Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ISO 9000

ISO 9000

Published by 045 คัทลียา สุขใจ, 2021-08-24 04:17:58

Description: กลุ่ม 042,045,061,071

Search

Read the Text Version

มาตรฐานระบบ คุณภาพ

ความหมายระบบบริหารคุณภาพ ISO 9000 ระบบบริหารคุณภาพ ISO 9000 คือ มาตรฐานสากลซ่ึงเป็นระบบบริหารประกนั คุณภาพข้นั พ้นื ฐานดา้ นคุณภาพและประกนั คุณภาพโดยมีจุดมุ่งหมายที่จะใหร้ ะบบคุณภาพเท่าเทียมกนั ระหวา่ งองคก์ ารต่างๆ และประเทศต่างๆ

ประวตั ิมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพ ISO 9000 ISO ยอ่ มาจาก International Organization for Standardization หรือ International Standard Organization ซ่ึงเป็น องคก์ ารสากล ท่ีทาํ หนา้ ที่เกี่ยวกบั การกาํ หนด หรือปรับ มาตรฐานนานาชาติของเกือบทุกประเทศ เพ่อื ใหป้ ระเทศต่างๆ ในโลกสามารถใช้ มาตรฐานเดียวกนั เนื่องจากแต่ละประเทศมีมาตรฐานคุณภาพของตนเอง

ปัจจุบนั องคก์ รระหวา่ งประเทศวา่ ดว้ ยมาตรฐาน หรือ ISO มีสาํ นกั งานใหญ่ต้งั อยทู่ ่ีกรุงเจนิวา ประเทศสวสิ เซอร์แลนด์ ประกอบดว้ ยสมาชิกจากประเทศต่างๆ ทว่ั โลกปัจจุบนั 163 ประเทศโดยมี ภารกิจหลกั ๆ ดงั น้ี 1. ใหก้ ารสนบั สนุนพฒั นามาตรฐาน และภารกิจที่ เก่ียวขอ้ งเพื่อตอบสนองต่อการขาย การแลกเปลี่ยนสินคา้ และการบริการของนานาชาติทวั่ โลก 2. พฒั นาความร่วมมือในดา้ นวทิ ยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี เศรษฐศาสตร์ และภมู ิปัญญาของมวลมนุษยชาติ

มาตรฐาน ISO 9000 ในประเทศไทย ประเทศไทยไดจ้ ดั ต้งั หน่วยงานข้ึนมารับผดิ ชอบในเร่ืองมาตรฐานของประเทศ เรียกวา่ สาํ นกั งาน มาตรฐานผลิตภณั ฑอ์ ุตสาหกรรม (Thai lndustrial Standard lnstitute : TlSl ) เป็นหน่วยงานสงั กดั กระทรวง อุตสาหกรรม เสนอร่างพระราชบญั ญตั ิและประกาศใชเ้ ป็นกฎหมาย มีผลบงั คบั ใชต้ ้งั แต่วนั ที่ 1 มกราคม พระราชบญั ญตั ิมาตรฐานผลิตภณั ฑอ์ ุตสาหกรรม พ.ศ. 2551

ประเทศไทยใชค้ วบคุมผลิตภณั ฑอ์ ุตสาหกรรมเรียกวา่ มาตรฐานอุตสาหกรรม : (มอก.) ไดป้ ระกาศใชอ้ นุกรมมาตรฐาน ISO 9000 ในประเทศไทยเมื่อ ปี พทุ ธศกั ราช 2534 โดยประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา เล่มท่ี 108 ตอนที่ 99 วนั ท่ี 4 มิถุนายน ปี พทุ ธศกั ราช 2534 โดยใชช้ ่ือวา่ อนุกรม มาตรฐานระบบคุณภาพ มอก.ISO 9000 ในปี พทุ ธศกั ราช 2534

องคก์ าร ISO ประกอบดว้ ยสมาชิกทว่ั โลกจาํ นวน 163 ประเทศ สมาชิกแบ่งเป็น 3 ประเภท คือ 1. Member Body 2. Correspondent Member 3. Subscribe Membership สมาชิกส่วนใหญ่จะเป็ นประเทศ สมาชิกส่วนใหญ่จะเป็ นประเทศ สมาชิกประเทศน้ีเป็ นกลุ่ม ที่พฒั นาแลว้ มีสถาบนั มาตรฐานแห่ง กาํ ลงั พฒั นาที่ยงั ไม่มีการจดั ต้งั สถาบนั ประเทศท่ีมีเศรษฐกิจค่อนขา้ งเลก็ ชาติท่ีเป็นตวั แทนดา้ นมาตรฐานของ มาตรฐานเป็ นการเฉพาะ ส่วนใหญ่เป็นประเทศดอ้ ยพฒั นา ประเทศตนเอง

ประโยชนข์ อง ISO 9000 ในการนาํ ระบบ ISO 9000 มาใชอ้ งคก์ าร ก่อใหเ้ กิดประโยชนต์ ่อบุคคล 2 กลุ่ม และองคก์ าร คือ ประโยชนต์ ่อพนกั งานใน องคก์ าร ประโยชนต์ ่อผซู้ ้ือหรือต่อบริโภค และประโยชนอ์ งคก์ ารหรือบริษทั ซ่ึงจะไดก้ ล่าวรายละเอียดดงั น้ี 1. ประโยชนต์ ่อพนกั งานต่อองคก์ าร 1. ทาํ ใหพ้ นกั งานมีส่วนร่วมในการดาํ เนินงานระบบบริหารคุณภาพ 2. พนกั งานมีความพอใจในการปฎิบตั ิงาน 3. ลดปัญหาและความยงุ่ ยากในการทาํ งาน 4. พนกั งานมีจิตสาํ นึกในเร่ืองคุณภาพมากข้ึน 5. พนกั งานใหม่เรียนรู้งานไดเ้ ร็ว จากรายละเอียดของงานที่ไดบ้ นั ทึกไวอ้ ยา่ งเป็นระบบ

2. ประโยชนต์ ่อผซู้ ้ือหรือบริโภค 1. ผบู้ ริโภคไดร้ ับทราบถึงระดบั คุณภาพของสินคา้ หรือบริการ 2. ผบู้ ริโภคมน่ั ใจในคุณภาพของผลิตภณั ฑห์ รือการบริการ 3. ผบู้ ริโภคมีทางเลือกในทางซ้ือสินคา้ หรือบริการมากข้ึน 4.ผบู้ ริโภคไดร้ ับการคุม้ ครองในดา้ นคุณภาพ ความปลอดภยั และการใชง้ าน

3. ประโยชนต์ ่อองคก์ ารหรือบริษทั 1. ผลิตภณั ฑข์ องบริษทั มีคุณภาพคงที่และลดการสูญเสียใหน้ อ้ ยลง 2. เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหาร จดั การ ประหยดั ค่าใชจ้ ่าย เวลา มีการควบคุมกระบวนการทาํ งานต้งั แต่ตน้ จนสิ้นสุดกระบวนการ 3. ทาํ ใหผ้ ลิตภณั ฑเ์ ป็นท่ีเช่ือถือไดแ้ ละไดร้ ับการยอมรับจากตลาดต่างประเทศและภายในประเทศ 4. ขจดั ปัญหาขอ้ โตแ้ ยง้ และการกีดกนั ทางการคา้ ระหวา่ งประเทศ

ผลประโยชนจ์ ากการเป็นสมาชิกของ ISO จากที่ไดก้ ล่าวมาแลว้ วา่ สมาชิกขององคก์ าร ISO มี 3 ประเภท ประเทศท่ีเป็นสมาชิกของ ISO ซ่ึงไดร้ ับประโยชนแ์ บ่งออก เป็น 2 ดา้ นใหญ่ ๆ คือ 1. ดา้ นเศรษฐกิจ ประเทศไทยสามารถท่ีจะปกป้ องประโยชนท์ างดา้ นการคา้ ระหวา่ งประเทศเพราะไทยไดม้ ีบทบาทและมีส่วนร่วมในการกาํ หนด มาตรฐานซ่ึงสามารถต่อรองขอ้ กาํ หนดที่เก่ียวกบั มาตรฐาน และใหเ้ อ้ือประโยชนต์ ่อประเทศ และถา้ หากมาตรฐานสากลท่ีไทยมีส่วน ร่วมในการกาํ หนดข้ึนน้นั แต่ละประเทศมีความสอดคลอ้ งกนั กจ็ ะทาํ ใหก้ ารคา้ ระหวา่ งประเทศดาํ เนินไปดว้ ยดี และราบรื่น 2. ดา้ นวชิ าการ ประเทศไทยไดร้ ับความรู้ ความกา้ วหนา้ ทางวชิ าการ ตลอดท้งั ไดร้ ับการถ่ายทอดดา้ นเทคโนโลยใี หม่ ๆ ไดร้ ับความช่วยเหลือทาง ดา้ นวชิ าการและการเงิน ซ่ึงนบั วา่ เป็นประโยชนต์ ่อการพฒั นางานดา้ นมาตรฐานของประเทศ

โครงสร้างของอนุกรมมาตรฐาน ISO 9000:2000 มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ ISO 9000 ฉบบั ปี 2000 ไดป้ ระกาศใชเ้ ม่ือวนั ที่ 15 ธนั วาคม พ.ศ. 2543 เพื่อให้ เหมาะสม สอดคลอ้ งกบั กระบวนการบริหารงานขององคก์ าร ซ่ึงมุ่งเนน้ การสร้างความพงึ พอใจใหแ้ ก่ลกู คา้ และใหม้ ีการปรับปรุง สมรรถนะขององคก์ ารอยา่ งต่อเน่ือง และสามารถนาํ ไปปรับใชร้ ่วมกบั การบริหารงานอื่นได้ มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ ISO 9000:2000 ประกอบดว้ ยมาตรฐานหลกั 3 ฉบบั ไดแ้ ก่ 1. ISO 9000: ระบบการบริหารงานคุณภาพ-หลกั การพ้นื ฐานและคาํ ศพั ท์ 2. ISO 9001: ระบบการบริหารงานคุณภาพ-ขอ้ กาํ หนด 3. ISO 9004: ระบบการบริหารงานคุณภาพ-แนวทางการปรับปรุงสมรรถนะขององคก์ าร

หลกั การบริหารคุณภาพ ISO 9000 มี 8 หลกั การดงั น้ี

หลกั การท่ี 2 หลักการท่ี 4 ความเปน ผนู ํา การบริหารเชงิ (Leadership) กระบวนการ หลกั การท่ี 1 (Process องคก ารท่ใี หความ Approach) สําคญั แกลกู คา หลกั การที่ 3 (Customer การมีสว นรว ม Focused ของบุคลากร (lnvolvement Organization) of people)

หลักการท่ี 5 การ หลกั การที่ 7 การ บริหารการเปน ตดั สินใจจากขอมลู ระบบ (System ที่เปนจรงิ (Factual Approach to Manaement) Approach to Decision Making) หลักการท่ี 6 การ ปรับปรงุ อยางตอ หลักการที่ 8 ความ เนือ่ ง (Continual สัมพันธก บั ผขู ายเพือ่ lmprovement) ประโยชนโดยรว ม (Mutually Beneficial Supplier Relationship)

ประโยชนข องการจดั ทาํ ระบบ การนําระบบการบรหิ ารงานคณุ ภาพตามมาตรฐาน ISO 9000 ไปใชอยา ง แพรหลายจะเปน ประโยชนแ กท กุ ฝา ยท่เี กีย่ วของดังนี้ 1 องคก าร/บรษิ ัท 1. การจดั องคการบริหารงานการผลิตตลอดจนการให บริการมีระบบและมปี ระสิทธภิ าพ 2. ผลติ ภัณฑและบริการเปน ทพี่ ึงพอใจของลกู คาหรือผรู ับ บรกิ ารและไดรับการยอมรับ 3. กอ ใหเกิดภาพลักษณท ี่ดีแกอ งคก าร 4. ประหยัดตนทนุ ในการดาํ เนนิ งานในระยะยาว 5. ขจดั ขอ โตแยง และการกีดกนั การคาระหวา งประเทศ

2 พนักงานภายในองคก ารหรอื 1. มีการทํางานเปน ระบบและมขี อบเขตทช่ี ัดเจน บริษัท 2. เพิม่ ประสทิ ธิภาพในการทํางาน พนกั งานมี จติ สาํ นกึ ในเรื่องของคุณภาพมากขน้ึ 3. มสี ว นรวมในการดําเนินงานระบบคณุ ภาพทําให เขาใจและไมตอตา นกิจกรรมที่ทาํ ใหเกิดคุณภาพ 4. พฒั นาการทํางานเปนทมี หรอื เปนกลุม มกี าร ประสานงานที่ดี และสามารถพฒั นาตนเองตลอดจน เกิดทศั นคตทิ ่ดี ีตอการทาํ งาน

3 ผซู ้อื /ผบู รโิ ภค 1. มน่ั ใจในผลติ ภัณฑแ ละบรกิ ารวา มคี ณุ ภาพตามที่ ตองการ 2. สะดวก ประหยดั เวลาและคา ใชจ า ย โดยไมตอง ตรวจสอบคุณภาพซ้าํ 3. ไดรบั การคมุ ครองดานคณุ ภาพความปลอดภยั และ การใชงาน โดยหนว ยงานรบั รองมาชวยตรวจสอบ ประเมนิ และติดตามผลของโรงงานอยา งสมํ่าเสมอ

สาํ หรับประเทศไทยเราไดจัดต้งั หนวยงานข้ึนมารบั ผิดชอบในเรื่อง มาตรฐานของประเทศ เรียกวา สาํ นกั งานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม (สมอ.) ลกั ษณะสาํ คัญของมาตรการระบบบริหารงานคณุ ภาพ ISO 9000 คือ เปนการบรหิ ารคณุ ภาพ เพอ่ื ทําใหผ ูบริโภคหรอื ลูกคา มีความพึงพอใจตอ ผลิตภณั ฑส ินคาและบรกิ าร มงุ เนน การบรหิ ารคณุ ภาพทุกขั้นตอน ซงึ่ ลักษณะดัง กลา วน้ีทําให ISO 9000 มีประโยชนหลายดานดวยกัน และมีประโยชนตอ องคการหรอื บรษิ ทั คือ ผลิตภัณฑม คี ุณภาพคงท่ี เพ่ิมประสทิ ธิภาพในการบริหาร จดั การ ประหยัดคาใชจ าย ผลิตภณั ฑเปนทเี่ ชือ่ ถอื ได และไดรับการยอมรบั จาก ตลาดตางประเทศและภายในประเทศ

ขอขอบคุณขอมลู จากเวบ็ ไซต - https://sites.google.com/site/puangsawai2 222/hnwy-thi-7-rabb-brihar-khu-npha-ph -iso-9000

คณะผูจัดทํา โสภณัฐ แยม จํานันต 071 เกศราภรณ บุญแจง 042 คทั ลียา สขุ ใจ 045 วนั ชัย วงษศริ ิ 061


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook