลึกของนำ้ ตาลทราย ซึ่งการตก ผลึกจะเริ่มเมื่อสารละลายน้ำตาลทรายมีความเข้มข้นถึงจุดวิกฤตที่จะละลายในน้ำได้ เพราะความเข้มข้นของน้ำตาล ทรายจะเพม่ิ ข้นึ ขณะทนี่ ้ำมปี รมิ าณนอ้ ยลงจากการระเหยอยา่ งต่อเน่ือง สอนครั้งที่ ๒ ๑. ครแู บ่งกล่มุ นักเรียนแบบคละความสามารถ กลุ่มละ ๕ – ๖ คน ๒. ครใู ชค้ ำถามเพ่อื กระต้นุ ความสนใจของนักเรียนว่า “ลกั ษณะอนุภาคของ ของแข็ง ของเหลว และแก๊สเป็น อยา่ งไร” ๓. ให้นักเรียนแตล่ ะกล่มุ อภิปรายภายในกลุ่ม ๔. นักเรยี นแตล่ ะกลุม่ ส่งตวั แทนออกมาอภิปรายคำตอบท่ีได้ ๕. ครูสรุปผลการอภิปรายและใหค้ วามรเู้ พ่มิ เติมโดยการใช้ PowerPoint ประกอบ สารโดยทว่ั ไปในธรรมชาติ มี ๓ สถานะ ดังน้ี ๑. ของแข็ง อนุภาคจะอยู่ชิดกัน อนุภาคไม่สามารถเคลื่อนที่ได้ ทำให้แรงยึดเหนี่ยวอนุภาคสูง กวา่ ในสถานะอ่ืนของสารชนดิ เดียวกนั มรี ปู รา่ งและปรมิ าตรที่คงที่แน่นอน ไม่ข้ึนกบั ภาชนะทบ่ี รรจุ ตัวอย่างของสารท่ี มสี ถานะเปน็ ของแข็ง เชน่ เหลก็ อะลมู เิ นียม ทองแดง เงิน เปน็ ต้น
แผนการจดั การเรยี นร้มู ่งุ เนน้ สมรรถนะ ๔๒ ช่ือหน่วย หนว่ ยที่ ๖ สารและการเปลีย่ นแปลง สอนครัง้ ที่ ๑๐-๑๑ ชัว่ โมงรวม ๖ ชั่วโมง จำนวน ๖ ช่ัวโมง ๒. ของเหลว อนุภาคอยู่ห่างกันเล็กน้อย ทำให้อนุภาคสามารถเคลื่อนที่ได้ รูปร่างไม่แน่นอน เปลยี่ นตามภาชนะท่ีบรรจุ แตป่ ริมาตรไมข่ ้นึ กบั ภาชนะ ตัวอย่างของสารที่มีสถานะเป็นของเหลว เชน่ น้ำ แอลกอฮอล์ โบรมนี เปน็ ตน้ ๓. แก๊ส อนภุ าคจะอยูห่ า่ งกัน แรงยึดเหน่ยี วมีค่าน้อย ทำให้เคลือ่ นท่ีไดม้ าก มปี ริมาตรและรูปรา่ ง ตามภาชนะทีบ่ รรจุ ตัวอย่างของสารที่มีสถานะเป็นแก๊ส เช่น แก๊สออกซิเจน แก๊สไฮโดรเจน แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ แกส๊ ไนโตรเจน เปน็ ต้น ๖. ครูอธิบายการเปลี่ยนสถานะของสารโดยใช้ PowerPoint ประกอบ การหลอมเหลว (melting) สารเปลี่ยนสถานะจากของแข็งเปน็ ของเหลว โดยต้องใหค้ วามร้อน ทำให้อนุภาค เอาชนะแรงยึดเหนีย่ วได้ ณ อณุ หภมู ิท่ีเรียกวา่ จดุ หลอมเหลว (melting point) เป็นคา่ คงที่ของสารหนง่ึ ๆ เทา่ นั้น
๔๓ แผนการจดั การเรยี นร้มู ุ่งเน้นสมรรถนะ หน่วยที่ ๖ ชอ่ื หน่วย สอนคร้ังท่ี ๑๐-๑๑ สารและการเปล่ยี นแปลง ช่วั โมงรวม ๖ ชวั่ โมง จำนวน ๖ ชวั่ โมง การกลายเป็นไอ (evaporation) สารเปลี่ยนสถานะจากของ เหลวไปเป็นแก๊ส เมื่ออนุภาคของของเหลวมี พลังงานมาก จนทำให้อนภุ าคแยกออกจากกัน เรียกอุณหภูมทิ ีท่ ำให้อนุภาคชนะแรงยึดเหนี่ยวของของเหลวได้ว่า จุด เดือด (boiling point) การแข็งตัว (freezing) สารเปลี่ยนสถานะจากของเหลวเป็นของแขง็ หรือแก๊สเป็นของแข็ง โดยจะมีการคาย พลังงานออกมา ทำใหอ้ นภุ าคมพี ลังงานในการสนั่ น้อย อนุภาคจงึ เรียงตวั แบบชดิ กนั มากขน้ึ การควบแน่น (condensation) สารเปลี่ยนสถานะจากแก๊สเป็นของเหลว เช่น กระบวนการเกิดฝน (ไอน้ำ ระบบความเยน็ จะกลน่ั ตวั เปน็ นำ้ ) การระเหดิ (sublimation) สารเปล่ยี นสถานะจากของแขง็ เปน็ แก๊ส เช่น การระเหดิ ของลกู เหม็น ความร้อนแฝง (latent heat) เป็นพลังงานความร้อนที่ใช้เพื่อเปลี่ยนสถานะ (ดูดพลังงาน) โดยอุณหภูมิไม่ เปลยี่ นแปลง มี ๒ ประเภท คือ ๑. ความร้อนแฝงของการหลอมเหลว (latent heat of fusion) เป็นพลังงานความร้อนที่ดูดเข้าไป เพ่ือเปลย่ี นสถานะจากของแขง็ เป็นของเหลว โดยอุณหภมู ิคงท่ี ๒. ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ (latent heat of vaporization) เป็นพลังงานความร้อนที่ดูด เขา้ ไปเพ่ือเปลีย่ นสถานะจากของเหลวเปน็ แกส๊ สารท่เี ราพบเหน็ ได้ในชวี ิตประจำวันนัน้ มีท้ังสารที่อยูใ่ นสถานะของแข็ง ของเหลว และแก๊ส โดยสารสามารถเปลี่ยนจากสถานะหนึ่งไปเป็นอีกสถานะหนึ่งได้ ซึ่งเกิดจากการเปลี่ยนแปลง พลังงานประเภทดูดหรือคายพลังงาน และสามารถทำให้สารเปลี่ยนกลับมาอยู่ในสถานะเดิมได้อีกด้วย การเปลี่ยนสถานะของสารจากของแข็งไปเป็นของเหลว และจากของเหลวไปเป็นแก๊ส จะต้องให้ความร้อน แก่สาร เพื่อให้แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคของสารลดลง ทำให้อนุภาคของสารเกิดการจับตัวกันน้อยลง และเกิด ช่องว่างระหวา่ งอนภุ าคมากขนึ้ การเปลี่ยนสถานะของสารจากแก๊สกลับมาเป็นของเหลว และจากของเหลวกลับมาเป็นของแข็ง จะต้องลด อุณหภูมิของสาร เพื่อให้แรงยึดเหนีย่ วระหว่างอนุภาคของสารเพิ่มขึ้น ทำให้อนุภาคของสารเกิดการจับตวั กันมากขน้ึ และเกิดช่องวา่ งระหวา่ งอนุภาคนอ้ ยลง ๗. ใหน้ กั เรียนสบื คน้ และอภิปรายข้อมูล เรื่อง สารละลาย และปจั จัยที่มผี ลตอ่ การละลายของสาร ๘. ให้นักเรียนแต่ละกลุม่ นำขอ้ มูลจากการสบื คน้ และอภิปรายภายในกลุ่ม มาอภิปรายหนา้ หอ้ ง ๙. ครูและนกั เรียนรว่ มกนั สรปุ ความรจู้ ากการอภปิ ราย และครูให้ความรู้เพิ่มเติม ดงั น้ี พลงั งานกบั การละลาย การละลาย หมายถึง การที่อนุภาคของสารตั้งแต่สองชนิดขึ้นไปแทรกรวมเป็นเนื้อเดียวกัน เม่ือ ของแข็งละลายน้ำจะแตกตัวออกเปน็ อนภุ าคเล็กๆ ในการแตกตัวออกจากกันระบบจะตอ้ งใช้พลังงานจำนวนหนึง่ ซึ่ง ระบบต้องดูดพลังงานเพือ่ ทำให้อนุภาคของแข็งที่รวมตัวกันอยูแ่ ยกออกจากกัน และเมื่ออนุภาคของของแข็งกระจาย แทรกอยรู่ ะหว่างโมเลกุลของน้ำจะยึดเหน่ยี วกับโมเลกุลของนำ้ ได้ ระบบจะต้องคายพลงั งานออกมาจำนวนหนึ่ง ดังนั้นการละลายของสารชนิดหนึ่งอาจเป็นการเปลี่ยนแปลงประเภทดูดความรอ้ นหรือคายความร้อน ขึ้นอยู่กับผลต่างของพลังงานที่ใช้แยกอนุภาคของของแข็งกับพลังงานที่คายออกมา เพื่อให้อนุภาคของของแข็งยึด เหน่ียวกบั น้ำ
๔๔ แผนการจดั การเรยี นรู้มุง่ เนน้ สมรรถนะ หนว่ ยท่ี ๖ ชอ่ื หน่วย สอนคร้ังที่ ๑๐-๑๑ สารและการเปลี่ยนแปลง ช่วั โมงรวม ๖ ชว่ั โมง จำนวน ๖ ชวั่ โมง การละลายของสารเม่ือเกิดการเปล่ียนแปลงพลังงาน แบ่งออกเป็น ๒ ประเภท คอื · การละลายประเภทดูดพลังงานหรือดูดความร้อน คือการละลายที่ใช้พลังงานในการแยก อนุภาคของของแข็งมากกว่าพลังงานที่ใช้ยึดเหนี่ยวระหว่างของแข็งกับน้ำ เช่น การละลายของโพแทสเซียมไนเตรต (KNO๓) แอมโมเนียมไนเตรต (NH๔NO๓) เป็นตน้ · การละลายประเภทคายพลังงานหรือ คายความร้อน คือ การละลายที่ใช้พลังงานในการแยก อนุภาคของของแข็งน้อยกว่าพลังงานที่ใช้ยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคของแข็งกับน้ำ เช่น การละลายโซเดียมไฮดรอก ไซด์ (NaOH) แคลเซียมไฮดรอกไซด์ (Ca(OH)๒) โพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ (KOH) คอปเปอร์ (II) ซัลเฟต (CuSO๔) เป็นตน้ ปัจจัยที่มผี ลต่อการละลาย ชนดิ ของตัวทำละลาย ตัวทำละลายต่างกันมีความสามารถในการละลายต่างกัน เช่น โซเดียมคลอไรด์ละลายในน้ำแต่ ไม่ละลายในแอลกอฮอล์ กำมะถนั ละลายในโทลูอีนแตไ่ ม่ละลายในน้ำ ความเข้มข้นของตัวทำละลาย ถ้าตัวทำละลายมคี วามเขม้ ขน้ มาก การละลายจะเกดิ ไดด้ ี อณุ หภูมิ ของแข็งและของเหลวส่วนใหญ่ ความสามารถในการละลายได้จะเพิ่มขึ้นเมื่ออุณหภูมิของ สารละลายสูงขึ้น เมื่อเพิ่มอุณหภูมิ จะทำให้สารเคลื่อนทีช่ นกันได้เร็วข้ึนกว่าเดิม การละลายจึงเร็วข้ึน แต่ถ้าเป็นแก๊ส ความสามารถในการละลายได้จะลดลงเม่ืออุณหภูมขิ องสารละลายสูงขนึ้ ความดัน ความสามารถในการละลายได้ของแก๊สจะสูงขึ้นมากเมื่อความดันเพิ่มขึ้น แต่ความดันมีผลต่อ การละลายของของแขง็ และของเหลวเพยี งเล็กน้อย พื้นท่ผี วิ ของตัวละลาย ถ้าตัวละลายถูกเพิม่ พื้นที่ผิวด้วยการทำให้เป็นชิ้นเล็กชิ้นน้อยโดยการหั่นหรือบด จะทำให้อัตรา การละลายของสารเพม่ิ มากขึน้ ๑๑. ให้นักเรียนทำใบงาน สารและการเปลี่ยนแปลง เมื่อเสร็จแล้วให้นักเรียนอภิปรายในกลุ่มว่าคำตอบ เหมือนหรือตา่ งกนั อย่างไร
๔๕ แผนการจดั การเรยี นร้มู ุ่งเนน้ สมรรถนะ หน่วยที่ ๖ ช่ือหน่วย สอนครง้ั ท่ี ๑๐-๑๑ สารและการเปลีย่ นแปลง ชั่วโมงรวม ๖ ช่ัวโมง จำนวน ๖ ชัว่ โมง ๕.๓ ขน้ั สรปุ ผลการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ๑. ตรวจสอบผลการเรียนรู้โดยการซักถามเป็นระยะและตรวจสอบผลการปฏิบัติกจิ กรรม ๒. สังเกตและบันทึกพฤติกรรมผู้เรียนเป็นรายบุคคลและรายกลุ่ม ขณะผู้เรียนศึกษาบทเรียนและปฏิบัติ กิจกรรม ตามใบงาน ๓.รว่ มกับผเู้ รยี นประเมินผลการปฏิบตั งิ าน ตามแบบประเมนิ ๔. รว่ มกบั ผ้เู รียนประเมนิ ผลการเรยี นรแู้ ละผลการปฏิบตั ิงาน ๕.๔ การวัดและประเมินผล ๑. ให้ผู้เรียนทำแบบฝึกหัด เรื่อง สารและการเปลี่ยนแปลงเสร็จแล้วตรวจสอบคำตอบตามใบเฉลยโดย สลบั กันตรวจและใหค้ ะแนน ๒. ให้ผู้เรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน สารและการเปลี่ยนแปลงเสร็จแล้วตรวจสอบคำตอบตามใบเฉลยโดย สลบั กนั ตรวจและใหค้ ะแนน ๓. ครูเน้นย้ำให้ผู้เรียนตระหนักถึงการมีวินัย ใฝ่รู้ มีความรับผิดชอบ มีจิตสาธารณะ ในการเรียนเรื่อง สาร และสมบัติของสาร ๖. สอื่ การเรียนรู้ สือ่ ส่ิงพิมพ์ ๑. ตำราเกย่ี วกับการสารและการเปลย่ี นแปลง ๒. แบบทดสอบเร่ืองสาร สารและการเปลีย่ นแปลง ๓. แบบประเมนิ ผล สือ่ โสตทศั น์ ๑. มัลติมเี ดีย ประกอบการสอน เรื่อง “สารและการเปลย่ี นแปลง” ครุภัณฑ์/เครอื่ งมือ/วสั ดุ-อุปกรณ์ ๑. วสั ดุอปุ กรณ์ประกอบการสอน เร่ือง “สารและการเปลยี่ นแปลง” ๗. เอกสารประกอบการเรยี นรู้ - ใบงาน เรื่อง “สารและการเปลยี่ นแปลง” ๘. การบรู ณาการ/ความสมั พนั ธก์ บั วิชาอ่ืน บูรณาการกบั หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งเก่ยี วกบั - นกั เรยี นมคี วามพอประมาณในการอยู่อย่างพอเพียง - นกั เรียนมภี มู คิ ุ้มกนั เก่ียวกับการมวี ินัย ใฝ่รู้ มคี วามรับผดิ ชอบ มจี ติ สาธารณะ
๔๖ แผนการจดั การเรียนรูม้ ุ่งเน้นสมรรถนะ หนว่ ยที่ ๖ ชื่อหน่วย สอนคร้ังที่ ๑๐-๑๑ สารและการเปลยี่ นแปลง ชัว่ โมงรวม ๖ ชั่วโมง ๙. การวัดผลและประเมินผล จำนวน ๖ ชว่ั โมง ๑. วิธวี ัดผลและประเมนิ ผล ๑. การทำทดสอบก่อนเรยี น/หลังเรียน ๒. การสังเกตพฤติกรรมระหว่างเรยี น ๓.การปฏบิ ตั กิ จิ กรรมตามใบงาน ๔. การทำแบบฝึกหดั /แบบทดสอบ ๒. เครื่องมือวัดและประเมนิ ผล ๑. แบบทดสอบก่อนเรยี น/หลังเรยี น ๒. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมระหว่างเรียน ๓. แบประเมนิ การปฏิบตั ิกิจกรรมตามใบงาน ๔. แบบบันทึกคะแนนแบบฝึกหัด/แบบทดสอบ ๓. เกณฑ์การประเมิน ๑. ประเมินจากการทำทดสอบ หลังเรียน จำนวน ๑๐ ข้อ เกณฑ์ผ่าน ๗ คะแนน จาก ๑๐ คะแนน ๒. ประเมนิ จากพฤติกรรมระหวา่ งเรียนรู้ เกณฑ์ผ่าน ๗ คะแนน จาก ๑๐ คะแนน ๓. ประเมินจากผลการปฏิบัติกจิ กรรมตามใบงาน เกณฑผ์ า่ น ๗ คะแนน จาก ๑๐ คะแนน ๔. ประเมินจากคะแนนการทำแบบฝึกหดั /แบบทดสอบ เกณฑผ์ ่าน ๗ คะแนน จาก ๑๐ คะแนน ๑๐. บนั ทกึ หลงั การสอน
๔๗ แผนการจดั การเรยี นรู้มุง่ เนน้ สมรรถนะ หน่วยท่ี ๖ สอนครง้ั ท่ี ๑๐-๑๑ ชอื่ หน่วย ชัว่ โมงรวม ๖ ช่ัวโมง สารและการเปลี่ยนแปลง จำนวน ๖ ชั่วโมง บนั ทึกหลังสอน สัปดาหท์ ี่ ชอ่ื วิชา รหัสวชิ า หนว่ ยที่ แผนกวชิ า วนั ท่ีสอน จำนวน รายการสอน จำนวน คน เขา้ เรยี น ช่วั โมง จำนวน คน เข้าเรยี น ภาคเรยี นที่ ปีการศึกษา คน ขาดเรยี น คน ขาดเรยี น จำนวนผูเ้ รียน ช้ัน กลมุ่ คน คน ชน้ั กลุ่ม ๑.เนือ้ หาท่สี อน (สาระสำคญั ) ๒.ผลการสอน ๓.ปัญหา อุปสรรค ท่ีเกิดขึ้นในระหวา่ งการเรยี นการสอน ๔.แนวทางการแกป้ ญั หาของครผู ู้สอน (แนวทางการทำวิจัย) ลงชือ่ ผู้สอน (นางสาวจฑุ ามาศ โสมสวุ รรณ) // ลงชื่อ หัวหนา้ แผนก ลงชือ่ หัวหนา้ งานหลักสูตรฯ (นางกศุ ล พรผดงุ ธรรม) (นายสมศกั ด์ิ หลวงนา) // // ลงชือ่ รองผอู้ ำนวยการฝ่ายวชิ าการ (นายประเสริฐ ถงึ วิสัย) //
Search
Read the Text Version
- 1 - 15
Pages: