อปุ กรณค์ อมพวิ เตอร์
อุปกรณ์คอมพวิ เตอร์ 1. จอภาพ (Monitor) เป็นอุปกรณ์แสดงผลท่ีมีความสาคญั มากท่ีสุด เพราะจะติดต่อโดยตรงกบั ผใู้ ช้ ชนิดของจอภาพท่ีใช้ในเครื่องพซี ีโดยทว่ั ไปจะแบ่งไดเ้ ป็น 2 ชนิด จอซีอาร์ที (CRT : Cathode Ray Tube) โดยมากจะพบในคอมพิวเตอร์ต้งั โตะ๊ ซ่ึงลกั ษณะ จอภาพ ชนิดน้ีจะคลา้ ยโทรทศั น์ ซ่ึงจะใชห้ ลอดสุญญากาศ จอแบบ CRT การทางานของจอประเภทน้ีจะทางานโดย อาศยั หลอดภาพ ที่สร้างภาพโดยการยงิ ลาแสงอิเล็กตรอนไปยงั ท่ีผวิ หนา้ จอ ท่ีมีสารพวกสารประกอบของฟอสฟอรัส ฉาบอยทู่ ี่ผวิ ซ่ึงจะเกิดภาพข้ึนมาเมื่อสารเหล่าน้ีเกิดการเรืองแสงข้ึนมา เม่ือมีอิเลก็ ตรอนมากระทบ ซ่ึงในส่วยของจอแบบ Shadow Mask น้นั จะมีการนาโลหะที่มีรูเลก็ ๆ มาใชใ้ นการกาหนดใหแ้ สงอิเลก็ ตรอนน้นั ยงิ มาไดถ้ ูกตอ้ ง และแม่นยา ซ่ึงระยะห่างระหวา่ งรูน้ีเราเรียกกนั วา่ Dot Pitch ซ่ึงในรูน้ีจะมีสารประกอบของฟอสฟอรัสวางเรียงกนั อยูเ่ ป็ น 3 จุด 3 มุม โดยแต่ละจุดจะเป็นสีของแมส่ ีน้นั ก็คือ สีแดง สีเขียว และสีน้าเงิน ซ่ึงแตล่ ะจุดน้ีเราเรียกวา่ Triad ในส่วนของจอแบบ Trinitron น้นั จะมีการทางานที่เหมือนกนั แตต่ า่ งกนั ที่ ไม่ไดใ้ ชโ้ ลหะเป็นรูแต่จะใช้ โลหะที่เป็นเส้นเลก็ ๆ ขึงพาดไปตาม แนวต้งั เพอ่ื ท่ีจะใหอ้ ิเล็คตรอนน้นั ตกกระทบกบั ผวิ จอท่ีมีสารประกอบของฟอสฟอรัสไดม้ ากข้ึน สาหรับจอ Trinitron ในปัจจุบนั นี่ไดม้ ีการพฒั นาใหม้ ีความแบนราบมากข้ึนซ่ึงจอแบบน้ีจะเรียกกนั วา่ FD Trinitron (Flat
Display Trinitron) ซ่ึงมีมากมายในปัจจุบนั และจะเขา้ มาแทนที่จะแบบเดิมๆ อีกท้งั ราคายงั ถูกลงเป็นอยา่ งมากดว้ ย จอแอลซีดี (LCD : Liquid Crystal Display) ซ่ึงมี ลกั ษณะแบนราบ จะมี ขนาดเล็กและบาง เมื่อ เปรียบเทียบกบั จอภาพแบบซีแอลที จอแบบ LCD การทางานน้นั จะไมเ่ หมือนกบั จอแบบ CRT แมส้ กั นิดเดียว ซ่ึงการแสดงภาพน้นั จะซบั ซอ้ นกวา่ มากการทางานน้นั อาศยั หลกั ของการใชค้ วามร้อนท่ีไดจ้ ากขดลวด มาทาการเปล่ียนและ บงั คบั ใหผ้ ลึกเหลวแสดงสีตา่ งๆ ออกมาตามที่ตอ้ งการซ่ึงการแสดงสีน้นั จะเป็นไปตามที่กาหนด ไวต้ ามมาตรฐานของแต่ละบริษทั จึงทาใหจ้ อแบบ LCD มีขนาดที่บางกวา่ จอ CRT อยมู่ าก อีกท้งั ยงั กินไฟนอ้ ยกวา่ จึงทาใหผ้ ผู้ ลิตนาไปใชง้ านกบั เคร่ืองคอมพิวเตอร์แบบเคล่ือนท่ีโนต้ บุค๊ และเดสโนต้ ซ่ึงทาให้เคร่ืองมีขนาดที่บางและเล็กสามารถพกพาไปไดส้ ะดวก ในส่วนของการใชง้ านกบั เครื่องเดสกท์ อ็ ปทวั่ ไป ก็มีซ่ึงจอแบบ LCD น้ีจะมีราคาที่แพงกวา่ จอทว่ั ไปอยปู่ ระมาณ 2 เท่าของ ราคาในปัจจุบนั2. เคส (Case) เคส คือ โครงหรือกล่องสาหรับประกอบอุปกรณ์ต่าง ๆ ของคอมพวิ เตอร์ไวภ้ ายใน การเรียกช่ือและขนาด ของเคสจะแตกต่างกนั ออกไป ซ่ึงในปัจจุบนั มีหลายแบบที่นิยมกนั แลว้ แต่ผซู้ ้ือจะเลือกซ้ือตามความเหมาะสม ของงาน และสถานที่น้นั เคส (case)
3. พาวเวอร์ซัพพลาย (Power Supply) เป็นอุปกรณ์ที่ทาหนา้ ที่ในการจา่ ยกระแสไฟฟ้าใหก้ บั ชิ้นส่วนอุปกรณ์คอมพวิ เตอร์ ซ่ึงถา้คอมพวิ เตอร์มีอุปกรณ์ต่อพวงเยอะๆ เช่น ฮาร์ดดิสก์ ซีดีรอมไดรฟ์ ดีวดี ีไดรฟ์ ก็ควรเลือกพาวเวอร์ซพั พลายท่ีมีจานวนวตั ตส์ ูง เพ่ือใหส้ ามารถ จ่ายกระแสไฟไดเ้ พยี งพอ Power Supply 4. คยี ์บอร์ด (Keyboard) เป็นอุปกรณ์ในการรับขอ้ มูลที่สาคญั ที่สุด มีลกั ษณะคลา้ ยแป้นพมิ พ์ ของเครื่องพมิ พด์ ีด มีจานวนแป้น 84 - 105 แป้น ข้ึนอยกู่ บั แป้นที่เป็น กลุ่มตวั เลข (Numeric keypad) กลุ่มฟังกช์ นั (Function keys) กลุ่มแป้นพเิ ศษ (Special-purpose keys) กลุ่มแป้นตวั อกั ษร (Typewriter keys) หรือกลุ่มแป้นควบคุมอื่น ๆ(Control keys) ซ่ึงการสงั่ งานคอมพวิ เตอร์และการทางานหลายๆ อยา่ งจาเป็นตอ้ งใชแ้ ป้นพมิ พเ์ ป็นหลกั Keyboard
5. เมาส์ (Mouse) อุปกรณ์รับขอ้ มูลท่ีนิยมรองจากคียบ์ อร์ด เมาส์จะช่วยในการบง่ ช้ีตาแหน่งวา่ ขณะน้ีกาลงั อยู่ ณ จุดใดบนจอภาพ เรียกวา่ \"ตวั ช้ีตาแหน่ง (Pointer)\" ซ่ึงอาศยั การเล่ือนเมาส์ แทนการกดป่ ุมบงั คบั ทิศทางบนคียบ์ อร์ด Mouse 6. เมนบอร์ด (Main board) แผน่ วงจรไฟฟ้าแผน่ ใหญ่ท่ีรวมเอาชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ท่ีสาคญั ๆมาไวด้ ว้ ยกนั ซ่ึงเป็นส่วนท่ีควบคุม การทางานของ อุปกรณ์ต่างๆ ภายในพีชีท้งั หมด มีลกั ษณะเป็นแผน่ รูปร่างสี่เหลี่ยมแผน่ ที่ใหญ่ที่สุดในพชี ี ท่ีจะรวบรวมเอาชิปและไอชี (IC = Integrated Circuit) รวมท้งั การ์ดต่อพว่ งอื่นๆ เอาไวด้ ว้ ยกนั บนบอร์ดเพยี งอนั เดียวเคร่ืองพีชีทุกเครื่องไมส่ ามารถทางาน ไดถ้ า้ ขาดเมนบอร์ด Mainboard
7. ซีพยี ู (CPU) ซีพียหู รือหน่วยประมวลผลกลาง เรียกอีกชื่อหน่ึงวา่ โปรเซสเซอร์ (Processor) หรือ ชิป(chip) นบั เป็นอุปกรณ์ท่ีมีความสาคญั มากท่ีสุดของฮาร์ดแวร์ เพราะมีหนา้ ท่ีในการประมวลผลจากขอ้ มูลท่ีผใู้ ชป้ ้อน เขา้ มาทางอุปกรณ์นาเขา้ ขอ้ มูลตามชุดคาสง่ั หรือโปรแกรมที่ผใู้ ชต้ อ้ งการใชง้ าน หน่วยประมวลผลกลาง ประกอบดว้ ยส่วนสาคญั 3 ส่วน คือ 1) หน่วยคานวณและตรรกะ (Arithmetic & Logical Unit: ALU) หน่วยคานวณตรรกะ ทาหนา้ ที่เหมือนกบั เครื่องคานวณอยใู่ นเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยทางานเกี่ยวกบั การคานวณทางคณิตศาสตร์ เช่น บวกลบ คูณ หาร อีกท้งั ยงั มีความสามารถอีกอยา่ งหน่ึงที่เคร่ืองคานวณธรรมดาไมม่ ี คือ ความสามารถในเชิงตรรกะศาสตร์ หมายถึง ความสามารถในการเปรียบเทียบตามเงื่อนไขและกฎเกณฑท์ างคณิตศาสตร์ เพื่อให้ไดค้ าตอบออกมาวา่ เง่ือนไข น้นั เป็น จริง หรือ เทจ็ ได้ 2) หน่วยควบคุม (Control Unit) หน่วยควบคุม ทาหนา้ ที่ควบคุมลาดบั ข้นั ตอนการประมวลผล รวมไปถึงการประสานงานกบั อุปกรณ์นาเขา้ ขอ้ มูล อุปกรณ์แสดงผล และหน่วยความจาสารองดว้ ย ซีพยี ทู ่ีมีจาหน่ายในทอ้ งตลาด ไดแ้ ก่ Pentium III , Pentium 4 , Pentium M (Centrino) , Celeron , Dulon , Athlon CPU 8. การ์ดแสดงผล (Display Card) การ์ดแสดงผลใชส้ าหรับเกบ็ ขอ้ มูลที่ไดร้ ับมาจากซีพยี ู โดยท่ีการ์ดบางรุ่นสามารถประมวลผลได้ในตวั การ์ด ซ่ึงจะช่วยแบง่ เบาภาระการประมวลผลใหซ้ ีพียู จึงทาใหก้ ารทางานของคอมพิวเตอร์น้นั เร็วข้ึนดว้ ย ซ่ึงตวั การ์ดแสดงผลน้นั จะมีหน่วยความจาในตวั ของมนั เอง ถา้ ตวั การ์ดมีหน่วยความจามาก กจ็ ะรับขอ้ มูลจากซีพยี ไู ดม้ ากข้ึน ซ่ึงจะช่วยใหก้ ารแสดงผลบนจอภาพมีความเร็วสูงข้ึนดว้ ย
Display Card หลกั กนั ทางานพ้ืนฐานของการ์ดแสดงผลจะเริ่มตน้ ข้ึน เม่ือโปรแกรมตา่ งๆ ส่งขอ้ มูลมาประมวลผลที่ ซีพียเู ม่ือซีพยี ปู ระมวลผล เสร็จแลว้ กจ็ ะส่งขอ้ มูลท่ีจะนามาแสดงผลบนจอภาพมาที่การ์ดแสดงผล จากน้นัการ์ดแสดงผล ก็จะสง่ ข้อมลู นมี ้ าทีจ่ อภาพ ตามข้อมลู ท่ีได้รับมา การ์ดแสดงผลรุ่นใหมๆ่ ท่ีออกมาสว่ นใหญ่ ก็จะมวี งจร ในการเร่งความเร็วการแสดงผลภาพสามมิติ และมหี น่วยความจามาให้มากพอสมควร9. แรม (RAM) RAM ยอ่ มาจากคาวา่ Random-Access Memory เป็นหน่วยความจาหลกั แต่ไม่ถาวร ซ่ึงจะตอ้ งมีไฟมาหล่อเล้ียงอุปกรณ์ตลอดในการทางาน โดยถา้ เกิดไฟฟ้ากระพริบหรือดบั ขอ้ มูลที่ถูกบนั ทึกไวใ้ นหน่วยความจาจะหายไปทนั ที SDRAM DDR-RAM
RDRAM โดยหลกั การทางานคร่าวๆ ของแรมน้นั เร่ิมตน้ ที่รับขอ้ มูลจากผใู้ ชผ้ า่ นอุปกรณ์ Input จากน้นั กจ็ ะส่งขอ้ มูลไปยงั CPU ในการประมวลผล เมื่อ CPU ประมวลผลเสร็จแลว้ แรมจะรับขอ้ มูลท่ีไดร้ ับการประมวลผลแลว้ ออกไปยงั อุปกรณ์ Output ต่อไป โดยหน่วยความจาแรมที่ใชใ้ นปัจจุบนั มีหลายชนิด เช่นSDRAM, DDR-RAM, RDRAM 10. ฮาร์ดดสิ ก์ (Hard disk) เป็นอุปกรณ์ที่ใชใ้ นการเก็บขอ้ มูลหรือโปรแกรมตา่ งๆ ของคอมพิวเตอร์ โดยฮาร์ดดิสคจ์ ะมีลกั ษณะเป็นรูปส่ีเหล่ียมท่ีมีเปลือกนอก เป็นโลหะแขง็ และมีแผงวงจรสาหรับการควบคุมการทางานประกบอยทู่ ี่ดา้ นล่าง พร้อมกบั ช่องเสียบสายสัญญาณและสายไฟเล้ียง ส่วนประกอบภายในจะถูกปิ ดผนึกไวอ้ ยา่ งมิดชิด โดยฮาร์ดดิสคส์ ่วนใหญ่จะประกอบดว้ ยแผน่ จานแม่เหล็ก(platters) สองแผน่ หรือมากกวา่ มาจดั เรียงอยบู่ นแกนเดียวกนั เรียก Spindle ทาใหแ้ ผน่ แมเ่ หลก็ หมุนไปพร้อม ๆ กนั จากการขบั เคลื่อนของมอเตอร์ แต่ละหนา้ ของแผน่ จานจะมีหวั อา่ นเขียนประจาเฉพาะ โดยหวั อ่านเขียนทุกหวั จะเชื่อมติดกนั คลา้ ยหวี สามารถเคล่ือนเขา้ ออกระหวา่ งแทร็กตา่ ง ๆ อยา่ งรวดเร็ว ซ่ึงอินเตอร์เฟสของฮาร์ดดิสกท์ ี่ใชใ้ นปัจจุบนั มีอยู่ 3 ชนิดดว้ ยกนั
- IDE (Integrated Drive Electronics) เป็นระบบของ ฮาร์ดดิสกอ์ ินเตอร์เฟสที่ใชก้ นั มากในปัจจุบนั น้ี การต่อไดร์ฟฮาร์ดดิสกแ์ บบ IDEจะตอ่ ผา่ นสายแพรและคอนเน็คเตอร์จานวน 40 ขาท่ีมีอยบู่ นเมนบอร์ด ส่วนใหญ่แลว้ ใน 1 คอนเน็คเตอร์ จะสามารถต่อฮาร์ดดิสกไ์ ด้ 2 ตวั และบนเมนบอร์ด Harddisk แบบ IDE IDE Cable- SCSI (Small Computer System Interface) เป็นอินเตอร์เฟสที่แตกตา่ งจากอินเตอร์เฟสแบบอื่น ๆ มาก โดยจะอาศยั Controller Card ที่มีProcessor อยใู่ นตวั เองทาใหเ้ ป็นส่วนเพิ่มขยายกบั แผงวงจรใหม่โดยจะสนบั สนุนการต่ออุปกรณ์ไดถ้ ึง 8 ตวัแตก่ าร์ดบางรุ่นอาจจะไดถ้ ึง 14 ตวั ทีเดียว โดยส่วนใหญแ่ ลว้ จะใชง้ านในรูปแบบ Server เพราะมีราคาแพงแตม่ ีความเร็วในการส่งขอ้ มูลสูง
Harddisk แบบ SCSI SCSI controller- Serial ATA (Advanced Technology Attachment) เป็นอินเตอร์เฟสแบบใหม่ เปิ ดตวั คร้ังแรกในวนั ที่ 26 มิถุนายน 2545 งาน PC Expo ใน New Yorkมีความเร็วในเขา้ ถึงขอ้ มูลถึง 150 Mbytes ตอ่ วินาที และใหผ้ ลตอบสนองในการทางานไดเ้ ร็วมากในส่วนของ extreme application เช่น Game Home Video และ Home Network Hub โดยเป็ นอินเตอร์เฟสที่จะมาแทนท่ีของ IDE ในปัจจุบนั Harddisk แบบ Serial ATA
Serial ATA Cable11. CD-ROM / CD-RW / DVD / DVD-RW เป็นไดรฟ์ สาหรับอ่านขอ้ มูลจากแผน่ ซีดีรอม หรือดีวดี ีรอม ซ่ึงถา้ หากตอ้ งการบนั ทึกขอ้ มูลลงบนแผน่จะตอ้ งใชไ้ ดรฟ์ ท่ีสามารถเขียนแผน่ ไดค้ ือ CD-RW หรือ DVD-RW โดยความเร็วของ ซีดีรอมจะเรียกเป็น Xเช่น 16X , 32X หรือ 52X โดยจะมี Interface เดียวกบั Harddisk CD-ROM การทางานของ CD-ROM ภายในซีดีรอมจะแบ่งเป็นแทร็กและเซ็กเตอร์เหมือนกบั แผน่ ดิสก์ แต่เซ็กเตอร์ในซีดีรอมจะมีขนาดเท่ากนั ทุกเซ็กเตอร์ ทาใหส้ ามารถเก็บขอ้ มูลไดม้ ากข้ึน เม่ือไดรฟ์ ซีดีรอมเริ่มทางานมอเตอร์จะเริ่มหมุนดว้ ยความเร็ว หลายค่า ท้งั น้ีเพอื่ ใหอ้ ตั ราเร็วในการอ่านขอ้ มูลจากซีดีรอมคงท่ี
สม่าเสมอทุกเซ็กเตอร์ ไม่วา่ จะเป็นเซ็กเตอร์ ท่ีอยรู่ อบนอกกรือวงในก็ตาม จากน้นั แสงเลเซอร์จะฉายลงซีดีรอม โดยลาแสงจะถูกโฟกสั ดว้ ยเลนส์ท่ีเคลื่อนตาแหน่งได้ โดยการทางานของขดลวด ลาแสงเลเซอร์จะทะลุผา่ นไปที่ซีดีรอมแลว้ ถูกสะทอ้ นกลบั ท่ีผวิ หนา้ ของซีดีรอมจะเป็น หลุมเป็นบ่อ ส่วนท่ีเป็นหลุมลงไปเรียก \"แลนด\"์ สาหรับบริเวณท่ีไม่มีการเจาะลึกลงไปเรียก \"พิต\" ผวิ สองรูปแบบน้ีเราใชแ้ ทนการเก็บขอ้ มูลในรูปแบบของ 1 และ 0 แสงเม่ือถูกพติ จะกระจายไปไมส่ ะทอ้ นกลบั แต่เม่ือแสงถูกเลนส์จะสะทอ้ นกลบัผา่ นแทง่ ปริซึม จากน้นั หกั เหผา่ นแท่งปริซึมไปยงั ตวั ตรวจจบั แสงอีกที ทุกๆช่วงของลาแสงท่ีกระทบตวัตรวจจบั แสงจะกาเนิดแรงดนั ไฟฟ้า หรือเกิด 1 แลอะธ0บิ ทาี่ทยาเใพหมค้่ิ อเตมพมิ ิวเกเตย่ีอรว์สกาบัมการาถรเขจา้ดัใจงไาดน้ ส่วนการบนั ทึกขอ้ มูลลงแผน่ ซีดีรอมน้นั ตอ้ งใชแ้ สงเลเซอร์เช่นกนัขอโดงยคมณุ ีลาไแดสงท้ เลนี่ เซ่ี อร์จากหวั บนั ทึกของเคร่ือง บนั ทึกขอ้ มูลส่องไปกระทบพ้นื ผวิ หนา้ ของแผน่ ถา้ ส่องไคปณุ กรสะาทมบาบรรถิเวใณหใข้ดจอ้ ะมทลู าใเหกบ้ย่ี รวิเวกณบั นอ้นั งเคป็ น์ หลุมขนาดเล็กบริเวณทีไม่ถูกบนั ทึกจะมีลกั ษณะเป็ นพ้ืนเรียบสลกบั รกขนั อไปงคเร่ืณอุ ยๆตลอดท้งั แผน่ แผนสาหรบั การจดั งานนี้ หรอื สง่ิ ทผี่ ูเ้ ขา้ รว่ มงานควรนามา12. ฟลอ็ ปปี้ ดสิ ก์ (Floppy Disk) ถา้ คณุ ไมต่ อ้ งการใหข้ อ้ มลู เกยี่ วกบั การจดั งานของคณุ เพม่ิ เตมิเป็ นอุปกรณ์ที่กาเนิดมาก่อนยคุ ของพีซีเสียอีก ใโดหยล้ เรบิ่มขจาอ้ กคทวี่มาีขมนนาด้ี 8 นิ้ว กลายมาเป็ น 5.25 นิ้ว จนมาถึงปัจจุบนั ซ่ึงอยทู่ ่ี 3.5 นิ้ว ในส่วนของความจุเริ่มตน้ ต้งั แตไ่ มก่ ่ีร้อยกิโลไบตม์ าเป็ น 1.44 เมกะไบต์ และ 2.88 เมกะไบต์ ตามลาดบั Floppy Disk Drive
Search
Read the Text Version
- 1 - 12
Pages: