Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 10 ระบบนิเวศ

แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 10 ระบบนิเวศ

Published by Juthamas Somsuwan, 2023-07-03 01:19:28

Description: แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 10 ระบบนิเวศ

Search

Read the Text Version

๗๑ , แผนการจัดการเรียนรมู้ ่งุ เนน้ สมรรถนะ หน่วยท่ี ๑๐ ชื่อหน่วย สอนครั้งที่ ๑๗ ระบบนเิ วศ ชว่ั โมงรวม ๓ ชัว่ โมง จำนวน ๓ ช่วั โมง ๑. สาระสำคญั ระบบนิเวศเป็นระบบความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมที่อาศัยอยู่ ระบบนิเวศอาจมีตั้งแต่ขนาดเล็ก จนถึงขนาดใหญ่ครอบคลุมทั้งโลก ความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นทำให้สิง่ มีชีวิตอยูร่ วมกันได้อย่างสมดุล โดยสิ่งมีชีวิตที่อาศัย อยู่ต่างมีการปรับตัวทั้งในด้านความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันหรือต่างชนิดกัน และต้องปรับตัวเกี่ยวกับ การรกั ษาดลุ ยภาพของร่างกายใหค้ งทีเ่ พอ่ื การอยรู่ อด ๒. สมรรถนะหลัก (สมรรถนะประจำหน่วย) ๒.๑ แสดงความรู้เกย่ี วกับระบบนเิ วศและดุลยภาพของส่งิ มีชีวติ ๒.๒ ปฏบิ ตั เิ กย่ี วกบั ระบบนเิ วศและดุลยภาพของส่งิ มีชีวิต ๒.๓ ตระหนักถึงการมีวนิ ยั ใฝ่รู้ มีความรบั ผดิ ชอบ มีจิตสาธารณะ ๓. สมรรถนะย่อย (สมรรถนะการเรยี นรู้) ๓.๑ สมรรถนะท่ีพึงประสงค์ (ทฤษฏี) ๓.๑.๑ อธบิ ายความหมายของระบบนิเวศไดถ้ ูกต้อง ๓.๑.๒ บอกองค์ประกอบของระบบนิเวศได้ถกู ต้อง ๓.๑.๓ อธบิ ายและเขยี นโซอ่ าหาร และสายใยอาหารได้ถกู ต้อง ๓.๑.๔ อธบิ ายการถ่ายทอดพลงั งานในระบบนเิ วศได้ถูกต้อง ๓.๑.๕ อธิบายสาเหตทุ ่ีทำให้ระบบนเิ วศเสยี สมดุลไดถ้ ูกต้อง ๓.๒ สมรรถนะที่พึงประสงค์ (ปฏิบัต)ิ ๓.๒.๑ ยกตัวอยา่ งและสรปุ ความสัมพันธร์ ะหวา่ งสง่ิ มชี วี ติ ชนดิ เดยี วกนั และต่างชนดิ กนั ในรปู แบบตา่ ง ๆได้ถูกตอ้ ง ๓.๓ ดา้ นคณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค์ ๓.๓.๑ ตระหนักถงึ การมีวนิ ัย ใฝ่รู้ มีความรบั ผิดชอบ มจี ติ สาธารณะ ๔. เนอื้ หาสาระการเรียนรู้ ๔.๑ ระบบนิเวศ ๕. กจิ กรรมการเรียนรู้ ในการจดั การเรียนการสอนรายวชิ าวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาทกั ษะชีวิต ไดก้ ำหนดกิจกรรมการเรียนการสอน ให้ผ้เู รียนเกิดการเรียนรู้โดยใช้วธิ กี ารจัดการเรยี นรรู้ ปู แบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ ๕E ของสถาบนั สง่ เสริมการ สอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (สสวท., ๒๕๔๖)

๗๒ , แผนการจดั การเรยี นรู้มุ่งเน้นสมรรถนะ หนว่ ยที่ ๑๐ ชอื่ หน่วย สอนครัง้ ที่ ๑๗ ระบบนิเวศ ชว่ั โมงรวม ๓ ชัว่ โมง จำนวน ๓ ชัว่ โมง ๕.๑ ขัน้ นำเข้าสู่กิจกรรมการเรยี นรู้ ๑. จัดเตรยี มเอกสารประกอบการเรยี น ส่ือโสตทศั น์ ครุภณั ฑ์ เคร่อื งมอื วสั ดุ-อปุ กรณ์ ๒. ทดสอบก่อนเรียน โดยใช้แบบทดสอบเรื่อง ระบบนิเวศ แล้วให้ผู้เรียนตรวจสอบคำตอบตามใบเฉลยโดย สลบั กันตรวจแล้วสรุป ๕.๒ ข้ันการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ๑. ครูอธบิ ายเรื่องความหมายองคป์ ระกอบของระบบนเิ วศ และปจั จยั โดยใช้ PowerPoint ประกอบ ระบบนิเวศ(ecosystem) หมายถึง ระบบความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ร่วมกันใน บรเิ วณนน้ั และความสัมพันธ์ระหวา่ งกลุ่มส่ิงมชี วี ิตกับสภาพแวดล้อมของแหล่งท่ีอยู่ ไดแ้ ก่ ดนิ น้ำ แสง ในระบบนิเวศ จะมกี ารถา่ ยทอดพลังงานระหวา่ งกล่มุ ส่ิงมชี ีวติ กลมุ่ ต่างๆ และมีการหมนุ เวียนสารต่างๆจากส่งิ แวดล้อมสสู่ ิ่งมีชีวิตและ จากส่งิ มชี ีวิตส่สู ิง่ แวดลอ้ ม ระบบนิเวศบนโลกถึงแม้จะมีความหลากหลาย แต่ก็มีโครงสร้างที่คล้ายคลึงกัน คือ ประกอบไปด้วย สว่ นสำคญั ๒ สว่ น คือ ๑. ส่วนประกอบทไ่ี ม่มชี ีวติ (abiotic component ) ประกอบดว้ ย อนินทรยี สาร ได้แก่ ไนโตรเจน คาร์บอนไดออกไซด์ ออกซิเจน นำ้ และคารบ์ อน อินทรียสาร ได้แก่ คารโ์ บไฮเดรต โปรตีน ไขมนั ฯลฯ สภาพแวดล้อมทางกายภาพ ได้แก่ อณุ หภูมิ แสง ความเป็นกรด เปน็ ด่าง ความเค็มและความช้นื ๒. สว่ นประกอบที่มีชีวิต (biotic component) ไดแ้ ก่ ผู้ผลิต (producer) ผบู้ ริโภค (consumer) ผู้ยอ่ ยสลาย (decomposer) ผู้ผลิต (producer) คือ สิ่งมีชีวิตที่สามารถนำพลังงานจากแสงอาทิตย์มาสังเคราะห์อาหารขึ้นได้เอง ดว้ ยแรธ่ าตแุ ละสสารทีม่ อี ยู่ตามธรรมชาติ ไดแ้ ก่ พชื สเี ขียว แพลงคต์ อนพืช และแบคทเี รียบางชนดิ ผู้บรโิ ภค (consumer) คือ สง่ิ มชี วี ติ ท่กี ินส่งิ มีชีวติ อืน่ ๆเปน็ อาหาร แบง่ ได้เป็น - สง่ิ มชี วี ติ ท่ีกินพชื เปน็ อาหาร (herbivore) เชน่ วัว ควาย กระต่าย และปลาทกี่ นิ พชื เลก็ ๆ ฯลฯ - สง่ิ มีชีวิตท่กี นิ สตั ว์อ่ืนเป็นอาหาร (carnivore) เช่น เสอื สุนัข กบ สนุ ขั จิง้ จอก ฯลฯ - ส่งิ มชี ีวิตท่กี นิ ท้งั พืช และสัตว์ ซ่งึ เป็นลำดบั การกินสูงสดุ (omnivore) เช่น มนุษย์ ผยู้ อ่ ยสลาย (decomposer) เป็นพวกยอ่ ยสลายซากสิง่ มีชวี ติ ใหเ้ ปน็ สารอินทรยี ไ์ ด้ ปจั จยั ทมี่ ีอิทธพิ ลตอ่ สิง่ มชี ีวติ ในระบบนเิ วศ ปัจจัยสำคัญในระบบนิเวศสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมีความต้องการพื้นฐานในการดำรงชีวิตที่แตกต่าง กันออกไปแต่สิ่งมีชีวิตจะมีการปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมเพื่อความอยู่รอด ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสิ่งมีชีวิตใน ระบบนิเวศ สามารถจำแนกออกเป็น ๒ ประเภท ๑. ปัจจัยทางกายภาพ (Physical factors) ได้แก่

๗๓ , แผนการจัดการเรยี นร้มู ่งุ เนน้ สมรรถนะ หนว่ ยที่ ๑๐ ช่ือหน่วย สอนคร้งั ท่ี ๑๗ ระบบนเิ วศ ชัว่ โมงรวม ๓ ช่วั โมง จำนวน ๓ ช่วั โมง ๑.๑ อณุ หภมู ิ เน่ืองจากสิง่ มชี ีวติ แต่ละชนิดจะสามารถดำรงชีวิตไดใ้ นช่วงอุณหภูมิทเ่ี หมาะสมกับ ตัวมันเอง โดยเฉพาะสิง่ มีชีวิตที่อาศัยอยู่ในน้ำซึง่ เป็นสัตว์เลือดเย็นไมส่ ามารถปรับอุณหภูมิได้ จึงไม่สามารถทนทาน ต่อการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมไิ ด้เท่ากับสัตว์เลอื ดอุ่นทีอ่ าศัยอยู่บนบก ดังนั้น อุณหภูมิ จึงเป็นปัจจยั จำกัดของสัตว์ นำ้ มากกวา่ สตั วบ์ ก นอกจากน้อี ณุ หภูมิมอี ทิ ธพิ ลตอ่ การดำรงชวี ิตของงสงิ่ มชี วี ิตหลายประการ เช่น - การเปลี่ยนแปลงขนาดโครงสร้าง หรือรูปร่าง เช่น สัตว์ในเขตหนาวจะมีขนาดใหญ่กว่า สัตว์ในเขตร้อน เพื่อลดพื้นที่ผิวในการสูญเสียความร้อนหรือสัตว์ในเขตหนาวจะขนยาวกว่าสัตว์ในเขตร้อน เพื่อสร้าง ความอบอนุ่ ตอ่ ร่างกาย หรือปลาในน้ำไหลเช่ยี วจะมลี ำดับตวั ยาวล่ืน ไม่มีเกล็ด เพื่อใหต้ ้านการไหลของน้ำ เป็นต้น - การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม เช่น กบจำศีลในหน้าร้อน กระรอกบินจะอยู่ในรูตลอดฤดู หนาว หอยโข่งจะขุดรูในหน้าร้อน จะออกหากินเมื่อฝนตก สัตว์ในทะเลทรายจะออกหากินในเวลากลางคืนเพื่อหนี ความรอ้ นในเวลากลางวนั เป็นตน้ - การเปลี่ยนแปลงโดยการอพยพย้ายถ่ิน เพ่อื ไปอาศยั ทอี่ ่ืนช่วั คราว เชน่ การอพยพของนก ปากห่างจากประเทศอินเดยี มาทีว่ ดั ไผล่ อ้ มจังหวดั ปทุมธานี เพือ่ มาผสมพนั ธ์ในเขตทีม่ ีอากาศอบอนุ่ กวา่ เมอื่ ผสมพันธ์ แลว้ จะกลบั ถ่นิ เดมิ - อุณหภูมิท่ีมผี ลตอ่ การขยายพนั ธุ์ของสิ่งมีชวี ิต เช่น เงาะ ทุเรยี น มงั คดุ ลางสาด เจริญได้ ดีในเขตอากาศรอ้ นช้นื สตรอเบอร่ี แอปเป้ลิ สาลี่ แคนตาลปู เจรญิ ไดด้ ใี นเขตอากาศหนาว เปน็ ต้น ๑.๒ น้ำและความชื้น น้ำเป็นองค์ประกอบที่สำคัญของสิ่งมีชีวิต และมีบทบาทสำคัญใน กระบวนการทางชีวเคมีของสิ่งมีชีวิต เพราะทั้งพืชและสัตว์จะมีการถ่ายน้ำอยู่ตลอดเวลา ดังนั้นสิ่งมีชีวิตบางชนิดจะ ปรับเปลี่ยนโครงสร้าง และสรีระเพื่อให้มีชีวิตอยู่รอดได้ เช่น ต้นตะบองเพชรจะเปลี่ยนไปเป็นหนามเพื่อลดการ สูญเสยี น้ำ สตั ว์เลื้อยคลานจะมีเกลด็ หนา เพื่อปอ้ งกันการสญู เสียน้ำจากร่างกาย เป็นต้น ๑.๓ แสง มีอิทธิพลต่อการดำรงชวี ิตของสิ่งมชี ีวิต พืชต้องใช้แสงในกระบวนการสังเคราะหแ์ สง มนุษย์และสัตว์ต้องการแสงเพื่อความอบอุ่น การมองเห็น และพฤติกรรมต่างๆ แสงเป็นปัจจัยสำคัญทำให้เกิดการ หมุนเวียนของอาหารและแร่ธาตุในระบบนิเวศ เป็นต้น แสงมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของพืช การหุบการบานของดอก การออกดอกพืชบางชนิด เช่น เบญจมาศ ต้องการแสงน้อยกว่า ๑๒ ชั่วโมง ส่วนพืชพวกมนั ฝร่ัง มะเขอื เทศ หวั ผกั กาดแดง ตอ้ งการแสงมากกว่า ๑๒ ชว่ั โมง ๑.๔ ทีอ่ ยอู่ าศยั สิ่งมีชวี ิตแตล่ ะชนิดจะชอบท่ีอยู่อาศัยแตกต่างกันไป เช่น บางชนิดชอบอยู่ตาม โคลน ตามดิน ในป่า ในต้นไม้ อยู่ในสิ่งมีชีวิตชนิดอื่น เป็นต้น ถ้าที่อยู่ไม่เหมาะสมจะส่งผลให้สิ่งมีชีวิตบางชนิดหยุด การเจริญเตบิ โต เชน่ หอยนางรมจะเจรญิ เตบิ โตไดเ้ ฉพาะในพืน้ ผิวทเ่ี รียบ ๑.๕ ธาตุอาหาร มีแร่ธาตุหลายชนิดมีความจำเป็นในกระบวนการสังเคราะห์แสง เช่น ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โปตัสเซียม แคลเซียม เป็นต้น ซ่ึงแร่ธาตุเหล่านี้พืชต้องการมาก แร่ธาตุบางชนิดพืชต้องการ นอ้ ยแตก่ ข็ าดไมไ่ ด้ เพราะเปน็ องค์ประกอบสำคญั ของเอนไซม์ทจี่ ำเป็นต่อการดำรงชวี ติ ๒. ปัจจยั ทางชวี ภาพ (Biological factors) หมายถึง ปจั จยั ทเี่ ป็นส่ิงมชี วี ิตท่ปี ระกอบด้วยมนษุ ย์ สัตว์ พืช เป็นต้น ที่อาศัยอยู่ในบริเวณตา่ งๆ ของพื้นผวิ โลก ปรมิ าณของส่ิงมชี ีวิตในระบบนิเวศจะเก่ยี วข้องสมั พนั ธ์กันทั้งใน แง่สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันและต่างชนิดกัน ตลอดจนปัจจัยทางกายภาพต่างๆ ก็มีอิทธิพลต่อการกำหนดชนิด ปริมาณ และการพฒั นาของส่งิ มีชวี ิตในระบบนิเวศนั้นๆ ด้วย

๗๔ , แผนการจดั การเรียนรมู้ งุ่ เนน้ สมรรถนะ หนว่ ยที่ ๑๐ ช่อื หน่วย สอนครงั้ ที่ ๑๗ ระบบนิเวศ ชัว่ โมงรวม ๓ ชั่วโมง จำนวน ๓ ชว่ั โมง ๒. ใหน้ ักเรียนจบั กลมุ่ แบบคละความสามารถ กลมุ่ ละ ๕ – ๖ คน ๓. ให้นกั เรียนทำการสืบคน้ และอภปิ รายภายในกลุ่ม ในหวั ขอ้ “ความสัมพันธข์ องสิ่งมชี ีวิตในระบบนิเวศ” ๔. ให้นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มนำขอ้ มูลท่ีได้มาอภปิ รายหนา้ หอ้ ง ๕. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้จากการที่นักเรียนได้อภิปรายและให้นักเรียนทำใบงาน ความสัมพันธ์ ของส่ิงมชี ีวติ ในระบบนเิ วศ ๖. ให้นักเรยี นทำการสบื ค้นและอภิปรายภายในกลมุ่ ในหวั ข้อ “การถา่ ยทอดพลงั งานในระบบนเิ วศ” ๗. ใหน้ กั เรยี นแต่ละกลุ่มนำขอ้ มูลทไี่ ด้มาอภิปรายหน้าหอ้ ง ๘. ครแู ละนกั เรียนร่วมกนั สรปุ ความรแู้ ละครเู พ่มิ เตมิ ความรูเ้ รอ่ื ง ดลุ ยภาพของระบบนเิ วศ ดุลยภาพของระบบนิเวศเป็นภาวะที่องค์ประกอบต่างๆ ในระบบนิเวศทั้งปัจจัยทางการกายภาพและ ชีวภาพมีสัดสว่ นในปริมาณที่เหมาะสม เช่น ระบบนิเวศทีป่ ระกอบด้วยสิ่งมีชีวิตที่มคี วามสัมพนั ธ์กันในลักษณะสายใย อาหารทม่ี ีผผู้ ลิตและผ้บู รโิ ภคสดั ส่วนท่ีเหมาะสมจะเปน็ ระบบนิเวศท่ีมีความสมดลุ ซง่ึ แบ่งออกเป็น ๑. กลไกของการรกั ษาดุลยภาพในระบบนเิ วศ จะมีการรกั ษาสมดุล ๒ ลักษณะดงั น้ี ๑.๑ สมดุลของการหมนุ เวยี นสารและการถา่ ยทอดพลังงานใหเ้ หมาะสม ๑.๒ สมดุลของประชากรในสิ่งมชี ีวติ เช่น การควบคุมการล่าเหยื่อโดยจัดให้ปริมาณของผู้ล่าและ เหย่อื อยู่ในสัดสว่ นทเ่ี หมาะสมจะช่วยควบคมุ จำนวนจำนวนประชากรในระบบนิเวศใหเ้ กดิ ความสมดลุ จากกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนประชากรผู้ล่าและเหยื่อ พบว่าขณะที่ผู้ล่ามีจำนวนมากข้ึน จำนวนเหยอ่ื จะลดลงทำให้ผ้ลู ่าขาดอาหารจึงตายไป จำนวนเหยื่อจึงคอ่ ยๆ เพิม่ ข้นึ จนทำให้มอี าหารสมบูรณ์เม่ือผู้ล่ามี อาหารมากขึ้นก็ขยายพันธ์เพิ่มจำนวนมากขึ้นและล่าเหยื่อ ทำให้จำนวนเหยื่อลดลง มีการเปลี่ยนแปลงจำนวน ประชากรสลับกันเช่นอยา่ งต่อเนอื่ งในระบบนิเวศ ๒. ปัจจัยที่ทำให้เสียดุลยภาพในระบบนิเวศ ดุลยภาพในระบบนิเวศอาจจะเสียไปเนื่องจากปัจจัย ตา่ งๆดังน้ี ๒.๑ ปัจจัยที่เกิดจากธรรมชาติ เช่น ไฟไหม้ น้ำท่วม แผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด ซึ่งเกิดขึ้นน้อย มากๆและนานๆ จึงจะเกดิ ขึน้ ครัง้ หนึ่ง ๒.๒ ปัจจัยที่เกิดจากการกระทำของมนุษย์ เช่น การตัดไม้ทำลายป่า การใช้พื้นที่ในการพัฒนา อุตสาหกรรม การก่อสร้างอาคารบ้านเรือน การกระทำของมนุษย์ ทำให้ดุลยภาพในระบบนิเวศเปลี่ยนแปลงไปอย่าง รวดเรว็ เนอ่ื งจากสาเหตตุ ่างๆ ดังนี้ - การเพิม่ จำนวนประชากรและการยา้ ยถิ่น - ความก้าวหนา้ ทางวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

๗๕ , แผนการจัดการเรยี นรู้มุง่ เนน้ สมรรถนะ หนว่ ยที่ ๑๐ ช่ือหน่วย สอนครงั้ ที่ ๑๗ ระบบนเิ วศ ช่วั โมงรวม ๓ ช่ัวโมง - ขาดความตระหนกั ในการร่วมมอื กนั รักษาสงิ่ แวดลอ้ ม จำนวน ๓ ช่ัวโมง ๕.๓ ขนั้ สรุปผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ๑. ตรวจสอบผลการเรยี นรโู้ ดยการซักถามเปน็ ระยะและตรวจสอบผลการปฏิบัติกจิ กรรม ๒. สังเกตและบันทึกพฤติกรรมผู้เรียนเป็นรายบุคคลและรายกลุ่ม ขณะผู้เรียนศึกษาบทเรียนและปฏิบัติ กิจกรรม ตามใบงาน ๓.ร่วมกับผเู้ รียนประเมินผลการปฏบิ ัตงิ าน ตามแบบประเมนิ ๔. ร่วมกับผูเ้ รยี นประเมนิ ผลการเรียนรแู้ ละผลการปฏิบัติงาน ๕.๔ การวดั และประเมินผล ๑. ให้ผู้เรียนทำแบบฝึกหัด เรื่อง ประโยชน์ของนาโนเทคโนโลยี แล้วตรวจสอบคำตอบตามใบเฉลยโดย สลับกันตรวจและให้คะแนน ๒. ให้ผเู้ รียนทำแบบทดสอบหลังเรียน ประโยชนข์ องนาโนเทคโนโลยี เสรจ็ แล้วตรวจสอบคำตอบตามใบเฉลย โดยสลับกนั ตรวจและใหค้ ะแนน ๓. ครูเน้นย้ำให้ผู้เรียนตระหนักถึงการมีวินัย ใฝ่รู้ มีความรับผิดชอบ มีจิตสาธารณะ ในการเรียนเรื่อง ระบบนเิ วศ ๖. สอ่ื การเรียนรู้ สอื่ ส่งิ พมิ พ์ ๑. ตำราเกีย่ วกบั ระบบนิเวศ ๒. แบบทดสอบเร่ืองระบบนิเวศ ๓. แบบประเมนิ ผล สอ่ื โสตทัศน์ ๑. มลั ตมิ เี ดยี ประกอบการสอน เรือ่ ง “ระบบนเิ วศ” ครภุ ัณฑ/์ เครอ่ื งมอื /วสั ดุ-อปุ กรณ์ ๑. วสั ดุอุปกรณป์ ระกอบการสอน เรือ่ ง “ระบบนิเวศ ๗. เอกสารประกอบการเรียนรู้ - ใบงาน เรือ่ ง “ความสัมพันธข์ องส่งิ มีชวี ติ ในระบบนเิ วศ”

๗๖ , แผนการจัดการเรยี นรู้มุง่ เนน้ สมรรถนะ หน่วยท่ี ๑๐ ชอ่ื หน่วย สอนครัง้ ที่ ๑๗ ระบบนเิ วศ ชัว่ โมงรวม ๓ ช่ัวโมง จำนวน ๓ ชั่วโมง ๘. การบรู ณาการ/ความสัมพันธ์กบั วชิ าอืน่ บรู ณาการกับหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งเกี่ยวกับ - นกั เรยี นมีความพอประมาณในการอยู่อย่างพอเพยี ง - นักเรยี นมีภมู คิ มุ้ กนั เกี่ยวกบั การมีวนิ ยั ใฝร่ ู้ มีความรบั ผิดชอบ มีจติ สาธารณะ ๙. การวัดผลและประเมนิ ผล ๑. วธิ วี ัดผลและประเมนิ ผล ๑. การทำทดสอบกอ่ นเรยี น/หลงั เรียน ๒. การสงั เกตพฤติกรรมระหวา่ งเรียน ๓.การปฏิบัติกิจกรรมตามใบงาน ๔. การทำแบบฝกึ หดั /แบบทดสอบ ๒. เครอ่ื งมือวดั และประเมนิ ผล ๑. แบบทดสอบก่อนเรยี น/หลังเรยี น ๒. แบบสงั เกตพฤติกรรมระหวา่ งเรยี น ๓. แบประเมนิ การปฏิบัติกิจกรรมตามใบงาน ๔. แบบบันทกึ คะแนนแบบฝึกหัด/แบบทดสอบ ๓. เกณฑก์ ารประเมิน ๑. ประเมินจากการทำทดสอบ หลังเรียน จำนวน ๑๐ ข้อ เกณฑ์ผ่าน ๗ คะแนน จาก ๑๐ คะแนน ๒. ประเมินจากพฤติกรรมระหว่างเรยี นรู้ เกณฑผ์ า่ น ๗ คะแนน จาก ๑๐ คะแนน ๓. ประเมนิ จากผลการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมตามใบงาน เกณฑผ์ ่าน ๗ คะแนน จาก ๑๐ คะแนน ๔. ประเมนิ จากคะแนนการทำแบบฝึกหดั /แบบทดสอบ เกณฑผ์ ่าน ๗ คะแนน จาก ๑๐ คะแนน ๑๐. บันทึกหลังการสอน

๗๗ , แผนการจดั การเรียนรมู้ ุ่งเนน้ สมรรถนะ หน่วยท่ี ๑๐ สอนครงั้ ที่ ๑๗ ช่ือหน่วย ชวั่ โมงรวม ๓ ชว่ั โมง ระบบนิเวศ จำนวน ๓ ชวั่ โมง บนั ทึกหลังสอน สัปดาหท์ ่ี ชอ่ื วิชา รหัสวชิ า หนว่ ยท่ี แผนกวชิ า วนั ท่สี อน จำนวน รายการสอน จำนวน คน เขา้ เรียน ชว่ั โมง จำนวน คน เข้าเรียน ภาคเรียนที่ ปกี ารศึกษา คน ขาดเรียน คน ขาดเรยี น จำนวนผู้เรียน ชนั้ กลุ่ม คน คน ชน้ั กลมุ่ ๑.เน้ือหาทสี่ อน (สาระสำคัญ) ๒.ผลการสอน ๓.ปัญหา อุปสรรค ทีเ่ กดิ ขน้ึ ในระหวา่ งการเรยี นการสอน ๔.แนวทางการแก้ปัญหาของครูผูส้ อน (แนวทางการทำวิจยั ) ลงช่ือ ผสู้ อน (นางสาวจุฑามาศ โสมสวุ รรณ) // ลงช่อื หัวหน้าแผนก ลงชอื่ หวั หนา้ งานหลักสูตรฯ (นางกุศล พรผดุงธรรม) (นายสมศกั ด์ิ หลวงนา) // // ลงช่ือ รองผอู้ ำนวยการฝ่ายวชิ าการ (นายประเสรฐิ ถงึ วิสยั ) //


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook