143 เร่ืองที่ 1 การปองกันอันตรายจากการประกอบอาชีพ สขุ ภาพกบั การประกอบอาชีพมีความสัมพันธกนั อยา งมาก คอื 1. การประกอบอาชีพทําใหเรามีความเปนอยูที่ดีและในขณะเดียวกันการที่เราจะ สามารถประกอบอาชีพไดจ ําเปน ตองมีสขุ ภาพทดี่ ีทง้ั รางกายและจติ ใจ ทง้ั สองสิ่งนี้ตองควบคกู นั ไปจึง จะทํางานไดอยา งมีประสิทธภิ าพ 2. ความสัมพันธในทางลบ คอื การประกอบอาชพี สง ผลเสยี ตอ สขุ ภาพ ทําใหเ กดิ โรค และอนั ตรายได ดงั นัน้ จึงจาํ เปนทตี่ องควบคมุ และปอ งกนั โรค รวมทัง้ อันตรายจากการประกอบอาชีพ นอกจากนคี้ วรใหก ารศึกษาแกประชาชนใหประกอบอาชีพไดอยา งปลอดภัย ปจจยั ทเ่ี ปน สาเหตขุ องการเกิดโรคและอันตรายจากการประกอบอาชีพ ปจจยั ท่ีสาํ คญั ไดแ ก 1. บุคคลผูป ฏบิ ตั งิ านและควบคมุ การทาํ งาน เปนผูควบคุม กําหนด และปฏิบัติการทาํ ส่ิงตา ง ๆ องคป ระกอบตาง ๆ ของบคุ คลท่สี ง ผลใหเกดิ โรคหรอื อนั ตรายจากการทาํ งาน ไดแ ก 1.1 สภาวะทางรางกายและจิตใจ รางกายและจิตใจออนแอทําใหเกิดโรคหรือ อันตรายได 1.2 ลักษณะนิสัยการทํางาน ตองรักการทํางาน ละเอียด รอบคอบ จึงจะไมเกิด โรคหรืออนั ตราย 1.3 การขาดความรูความสามารถในการทาํ งานและประสบการณก็เปนอีกปจจัย หน่งึ ทีท่ ําใหเ กดิ โรค 2. สภาพแวดลอมทางกายภาพ ไดแก สถานทท่ี ํางาน แสง เสียง ฯลฯ 3. สารเคมี เปน ส่ิงทมี่ ีประโยชนแ ละโทษในการประกอบอาชพี 4. เชอื้ โรคและพษิ ของเชอ้ื โรค เมือ่ เขาสรู างกายอาจเกดิ อนั ตรายได 5. เคร่ืองจักร เคร่อื งมอื และในการทาํ งาน หากใชอยา งไมถ ูกตอ ง อาจเกดิ อนั ตรายได
144 สภาพการณที่ไมปลอดภัย (Unsafe Conditions) เครอ่ื งจกั ร : ไมม อี ุปกรณปองกนั สวนทีเ่ คลือ่ นไหว หรือมไี มเพียงพอ เครอ่ื งมอื : อุปกรณช ํารุด เปนอันตราย สิ่งของ : วสั ดุ วางไมเปนระเบยี บ อาคาร : สง่ิ ปลูกสรางไมมัน่ คง สารเคมี : วัตถุมพี ษิ ไมมีทเ่ี กบ็ โดยเฉพาะ สภาพ ความรอน ความเยน็ แสงสวาง เสียงดัง ฝุนละออง ไอระเหย ฯลฯ การกระทําท่ีไมปลอดภยั (Unsafe Acts) เดนิ เครอ่ื งจกั รหรือทาํ งานที่ไมใ ชหนา ทีข่ องตน หรือไมร ูงาน เดนิ เครอื่ งเรว็ เกินควร ถอดอปุ กรณป องกนั อันตรายออก ใชเ ครอื่ งมอื ไมถูกวิธี ไมเ หมาะสม หรอื ไมปลอดภยั ทา ปฏิบตั ิงานไมเหมาะสม ไมใชอ ุปกรณปองกันสวนบุคคล ประมาท มกั งา ย หรือหยอกลอ กนั ในขณะทํางาน จงใจฝาฝน กฎระเบยี บ อืน่ ๆ 1.1 ความปลอดภยั ท่วั ไปในบริเวณโรงงาน ขอพึงปฏบิ ตั ิเพอ่ื ความปลอดภยั ในโรงงาน 1. หามสูบบุหร่ีในบรเิ วณโรงงาน ยกเวนบรเิ วณท่อี นุญาตใหส ูบได 2. หามท้ิงกนบหุ รีล่ งบนพนื้ ตอ งทงิ้ ลงในภาชนะทจ่ี ดั ไวใ หเทาน้ัน 3. หา มนาํ ไมขดี ไฟ หรือไฟแชค็ ชนดิ จงั หวะเดียวเขา ไปในบริเวณท่ีหามสูบบหุ ร่ี 4. หา มหุงตมอาหารในบรเิ วณท่ีหามสูบบุหรี่ 5. หา มนําอาหารหรือเครื่องดืม่ เขา ไปในบริเวณทผ่ี ลิตสารเคมอี ันตรายและคลงั พสั ดุ 6. หามเก็บเสอื้ ผา รองเทา หมวก ถงุ มือ และของใชสว นตัวอื่น ๆ ไวในท่ีตามใจชอบ ใหจ ดั เก็บไวใ นตูทจ่ี ดั ไวใ หเทา น้ัน 7. หามบว นน้ําลายลงบนพื้นโรงงาน หรอื ในบรเิ วณท่ที ํางาน 8. ใหท ้งิ ขยะมลู ฝอยในถังท่จี ดั ไวไหเทานั้น 9. ควรรกั ษาความสะอาดของเคร่ืองใชประจําตัวอยา งสมาํ่ เสมอ
145 10. ตองสวมเสือ้ ผา รองเทา ใหเรยี บรอ ยตลอดเวลาทท่ี ํางานในโรงงาน และสวม หมวกพรอ มทง้ั อุปกรณป อ งกนั อันตรายอน่ื ๆ ท่จี าํ เปน เมื่อทํางานในโรงงาน 11.หากมอี ุบัตเิ หตเุ กิดขึ้น ใหรายงานตอผูบงั คับบัญชาทนั ที 12.หากรูส ึกเจบ็ ปว ยในเวลาทํางานใหร ีบรายงานตอผูบังคบั บัญชาเพอ่ื จะไดทําการ รักษาพยาบาลทันที 13.ใหเดินตามทางทจ่ี ัดไวใ นโรงงาน อยา ว่งิ เมือ่ ไมม ีเหตุจาํ เปน 14.จดั เกบ็ และเรียงสิ่งของใหเ ปน ระเบียบ เพ่ือใหมีทางเดินหรอื ทาํ งานไดสะดวกและ ปลอดภัย 15. หา มเลน เยา แหย หรอื หยอกลอกันในบริเวณท่ที าํ งาน 16. หา มฝกขับขี่ยานพาหนะในบริเวณโรงงาน 17. ตอ งเรียนรูถงึ วธิ ีการดบั เพลิงและการใชอ ปุ กรณด บั เพลงิ ประเภทตา ง ๆ การใชแ ละเกบ็ รกั ษาเครือ่ งมอื อปุ กรณการทาํ งาน 1. ใหเก็บเครอ่ื งมอื และอุปกรณตาง ๆ ใหเ ปน ระเบียบเรียบรอยและเก็บรักษาใหอยู ในสภาพท่ีดี เมอ่ื จะใชห รอื เตรยี มจะใช ตอ งวางไวใ นทีท่ ี่ไมเปนอันตรายแกบุคคลอ่ืน 2. ในขณะปฏิบัตงิ านบนที่สูงหามวางเคร่ืองมือหรืออุปกรณอื่นใดบนนั่งรานแทน บนั ได หรือทสี่ งู เวนแตจะไดม ีทเ่ี กบ็ ไวไ มใหต ก 3. เคร่ืองมือไฟฟาชนิดมือถือหรือชนิดเคลื่อนยายได และไมมีฉนวนหุมสองช้ัน จะตอ งมสี ายไฟฟา ชนิดสามสายและปลกั๊ ทีต่ อไปยังสายดนิ 4. ผูปฏิบตั งิ านทกุ คนเม่อื พบเห็นเครอ่ื งมือเคร่ืองใช หรืออุปกรณซ่ึงถาปลอยท้ิงไว อาจกอ ใหเ กดิ อันตราย หรือพบเหน็ เครื่องมืออปุ กรณที่ใชปองกันอันตรายน้ันไมไดมาตรฐาน ใหแจง ผูบังคบั บัญชาทราบโดยทันที 5. ในการปฏบิ ัตงิ านแตละครงั้ หา มผปู ฏบิ ตั ิงานใชเ ครอ่ื งมอื ทชี่ ํารุดบกพรอง การใชอ ปุ กรณย กยายสิ่งของ 1. อุปกรณยกของจะตอ งไมบ รรทุกน้ําหนักเกินกวามาตรฐานการใชงานท่ีกําหนด ไว 2. ผูป ฏิบตั งิ านทีท่ าํ งานเก่ยี วกบั อปุ กรณยกของจะตองสวมเครื่องปอ งกันอันตรายท่ี เหมาะสมกบั งาน เชน หมวกนิรภัย รองเทานิรภัยและถงุ มือนริ ภยั ฯลฯ 3. การทํางานเกีย่ วกบั อปุ กรณยกของจําเปน ท่ีจะตองมกี ารประสานงานกับเจาหนา ท่ี คนอน่ื ทท่ี าํ งานอยูใ นบริเวณเดียวกนั 4. ผูใชปนจ่ัน กวาน และเครน จะตองเปนผูท่ีมีหนาที่และไดรับอนุญาตจาก ผูบงั คบั บัญชาแลวเทา นนั้
146 5. กอ นทําการใชปนจน่ั กวาน และเครนในแตล ะวัน ผใู ชจ ะตอ งตรวจสอบใหแ นใจ วาปนจัน่ กวาน และเครนอยูในสภาพทเ่ี หมาะสมกับการใชงานและสามารถใชงานไดอยางปลอดภัย เชน ตรวจหารอยราย รอยแตก การหลุดหลวมของนอตระบบไฮดรอลิกส ระบบควบคุมการทํางาน สมอ เกีย่ ว โซ และเชอื ก เปนตน 6. ผูใชป น จน่ั จะตองไมยกของหนกั ขามศีรษะบคุ คลอ่นื นอกจากหัวหนางานจะส่ัง และผูปฏิบัติงานที่ทํางานอยูใกล ๆ หรืออยูใตอุปกรณยกของนั้น จะตองระมัดระวังส่ิงของตกลงมา ตลอดเวลา 7. ในขณะที่ปนจนั่ หรือเคร่อื งยกอ่นื ๆ กาํ ลงั ยกของคา งอยู ผใู ชจ ะตอ งเอาใจใสและ ควบคมุ อยางดี 8. ในการปฏิบัติงาน ผูใชปน จนั่ หรือเครือ่ งยกอ่ืน ๆ ตอ งดูสัญญาณจากพนักงานผูมี ความรูค วามชาํ นาญ และมหี นา ที่ในเรอ่ื งน้ีแตเ พยี งผูเดยี วเทานั้น 9. เม่ือใชปนจั่น กวาน และเครนในบริเวณที่มีสายไฟหรืออุปกรณไฟฟาที่มี กระแสไฟฟาไหลผานอยู ผใู ชจะตอ งไมนาํ สวนหนึ่งสว นใดของปนจัน่ กวาน และเครนซ่ึงไมมีเคร่ือง ปอ งกันเขาใกลส ายไฟหรอื อปุ กรณไฟฟา นอ ยกวา ระยะทีก่ ฎหมายกาํ หนดไว 10. สลิงที่ใชกับเคร่ืองยกตาง ๆ จะตองเปนชนิดที่ทําดวยลวด โซเหล็ก หรือเชือก มะนลิ า 11. สลิงทุกเสนจะตองมีความแข็งแรงพอที่จะรับนํ้าหนักไดไมนอยกวา 8 เทาของ สง่ิ ของทจี่ ะยก 12. กอ นทจ่ี ะใชส ลงิ จะตอ งตรวจดูใหละเอียดถีถ่ ว นวาจะใชไดอ ยางปลอดภยั หรือไม หา มใชสลงิ ทหี่ งกิ งอหรือมเี สนเกลียวขาดจนทาํ ใหค วามแขง็ แรงนอ ยกวาทก่ี าํ หนดไวใ นขอ 11 13. เมื่อจะใชสลิงยกของที่มีขอบแข็งคม จะตองใชไมหรือสิ่งรองรับอื่น ๆ ที่ เหมาะสมรองกันไวไ มใ หส ลงิ ชาํ รดุ เสยี หาย การใชเ ครื่องกลงึ 1. หามวางเคร่อื งมอื หรือวัตถตุ า ง ๆ ไวบ นแทน เลื่อนของเครอื่ งกลึง เวนแตเคร่ืองมือ ทจี่ ําเปน ตอ งใชในงานท่กี าํ ลังทาํ อยเู ทานน้ั 2. จะตอ งจัดหาลงั ถงั หรือภาชนะอน่ื ๆ ท่ีเหมาะสมไวส ําหรับใสเศษวตั ถุ 3. ผูปฏิบัติงานทุกคนท่ีปฏิบัติงานกับเครื่องจักรกลจะตองสวมแวนตานิรภัยเพื่อ ปอ งกันอนั ตรายซงึ อาจเกดิ ขนึ้ กับดวงตา และตองใชแ ผนปดหนาอกท่ีทําดวยผาท่ีมีสวนประกอบของ ใยสังเคราะหนอ ยท่ีสดุ เพื่อปองกนั เศษโลหะท่ีรอ น ซ่งึ อาจจะกระเด็นถูกผิวหนงั หรือเส้อื ผา ทสี่ วมใส 4. หา มวัดขนาดชน้ิ งานขณะท่ีเครอ่ื งกลงึ กําลงั หมุน 5. หา มใชมอื ไปจบั เพ่ือดึงเศษโลหะออกจากชิ้นงาน โดยเฉพาะขณะทกี่ าํ ลงั กลึงอยู
147 การใชเคร่ืองขัดหรือหินเจียร 1. จะตองติดตงั้ เคร่อื งขัดหรอื หินเจียรใหยึดแนนกับพื้นโตะหรือฐานอื่น ๆ ท่ีมั่นคง แข็งแรง 2. จะตองมีฝาครอบเคร่ืองขัดเพื่อปองกันไมใหผูปฏิบัติงานไดรับอันตรายจากเศษ โลหะท่กี ระเด็นออกมา 3. จะตองไมตั้งอัตรารอบหมุนของจานขัดเกินอัตรารอบหมุนเร็วท่ีบริษัทผูผลิต กําหนดไว 4. จะตองปรบั แผนรองขัด (Work Rest) ใหพอเหมาะโดยใหหางจากจานขัดไมเกิน 1/8 นว้ิ 5. จานขัดท่ีสึกมากจนใชการไดไ มด ี จะตอ งเปล่ียนใหมท ันที 6. จานขัดทชี่ าํ รุดจะตอ งท้งิ ไป อยานาํ กลบั มาใชอีก 7. ผูปฏบิ ัติงานทีป่ ฏิบตั ิงานกับเคร่ืองขัดจะตองสวมแวนนิรภัยเพื่อปองกันอันตราย อนั อาจจะเกดิ ขึน้ กบั ดวงตา และสวมเครือ่ งกรองอากาศหายใจปองกันอันตรายจากฝุนที่อาจจะเกิดกับ ระบบหายใจ และสวมถงุ มือปองกันเศษโลหะ การใชเ ครอ่ื งตดั 1. ในการทํางานกับเคร่ืองตัด ผูปฏิบัติงานจะตองสวมเคร่ืองปองกันอันตรายสวน บคุ คล เชน เคร่ืองปองกนั ดวงตา ถงุ มือ รองเทา ผาหรอื หนังกนั เศษโลหะ 2. เครอื่ งตดั จะตองมีเคร่อื งปองกันอันตรายประจําเครื่อง เชน แผนใสนิรภัยปองกัน เศษชนิ้ งานกระเด็นเขาตา หรอื มฝี าครอบวงลอ 3. ในหองปฏิบัติงานจะตองมีระบบระบายอากาศท่ีเพียงพอ เพ่ือกําจัดฝุนโลหะท่ี เกิดขึ้น ถา ไมม รี ะบบระบายอากาศ จะตองใหผูปฏิบัติงานสวมอุปกรณปองกันฝุนตลอดระยะเวลาท่ี ปฏบิ ัติงานกับเคร่อื งตัดดงั กลา ว การใชเ ครือ่ งปม โลหะ 1. ควรใชเ ครอื่ งปม ท่ีอยูในสภาพท่ีปลอดภัยตอการใชงาน หรือมีการติดตั้งอุปกรณ ปองกนั อนั ตรายแลวเทา นัน้ 2. ถา ตอ งปม งานชิน้ เล็กหรืองานท่ีคอนขางยุง ยาก ควรใชเครอ่ื งมือชวยจบั ช้นิ งาน 3. เมื่อตองการตดิ ต้งั เคลือ่ นยาย และปรบั แตงแมพ มิ พ ควรใชบลอ็ กนริ ภยั ทกุ คร้ัง 4. การติดตั้ง เคล่ือนยาย หรือปรับแตงแมพิมพ ตองกระทําโดยบุคคลท่ีไดรับการ ฝกอบรมแลวเทา นัน้
148 การใชเ ครอ่ื งจกั รทวั่ ไป 1. ขจัดสวนที่เปนอันตรายทุกสวนของเครื่องจักรใหหมดไป (อาจใชหุนยนตชวย ทาํ งานในจดุ ที่มีอนั ตราย เปน ตน ) หรอื ทําการปองกันสว นที่มีอนั ตรายน้ัน เชน ตดิ ต้งั ท่ปี อ งกัน หรือฝา ครอบ หรอื ใชเคร่ืองจักรอตั โนมตั ิ 2. ทาํ งานตามระเบียบวธิ ปี ฏบิ ัติงานอยางเครง ครัด 3. สวมใสเสอ้ื ผา ท่รี ดั กมุ อยาสวมเสอื้ ปลอ ยชาย 4. สวมใสเคร่ืองปองกันและใชเคร่ืองมือที่ถูกตองและเหมาะสมกับงานท่ีทํา และ ตอ งระวังในการใชถ งุ มือ เพราะถุงมือบางอยา งอาจจะไมเหมาะกับงานบางอยา ง 5. ในการตรวจสอบ ซอมแซม และทําความสะอาดเครื่องจักรน้ัน จะตองหยุด เคร่อื งจักรใหเ รียบรอ ยและมเี ครื่องหมายช้ีบอกหรอื ตดิ ปายแขวนวา “หา มเดินเครอ่ื ง” 6. ใหตรวจตราเครื่องจักรกอนเดินเครื่องและตรวจสอบเปนระยะ ๆ และระวัง อนั ตรายขณะตรวจตราเครอ่ื งจักรและกอนเริ่มเดนิ เครื่อง 7. เมื่อจะตองทํางานรวมกัน จะตองแนใ จวา ทุกคนเขาใจในสัญญาณเพื่อการสื่อสาร ตา ง ๆ อยา งชัดเจนและถูกตองตรงกนั 8. อยาเขาไปในสวนท่ีเปนอันตรายของเครื่องจักร หรือสวนที่ทํางานเคลื่อนไหว ตลอดเวลาถา จําเปนตองเขา ไปในบรเิ วณน้ัน ตอ งแนใจวาเครอ่ื งจกั รไดหยุดเดินเคร่ืองแลว การใชเ คร่ืองมอื 1. เลือกใชเ คร่อื งมอื ทเี่ หมาะสมกบั งานทที่ ํา 2. รักษาเคร่อื งมือใหอยูในสภาพที่ดีอยูเสมอ โดยตรวจสอบสภาพกอนการใชงานทุก ครงั้ 3. ซอมแซมหรอื หาเครือ่ งมอื ใหมท ดแทนเครอื่ งมอื ท่ชี ํารดุ หรือแตกหักโดยทันที 4. ลา งนา้ํ มนั จากเครอื่ งมอื หรือชิ้นงาน เพือ่ ปองกนั อุบัติเหตจุ าการลื่นไถล 5. ตรวจสอบและปฏบิ ัตติ ามขอ แนะนําการใชเ ครื่องมือ 6. จับหรือถอื เครอื่ งมือใหก ระชบั การจบั แบบหลวม ๆ อาจกอใหเ กิดอุบตั ิเหตไุ ด 7. อยา เรม่ิ งานโดยไมต รวจสอบสภาพตา ง ๆ โดยรอบหรือบรเิ วณพน้ื ทีท่ ่ีทาํ งานกอน การใชส ายพานลาํ เลยี ง 1. สายพานลาํ เลียงตอ งมีสวติ ซห ยุดฉกุ เฉิน และตองตรวจสอบใหรูจุดที่ติดตั้งสวิตซ ฉุกเฉนิ กอนที่จะเริม่ ใชส ายพานลาํ เลียง 2. มีอปุ กรณค รอบหรือบังสวนทีห่ มุนไดของสายพาน เชน ลกู กล้งิ มเู ล ฯลฯ 3. ถาของทีล่ าํ เลียงมีโอกาสตกลงมาได ตอ งมีสวนปดหรือครอบปองกัน
149 4. อยา กาวหรือกระโดดขา มสายพานลาํ เลียงขณะทํางาน 5. เมอื่ จําเปน ตองซอ มหรือตรวจตราสายพานลาํ เลยี งเพราะมีการทํางานผิดพลาดตอง ปดสวิตซทาํ งานกอนท่จี ะซอมหรอื ตรวจตราสายพานลําเลียงนน้ั การเชื่อมโลหะ 1. ขณะทําการเช่ือมดวยไฟฟาภายในอาคาร จะตองใชฉากกั้นกําบังเพื่อเปนเครื่อง ปอ งกนั อันตรายแกผ ูปฏิบัติงานคนอ่นื หรอื ผูท ีอ่ ยใู กลเ คียง 2. ขณะทาํ การเชื่อมหรือการตัดดวยกาซหรือไฟฟา ผูเชื่อมหรือตัดจะตองใชเครื่อง กําลงั หนา ท่เี หมาะสม มีเลนสป อ งกนั นัยนต าตามประเภทของการเชอ่ื มหรอื การตดั นน้ั และตอ งสวมถุง มอื หนังดว ย 3. จะตองมีเครื่องดับเพลิงประจําพ้ืนท่ี และพรอมท่ีจะใชไดเสมอในกรณีเกิดเพลิง ไหม 4. เมือ่ จะใชเครอื่ งเช่ือมไฟฟา ผูทําการเชอื่ มจะตองมั่นใจวาตนไมไดสัมผัสกับพ้ืนที่ เปย กชืน้ 5. หา มสวมถุงมอื ท่เี ปยกน้ํามันหรือจาระบหี ยิบจับเครือ่ งเช่อื ม 6. ถงั ออกซเิ จนและอะเซทิลีนจะตอ งมกี ารยึดใหแ นน เพอื่ ปองกนั การลม และจะตอง ไมว างทออะเซทลิ ีนนอนราบกบั พื้นเปนอันขาด 7. ใหใชไกบังคับแรงเคลื่อน (Pressure Regulator) บังคับใหออกซิเจนและ อะเซทลิ ีนไหลไปยังไฟเช่ือมอยางสมํา่ เสมอ 8. ในขณะทําการเปดลิ้นถังออกซิเจน หามผูปฏิบัติงานคนหน่ึงคนใดยืนอยูหนา เคร่ืองบงั คับออกซเิ จน 9. หา มทําการเชือ่ ม ตดั หรอื บดั กรใี กลตวั ถงั หรอื ท่ีตัวถงั หรือภาชนะอื่น ที่เคยใสว ตั ถุ ตดิ ไฟหรือวตั ถุที่เกดิ ระเบิดได จนกวาจะไดทําการระบายอากาศ หรือลางถังหรือภาชนะเหลานั้นให สะอาดแลว 10. เม่อื ทาํ การเช่ือมหรือเผาหรือใหความรอนกับตะกั่ว แคดเมียม วัตถุอาบสังกะสี หรือวัตถุอ่ืนใด รวมท้ังสารท่ีใชชวยในการเชื่อม จนทําใหเกิดควันขึ้น จะตองจัดใหมีระบบระบาย อากาศที่ดีพอ เพือ่ ปอ งกนั มิใหผ ปู ฏบิ ตั ิงานสูดควันพิษท่ีเปนอันตรายเขาไป ถาหากไมสามารถทําการ ระบายอากาศได จะตองสวมหนากากหรือเครื่องชวยหายใจที่ไดรับการรับรองแลวตลอดเวลาที่ ปฏิบตั งิ าน 11. เมื่อทําการเช่ือมในสถานท่ีอับอากาศจะตองมีการระบายอากาศออกอยางมี ประสิทธิภาพ
150 คนละแหง 12. การเกบ็ รักษาถังออกซิเจนและถังอะเซทิลีนเปนจํานวนมาก จะตองแยกเก็บไว การเชื่อม 13. การเชอ่ื มดว ยไฟฟาหรอื กา ซใกลกับแบตเตอรี่ ตองยกแบตเตอรใี่ หพน จากบรเิ วณ การพน สี 1. ดวงโคม พัดลมดูดอากาศและสายไฟในหองพนสี จะตองใชชนิดที่มีความ ทนทานตอไอระเหยของสีไดด ี 2. สวติ ซดวงโคม เตาเสยี บ หรอื อุปกรณอ ่นื ๆ ท่อี าจกอใหเ กดิ ประกายไฟ จะตองไม ติดต้งั ไวภายในหองพนสี 3. หามสบู บหุ ร่ี จดุ ไฟหรือทาํ ใหเกิดประกายไฟภายในหองพน สี 4. ในขณะทําการพน สีในหองพนสี ผูปฏิบัติงานทุกคนจะตองสวมหนากาก หมวก เส้อื แขนยาวไมพ บั แขน ถุงมอื กางเกงขายาว และรองเทาหุม สน 5. ขณะท่ีกําลังทําการพนสี ทุกคนที่อยูในหองพนสีจะตองสวมหนากากแบบที่มี เครื่องกรอง หรอื ใชผา ปดปากและจมูก การทํางานเกีย่ วกบั แบตเตอรี่ 1. หามสูบบุหร่ี จุดไฟ หรือทําใหเกิดประกายไฟภายในหองอัดแบตเตอรี่ หรือใน หอ งเกบ็ แบตเตอร่ี เพือ่ ปอ งกันการระเบดิ ของกา ซไฮโดรเจน 2. เมือ่ จะปฏิบตั กิ ารใด ๆ เกี่ยวกบั นํา้ กรด ผูปฏบิ ัติงานจะตองสวมถุงมือยาง แวนตา นริ ภัย และผา กนั เปอ นทําดวยยาง 3. ในกรณที นี่ ้ํากรดหกหรอื กระเดน็ ถกู สวนหน่งึ สวนใดของรางกายใหใชน้ําสะอาด ลางออกทันที แลวรีบไปพบแพทย 4. กอ นทําการตอ หรือปลดสายข้ัวแบตเตอร่ี ตองแนใ จวาไดต ดั วงจรไฟฟา แลว 5. ในการยกหรือเคลอื่ นยา ยแบตเตอรี่หรอื กลอ งบรรจุแบตเตอร่หี า มเอยี งหรือตะแคง แบตเตอร่ี เพอ่ื ปองกันการหกหรอื กระเดน็ ของนํา้ กรด 6. ขว้ั ของแบตเตอรีข่ นาดใหญค วรปด กน้ั ดวยฉนวน เพ่อื ปองกนั การลดั วงจร 7. ในการเคล่อื นยา ยแบตเตอรตี่ อ งระมัดระวังไมใหแบตเตอร่ีกระทบซ่ึงกันและกัน หรือกระแทกกับสงิ่ อน่ื ที่อาจจะทาํ ใหแตกหรอื ราวได และหามวางแบตเตอรีซ่ อนกันโดยเด็ดขาด
151 การใชเคร่อื งปอ งกนั นยั นตาและหู 1. เมอื่ ปฏิบัตงิ านในสถานที่ทีอ่ าจเกิดอันตรายกบั นยั นตา จะตองสวมเครื่องปองกัน นยั นตาชนิดทไ่ี ดม าตรฐาน 2. ผปู ฏบิ ัติงานทท่ี าํ งานเกย่ี วกับการติดตั้งหรือซอมบํารุง และลักษณะงานเปนงานที่ กอใหเกดิ ประกายไฟฟา เศษวัตถุกระจาย จะตอ งสวมแวน นิรภัยปอ งกันนยั นตา 3. การปฏิบัติงานในที่ท่ีมีเสียงดังมาก ๆ จนเปนอันตรายตอระบบการไดยินของ ผูป ฏิบตั ิงาน จะตอ งกําหนดใหผ ปู ฏิบัติงานทุกคนใชเคร่ืองปองกันอันตรายตอหูชนิดเสียบหรือชนิด ครอบดวย 1.2 ความปลอดภยั ในการทํางานเกีย่ วกับไฟฟา กฎขอบังคับทัว่ ไป 1. พนกั งานที่ทาํ งานเกี่ยวกบั การซอ ม ตอเติม ติดตัง้ อปุ กรณไ ฟฟาตองสวมเส้ือผาที่ แหงและสวมรองเทาพื้นยาง พรอมท้ังตัดกระแสไฟฟาท่ีมายังจุดท่ีทํางานตลอดระยะเวลาท่ีทํางาน เกี่ยวกบั ไฟฟา 2. เครื่องมอื ทใี่ ชก ับงานไฟฟา ชนิดใชมือจบั ตอ งมฉี นวนซง่ึ อยใู นสภาพดหี มุ ทด่ี า มจับ 3. ในกรณีทีม่ กี ารปฏิบัตงิ าน ตรวจสอบ ซอ มแซม หรอื ติดต้งั ไฟฟา ที่เก่ียวกับการผลิต ตอ งตัดสวิตซต ัวทเ่ี ก่ียวขอ ง พรอมลอ็ กกญุ แจปองกันการสบั สวิตซ อุปกรณแ ละเคร่ืองจกั รไฟฟา 1. มอเตอรทใ่ี ชใ นบริเวณทม่ี ีวัตถไุ วไฟตองเปนชนิดกันระเบดิ 2. หลอดไฟฟา หรอื โคมไฟ ซ่ึงใชใ นบริเวณทมี่ ีวัตถุไวไฟ ตอ งเปนชนิดทม่ี ีฝาครอบ มิดชิด และมตี ะแกรงโลหะหมุ รอบนอกอกี ชนั้ หนึง่ 3. สวติ ซไ ฟฟา ในบริเวณท่ีมีวัตถุไวไฟตองเปนชนิดที่มีกลองโลหะหุมมิดชิด และ เตาเสียบที่ใชตอ งเปนชนดิ ที่มีฝาปด 4. การติดตง้ั สวติ ซทกุ ตัวตอ งเลือกชนิดท่ีมีอัตราทนกระแสสูงพอที่จะใชกับกระแส สูงสุดในวงจรที่ใชน ้ันได 5. การติดตงั้ แผงสวิตซตองมีตูปดมิดชิด และตองต้ังหางจากเครื่องจักรพอสมควร สว นทีเ่ ปน โลหะของแผงสวติ ซตอ งตอ ลงดนิ 6. เมอ่ื ใชอ ุปกรณไ ฟฟา ท้ังหมดพรอมกนั ในวงจรแตล ะวงจร จะตองมีกระแสไฟฟา ไมเ กนิ ขนาดของกระแสไฟฟาสงู สุดทย่ี อมใหใชก บั ไฟฟาของวงจรน้ัน
152 7. การติดต้ังซอมแซม หรือแกไขดัดแปลงหมอแปลงไฟฟา ซึ่งแปลงไฟจาก ไฟฟาแรงสูงต้งั แต 12,000 โวลตขึน้ ไป ตอ งตดิ ตอขอความชวยเหลือหรือขอคําแนะนําจากเจาหนาท่ี ของการไฟฟา เสยี กอ น 8. ตองมีการตรวจสอบ และทดสอบเคร่ืองกําเนิดไฟฟาฉุกเฉิน ใหอยูในสภาพท่ี พรอ มจะใชงานไดอ ยา งปลอดภัยอยูเสมอ 9. หา มพนักงานทํางานเกยี่ วกบั หมอแปลงไฟฟาทมี่ คี วามดันต้ังแต 380 โวลตขึ้นไป กอ นไดร บั อนญุ าตจากหัวหนาฝายซอมบาํ รุง 10. การซอมแซม ดดั แปลง หรอื แกไ ขอุปกรณและเคร่ืองจักรไฟฟาเปนหนาที่ของ พนักงานหนวยซอ มบาํ รุงเทานั้น วธิ ปี อ งกนั อันตรายจากไฟฟาช็อต 1. ผปู ฏบิ ตั ิงานที่เกย่ี วขอ งกบั ไฟฟา ตอ งมคี วามรูเ กี่ยวกับไฟฟา 2. เม่อื พบสงิ่ ผิดปกติตาง ๆ เกดิ ข้ึนกบั สายไฟ ตองแจงใหผ บู งั คับบัญชาทราบทันที 3. ในการปฏิบตั งิ านท่ีเกย่ี วของกบั ไฟฟา ตองใชผูชํานาญงานเทานัน้ 4. ตองปดตูสวติ ซไฟฟา เสมอ และจะตอ งไมม สี ิง่ กดี ขวางวางอยูบรเิ วณตไู ฟฟา 5. ตอ งติดตงั้ สายดนิ เสมอ 6. ตรวจสอบอุปกรณป องกันไฟฟา ดดู ไฟฟารวั่ กอนใชอุปกรณไฟฟานนั้ ๆ เสมอ 7. การเปดหรอื ปดระบบไฟฟา ตอ งแนใ จกอนวาปลอดภัยแลว 8. เมื่อเลิกใชอ ปุ กรณไฟฟา แลว ใหเ ก็บเขา ท่ีเสมอ 9. ถา ตอ งทาํ งานอยใู กลระบบไฟฟา เชน มสี ายไฟฟาอยเู หนือศรี ษะตอ งระมดั ระวัง อยาไปสมั ผสั ถูกสายไฟฟาดงั กลาว 10. หา มทํางานโดยไมส วมชดุ ปอ งกันไฟฟาดูดโดยเดด็ ขาด 1.3 ความปลอดภยั ในการทํางานกับวัตถอุ ันตราย วัตถอุ ันตราย วัตถุอันตราย หมายถึง วัตถุท่ีสามารถลุกไหมได ติดไฟได และระเบิดได วัตถุ อันตรายตาง ๆ เหลานี้ มักจะมีกฎหมายควบคุมเปนพิเศษ และมีขอบังคับเพ่ือใหทํางานไดโดย ปราศจากอบุ ตั เิ หตุ
153 วตั ถอุ ันตราย แบง ออกไดเปน 1. สารระเบดิ ได สารเหลา น้จี ะลกุ ติดไฟไดงา ยและระเบิดขึ้นเม่อื มคี วามรอน มีการกระแทกหรือ มีการเสียดสี สารระเบิดไดมีช่ือเรียกแตกตางกันไป ผูที่ทํางานกับสารเหลานี้ควรจะจดจําช่ือสาร เหลา น้ใี หไ ดแ ละมกี ารตดิ ปา ยวา เปนสารอนั ตราย หรือวัตถุอันตราย นอกจากน้ียังควรรูถึงวิธีการใช สารเหลา นีอ้ ยางถูกตอ งดวย 2. สารลุกไหมไ ด สารลกุ ไหมไ ด เชน สารฟอสฟอรัสแดงและสารฟอสฟอรัสเหลืองสามารถลุก ติดไฟไดเองเมอ่ื สมั ผสั กบั อากาศ ตัวอยางสารลุกไหมไ ด เชน พวกคารไบด และสารประกอบโลหะ ของโซเดยี ม ซึง่ จะลุกตดิ ไฟไดเม่อื สมั ผสั กบั น้ํา 3. สารไวไฟ กา ซไวไฟ เชน กาซถานหิน กาซอะเซทิลีน กาซโพรเพน ฯลฯ กาซเหลาน้ีมี คุณสมบัติไวไฟและยังสามารถระเบิดไดอีกดวยหากกาซเหลานี้ผสมอยูในอากาศในสัดสวนที่ พอเหมาะ นอกจากนี้สารละลายไวไฟตาง ๆ เชน น้ํามัน ทินเนอร ก็ยังมีคุณสมบัติไวไฟและยัง สามารถระเบิดอยา งรุนแรงไดอ ีกดว ย สารเหลานจ้ี ะกอใหเ กดิ อุบัตเิ หตไุ ดง ายถา มีการเคล่อื นยา ยผิดวิธี ดงั นนั้ ผทู ที่ ําการ ขนยา ยจะตอ งรูว ธิ ีขนยา ยทถี่ ูกตองดว ย อันตรายของวตั ถอุ นั ตราย 1. กา ซคารบอนมอนอกไซด (Carbon Monoxide) กาซคารบอนมอนอกไซดเกิดจากการเผาไหมท่ีไมสมบูรณ เกิดขึ้นไดทั้งใน โรงงานและในสถานทที่ ํางาน กา ซคารบอนมอนอกไซดเ ปนกาซท่ีเบากวากา ซออกซิเจนเล็กนอย เปน กา ซที่ไมมสี ี ไมม กี ล่ินและไมม ีการกระตนุ เตอื นใด ๆ จงึ เปนกาซทีอ่ ันตรายตอ รา งกาย เพราะกาซน้จี ะ ทาํ ใหเ ม็ดเลือดขนถายออกซิเจนนอ ยลง เปนเหตุใหเกิดอาการขาดออกซเิ จน (Suffocation) ได เมอ่ื ตอ งทํางานในสถานท่ที ม่ี ีกา ซคารบ อนมอนนอกไซด ควรปฏบิ ตั ิดงั น้ี 1. กอนเริ่มงาน ตองตรวจดูความหนาแนนของกาซคารบอนไดออกไซดดวย เคร่ืองตรวจวัดกาซกอน 2. ใหร ะบายอากาศออกจนกวาความหนาแนนของกาซคารบอนไดออกไซดจะ ตํา่ กวา 50 ppm (0.005%) 3. ตอ งสวมใสห นากากกรองที่เหมาะสม 4. ถาความหนาแนนของกาซคารบอนมอนอกไซดสูง หรือความเขมขนของ ออกซิเจนตา่ํ ใหใชเครื่องชวยหายใจ หรอื หนา กากแบบมอี ากาศเสรมิ
154 2. สารละลายอินทรยี (Organic Solvents) มีสารละลายอินทรียเปนจํานวนมากที่ใชในสถานที่ทํางานและบานพักอาศัย สารละลายอนิ ทรยี เ หลา นีส้ ามารถแทรกซึมเขาสรู า งกายไดห ลายทางท้ังทางระบบหายใจในรูปของไอ ระเหย เพราะเปนสารที่สามารถระเหยไดในอุณหภูมิปกติ และแพรผานผิวหนังไดเพราะเปนตัวทํา ละลายไขมันนอกจากนี้ยังอาจทําใหหมดสติได เพราะจะไปรบกวนการทํางานของระบบประสาท สวนกลาง ดังนั้นจึงจําเปนอยางยิ่งท่ีจะตองรูคุณสมบัติของสารละลายอินทรียที่จะใชเหลาน้ัน และ จะตองใชอยา งถกู ตอ งเพอื่ ใหเ กดิ อนั ตรายนอ ยทีส่ ดุ ระบายอากาศ วิธปี ฏิบตั ิงานกบั สารละลายอินทรียอ ยางปลอดภยั ประกายไฟ 1. ระวงั อยาใหสารละลายอินทรียห ก 2. ปดฝาภาชนะบรรจุสารละลายอนิ ทรยี เสมอ ทําได 3. ไมลางมอื ดว ยสารละลายอินทรยี 4. ตรวจตราระบบระบายอากาศอยูเสมอ อยาใหมสี ่งิ ใดไปขดั ขวางทาง 5. หามใชส ารละลายอนิ ทรยี ใ กลบริเวณท่ีมไี ฟหรอื บรเิ วณทอ่ี าจเกดิ 6. สวมใสอ ุปกรณปอ งกนั ทีเ่ หมาะสมเสมอขณะใชสารละลายอนิ ทรีย 7. ตอ งใชระบบระบายอากาศเสมอในขณะใชสารละลายอนิ ทรีย 8. หลกี เล่ียงการสมั ผัสไอระเหยของสารละลายอนิ ทรยี ใหมากท่ีสดุ เทา ที่จะ 3. ฝนุ ปกติโรคปอดท่เี กดิ จากฝนุ ที่หายใจเขาไปจะมชี ื่อเรยี กวา โรคปอดฝุนหรือนิวโม โคนิซิส (Pneumoconiosis) ฝุนที่สูดดมเขามาจะฝงตัวอยูในปอดและปอดไมสามารถขจัดสิ่ง แปลกปลอมเหลานไี้ ด เมอื่ มกี ารสะสมมากขึ้น ปอดจะรูสกึ แนน อดึ อดั ทาํ ใหหายใจไมออก วิธีแกไขท่ี ดีท่สี ุด คอื การปอ งกันโรคนี้ไวกอน โดยปรับปรุงสภาพแวดลอมในบริเวณท่ีทํางานและปรับเปลี่ยน วธิ ีการทาํ งาน เชน การขจดั ฝนุ ในสถานท่ีทํางาน หรอื การสวมใสห นากากปอ งกันฝุน
155 วิธีใชห นากากปอ งกนั ฝนุ อยา งถกู วธิ ี 1. หนา กากควรกระชบั กบั ใบหนา ซ่งึ ฝุนจะไมสามารถแทรกเขา ไประหวางรอง ของหนา กากกบั ใบหนา ได 2. แมสภาพของสถานท่ที ํางานโดยท่ัวไปจะสะอาด แตอ าจจะมีฝุนขนาดเล็กอยู ได จงึ ควรสวมหนากากปองกนั ฝุนไว ถาบริเวณน้นั มฝี นุ ขนาดเล็กอยไู ด จงึ ควรสวมหนา กากปอ งกัน ฝุนไว ถาบรเิ วณนั้นมฝี นุ อยู 3. หามสวมหนากากกรองฝนุ ในบรเิ วณทอี่ บั อากาศ หรอื บริเวณท่ีมกี าซพิษ 4. ควรเก็บรักษาหนากากไวในที่ท่ีอากาศถายเทดี และเก็บอยางถูกหลักวิธี รวมทั้งควรเปลี่ยนไสกรองเมือ่ จําเปน 5. หนา กากกันฝนุ โดยทว่ั ไปจะใชสําหรับงานชว่ั คราวเทาน้นั 4. สารเคมีจาํ เพาะ สารเคมีจําเพาะจะถูกจัดเปนสารเคมีอันตราย เพราะจะกอใหเกิดอันตรายตอ สุขภาพรางกาย เชน กอใหเกิดโรคมะเร็งจากการทํางาน โรงผิวหนัง ระบบประสาทเสื่อม ฯลฯ ปจ จุบนั มีการใชสารเคมีอยูอยา งกวา งขวางในงานอุตสาหกรรมจงึ ตอ งระมัดระวงั เปนอยางยิง่ การปอ งกันอันตรายจากการใชส ารเคมีจาํ เพาะ 1. อยา ทาํ หกหรอื กระเด็นลงบนพนื้ 2. กอ นเรม่ิ ทาํ งานตองสวมอุปกรณป องกันอันตรายสวนบุคคลหรือติดตั้งระบบ ระบายอากาศทว่ั ไปในทีท่ าํ งาน 3. จัดการปฏิบตั งิ านใหเ ปน ไปตามระเบียบขอ บังคับของกฎหมาย 4. เม่ือตองการขนยายหรอื เกบ็ สารเคมีเหลา นนั้ จะตองบรรจุลงภาชนะที่เหมาะสม ใหเ รียบรอ ย 5. หามสูบบหุ ร่ี รบั ประทานอาหาร หรอื ด่ืมนาํ้ ในขณะทก่ี าํ ลงั ทาํ งานกบั สารเคมี 6. หามสมั ผสั เส้ือผาที่เปอ นสารเคมี 7. จัดใหม ีการสวมชดุ ปอ งกนั หรืออุปกรณปอ งกันอนั ตรายจากสารเคมี 8. หามนําสารเคมนี อ้ี อกไปหรอื เขา ไปยงั หนว ยงานอนื่ โดยไมไ ดรบั อนุญาต 9. เส้ือผาที่สวมใสขณะทํางานยอมมีสารเคมีปนเปอนจึงควรท่ีจะชําระลาง รา งกายเปลย่ี นเสือ้ ผาใหม กอนที่จะรบั ประทานอาหารหรือกอนกลับบาน และนําเสื้อผาท่ีใสทํางาน น้นั ไปซักหรือทําความสะอาดทันที
156 5. สภาพไรอากาศหรืออบั อากาศ อบุ ัตเิ หตุจากการขาดอากาศหายใจมกั เกดิ ขน้ึ ไดในบรเิ วณท่เี ปน ใตถุนอาคาร ถัง หรือบริเวณอุโมงคขดุ เจาะ ฯลฯ อาการขาดอากาศมีผลโดยตรงตอการทํางานของสมอง และบอยคร้ังท่ีนําไปสู ความสูญเสยี อยา งใหญห ลวง ทั้งนเ้ี พราะการอยใู นท่แี คบหรืออับอากาศซ่ึงมักไมคอยมีคนไดเขาไปบอย นกั กย็ ากท่จี ะพบหรอื ชว ยชวี ติ ไดทนั หากมอี บุ ัตเิ หตเุ กดิ ขน้ึ วธิ ีปองกนั การขาดอากาศหายใจมีดงั น้ี 1. ตรวจสอบความหนาแนน ของออกซิเจนกอ นลงมือปฏิบตั ิงาน 2. จัดระบบระบายอากาศทีเ่ หมาะสม 3. มกี ารปฐมพยาบาลอยา งถูกตอ งและเหมาะสม ขอพึงปฏบิ ตั เิ ม่ือตอ งทํางานในบริเวณทีม่ สี ภาพไรอากาศหรืออบั อากาศ 1. กอ นเขา บริเวณอนั ตรายที่มีออกซเิ จนนอ ยหรือออกซิเจนใกลหมด เชน ในบอหรอื ถงั จาํ เปนตองจดั ใหมีระบบระบายอากาศท่ดี ี (อยา งไรกต็ ามกเ็ ปน อันตรายมากเชน กัน ถา ใชออกซเิ จนบรสิ ุทธ์อิ ยางเดียว) ความหนาแนน ของออกซเิ จนทเี่ หมาะสมคอื ไมนอ ยกวา 18% 2. หา มเขา ไปในบริเวณทม่ี สี ภาพขาดออกซเิ จน ยกเวนผูมีหนาที่เก่ยี วขอ งเทานน้ั 3. ผูจะเขาไปในบริเวณอับอากาศ ตองมีการเฝาดูและติดตามโดยหัวหนางาน หรือเพื่อนรว มงาน และระบบระบายอากาศจะตองจดั ใหม ีออกซเิ จนอยางนอ ย 18% ดว ย 4. ถา ลักษณะงานไมสามารถจดั ระบบระบายอากาศไดใหใชอุปกรณชวยหายใจ ที่เหมาะสม เชน เคร่ืองกรองอากาศ หรอื ระบบสายลม 5. ถาสภาพที่ทํางานน้ันขาดอากาศมาก ๆ ใหสวมใสอุปกรณนิรภัย เชน หนากาก เข็มขัดนริ ภยั หรือสายสงอากาศในขณะท่ปี ฏิบัติงานอยใู นบรเิ วณนนั้ 6. ตรวจสอบอุปกรณป อ งกันทุกคร้งั กอ นเริม่ ทาํ งาน 7. ถาไดรับอุบัติเหตุจะขาดอากาศหายใจ ผูทําการชวยเหลือจะตองสวมใส อุปกรณชวยหายใจท่ีมีระบบระบายอากาศท่ีดี ดังอธิบายไวในขอ 4 ขางตน (หนากากปองกันกาซ ไมไ ดจ ัดไวส ําหรบั กรณีขาดอากาศ ควรขนยา ยผปู ว ยออกไปสทู โี่ ลงโดยเร็วท่ีสุด และชวยหายใจดวย การเปา ปาก ฯลฯ ) การจดั ใหม ีระบบระบายอากาศ เพื่อสขุ ภาพทีด่ ีควรจัดใหมีระบบระบายอากาศทเี่ หมาะสมในสถานประกอบการ จําเปนอยางย่ิงที่จะตองจัดระบบระบายอากาศในสถานประกอบการที่มีอุณหภูมิและความรอนสูง
157 หรือมีกาซหรือไอท่ีเกิดข้ึนจากตัวทําละลายอินทรียหรือสารอ่ืน ๆ การปลอยปละละเลยท่ีจะจัดทํา ระบบระบายอากาศจะเปน สาเหตุท่ีกอใหเกิดอาการปวดศีรษะและวิงเวียนศีรษะได และปญหาที่จะ ตามมาก็คอื ความเจ็บปวยตา ง ๆ ที่มสี าเหตจุ ากสารเคมอี นั ตราย การเปดหนาตางหรือประตูนั้นเปนการถายเทอากาศทั่วไปตามปกติ การติดตั้ง ระบบระบายอากาศเฉพาะที่หรือในตําแหนงที่จําเปนนั้น ควรติดต้ังใหเหมาะสมกับลักษณะของ สารเคมีอนั ตรายทจ่ี ะตอ งใช แตค วรตระหนักไววา ในบางครั้งการเปดหนาตางอาจใหผลที่ตรงขาม กนั ก็ได 1.4 ความปลอดภยั ในการทํางานกับผลิตภณั ฑเ คมี ขอพงึ ปฏบิ ตั ทิ ่วั ไปในการทํางานกับผลติ ภณั ฑเ คมี 1. กอนปฏิบัติงานตองทราบถึงชนิดของผลิตภัณฑและอันตรายที่อาจเกิดข้ึน ถา สงสยั ใหปรึกษาผบู งั คบั บญั ชาท่เี กีย่ วของ 2. กอนขนยายผลิตภัณฑตองสังเกตวาหีบหอไมแตกหรือบุบสลายซ่ึงอาจจะทําให ตกหลน สภู ายนอกได 3. หลีกเล่ยี งการสมั ผสั กบั ผลิตภณั ฑโดยตรง ใหสวมเครื่องปอ งกัน เชน ถงุ มือ เสอ้ื คลมุ เครอื่ งกรองอากาศ หมวก แวน ตา ฯลฯ 4. หามรับประทานอาหาร เครอื่ งดมื่ หรอื สูบบุหร่ีในขณะปฏิบตั งิ าน 5. ขณะปฏิบัติงานหามใชมือขย้ีตา หรือใชมือสัมผัสกับปากจนกวาจะลางมือให สะอาดเสียกอน 6. กอนรับประทานอาหาร สูบบุหรี่ หรือเขาหองสุขา ตองถอดอุปกรณปองกัน อันตรายและลางมือใหสะอาดเสยี กอน 7. หา มผทู ี่ไมม ีหนา ท่ีเก่ียวขอ งปฏิบตั งิ านเกย่ี วกับผลติ ภณั ฑเ คมี 8. หากเกิดอุบัติเหตุ ภาชนะบรรจุผลิตภัณฑแตกเสียหาย ตองรีบรายงาน ผบู งั คับบัญชาทีร่ บั ผดิ ชอบทนั ที หรือจดั การเกบ็ กวาด เชด็ ถบู ริเวณใหสะอาดตามวิธีที่กําหนด ไมควร ปลอยทงิ้ ไว 9. ในขณะปฏบิ ตั ิงานหากพบวา มีการเจบ็ ปว ย หรอื วิงเวียนศีรษะใหหยุดปฏิบัติงาน ทนั ที พรอมทงั้ รายงานใหผบู ังคับบญั ชาผรู ับผดิ ชอบทราบ หรือทําการปฐมพยาบาลอยางถูกตองแลว รบี นาํ ไปพบแพทยพ รอ มนําฉลากหรอื ผลติ ภณั ฑไปดว ย 10. อุปกรณปองกันอันตรายท่ีใชแลวตองทําความสะอาดหรือทําลายท้ิงตาม คําแนะนําทไ่ี ดกาํ หนดไว
158 11. เมื่อเสร็จสิ้นการปฏิบัติงานแตละครั้ง ตองลางมือ อาบน้ํา และผลัดเปล่ียน เสอ้ื ผา ทสี่ ะอาด ความปลอดภัยในการใชผลิตภณั ฑเคมีในการผลิต 1. พนักงานตอ งอานคําแนะนาํ ขา งกลองบรรจผุ ลติ ภัณฑเ คมีทกุ ชนิดใหละเอยี ดกอ น ทจ่ี ะนาํ เขาโรงงานผลิต 2. กลองผลติ ภัณฑเ คมที ุกกลองทนี่ าํ เขา โรงงานผลิตตอ งอยูในสภาพดีไมแตกรว่ั 3. พนกั งานตองสวมถุงมือ เสื้อคลุมแขนยาว หนากาก รองเทาหุมสน กอนเปด กลอ งสารเคมที จ่ี ะนํามาใชในการผลติ 4. ตองระมัดระวังเปน พิเศษในการบรรจผุ ลิตภัณฑเคมี พยายามใหฝุนหรือละออง ของสารเคมปี ลิวกระจายนอ ยท่สี ดุ 5. กลอ งเปลา ของผลิตภณั ฑเคมี หลังจากใชแลวตองนําไปเก็บรวมกันในท่ีมิดชิด (หากจําเปนตองมีกุญแจปด ) กอ นนําไปทาํ ลาย เผาทิ้งหรือฝงดิน 6. หลังจากท่ีพนักงานทํางานเรียบรอยแลว ใหลางมือ ลางหนาหรืออาบนํ้า และ เปลยี่ นเสือ้ ผาใหมก อ นรับประทานอาหารหรอื สูบบหุ รี่ 7. หา มสบู บุหรีข่ ณะปฏิบัตงิ าน 8. หามรับประทานอาหารหรือเครือ่ งดม่ื ในบรเิ วณโรงงานผลิตหรอื โรงงานบรรจุ ความปลอดภยั ในการเก็บผลติ ภัณฑเ คมใี นคลงั พสั ดุ 1. พนกั งานตองอานฉลากผลติ ภณั ฑเ คมที กุ ครงั้ กอ นทาํ การเกบ็ เขา คลงั พัสดุ 2. ผลติ ภณั ฑเ คมีบางอยา งตองเกบ็ ในทแ่ี หง สะอาด มีอากาศถายเทดี และ มี อุณหภูมิไมเ กนิ 46 C 3. ผลติ ภัณฑเ คมตี องเก็บใหห างจากอาหารและภาชนะบรรจุอาหาร 4. ไมค วรเกบ็ ผลติ ภณั ฑเ คมวี างซอนกันสงู เกินกวา 5 เมตร 5. หามสูบบุหรใี่ นคลังพัสดุ ยกเวนบรเิ วณทกี่ าํ หนดให 6. พนักงานตองสวมถุงมือ หนากาก รองเทาและเสื้อแขนยาวขณะปฏิบัติงานซ่ึง สมั ผัสกบั สารเคมีโดยตรง 7. ผลิตภัณฑเคมีที่ตกหลนตามพื้นใหกวาดเก็บใสถังอยางระมัดระวังเพ่ือนําไป ทาํ ลายหรอื ฝงดนิ ในบริเวณทีก่ าํ หนด ถา เปน ผลิตภัณฑช นดิ เหลวใหใ ชท รายแหง กลบแลวกวาดเก็บไป ฝงดิน หามลา งดวยนาํ้ 8. ผลติ ภัณฑเ คมที ุกชนดิ ตอ งปด ฉลากทกุ กลอ งกอ นนําเขาเก็บในคลังพัสดุ 9. คลังเกบ็ ผลติ ภัณฑเ คมี ตองปดกุญแจหลังจากเลิกงาน
159 การเกดิ ไอเคมีไวไฟ การเกดิ ไอเคมีไวไฟในโรงงาน หมายถึง การปลอ ยไอเคมไี วไฟจํานวนมาก ซ่ึงอาจ ลกุ ตดิ ไฟ หรือระเบดิ เมื่อมีแหลงทกี่ อใหเกดิ ประกายไฟ หรืออาจเกดิ จากการลุกไหมข องสารเคมีหรือ กา ซท่ีมีจดุ วาบไฟ (Flash Point) ตํา่ และมีชว งไวไฟกวาง จุดวาบไฟ (Flash Point) ของสารเคมเี หลว คือ อุณหภมู ิตํา่ สดุ ทีส่ ารเคมนี ั้นจะใหไอ เคมที ่ีสามารถผสมกบั อากาศเปน สวนผสมท่พี รอมจะลุกไหมเม่ือมีแหลง เกิดประกายไฟ ชวงไวไฟ (Flammability Limit) คือ ชว งระหวา งความเขมขนตาํ่ สุด และสูงสดุ ของ ไอเคมใี นอากาศซ่งึ จะเกิดการลุกไหมไดเม่ือมีแหลง เกิดประกายไฟ สว นผสมของไอเคมีและอากาศที่ ตา่ํ กวาชว งไวไฟนี้จะเจือจางเกินไปท่ีจะลกุ ไหมได และในทาํ นองเดียวกนั สว นผสมทีส่ ูงกวา ชวงไวไฟ นจ้ี ะเขมขน เกินไปที่จะติดไฟ เมอ่ื เกดิ กลุมไอเคมจี าํ นวนมาก หามพนักงานเขาไปในบริเวณท่ีเกิดไอเคมีนั้น ควร รบั แจง หนว ยดบั เพลิงประจาํ โรงงานเตรียมพรอ มเพื่อทาํ การชวยเหลอื ทันที วิธปี ฏิบัตเิ มือ่ เกดิ กลุมไอเคมี 1. ปลอดภัยไวกอน เมื่อพบไอเคมีจํานวนมากไมวาจะเกิดจากการหกราดบนพ้ืน หรือเกิดจากการรั่วจากทอสงเคมีหรือจากถังเคมีตาง ๆ หากมีขอสงสัยใหสมมุติไวกอนวากําลังเกิด กลมุ ไอเคมีไวไฟ อยาเสียเวลาไปหาเครอ่ื งวัดประมาณไอเคมี เพราะกวา จะรู ประมาณไอและอากาศ ก็มมี ากเพียงพอทจ่ี ะลุกไหมหรือระเบดิ ได และก็เปนเวลาท่ีทานไดเขาไปอยูในกลุมไอเคมีไวไฟเสีย แลว 2. ออกไปใหพ น จากบริเวณทเ่ี กิดกลมุ ไอเคมีไวไฟทันที และรับแจงใหหัวหนางาน หรอื ผูจดั การทราบ 3. ใหใชนํ้าฉีดเปนฝอยเพื่อไลไอเคมี โดยใชหัวฉีดนํ้าจากตูดับเพลิงในกรณีที่เกิด กลมุ ไอเคมีไวไฟบริเวณรีแอกเตอร ใหเ ปดวาลวน้าํ ปลอยนา้ํ จากหัวฝกบวั ซึ่งติดตงั้ อยูเหนือรีแอกเตอร เพอ่ื ไลไ อเคมี 4. หากกลุมไอเคมีไวไฟกาํ ลังลกุ ติดไฟใหฉีดนาํ้ หลอเครอ่ื งมอื เคร่อื งใชห รือถงั ตาง ๆ ที่อยูรอบ ๆ บริเวณนั้น เพือ่ ปอ งกนั การลุกลามขยายตัวของไฟและการระเบิด อยาพยายามเขาไปดับ ไฟที่จุดลุกไหม แตใหหาแหลงทมี่ าของไอเคมีและจัดการกําจัดตนตอของการเกิดไอเสียกอนโดยไม ตอ ง เขาไปในกลุมไอเคมี แลวจงึ เขาทาํ การดับไฟ
160 1.4 ความปลอดภัยเกีย่ วกับอัคคภี ยั การปองกนั อคั คีภยั ในบรเิ วณโรงงาน พนักงานทุกคนจะตองปฏบิ ตั ดิ ังน้ี 1. รูจักคุณสมบัติเครื่องดับเพลิงทุกชนิดท่ีใชอยูในโรงงาน และสามารถนํามาใช งานไดทนั ที และเหมาะสมกับลกั ษณะของไฟเมือ่ ตองการ 2. หามนําเครื่องดับเพลงิ มาฉีดเลน หรือหยอกลอกัน 3. ใหความสนใจกับเครื่องมอื ดบั เพลิงในแผนก และจะตองมีการตรวจสอบสภาพ ของเคร่อื งดบั เพลงิ อยเู สมอ เมือ่ พบหรือสงสยั วาเครื่องดบั เพลิงเครื่องใดอยใู นสภาพชาํ รดุ หรอื น้าํ หนัก พรอ งไป ใหรายงานผูบังคบั บัญชาตามลาํ ดบั ชั้นทนั ที 4. จะตองไมตดิ ตั้งหรอื วางเครื่องจักรหรือส่ิงของใด ๆ เอาไวในตําแหนงซ่ึงจะเปน อปุ สรรคหรือกดี ขวางการนาํ เครื่องดับเพลิงมาใชโดยสะดวก 5. วัตถุซึ่งไวไฟหรือนาํ้ มันเชอ้ื เพลิงชนดิ บรรจุถัง เมอ่ื นํามาใชแลวจะตองปดฝาให สนทิ และทภ่ี าชนะบรรจคุ วรจะมีเครอ่ื งหมายแสดงวาเปนสารไวไฟ 6. หา มนาํ นา้ํ มนั เช้อื เพลิง หรอื เคมีภณั ฑไวไฟใด ๆ ไปใชในการซกั ลา งเสื้อผา 7. พนกั งานทกุ คนจะตองทําความเขาใจกับวิธีปฏิบัติเม่ือเกิดเพลิงไหม พนักงานทุก คนจะตอ งใหความรว มมือในการซอ มภาคปฏิบตั โิ ดยพรอ มเพรยี งกัน 8. ไมวาเพลิงจะเกิดจากอะไรก็ตาม หากเกิดขึ้นใกลกับสายไฟฟา เครื่องมือ เคร่ืองใชห รือแผงสวติ ซไ ฟฟา ใหปลดสะพานไฟตัดวงจรไฟฟาทนั ที เม่อื เกดิ เพลงิ ไหม 1. เมอ่ื เกดิ เพลงิ ไหมข ึน้ ในบริเวณท่ที ํางาน จงอยา ต่นื ตระหนกจนเสียขวญั พยายาม รักษาขวญั และกาํ ลังใจไวใหม ่นั การตน่ื ตระหนกจนเสยี ขวญั อาจทาํ ใหเหตกุ ารณเลวรา ยลงอกี 2. รีบแจง ใหเพอ่ื นรวมงานทุกคนในบริเวณเพลิงไหมและหนวยดบั เพลิงทราบ เพ่ือ ดาํ เนินการดบั เพลิงและแจงเหตเุ พลงิ ไหมไปยงั หนว ยดบั เพลงิ ของราชการ 3. พนกั งานผูไ มม ีหนา ที่เก่ียวของกับการดับเพลิงตองรีบออกจากตัวอาคารโดยเร็ว ตามแผนอพยพหนีไฟ และไปรวมกันท่ีบริเวณหนาประตูทางเขาโรงงาน เพ่ือรอคําสั่งจากผู ประสานงานดบั เพลิงตอไป 4. พนักงานทไี่ ดรบั มอบหมายใหเปนหนวยดับเพลิงโรงงาน จะตองเตรียมหัวฉีด สายดับเพลิง เพอื่ ตอ เขากับขอตอ ทอ นาํ้ ดบั เพลิงและอยูในสภาพเตรียมพรอมโดยเร็วท่ีสุด ในกรณีที่ เพลงิ อยใู นตําแหนงที่หัวฉดี ใหญจ ะฉีดมาถงึ อาจไมจําเปนตองใชทอดับเพลิงและหัวเล็กฉีดตอ ท้ังน้ี ใหข ้ึนอยกู บั ดลุ ยพินิจของหนวยดบั เพลิงโรงงาน
161 การปอ งกนั อัคคีภยั ในสํานักงาน 1. พนักงานทุกคนจะตองทราบขอ บังคับเกย่ี วกบั ความปลอดภัยในสํานกั งานเปน อยา งดี 2. พนักงานทกุ คนควรฝก ใชเ คร่ืองดับเพลงิ ใหเ ปน 3. พนักงานทุกคนตองปฏิบัติตามกฎขอบังคับความปลอดภัยในสํานักงานโดย เครง ครดั เชน หามสบู บุหรใี่ นบริเวณหามสูบ 4. บริษัทอาจจัดใหมีการซอมดับเพลิงเมื่อเกิดเพลิงไหมหรือกรณีฉุกเฉิน ณ สาํ นักงานรว มกบั เจาหนา ท่ีของทางราชการ พนักงานทุกคนจะตองใหความรวมมือในการซอมโดย พรอ มเพรยี งกัน 5. หามวางส่ิงของกีดขวางทางออกฉุกเฉนิ เมอื่ เกดิ เพลงิ ไหม 1. ใหพนักงานที่พบเพลิงไหมรีบดับเพลิงตามความสามารถทันทีหากเห็นวาไม สามารถดับเพลิงดว ยตนเองได ใหรบี แจงผปู ระสานงานดับเพลิงทราบทนั ที 2. ผปู ระสานงานจะแจง ใหเจา หนา ที่บรหิ ารของบริษทั ทราบ และเปด สัญญาณเพลิงไหม 3. เมื่อมีสัญญาณเพลิงไหมใหพนักงานทุกคนหยุดปฏิบัติงานทันทีและจัดเก็บ เอกสารท่สี าํ คัญพรอ มทงั้ ของมคี า ไวในท่ีปลอดภยั แลวรบี ออกจากบรเิ วณท่ีทาํ งานในทิศทางตรงขาม กับบรเิ วณเกดิ เพลงิ ไหม 4. การออกจากอาคาร หา มวิ่งและหา มใชล ฟิ ตโดยเดด็ ขาด 5. ใหพ นกั งานที่ออกจากอาคารแลว ทกุ คนไปรวมกันในบริเวณท่ีจอดรถอาคารเพ่ือ ตรวจสอบจํานวนและรอรับคาํ สงั่ จากผปู ระสานงานตอ ไป 1.5 ความปลอดภยั ในสํานกั งาน พนื้ สํานกั งาน - ทางเดิน - ประตู 1. ควรใหพ ืน้ สาํ นกั งานมคี วามสะอาดอยเู สมอ 2. พื้นสํานักงานควรอยูในแนวระดับราบไมลาดเอียงหรืออยูตางระดับกัน หากไม สามารถหลกี เลี่ยงได ใหใ ชส ีสันแสดงใหเ ห็นชดั เจน 3. ใหใชวัสดุกันล่นื ปูทบั บนกระเบื้องหรือพ้นื ขดั มันที่ล่ืน 4. ในขณะปฏบิ ตั ิงาน หามว่งิ หรอื ทําการลื่นไถลแทนการเดนิ 5. ในขณะท่ีมีการขัดหรือทําความสะอาดพื้น ผูปฏิบัติงานควรสังเกตปายคําเตือน และเดินหรอื ปฏิบตั ิงานดว ยความระมัดระวังมากยิ่งขึน้ 6. ในกรณีที่มีนํ้า น้ํามัน หรือสิ่งที่ทําใหเกิดการล่ืนบนพ้ืนสํานักงานใหแจง เจาหนาทท่ี รี่ บั ผิดชอบโดยทนั ที โดยกอนแจงใหแ สดงเครือ่ งหมายเตอื นไวดว ย
162 7. ในกรณีที่พบเห็นวัสดุหรือเครื่องใชสํานักงาน เชน ดินสอ ที่หนีบกระดาษ ยางลบ หรอื ส่ิงอ่ืนใดตกหลน อยูบ นพ้นื ใหเก็บโดยทนั ทีเพราะอาจเปนสาเหตใุ หล่นื หกลมได 8. ในขณะเดินถึงมุมตึกใหเดินทางดานขวาของทางเดิน และเดินอยางชา ๆ ดวย ความระมัดระวงั เพื่อหลกี เลย่ี งการชนกับผอู ื่นซง่ึ กาํ ลงั เดนิ มาจากอกี มมุ หนง่ึ 9. ควรติดตัง้ กระจกเงาทํามุมในบรเิ วณมมุ อบั ทอ่ี าจเกดิ อุบัตเิ หตไุ ดงา ย 10. สายโทรศัพท สายเคร่ืองคิดเลข หรือสายไฟฟา ควรติดต้ังใหเรียบรอย เพ่ือ ไมใหก ดี ขวางทางเดิน 11. อยายืนหรือเดินใกลบริเวณประตูท่ีปดอยู เพราะบุคคลอ่ืนอาจจะเปดประตูมา กระแทกได 12. เม่ือจะผานเขา ออกบังตา หรือเปดปดประตูบานกระจก ควรเขาออกหรือเปดปด ดวยความระมดั ระวงั อยางชา ๆ และในการใชบ งั ตาหรือประตูทเี่ ปด ปด สองบาน ใหใ ชบ ังตาหรือบาน ประตูทางดานขวา 13. บังตาหรือประตูบานกระจกท่ีเปดปดสองทาง ใหติดเครื่องหมาย “ดึง” หรือ “ผลัก” ใหช ัดเจน 14. ไมควรจัดเก็บวัสดุอุปกรณส่ิงของตาง ๆ หรือปลอยใหมีส่ิงกีดขวางบริเวณ ทางเดนิ หรอื ชอ งประตู การใชบนั ได การใชบ นั ไดอยางปลอดภัย 1. กอนข้นึ หรือลงบนั ได ควรสังเกตส่งิ ที่อาจกอใหเกิดอนั ตรายขึน้ ได 2. ถาบริเวณบันไดมแี สงสวา งไมเพียงพอ หรือราวบันไดหรือขั้นบันไดชํารุด ให แจงเจาหนาทเ่ี พ่ือทาํ การแกไ ขใหเรยี บรอ ย 3. อยา ปลอยใหม ีเศษวัสดชุ น้ิ เล็กชิ้นนอ ยตกอยูตามข้ันบันได เชน เศษกรวด เศษ แกว ฯลฯ 4. ไมควรติดตั้งสิ่งท่ีดึงดูดความสนใจ เชน กระจกเงา ภาพโปสเตอร เครื่องประดบั ตกแตง ตาง ๆ ไวบ ริเวณบันได 5. ควรจัดใหมีพรมหรอื ทเี่ ชด็ เทา บริเวณเชงิ บันได เพอื่ ความปลอดภัย 6. อยา ว่งิ ข้นึ หรอื ลงบนั ได ควรข้นึ ลงดวยความระมดั ระวัง 7. หามเลนหรอื หยอกลอกนั ในขณะข้นึ หรือลงบนั ได 8. การข้ึนลงบนั ได ใหข ึน้ ลงทางดา นขวาและจบั ราวบันไดทุกครั้ง 9. อยา ปลอ ยราวบนั ไดจนกวาจะมกี ารข้ึนหรอื ลงบนั ไดเปน ท่ีเรียบรอยแลว
163 10. ในขณะขึ้นหรือลงบันได ใหใชสายตามองข้ันบันไดที่จะกาวตอไปและหาม กระทําสง่ิ ใด ๆ ในลักษณะทีจ่ ะกอใหเกดิ อันตราย เชน การอา นหนังสอื หรือคนสง่ิ ของในกระเปา ถอื เปนตน 11. อยา ขึน้ หรอื ลงบันไดเปน กลมุ ใหญในเวลาเดียวกัน การใชบ นั ไดพาดและบนั ไดยืนอยางปลอดภัย 1. กอนใชบันไดพาดหรือบันไดยืน ตองตรวจสอบความแข็งแรงโดยท่ัวไป ตอง แนใ จวา ไมมรี อยหกั รอยราว และมียางกนั ล่ืน 2. เมอื่ ใชบ นั ไดพาดกับผนงั ตอ งพาดใหไ ดประมาณ 70 องศาและควรสงู กวาจดุ ทีจ่ ะ ทาํ งานอยางนอย 60 เซนตเิ มตร 3. ถา เปน ไปได ควรยึดหวั และทายของบันไดดวยเชอื ก แตถา ทาํ ไมไ ดค วรใหคนอน่ื ชว ยใชม อื จับยึดให 4. พ้ืนวางบันไดตอ งเรยี บ และปราศจากหลุม บอ หรอื โหนกนนู 5. ขณะปน บนั ไดข้ึนหรือลงใหม องไปขา งหนาและไมท าํ งานบนบันไดดวยทาทางท่ี ไมเ หมาะสม 6. กรณีมแี ผนรองยืนบนบันไดยืน ขาของบันไดตองหางกันไมเกิน 1.8 เมตร และ แผนรองยืนตองสงู ไมเกิน 2 เมตร 7. บนั ไดยนื ตอ งมีตัวล็อกขาท่กี างไวด วย 8. ถาใชบันไดยนื ในจดุ ทีไ่ มแ นใ จวาจะมีความปลอดภัยเพียงพอตองมีผูชวยคอยยึด จับบนั ไดน้ันไว 9. อยายืนบนแผน รองยืน เมอ่ื ตอ งอยสู งู เกิน 1.2 เมตร โตะ ทํางาน - เกาอ้ี - ตู 1. ตลอดเวลาการทํางานไมควรเปดลนิ้ ชกั โตะ ล้นิ ชกั ตเู อกสาร หรอื ตอู นื่ ใดคางไว ใหป ดทุกคร้งั ทีไ่ มใชง าน 2. หา มวางพัสดุ สง่ิ ของ หรอื กลอ งใตโตะ ทํางาน 3. หามเอนหรือพิงพนกั เกา อี้ โดยใหรับนํา้ หนักเพยี งขางใดขางหนงึ่ 4. ใหมพี นื้ ทเ่ี คล่อื นยา ยเกา อ้ี สาํ หรบั การเขา ออกทส่ี ะดวก 5. หา มวางพัสดุ สงิ่ ของตา ง ๆ บนหลังตเู พราะอาจตกหลน ลงมาเปนอนั ตราย 6. อยา เปดลน้ิ ชักตูเ อกสารในเวลาเดียวกนั เกนิ กวา หนึง่ ล้ินชัก 7. การจดั เอกสารใสในลิน้ ชกั ตู ควรจดั ใสเ อกสารจากช้ันลางสุดข้ึนไป เพ่ือเปนการ ถวงดุลนา้ํ หนัก และใหหลีกเลยี่ งการใสเ อกสารในล้นิ ชกั มากเกนิ ไป 8. ใหใ ชห ูจบั ลิ้นชักทุกครั้งเม่ือจะเปด ปดลิน้ ชกั เพ่อื ปอ งกันนิว้ ถกู หนีบ 9. การจดั วางตูลนิ้ ชกั ตตู อ งไมเ กะกะชองทางเดนิ ในขณะที่ปดใชงาน
164 สายไฟฟา และเตาเสียบ 1. สายไฟฟา ท่มี รี อยฉกี ขาด หรอื ปล๊ักไฟฟาท่ีแตกราว ตองทําการเปล่ียนทันที หาม พันดว ยเทปพนั สายไฟหรือดดั แปลงซอ มแซมอยา งใดอยา งหนึง่ 2. เตาเสียบท่ีชํารุดจะตองทําการซอมแซมโดยทันที ในระหวางรอการซอมแซม จะตองปดหรือครอบ เพ่อื ปอ งกนั ไมใหผูอื่นมาใชง าน 3. เครื่องมือหรืออุปกรณไ ฟฟาตาง ๆ ที่ใชภ ายในสาํ นักงาน ใหว างในตําแหนงท่ีใกล เตาเสยี บมากที่สุด เพ่อื หลีกเล่ียงสายไฟฟาท่ีทอดยาวไปตามพ้ืน หรอื หลีกเลย่ี งการใชส ายตอ ในกรณีที่ ไมอาจวางในตําแหนงใกลเตาเสียบได ใหแสดงเคร่ืองหมายใหชัดเจนเพื่อปองกันการเดินสะดุด สายไฟฟา 4. ในการใชอุปกรณไฟฟาใหแนใจวาแรงดันไฟฟาเหมาะสมกับความตองการ แรงดนั ไฟฟา ของอุปกรณนั้น ๆ 5. การวางหรือเคลือ่ นยา ยเคร่อื งใชส าํ นักงาน ตองระวงั อยา ใหมีการวางหรือเคล่ือนยาย ไปทบั ถกู สายไฟฟา การใชเครือ่ งใชส าํ นกั งาน 1. ในขณะขนยายกระดาษควรระมดั ระวังกระดาษบาดมอื 2. ใหเกบ็ ปากกาหรอื ดินสอ โดยการเอาปลายชลี้ ง หรอื วางราบในชิน้ ชัก 3. ใหทาํ การหบุ ขากรรไกรที่เปดซองจดหมาย ใบมดี คัดเตอร หรอื ของมีคมอื่น ๆ ให เขา ที่กอ นทําการเก็บ 4. การใชเ ครื่องตดั กระดาษ ตองระวงั น้วิ มอื ใหอ ยูหางจากใบมีด ขณะที่กําลังทําการ ตดั กระดาษ และหลีกเลี่ยงการตัดกระดาษจํานวนมากเกินไปพรอมกันทีเดียว ถาไมไดใชงานใหลด ใบมดี ลงใหต ่าํ ท่สี ดุ อยายกใบมดี คา งเอาไว 5. การแกะลวดเยบ็ กระดาษไมควรใชมือหรอื เลบ็ ใหใ ชท่ดี ึงลวดเย็บกระดาษทกุ ครงั้ 6. เฟอรน ิเจอรทเ่ี ปน โลหะใหท าํ การลบมมุ ทกุ แหงเพ่อื ความปลอดภัย 7. ควรใชบันไดหรือช้ันเหยียบ เมื่อตองการหยิบของในที่สูง ไมควรยืนบนกลอง โตะ หรอื เกา อตี้ ิดลอ 8. หลังเลกิ งานทกุ วัน ใหป ด ไฟฟาทุกดวงและตัดวงจรอุปกรณไฟฟาภายในหอ งทํางาน ท้งั หมด 9. เครอ่ื งใชส ํานกั งานท่อี าจกอใหเกดิ อันตราย เชน สายพาน ลูกกลิ้ง เกียร เฟอง ลอ ฯลฯ ถาไมมกี ารติดต้งั อุปกรณปอ งกันอนั ตรายเอาไว ใหตดิ ตัง้ อุปกรณป อ งกนั อนั ตรายน้ันใหเ รียบรอ ย กอ นที่จะใชงาน
165 10. หามทําความสะอาด ปรับ แตง หรือเปลี่ยนแปลงสวนประกอบใด ๆ ของ เคร่ืองใชสํานักงานที่อาจกอ ใหเกิดอันตรายในขณะที่เครอ่ื งกาํ ลังทํางาน 11. ตองทําการศกึ ษาวิธีใชและขอ ควรระวงั ของเคร่อื งใชสํานักงานที่มีอันตรายใหดี กอ นปรบั แตง 12. ถามีผูปฏิบัติงานสองคน หรือมากกวาสองคนข้ึนไปทํางานกับเคร่ืองใช สาํ นักงานทม่ี ีอันตรายเครอื่ งเดียวกัน ผูปฏบิ ตั งิ านแตละคนจะตองระมัดระวังซงึ่ กนั และกนั 13. อยาถอดอุปกรณปองกันอันตรายหรือเปดแผงเครื่องใชสํานักงานที่มีอันตราย โดยเด็ดขาด กรณเี ครื่องขดั ขอ งใหต ิดตอชางเพอื่ มาทาํ การซอ มแซม 14. เคร่ืองใชสํานักงานท่ีใชกําลังไฟฟาและมิไดเปนชนิดที่มีฉนวนหุมสองชั้น จะตองมรี ะบบสายดนิ ตดิ อยูที่ครอบโลหะผานปลั๊ก และหามมีการดัดแปลงปล๊ักเพ่ือตัดวงจรสายดิน ออก 15. ใหต ัดกระแสไฟฟาของเครอื่ งใชสํานกั งานที่ใชไ ฟฟาทุกครั้งที่ไมใชหรือเมื่อจะ ปรับแตงเครื่อง การใชลิฟต 1. ในขณะเกิดเพลงิ ไหม หามทกุ คนใชล ิฟต ใหใชบ นั ไดหนีไฟเทานั้น 2. กอนใชลิฟตทุกครั้งใหสังเกตวาตัวลิฟตเล่ือนมาอยูในระดับเดียวกับพื้นแลว หรือไม ถาตัวลิฟตอ ยูตางระดับกบั พ้นื ใหร ะมดั ระวังการสะดุดขณะเดินเขาลิฟต สําหรับสุภาพสตรีท่ี สวมรองเทา สน สงู หรือสน เล็กตอ งกาวขา ม เพ่อื ปองกนั การลื่นและหกลม 3. ในการใชล ฟิ ต ใหเขา ลิฟตอ ยางรวดเรว็ และระมดั ระวัง อยาลงั เลใจ 4. หา มสบู บหุ ร่ีในลฟิ ต 5. เม่ือลิฟตเล่ือนถึงชั้นที่ตองการ ใหรอประตูลิฟตเปดเต็มท่ีแลวกาวออกจากลิฟต อยา งรวดเรว็
166 6. หา มใชมอื จับหรือดันประตูลิฟตเพื่อใหลิฟตรอบุคคลอื่น ใหใชปุมควบคุมประตู ลฟิ ตท ี่ตดิ ตัง้ อยูภายในลฟิ ต 7. ในกรณเี กิดเหตฉุ กุ เฉนิ ขณะอยูในลิฟต ใหปฏิบัติตามขอแนะนํา ซ่ึงติดอยูภายใน ลิฟต พยายามควบคุมสติใหได อยาตกใจเปนอันขาด กิจกรรม 5 ส สูความปลอดภยั สถานทีท่ ํางานจะปลอดภัยดว ยการปฏบิ ัติ 5 ส สถานทดี่ าํ เนินกิจกรรม 5 ส จะปลอดภัยกวา ถูกสุขอนามัยกวา และมีการผลิตดีกวา ในการทาํ ใหส ถานที่ทาํ งานนา อยู นาดู สะดวกสบายและปลอดภยั นน้ั จะตอ งกําจัดส่ิงที่ไมตองใชแลว ออกไปใหหมด และจดั ส่งิ ทจ่ี ะเก็บใหเปนหมวดหมู เพอ่ื ความสะดวก สะอาด และสวยงาม กิจกรรม 5 ส สะสาง : แยกรายการสิง่ ของทจี่ ําเปนและไมจ ําเปน ทง้ิ สิ่งของทไ่ี มจ าํ เปน ออกไปใหม ากที่สดุ เทา ทีจ่ ะทาํ ได สะดวก : เก็บเครื่องมืออุปกรณไวในที่ท่ีใชไดสะดวกและเก็บในสภาพที่ ปลอดภยั สะอาด : จดั ระเบียบการดูแลความสะอาดของสถานที่ทํางาน เชน การกําจัด ฝนุ ละออง สุขลกั ษณะ : ดูแลเส้ือผาและรักษาสภาพสถานท่ีทํางานใหสะอาดเรียบรอย อยา ปลอยใหสกปรกรกรุงรังเปนเดด็ ขาด สรางนิสัย : ปฏิบัติ 4 ส ขา งตน จนเปนนิสัย 1.6 ความปลอดภยั ในการประกอบอาชีพเกษตรกรรม ปจ จบุ นั การประกอบอาชพี เกษตรกรรม มีการนําเคร่อื งจักรกล เชน รถแทรกเตอร
167 รถไถนา เครื่องเก็บเก่ียว เครื่องผอนแรง เปนตน และสารเคมี เชน ปุยเคมี สารกําจัดศัตรูพืช สารฆา แมลง เขา มาใชอยา งมากมาย เพ่อื ชว ยเพ่มิ ผลผลติ ซึ่งสิ่งเหลานี้หากนาํ ไปใชอยางไมถูกตองจะมีผลเสีย ตอสุขภาพและชวี ติ อันตรายจากการประกอบอาชีพเกษตรกรรม มี 5 ประการ ดงั น้ี ประการท่ี 1 สารเคมี เชน ปุย สารกําจัดศัตรูพืช สารฆาแมลง สารพิษปราบวัชพืช สารกําจดั เช้อื รา สารกําจดั สตั ว สารพษิ กําจัดสาหราย ไสเ ดอื นฝอย หอยทาก สารเคมีเหลาน้ีหากใชถูก วธิ กี ็มปี ระโยชน หากใชผ ดิ วิธีเปน โทษอยา งมากเชน กนั เกษตรกรจาํ เปนตองทราบสิง่ เหลานี้ วธิ เี กบ็ การใช โดยอา นจากฉลากขา งภาชนะบรรจุ เมอ่ื ใชห มดแลว ตองทําลายภาชนะบรรจุโดยการเผาหรอื ฝง ไมควรสูบบหุ รขี่ ณะทําการฉดี พน ระวังการสัมผสั สารเคมีทผ่ี ิวหนงั เนอื่ งจากสามารถดูดซมึ ทางผวิ หนังได ระวังการสดู ดมหายใจเขาสทู างเดนิ หายใจ ไมยืนใตลมขณะฉดี พนสารเคมี เครอ่ื งใชตา ง ๆ สาํ หรบั การฉดี พน ตอ งดูแลไมใหเสอ่ื มสภาพ รว่ั ซมึ เวลาผสมยาหามใชมอื กวน ประการที่ 2 อันตรายจากฝุนท่ีเกิดจากเกษตรกรรม ฝุนเกิดข้ึนจํานวนมากใน กิจกรรมนวดขาว และกิจกรรมอน่ื ๆ ในนา ปญหาที่เกิดขึ้นคือ ฝุนจะเปนสวนที่รับเอาเช้ือรา ละออง เกสรดอกไม และพวกสเปอรปะปนอยู และจะนําโรคสูคนได ทําใหผูสัมผัสเกิดเช้ือรา โรคปอดฝุนฝาย โรคปอดชานออ ย โรคปอดชาวนา วธิ ีปองกัน คอื เกษตรควรสวมหนา กากปอ งกันฝุน รักษาความสะอาดของผิวหนงั หลงั เสรจ็ งานแลว ใชวิธีพน นํา้ เพ่ือลดการฟุง กระจายของฝุน หาความรูเพื่อปองกันตัวเอง รวมท้ังเพ่ือใหทราบถึงภัยตาง ๆ ที่อาจเกิดขึ้น เชน อาการเกิดโรค จะไดส ามารถปองกันตัวเองไมใหเ กดิ โรคลุกลามตอไป ประการท่ี 3 อนั ตรายจากการเปนโรคติดเชอ้ื จากสัตว ทส่ี าํ คญั คอื มา วัว ควาย แกะ แพะ สกุ ร สนุ ขั สตั วปา ทก่ี ินเนอ้ื นก เปด ไก เปน ตน โรคติดเชื้อท่ีสําคัญ ไดแก โรคแอนแทรกซ โรค กลวั นาํ้ บาดทะยัก เลพโตสไปโรซสี กลากเกลอ้ื น ของเช้ือรา วธิ ปี องกนั คอื
168 เกษตรกรควรทราบแหลง โรค วธิ ีการแพรโรค เมือ่ สัตวปว ยตอ งเผาหรือฝง ทําลายเช้ือ ฉดี วัคซนี ปองกนั โรคแกสัตว รักษาความสะอาดของผิวหนัง ระวังมิใหสัมผัสกับผิวหนังของสัตวที่เปน โรค ทําความสะอาดแผลทันทเี มื่อมีบาดแผลเกดิ ข้นึ ประการที่ 4 อนั ตรายจากความรอน แสง เสยี ง ความสั่นสะเทอื น เกษตรกรอาจเปน ตะครวิ ออนเพลีย หรอื เปนลม อนั เนอ่ื งมาจากการไดรบั ความรอนทีม่ าจากแสงอาทติ ย หรือไดร บั เสียง ดงั จากเครื่องจักรกล ซึ่งมีผลตอสุขภาพจิตดวย รวมท้ังเกิดอาการหูตึง หรือหูหนวกได อันตรายจาก แสงจา ซ่ึงพบมากทําใหเ กิดตอ สูญเสียการมองเห็น และในการใชเคร่อื งจักรกม็ ปี ญ หา การสน่ั สะเทือน จากเคร่ืองจักร เชน รถแทรกเตอร เครอ่ื งเกีย่ วขา ว เคร่อื งไถ เคร่อื งเจาะ เล่ือยไฟฟา ความส่ันสะเทือนมี อันตรายตอมอื และแขน ทําใหเ กดิ อาการปวดขอตอ เม่ือยลา ระบบยอยอาหารผิดปกติ กระดูกอักเสบ วิธปี องกนั อนั ตรายเหลา นไี้ ดแก การสวมใสอ ปุ กรณปองกนั อันตรายสวนบคุ คล เชน ถงุ มือ อุดหู การปอ งกนั เก่ียวกบั ความรอน ทาํ ไดโ ดยใหส วมเสอื้ ผาหนา แขนยาว แตเปน ผาท่รี ะบายอากาศไดด ี ดม่ื น้ําผสมเกลอื ใหเขม ขน ประมาณ 0.1% หยดุ พักระหวา งงานบอยขนึ้ หากอากาศรอนจัดมาก ประการที่ 5 อุบัติเหตุในงานเกษตรกรรม เชน การถูกของมีคมบาด ไดแก มีด ขวาน เคยี ว เมื่อเกิดบาดแผลเกษตรกรไมมีเวลาที่จะทําความสะอาดแผลหรือปฐมพยาบาลโดยทันที โอกาสที่จะไดรับเชื้อโรค เชน โรคบาดทะยัก จึงพบบอย และเปนสาเหตุการตายท่ีสําคัญหรือการใช เครื่องยนตท่ีใชไฟฟาก็อาจเกิดไฟฟา ดูด หรือเกิดการไหมต ามผวิ หนงั ข้ึนได ซึ่งควรตอ งเรยี นรูเ รอื่ งการ ใชไ ฟฟา ใหถ ูกตองดวย นอกจากน้ียงั มีอันตรายจากการใชเครอ่ื งยนต เชน เชอื ก โซ สายพาน หนีบหรอื บีบอัด ทาํ ใหม อี บุ ตั เิ หตุเกดิ ขึ้นที่นวิ้ มอื เปนสว นใหญ โรคจากการทํางานท่ีสําคัญและพบบอยที่สุดในเกษตรกรคือ การปวดหลังจากการ ทํางานอันเนอ่ื งมาจากทา ทางการทาํ งานทีฝ่ น ธรรมชาติ ทําใหเกิดอาการปวดเม่ือยกลามเน้ือ การปวด เมือ่ ยกลามเนื้อท่เี กดิ ขน้ึ ซ้ํา ๆ ทกุ วนั เรียกวา โรคบาดเจ็บซํ้าซาก หรือโรคบาดเจ็บซํ้าบอย สามารถแกไข ได ควรจะไดเรียนรวู ิธีการหาเครอ่ื งทุนแรงหรือประยุกตวิธีการทํางานเพื่อบรรเทาอาการเหลานั้นให ลดนอ ยลง ตัวอยางเชน การใชเครือ่ งหวานเมลด็ พชื แทนการกม เงยในการหวานโดยคนก็จะทําใหการ ทาํ งานเปน สุขขน้ึ ได
169 เร่ืองที่ 2 การปฐมพยาบาลเบือ้ งตน การปฐมพยาบาล คือ การใหก ารชวยเหลือเบ้ืองตน ตอผปู ระสบอันตราย หรือเจบ็ ปว ย ณ สถานทเี่ กดิ เหตกุ อนทีจ่ ะถงึ มอื แพทย หรอื โรงพยาบาล เพ่อื ปอ งกนั มิใหเ กดิ อนั ตรายแกชีวติ หรือ เกดิ ความพิการโดยไมส มควร วัตถุประสงคข องการปฐมพยาบาล 1. เพอ่ื ใหมชี วี ติ อยู 2. เพอื่ ไมใหไ ดร บั อันตรายเพมิ่ ขึ้น 3. เพอ่ื ใหกลับคืนสูส ภาพเดิมไดโดยเรว็ หลักท่ัวไปในการปฐมพยาบาล 1. อยาตืน่ เตน ตกใจ และอยา ใหคนมงุ เพราะจะแยง ผบู าดเจบ็ หายใจ 2. ตรวจดวู าผูบาดเจ็บยงั รสู ึกตวั หรือหมดสติ 3. อยา กรอกยา หรอื นา้ํ ใหแกผ ูบาดเจบ็ ในขณะทไ่ี มรูสกึ ตวั 4. รีบใหการปฐมพยาบาลตอ การบาดเจ็บทอี่ าจทาํ ใหเ กดิ อันตรายถงึ แกช ีวติ โดยเร็ว กอ น สว นการบาดเจบ็ อืน่ ๆ ทไี่ มรนุ แรงมากนักใหด าํ เนนิ การปฐมพยาบาลในลําดบั ถดั มา การบาดเจ็บที่ตอ งไดร บั การชว ยเหลือโดยเร็ว คอื 1. การขาดอากาศหายใจ 2. การตกเลือด และมอี าการชอ็ ก 3. การสมั ผัส หรอื ไดรับสง่ิ มพี ิษทรี่ นุ แรง การปฐมพยาบาลเม่อื เกดิ อาการบาดเจบ็ ขอเคล็ด สาเหตุ เกดิ จากการฉกี ขาด หรือการยดึ ตวั ของเน้อื เย่ือ กลา มเน้ือ หรอื เสนเอน็ รอบขอตอ อาการ - เวลาเคลือ่ นไหวจะรูสกึ ปวดบริเวณขอ ตอ ท่ีไดรับอนั ตราย - บวมแดงบริเวณรอบ ๆ ขอ ตอ
170 การปฐมพยาบาล - อยาใหขอ ตอ บรเิ วณทีเ่ จบ็ เคลอื่ นไหว - อยาใหของหนกั กดทบั บริเวณขอทเี่ จบ็ - ควรประคบดว ยความเย็นไวกอน - ถา มีอาการปวดรนุ แรง ใหรีบนาํ ไปพบแพทย ขดั ยอก สาเหตุ เกิดจากการทก่ี ลา มเน้ือยึดตวั มากเกินไป ซึง่ เกดิ ขนึ้ เพราะการเคล่ือนไหวอยางรนุ แรง และรวดเรว็ มากเกนิ ไป อาการ เจบ็ ปวดบริเวณท่ไี ดรบั บาดเจบ็ ตอมามีอาการบวม การปฐมพยาบาล - ใหผ ูบาดเจบ็ นงั่ หรือนอนในทาที่สบาย และปลอดภัย - ถาปวดมากอาจบรรเทาอาการโดยการประคบความเย็นกอ น แลวตอดวยประคบ ความรอน ตาบาดเจบ็ การปฐมพยาบาลเกยี่ วกับตานนั้ ควรใหการปฐมพยาบาลเฉพาะตาท่บี าดเจ็บเลก็ นอ ย เทานนั้ ถาบาดเจ็บรนุ แรงใหหาผา ปดแผลสะอาดปด ตาหลวม ๆ แลว นาํ ผูบาดเจ็บสง โรงพยาบาล โดยเร็ว ผงเขาตา สาเหตุ - มีสิง่ แปลกปลอมเขาตา - ระคายเคอื งตา คัน หรือปวดตา การปฐมพยาบาล - ใชน า้ํ สะอาดลางตาใหทั่ว - ถา ผงไมอ อกใหห าผา สะอาดปดตาหลวม ๆ แลวนาํ ผบู าดเจบ็ ไปพบแพทย
171 สารเคมีเขาตา สาเหตุ กรด หรือดา งเขา ตา อาการ - ระคายเคอื งตา - เจบ็ ปวด และแสบตามาก การปฐมพยาบาล - ใหลางตาดว ยนา้ํ ทส่ี ะอาดโดยวิธกี ารใหน ํ้าไหลผา นลกู ตา จนกวาสารเคมี จะออกมา - ใชผา ปดแผลทีส่ ะอาดปดตาหลวม ๆ แลวนําผูบาดเจ็บไปพบแพทย โดยเร็วทส่ี ุด ไฟไหม หรอื นาํ้ รอ นลวก สาเหตุ บาดแผลอาจจะเกดิ จากถูกไฟโดยตรง ประกายไฟ ไฟฟา วตั ถุที่รอ นจดั นาํ้ เดือด สารเคมี เชน กรด หรอื ดา งทีม่ คี วามเขมขน อาการ แบงเปน 3 ลักษณะ - ลกั ษณะที่ 1 ผิวหนังแดง - ลกั ษณะท่ี 2 เกดิ แผลพอง - ลักษณะที่ 3 ทําลายชน้ั ผิวหนงั เขา ไปเปน อนั ตรายถงึ เนือ้ เยือ่ ทีอ่ ยใู ตผิวหนงั บางครง้ั ผูบ าดเจ็บจะมีอาการชอ็ ก การปฐมพยาบาล บาดแผลในลกั ษณะที่ 1 และ 2 ซงึ่ ไมส าหสั ใหปฐมพยาบาลดงั น้ี - ประคบดว ยความเย็นทนั ที - ใชน้าํ มนั ทาแผลได และปด แผลดวยผาทส่ี ะอาด ใชผ า พนั แผลพันแตอยา ใหแนน มาก บาดแผลในลักษณะที่ 3 ใหปฐมพยาบาลดงั นี้ - ถาผบู าดเจ็บมอี าการช็อก รีบใหก ารปฐมพยาบาลอาการชอ็ กกอ น
172 - หามดึงเศษผาทถ่ี ูกไฟไหมซึ่งตดิ อยูกับรา งกายออก - นาํ ผูบาดเจบ็ สงโรงพยาบาลโดยเร็วที่สดุ เทาที่จะทาํ ได กระดูกเคลือ่ น สาเหตุ กระดกู เคลื่อนเกดิ ขึน้ เพราะปลายกระดูกขางหนง่ึ ซ่ึงประกอบกันเขาเปน ขอ ตอ เคลือ่ นทห่ี ลุดออกจากเสน เอ็นท่หี ุม หอ บรเิ วณขอ ตอไว อาการ - ตึงและปวดมากบรเิ วณขอตอทหี่ ลุด - ขอตอ จะมรี ปู รา ง และตาํ แหนง ผิดไปจากเดมิ การปฐมพยาบาล - จดั ใหผบู าดเจ็บอยใู นทาทีส่ บายท่ีสุด - หามกด หรอื ทําใหขอตอน้ันเคลอื่ นไหวเปนอนั ขาด - นําผบู าดเจบ็ สง แพทยใ หเรว็ ท่ีสุด - การเคลอื่ นยายผูบาดเจบ็ ควรใชเปลหาม กระดูกหกั กระดกู หกั มีอยู 2 แบบ คือ 1. กระดกู หกั ชนดิ ธรรมดา หรือชนดิ ปด ไดแ ก การมกี ระดกู หกั เพยี งอยา งเดยี ว ไมแทงทะลผุ ิวหนังออกมา 2. กระดกู หักชนิดมีบาดแผล หรอื ชนิดเปด ไดแก การมกี ระดกู หักแลว แทงทะลุ ผิวหนงั ออกมา หรอื วตั ถจุ ากภายนอกแทงทะลุผวิ หนงั เขาไปกระทบกบั กระดูก ทําใหก ระดกู หัก อาการ - บวม - เวลาเคลื่อนไหวจะเจ็บบรเิ วณทไ่ี ดร บั อนั ตราย - ถา จบั บริเวณที่ไดรบั อันตรายจะรสู ึกนุมนิ่ม และอาจมเี สยี งปลายกระดกู ทห่ี กั เสียด สีกัน - อวัยวะเบ้ยี วบดิ ผดิ รปู
173 การปฐมพยาบาล - อยา เคล่อื นยา ยผปู ระสบอันตราย นอกจากจะจําเปน จรงิ ๆ การเคลือ่ นยาย อาจทาํ ใหบ าดเจ็บมากขน้ึ ไปอกี - คอยระวงั ใหป ลายกระดกู ทีแ่ ตกอยนู ิง่ ๆ - ปองกันอยา ใหเ กดิ อาการช็อก - ถากระดกู ทห่ี กั แทงทะลุผวิ หนังออกมาขางนอก ใหหา มเลือดโดยใชนว้ิ กด หรือใชสายสาํ หรับรัดหามเลือด - ใชผา ปดแผลทสี่ ะอาด ปดปากแผล หรอื กระดกู ทโ่ี ผลอ อกมา - ถามคี วามจาํ เปน ทจี่ ะตอ งเคลือ่ นยา ยผูบาดเจบ็ ควรใชเ ฝอกช่ัวคราว สายคลอ งแขน หมอน และเปลเฝอ กช่ัวคราวอาจทาํ ดวยวตั ถใุ ด ๆ ก็ไดท ่อี ยใู กลม อื เชน กระดาน มวน หนงั สอื พิมพ มวนฟาง หรอื รม ใหผกู เฝอกกับแขน หรอื ขาตรงท่ีหักทั้งขางลาง และขา งบน และถา สามารถทําไดใหผ กู มดั จากท่ี ๆ แตกไปทง้ั สองขา ง จะทําใหเฝอ กชว่ั คราวแขง็ แรงขนึ้ ใชก ระดาษ ผา สําลี หรือวตั ถอุ น่ื ๆ ทคี่ ลายกันรองเฝอก เพือ่ ใหบรเิ วณที่ไดรบั อนั ตรายอยใู นระดบั เดยี วกัน ซง่ึ การทาํ วธิ ีนี้เฝอกจะพอดี ไมก ดกระดกู บางแหง มากเกินไป สําหรบั การใสเ ฝอกทแ่ี ขนหรอื ขานนั้ ควรใสให รอบทกุ ดา นดีกวาใสเ ฉพาะดานใดดา นหน่ึง และใหใ ชผ าเปนชน้ิ ๆ หรอื เชือกทีเ่ หนยี ว ๆ ผกู เฝอ ก แต ผาสาํ หรบั ผูกในยามฉกุ เฉินทีด่ ที สี่ ุดก็คือ ผา พนั แถบยาว ๆ - บางครงั้ กอนจะเขา เฝอกจําเปนตองเคล่อื นยายผบู าดเจบ็ บา งเล็กนอย ควรจะใหใคร คนหนึ่งจับแขน หรอื ขาสว นท่อี ยเู หนอื และสวนทอี่ ยตู าํ่ กวาบรเิ วณทกี่ ระดกู นั้นหักใหอยูนงิ่ ๆ สวนคน อื่น ๆ ใหชว ยกนั รบั นาํ้ หนักของรา งกายไว วิธที ่ีดที ่ีสดุ กค็ อื ใชเ ปลหาม - กระดูกสันหลัง หรือคอหัก หรือสงสัยวาจะหัก จะตองใชความระมัดระวังเปน พิเศษ ถาคนเจ็บหมดสติอาจจะไมรูวากระดกู คอ หรอื กระดกู สนั หลังหัก นอกจากผทู ําการปฐมพยาบาล นั้นจะมีความรใู นเรอื่ งน้เี ปน พิเศษ กระดูกหักธรรมดาอาจจะกลายเปน กระดกู หกั ชนิดมีบาดแผลไดถา หากไมร ะมดั ระวงั ในการเคล่อื นยา ยผูบาดเจบ็ ดังนั้น หากสามารถทาํ ไดค วรงดเวนการเคล่ือนยา ยใด ๆ จนกวาแพทยจะมาทาํ การชว ยเหลอื การเคลอ่ื นยายผทู กี่ ระดูกคอหกั - เม่ือจะทําการเคลื่อนยายผูบาดเจ็บท่ีกระดูกคอหัก ใหเอาบานประตู หรือแผน กระดานกวา ง ๆ มาวางลงขางคนเจ็บ ใหปลายกระดานเลยศีรษะคนเจ็บไปประมาณ 4 นิ้ว เปนอยาง นอ ย - ถาผบู าดเจ็บนอนหงาย ใหใ ครคนหนึ่งคกุ เขาลงเหนือศรี ษะ ใชมือทั้งสองจับศีรษะ ไวใ หน ่ิง ๆ เพอื่ ใหศรี ษะ และหัวไหลเ คลอื่ นไหวเปน จังหวะเดียวกันกับรางกาย สวนคนอ่ืน ๆ จะเปน คนเดียว หรอื หลายคนก็ไดชว ยกนั จับเส้อื ผาของผบู าดเจ็บตรงหวั ไหล และตะโพก แลว
174 คอ ย ๆ เลอื่ นผูบ าดเจบ็ นั้นวางลงบนแผน กระดาน หรือบานประตู ใหผูบาดเจ็บนอนหงายอยายกศีรษะ ขึน้ และอยา ใหคอบิดไปมา - ถาผูบาดเจ็บนอนคว่ําหนา ควรจะวางบานประตู หรือกระดานลงขาง ๆ ตัว ผบู าดเจบ็ นนั้ เอาแขนเหยียดไปทางศีรษะ คกุ เขาลงเอามือจับขางศีรษะของผูบาดเจ็บ โดยใหมือปดหู และมมุ ขากรรไกร แลวคอยพลิกคนเจ็บใหนอนหงายบนกระดาน เวลาพลิกใหนอนหงายจะตองให ศรี ษะอยูน ิง่ ๆ และใหอยูระดบั เดยี วกับลําตวั ทัง้ ศีรษะ และลาํ ตัวจะตอ งพลิกใหพ รอ ม ๆ กนั - ระหวา งท่ที ําการเคลอ่ื นยาย ควรจะใชหนังรัด หรือผาพันแผลก็ไดหลาย ๆ อัน รัด รอบตวั ของผบู าดเจ็บใหตดิ แนน กับแผนกระดาษ หรอื ถา มีเปลกใ็ หใ ชเ ปลหาม การเคลอ่ื นยา ยผูท ก่ี ระดูกสนั หลงั หกั - อยารีบยกผูบาดเจ็บท่ีสงสัยวากระดูกสันหลังจะหัก ตองถามกอนวาสามารถ เคล่อื นไหว ไดห รือไม ถาผบู าดเจ็บไมไดส ติ และสงสัยวา จะไดร ับอันตรายที่กระดูกสนั หลัง ใหปฏิบัติ เชน เดยี วกบั ผทู กี่ ระดูกคอหกั - ถาพบคนท่สี งสัยวากระดกู สันหลังหักนอนควํ่าหนาอยู คอย ๆ พลิกใหนอนหงาย ลงบนแผน กระดาน หรือเปล แลว หาอะไรมารองสันหลงั ตอนลา ง - ถา ผูบาดเจ็บนอนหงาย คอย ๆ เล่ือนใหนอนบนกระดาน โดยปฏบิ ัตเิ ชนเดยี วกับผูที่ กระดูกคอหัก - ผูบาดเจ็บที่สงสยั วากระดูกสนั หลงั หัก หามยกในทานง่ั โดยเดด็ ขาด กะโหลกศรี ษะแตก สมองไดรับความกระทบกระเทอื น ผทู ป่ี ระสบอนั ตรายจนกะโหลกศรี ษะแตก หรือสะเทือน จะมีอาการเลือดออกทางหู ตา และจมกู อาจมีของเหลวสีขาวไหลออกมาจากหู ตาดาํ อาจจะมีขนาดไมเทากัน หนาแดง หรือซีดก็ ได การปฐมพยาบาล - ถาหนามีสปี กติ หรอื สีแดง ควรวางผูบาดเจ็บนอนลง แลวหนนุ ศรี ษะใหส ูงเล็กนอย ถาหนาซดี ควรวางศีรษะในแนวราบ - พลกิ ศีรษะใหอ ยูในลักษณะทไ่ี มถูกทบั บริเวณท่ีสงสัยวากระดูกจะแตก - ถามีบาดแผลปรากฏใหหามเลือด และปดบาดแผลดวยผาปดแผลท่ีสะอาด ผูก ผา พนั แผลดานตรงขามกบั บาดแผล - ใหความอบอุน แกผ ูบาดเจ็บอยเู สมอ และอยาใหส ารกระตุน ใด ๆ แกผบู าดเจบ็
175 การหา มเลอื ดเมอื่ เกดิ อนั ตรายจากของมคี ม วธิ หี ามเลอื ดมีหลายวธิ ี ไดแ ก 1. การกดดว ยนิว้ มือ มีวธิ ปี ฏบิ ตั ดิ งั น้ี - ในกรณีทบ่ี าดแผลเลือดออกไมม าก จะหา มเลอื ดโดยใชผาสะอาดปดท่บี าดแผลแลว พนั ใหแนน ถายังมีเลอื ดไหลซึม ใหใ ชนิ้วมอื กดตรงบาดแผลดว ยกไ็ ด - ในกรณีที่เสน โลหิตแดงใหญขาด หรือไดร บั อนั ตรายอยา งรุนแรงเปนบาดแผลใหญ ควรใชนว้ิ มือกดเพ่อื หา มเลอื ดไมใ หไ หลออกมา และใหก ดลงบรเิ วณระหวางบาดแผลกบั หัวใจ เชน - เลอื ดไหลออกจากหนังศีรษะ และสว นบนของศรี ษะ ใหกดทีเ่ สนเลือดบริเวณขมับ ดา นที่มีบาดแผล - เลอื ดไหลออกจากใบหนา ใหกดทีเ่ สน เลือดใตข ากรรไกรลา งดา นทม่ี ีบาดแผลหาง จากมุมขากรรไกรไปขา งหนา ประมาณ 1 นวิ้ - เลือดไหลออกมาจากคอ ใหกดลงไปบริเวณตนคอขาง ๆ หลอดลมดานท่ีมี บาดแผล แตก ารกดตาํ แหนงนนี้ านๆ อาจจะทาํ ใหผูถกู กดหมดสติได ฉะนั้นควรใชว ิธีนี้ตอเมอ่ื ใชว ธิ อี น่ื ๆ ไมไดผลแลว เทา นัน้ - เลอื ดไหลออกมาจากแขนทอ นบน ใหก ดลงไปท่ไี หปลาราตอนบนสดุ ใกลหัวไหล ของแขนดา นท่มี บี าดแผล - เลือดไหลออกมาจากแขนทอนลาง ใหกดที่เสนเลือดบริเวณแขนทอนบนดานใน กึง่ กลางระหวางหัวไหลก ับขอ ศอก - เลือดออกทข่ี า ใหกดเสนเลอื ดบริเวณขาหนบี ดา นที่มบี าดแผล 2. การใชสายรดั หามเลอื ด ในกรณีทเ่ี ลือดไหลออกจากเสน โลหติ แดงทแ่ี ขน หรอื ขา ใชนิ้วมือกดแลว เลือด ไมห ยดุ ควรใชสายสําหรับหามเลือดโดยเฉพาะ - สายรัดสําหรับแขน ใหใชรัดเสนโลหิตที่ตนแขน สายรัดสําหรับขาใหใชรัดเสน โลหิตท่ีโคนขา - อยา ใชส ายรัดผกู รัดใหแนนเกินไป และควรจะคลายออกเปนเวลา 3 วินาที ทุก ๆ 10 นาที จนกวาเลือดจะหยดุ - ถาไมม ีสายรัดแบบมาตรฐาน อาจใชวัตถุท่ีแบน ๆ เชน เข็มขัด หนังรัด ผาเช็ดตัว เนคไท หรอื เศษผา ทําเปน สายรัดได แตอยา ใชเ ชอื กเสน ลวด หรอื ดา ยทาํ เปนสายรัด เพราะอาจจะบาด หรอื เปนอันตรายแกผ วิ หนงั บริเวณทีผ่ ูกได
176 3. การยกบรเิ วณทม่ี ีบาดแผลใหสงู กวาหัวใจ ในกรณที ่ีมบี าดแผลเลอื ดออกทีเ่ ทา จดั ใหผบู าดเจ็บนอนลงแลวยกเทาขน้ึ กิจกรรม ใหผ เู รยี นรวบรวมขอมูลการไดรบั อนั ตรายจากการทํางานของตนเอง สมาชกิ ใน ครอบครวั และเพอ่ื นรว มงาน ดังน้ี 1. ขา พเจา เคยไดรบั อนั ตรายจากการทาํ งาน ดังน้ี งาน / หนาท่ที ี่ปฏิบตั ิ หรอื เคยปฏิบตั .ิ ..................................................................................... ........................................................................................................................................... อันตรายที่เคยไดรบั 1. .................................................................................................................................... 2. .................................................................................................................................... 3. .................................................................................................................................... การปองกนั และแกไ ข 1. .................................................................................................................................... 2. .................................................................................................................................... 3. .................................................................................................................................... 2. สมาชกิ ในครอบครวั เคยไดรับอนั ตรายจาการทาํ งาน คอื ......................................................... งาน / หนาท่ที ป่ี ฏิบัติ หรือเคยปฏบิ ัต.ิ ................................................................................. .................................................................................................... ...................................... อันตรายท่เี คยไดรับ 1. .................................................................................................................................... 2. ..................................................................................................................................... 3. .................................................................................................................................... การปอ งกนั และแกไ ข 1. ..................................................................................................................................... 2. .................................................................................................................................... 3. .....................................................................................................................................
177 3. เพื่อนรวมงานท่ีเคยไดร ับอนั ตรายจากการทาํ งาน ดังนี้ งาน / หนา ท่ีทปี่ ฏิบัติ หรอื เคยปฏิบัต.ิ ................................................................................. .................................................................................................... ...................................... อนั ตรายท่เี คยไดรับ 1. ..................................................................................................................................... 2. .................................................................................................................................... 3. ..................................................................................................................................... การปอ งกนั และแกไข 4. .................................................................................................................................... 5. .................................................................................................................................... 6. ....................................................................................................................................
178 บทท่ี 9 ทักษะชวี ิตเพอื่ การส่อื สาร สาระสําคญั การมคี วามรคู วามเขาใจเกี่ยวกบั ทักษะท่ีจําเปนสําหรับชีวิตมนุษย โดยเฉพาะทักษะ การส่อื สาร ทักษะการสรางสัมพันธภาพระหวา งบคุ คล ทกั ษะการเขาใจผูอื่น จะชวยใหบ ุคคลดํารงชวี ติ อยใู นครอบครวั ชมุ ชน และสงั คมอยางมคี วามสุข ผลการเรยี นรทู ี่คาดหวงั เพอ่ื ใหผูเรยี น 1. มีความรูความเขาใจเก่ียวกับทักษะชีวิตที่จําเปน 3 ประการ ไดแก ทักษะการ ส่ือสาร ทักษะการสรางสมั พนั ธภาพระหวางบคุ คล และทกั ษะการเขา ใจผอู น่ื 2. ประยกุ ตใชท กั ษะชวี ติ ในการดาํ เนนิ ชีวิต และในการทํางานอยา งมีประสทิ ธิภาพ ขอบขา ยเนอื้ หา เรอื่ งที่ 1 ความหมายของทักษะชีวิต เรอ่ื งท่ี 2 ทกั ษะชวี ิตท่จี าํ เปน 3 ประการ
179 เรื่องท่ี 1 ความหมายของทกั ษะชวี ิต คําวา ทักษะ (Skill) หมายถงึ ความชดั เจน และความชํานาญในเรอ่ื งใดเร่อื งหนง่ึ ซึ่ง บคุ คลสามารถสรางขนึ้ ไดจากการเรยี นรู ไดแ ก ทักษะการอาชีพ การกฬี า การทํางานรวมกับผูอ่ืน การ อาน การสอน การจัดการ ทักษะทางคณติ ศาสตร ทกั ษะทางภาษา ทักษะทางการใชเทคโนโลยี ฯลฯ ซ่ึง เปน ทกั ษะภายนอกทส่ี ามารถมองเห็นไดชัดเจนจากการกระทํา หรือจากการปฏิบัติ ซึ่งทักษะดังกลาว นั้นเปนทกั ษะท่ีจําเปนตอการดํารงชวี ิต ทีจ่ ะทาํ ใหผ ูมที ักษะเหลานั้นมีชีวิตที่ดี สามารถดํารงชีพอยูใน สังคมได โดยมโี อกาสที่ดีกวาผไู มมีทักษะดังกลาว ซึ่งทักษะประเภทนี้เรียกวา Livelihood skill หรือ Skill for living ซึ่งเปนคนละอยางกับทักษะชีวิต ที่เรียกวา Life skill (ประเสริฐ ตันสกุล) ดังนั้น ทกั ษะชีวิต หรอื Life skill จงึ หมายถงึ คุณลกั ษณะ หรอื ความสามารถเชงิ สงั คม จิตวทิ ยา (Psychosocial competence) ท่ีเปนทักษะภายในท่ีจะชวยใหบุคคลสามารถเผชิญสถานการณตาง ๆ ที่เกิดข้ึนใน ชีวิตประจาํ วนั ไดอ ยางมีประสิทธภิ าพ และเตรียมพรอ มสําหรบั การปรบั ตวั ในอนาคต ไมวา จะเปนเรอ่ื ง การดแู ลสุขภาพ เอดส ยาเสพตดิ ความปลอดภัย ส่ิงแวดลอม คุณธรรมจริยธรรม ฯลฯ เพอ่ื ใหส ามารถมี ชีวิตอยใู นสังคมไดอ ยา งมีความสุข หรือจะกลาวงา ย ๆ ทักษะชีวิต ก็คือ ความสามารถในการแกปญหา ทีต่ อ งเผชิญในชีวติ ประจําวัน เพ่ือใหอ ยรู อดปลอดภยั และสามารถอยูร วมกับผอู น่ื ไดอยา งมีความสขุ 1.1 องคป ระกอบของทกั ษะชวี ิต องคป ระกอบของทักษะชีวิต จะมีความแตกตางกันตามวัฒนธรรม และสถานที่ แต ทกั ษะชีวิตทจ่ี าํ เปนท่ีสุดที่ทุกคนควรมี ซ่ึงองคการอนามัยโลกไดสรุปไว และถือเปนหัวใจสําคัญใน การดาํ รงชวี ิต คอื 1. ทักษะการตัดสินใจ (Decision making) เปนความสามารถในการตัดสินใจ เกี่ยวกับเรือ่ งราวตาง ๆ ในชีวติ ไดอ ยางมีระบบ เชน ถา บคุ คลสามารถตัดสนิ ใจเกี่ยวกับการกระทําของ ตนเองทเ่ี กย่ี วกับพฤติกรรมดา นสุขภาพ หรอื ความปลอดภยั ในชวี ติ โดยประเมินทางเลือก และผลที่ได จากการตดั สินใจเลือกทางที่ถูกตองเหมาะสม ก็จะมีผลตอ การมีสุขภาพที่ดีท้งั รา งกาย และจิตใจ 2. ทักษะการแกปญหา (Problem Solving) เปนความสามารถในการจัดการกับ ปญหาที่เกิดขึ้นในชวี ติ ไดอ ยางมีระบบ ไมเกิดความเครยี ดทางกาย และจิตใจ จนอาจลกุ ลามเปน ปญหา ใหญโ ตเกินแกไข 3. ทักษะการคิดสรางสรรค (Creative thinking) เปนความสามารถในการคิดที่จะ เปนสวนชวยในการตัดสินใจ และแกไขปญหาโดยการคิดสรางสรรค เพ่ือคนหาทางเลือกตาง ๆ รวมท้ังผลทจี่ ะเกิดขน้ึ ในแตล ะทางเลอื ก และสามารถนําประสบการณมาปรับใชในชีวิตประจําวันได อยา งเหมาะสม
180 4. ทกั ษะการคิดอยางมวี จิ ารณญาณ (Critical thinking) เปนความสามารถใน การ คดิ วเิ คราะหขอ มลู ตาง ๆ และประเมินปญ หา หรอื สถานการณท่ีอยูรอบตัวเรา ที่มีผลตอการ ดําเนิน ชีวิต 5. ทักษะการส่ือสารอยางมีประสิทธิภาพ (Effective communication) เปน ความสามารถในการใชคําพูด และทาทาง เพื่อแสดงออกถึงความรูสึกนึกคิดของตนเองไดอยาง เหมาะสมกบั วฒั นธรรม และสถานการณต า ง ๆ ไมวาจะเปน การแสดงความคิดเห็น การแสดง ความ ตองการ การแสดงความช่ืนชม การขอรอง การเจรจาตอรอง การตักเตือน การชวยเหลือการปฏิเสธ ฯลฯ 6. ทักษะการสรางสัมพันธภาพระหวางบุคคล (Interpersonal relationship) เปน ความสามารถในการสรางความสัมพันธที่ดีระหวางกันและกัน และสามารถรักษาสัมพันธภาพไวได ยนื ยาว 7. ทักษะการตระหนักรูในตน (Self awareness) เปนความสามารถในการคน หารจู กั และเขา ใจตนเอง เชน รขู อ ดี ขอเสียของตนเอง รูความตองการ และส่ิงท่ีไมตองการของตนเอง ซึ่งจะ ชว ยใหเรารูตวั เองเวลาเผชญิ กับความเครยี ด หรือสถานการณตา ง ๆ และทักษะน้ียงั เปนพืน้ ฐานของการ พัฒนาทักษะอน่ื ๆ เชน การสอื่ สาร การสรางสมั พันธภาพ การตัดสนิ ใจ ความเห็นใจผอู ่ืน 8. ทักษะการเขาใจผูอื่น (Empathy) เปนความสามารถในการเขาใจความเหมือน หรอื ความแตกตางระหวา งบุคคล ในดานความสามารถ เพศ วยั ระดับการศึกษา ศาสนา ความเช่ือ สี ผิว อาชีพ ฯลฯ ชวยใหสามารถยอมรับบุคคลอื่นที่ตางจากเรา เกิดการชวยเหลือบุคคลอ่ืนท่ีดอยกวา หรอื ไดร บั ความเดือดรอ น เชน ผตู ดิ ยาเสพตดิ ผตู ิดเชื้อเอดส 9. ทักษะการจัดการกับอารมณ (Coping with emotion) เปนความสามารถในการ รบั รูอารมณข องตนเอง และผูอ่ืน รูวาอารมณมีผลตอการแสดงพฤติกรรมอยางไร รูวิธีการจัดการกับ อารมณโ กรธ และความเศรา โศก ทีส่ ง ผลทางลบตอรา งกาย และจิตใจไดอยา งเหมาะสม 10. ทักษะการจดั การกบั ความเครยี ด (Coping with stress) เปน ความสามารถในการ รับรูถึงสาเหตุของความเครียด รูวิธีผอนคลายความเครียด และแนวทางในการควบคุมระดับ ความเครยี ด เพื่อใหเกิดการเบ่ียงเบนพฤติกรรมไปในทางท่ีถูกตอง เหมาะสม และไมเกิดปญหาดาน สขุ ภาพ 1.2 กลวธิ ีในการสรางทกั ษะชวี ิต จากองคป ระกอบของทักษะชีวติ 10 ประการ เมอ่ื จะนาํ ไปใชพ ัฒนาทักษะชีวติ สามารถแบงไดเปน 2 สวน ดงั น้ี
181 1. ทักษะชีวิตทั่วไป คือ ความสามารถพื้นฐานท่ีใชเผชิญปญหาปกติใน ชีวิตประจําวัน เชน ความเครียด สุขภาพ การคบเพ่ือน การปรับตัว ครอบครัวแตกแยก การบริโภค อาหาร ฯลฯ 2. ทักษะชวี ิตเฉพาะ คอื ความสามารถท่จี ําเปน ในการเผชญิ ปญหาเฉพาะ เชน ยาเสพ ตดิ โรคเอดส ไฟไหม นา้ํ ทว ม การถูกลวงละเมิดทางเพศ ฯลฯ เร่อื งท่ี 2 ทกั ษะชีวติ ทีจ่ ําเปน 3 ประการ ทักษะการส่ือสารอยา งมีประสทิ ธิภาพ (Effective communication) ทกั ษะการสรา งสัมพนั ธภาพระหวางบุคคล (Interpersonal relationship) ทักษะการเขาใจผูอ ่นื (Empathy) 2.1 ทักษะการส่ือสารอยางมีประสิทธภิ าพ การสื่อสาร เปนกระบวนการสรางความเขาใจกันระหวางบุคคล โดยอาจเปนการ สอ่ื สารทางเดียว (one-way communication) คอื การสอ่ื ขาวสารจากผูสงสาร ไปยังผูรับสาร โดยไมมี การสอื่ สารกลบั หรือสะทอ นความรสู ึกกลับไปยังผสู งสารอกี ครัง้ สวนการสอื่ สารสองทาง (Two-way Communication) เปน การสือ่ ขา วสารจากผูสง สารไปยังผูรับสาร และมีการส่ือสารกลับ หรือสะทอน ความรสู ึกกลับจากผูรับสาร ไปยังผสู งสารอกี คร้งั จงึ เรียกวา เปนการสอ่ื สารสองทาง การสื่อสารระหวางบุคคล นับวาเปนความจําเปนอยางย่ิง เพราะในการดําเนินชีวิต ปกตใิ นปจจบุ ัน การสื่อสารเขามามบี ทบาทอยา งยิ่งในทุกกิจกรรม ไมวาจะเปนการสื่อสารดวย การ พดู การเขียน การแสดงกริ ิยาทาทาง หรือการใชเคร่ืองมือสื่อสารที่เปนเทคโนโลยีสมัยใหม ตาง ๆ เชน โทรศพั ท Internet e-mail ฯลฯ ทง้ั นี้ การสือ่ สารดวยวธิ ใี ด ๆ กต็ าม ควรทาํ ใหผูสง สาร และผูรับ สารเกดิ ความเขาใจอนั ดตี อ กนั และเกิดสมั พันธภาพทดี่ ีตามมา ซึ่งทกั ษะท่ีจําเปนในการสื่อสาร ไดแก การรจู ักแสดงความคดิ เหน็ หรอื ความตองการใหถกู กาลเทศะ และการรูจกั แสดงความชื่นชมผูอ ่ืน การ รจู กั ขอรอ ง การเจรจาตอ รองในสถานการณคับขันจําเปน การตักเตือนดวยความจริงใจ และใชวาจา สภุ าพ การรูจกั ปฏิเสธเมื่อถูกชักชวนใหปฏิบัติในส่ิงที่ผิดขนบธรรมเนียมประเพณี หรือผิดกฎหมาย เปน ตน การส่ือสารดวยการปฏเิ สธ หลาย ๆ คนไมกลาปฏิเสธคาํ ชกั ชวนของเพ่ือน หรือคนรัก เม่ือไปทําในส่ิงทตี่ นเองไม เหน็ ดว ย เชน การมเี พศสมั พันธที่ไมปลอดภัย การเที่ยวซองโสเภณี การเสพยาเสพติด ฯลฯ อันท่ีจริง การปฏเิ สธเปนสทิ ธิของทุกคน การปฏเิ สธคําชกั ชวนของเพอ่ื น หรอื คนรกั เม่อื ทาํ ในส่งิ ท่ตี นเองไมเ ห็น
182 ดวยอยา งเหมาะสม และไดผลจะชวยปองกันการมีพฤติกรรมเสี่ยงได คนสวนใหญไมกลาปฏิเสธคํา ชกั ชวนของเพอื่ น หรือคนรัก เพราะกลวั วาเพ่ือน หรือคนรักจะโกรธ แตถาสามารถปฏิเสธไดถูกตอง ตามข้นั ตอนจะไมทาํ ใหเสียเพ่อื น การปฏิเสธท่ดี ี จะตองปฏิเสธอยางจริงจัง ท้ังทาทาง คําพูด และน้ําเสียง เพื่อแสดงความต้ังใจอยาง ชดั เจนท่จี ะขอปฏิเสธ การปฏเิ สธมี 3 ขั้นตอน คอื 1. บอกความรสู กึ เปน ขออางประกอบเหตุผล เพราะการบอกความรูสึกจะโตแยง ยาก กวาการบอกเหตุผลอยางเดยี ว 2. การขอปฏิเสธเปนการบอกปฏเิ สธชัดเจนดว ยคําพูด 3. การถามความเห็นชอบเพ่ือรักษานํ้าใจของผูชวน และความขอบคุณเมื่อผูชวน ยอมรับการปฏเิ สธ ตัวอยางการปฏเิ สธเมื่อถกู ชวนไปเสพยาเสพตดิ แดงเปน ผชู วน และแอมเปน ผปู ฏิเสธ แดง : คนื น้ีมีปารต ที้ ่ีหอ ง แอม ไปใหไดน ะ มขี องดอี ยางวาใหม ๆ มาใหลอง แอม : ของอยา งวา นั้นไมด ีตอสุขภาพ ขอไมล อง แดงคงไมว า นะ ขอบคณุ มากที่ชวน แดง : .................................... การหาทางออกเมื่อถูกเซาซี้ หรือสบประมาท บางครั้งผูชวนพูดเซาซี้เพื่อชวนให สาํ เรจ็ ผูถ ูกชวนไมควรหวน่ั ไหวกบั คําพดู เพราะจะทาํ ใหข าดสมาธิในการหาทางออก ควรยืนยันการ ปฏิเสธดว ยทา ทมี ั่นคง และหาทางออกโดยวธิ ีตอ ไปนี้ ปฏเิ สธซ้าํ โดยไมต อ งใชขอ อา ง พรอมท้ังบอกลา แลว เดนิ จากไปทันที การตอ รอง โดยการชวนไปทํากจิ กรรมอืน่ ท่ีดกี วา การผดั ผอน โดยการยดื ระยะเวลาออกไปเพอ่ื ใหผูชวนเปลยี่ นความตัง้ ใจ เชน
183 ขั้นตอน ตัวอยา งคาํ พดู 1. อางความรูสกึ ประกอบเหตผุ ล “ฉนั ไมชอบ มนั ไมดตี อสขุ ภาพ” 2. ขอปฏิเสธ “ขอไมไปนะเพื่อน” 3. การขอความเห็นชอบ “เธอคงเขาใจนะ” 4. ถูกเซา ซี้ หรือถกู สบประมาท “ไมล องดีกวา เราขอกลบั กอนนะ” “ฉันคิดวา เรากลบั บานกันเลยดกี วา ” 4.1 การปฏิเสธซํา้ “แดงคิดวา เราควรรอไปอีกสักระยะหนึ่ง เมือ่ เราทงั้ สอง 4.2 การตอรอง พรอ มท่จี ะรับผดิ ชอบครอบครวั คอยคิดเรือ่ งน”้ี 4.3 การผดั ผอ น สถานการณท่ีชวนไปเท่ยี วซอง ชัยเปนผชู วน ยุทธเปน ผูปฏิเสธ ชัย : วันนกี้ นิ ขาวเย็นแลว ไปเทยี่ วอยา งวากนั นะ ยทุ ธ : เราไมช อบสถานทอี่ ยา งน้ัน กลัวติดโรคดว ย ขอไมไ ปนะเพอื่ น ชยั : เราไปหลายหนไมเหน็ เปนอะไรเลย ชกั สงสัยแลว วา นายเปนผชู าย เตม็ รอยหรือเปลา ชวนท่ีไรไมไ ปสกั ที ยทุ ธ : ไมละ เอาไวค ราวหลงั พวกนายไปเท่ยี วทีอ่ น่ื เราจะไปดว ย คร้ังน้ีขอตวั กอนนะ ขอบใจมากทช่ี วน ในเรอ่ื งความรัก ผูหญิงเมื่อมีความรัก จะมีความรูสึกชอบ หรือรัก ตองการความรัก ความอบอุน ความใกลชิดผูกพันทางใจ ไมคาดคิดวาฝายชายตองการอะไรจากความใกลชิด จึงขาด ความระมดั ระวงั อาจเผลอตัวเผลอใจไปตามท่ีฝายชายตองการ เปนคานิยมของชาย โดยถือเปนเร่ือง ปกติท่ีจะมีเพศสัมพันธกับหญิงบริการ หรือคนรักเพื่อปลดเปลื้องความใคร เพราะเมื่อผูชายรัก หรือ ชอบผูหญิงมักจะตองการผกู พันทางกาย คือ ความรัก ความใคร เมื่อผูชายตองการผูกพันทางกายก็จะ คดิ หาวธิ กี ารตาง ๆ เพอ่ื ทาํ ใหเกิดพฤติกรรมที่จะนาํ ไปสูส ิ่งทต่ี นตองการ โดยคิดวาฝายหญิงก็ตองการ เชนกนั การมีเพศสัมพันธครั้งแรก ฝายหญิงไมไดมีความสุขทางเพศอยางที่ฝายชายเขาใจ ตรงกนั ขามจะมีความวิตกกังวล กลัวต้ังครรภ กลัวแฟนจะทอดทิ้ง หรือดูถูก กลัวเพื่อนรู กลัวพอแม เสยี ใจ แตฝ ายชายจะมคี วามสขุ ทางเพศ และภูมิใจท่ีไดเปนเจาของ การมีเพศสัมพันธในคร้ังตอ ๆ มา ฝายหญงิ มักจะยนิ ยอมเพราะความรกั ความผูกพัน ความกังวล กลัวถูกทอดท้ิงหากไมยอม แตฝายชาย
184 ถอื เปนเรอ่ื งปกติ เปนการหาความสุขรวมกัน ปญหาท่ีตามมาคือ การตั้งครรภ หรือโรคตาง ๆ ฉะน้ัน การคบเพือ่ นตางเพศ ผูหญิงควรปฏิบตั ิตนอยา งไรบา ง เชน - ไมควรอยูดว ยกนั ตามลาํ พังสองตอ สองในท่ลี บั ตา เพราะความใกลชดิ สามารถไปสู การมีเพศสัมพนั ธไ ด - ผูหญงิ ควรแตงกายมดิ ชดิ ไมแตงกายลอ แหลม - ผูหญิงควรระมัดระวังตัวขณะอยูใกลชิดกับเพ่ือนตางเพศ ควรรักนวลสงวนตัว ระวังการสัมผัส หรอื ถูกเนอ้ื ตองตัว สําหรับผูช าย เมอื่ มีโอกาสอยกู ันตามลําพังสองตอสองควรยับยั้งชั่งใจ และไมคิดหา วธิ ีตาง ๆ ที่จะทาํ ใหเกดิ พฤตกิ รรมท่จี ะนําไปสสู ง่ิ ทต่ี นตอ งการ โดยคาดคดิ เอาเองวา ฝา ยหญิงกต็ อ งการ เชนเดียวกับตน ตวั อยางการสื่อสารดวยการปฏเิ สธ ปจจุบนั ปญหาการมเี พศสมั พันธกอ นวยั อันควร ลกุ ลาม รุนแรงถึงข้ันเปนปญหาการ ตงั้ ครรภทไ่ี มพ งึ ประสงคเ พิ่มสูงขึ้นในกลุมวัยรนุ วยั เรยี น ทาํ ใหต องออกกลางคัน หรือแอบไปทําแทง จนทําใหเกิดอันตรายถงึ แกช วี ติ เปนจํานวนมาก ดังน้นั เรือ่ งทพ่ี อ แมไ มอ ยากใหเ กดิ เร่ืองหนึ่งคือ ไมอยากใหลูกมี “เซ็กส” กอนวัยอัน ควร อยากใหเรยี นหนงั สอื จบ ใหเปน ผูใหญท รี่ ับผิดชอบตัวเองไดม ากกวานี้ แตข าวเดก็ วัยรนุ ตอนนก้ี ็ออกมามากเหลอื เกนิ วา เหน็ เร่ือง “เซ็กส” เปนเรื่องธรรมดา ไมเ ห็นจะเสียหายตรงไหน บางคนเปลย่ี นคูเปนวา เลน บางคกู ็เชา หอพักอยดู ว ยกัน เชาไปเรียนดวยกัน เย็นกลบั มานอนดวยกัน พอ แมอ ยูต า งจงั หวดั ไมร ูเรอื่ ง คิดวาลกู คงตง้ั ใจเรยี นอยา งเดียว ท่ีไหนได เร่ืองน้ีพอแมจะทําเฉยไมไดแมลูกเราจะเปนเด็กเรยี บรอย ยังไมมีทีทาวาจะสนใจเพศ ตรงขา มก็ตาม พอ แมก็ตองชวนคุยเม่ือมีโอกาส หากพอแมลูกดูโทรทัศนดวยกัน จะมีฉากอยางวาใน ละครไทยอยูหลายเรื่อง เชน พระเอกเสียทีนางราย หรือนางเอกใจออนยอมพระเอกกอน แตสุดทาย ไมไดแตงงานกัน พอแมก็ถือโอกาสน้ีชวนลูกคุยเสียเลย ไมวาจะเปนลูกชาย หรือลูกสาวก็ตองระวัง เรอ่ื งน้ดี ว ยกนั ทง้ั น้ัน ซึ่งอาจแนะนาํ ลูกดงั นี้ อยาอยูก ันตามลําพงั สองตอ สองในท่ีลับตาคน แมอีกฝายจะชวนก็ไมตองตามใจ ให รจู กั ปฏิเสธ ถา ดูแลว อกี ฝายจะผกู มดั โดยอา งวา “รกั จริงหวังแตง” หรืออะไรกแ็ ลว แต ทจี่ ะสรรหามาพราํ่ พรรณนา ตอ งใหลูกเราพดู กับอีกฝายแบบเปดใจ เปด เผย ดวยทาทีที่ม่ันใจวา “ไม ตองการใหม ีอะไรกนั เกนิ เลยกวา น้ี เพราะเรายังเด็กยังไมสมควร” หรือ “ยังไมพรอม” แมวาเราจะรัก เขามากก็ควรคบกันแคเปน แฟนกอน เวลายังมีอกี ยาวนาน ใครจะรูวาคนน้ใี ชคูแ ทห รอื ไม ตองรจู ักหลีกเลยี่ ง หรอื กลา ปฏิเสธทจ่ี ะมเี พศสัมพนั ธ ถา อกี ฝา ยยงั ต้อื
185 ตอ งใหร จู กั เอาตวั รอดใหได ใหเ บยี่ งเบนความสนใจของอีกฝา ยไปยงั เรือ่ งอื่น เชน อาจชวนไปเลน กีฬา หรอื ชวนคยุ ในเรอื่ งท่คี ดิ วา อีกฝา ยจะหยดุ ฟง ถา อกี ฝายยงั ไมย อมฟง เหตผุ ล โดยอาจจะมีขอ อางวา “ถา ไมยอม แสดงวา ไมรกั จรงิ ” หากถงึ ขน้ั นลี้ ะกอ ตองใหลกู คิดใหมแ ลววา ควรจะคบกนั เปนแฟนตอไปอกี ไหม เพราะอีก ฝา ยคงตองพยายามหาโอกาสอีกเรือ่ ย ๆ แลว แนใ จไหมวา ลกู จะไมใจออ นเขาสกั วัน ท่ีสาํ คัญ พอแมตองชวนลกู คยุ ถงึ ผลเสียของการมีเพศสมั พนั ธก อนวยั อันควรดว ย 2.2 ทกั ษะการสรางสัมพันธภาพระหวา งบคุ คล คงไดยินคาํ พูดนี้บอย ๆ วา “คนเราอยูคนเดียวในโลกไมได” เราตองพ่ึงพาอาศัยกัน ซ่ึงจะตอ งมีสัมพันธภาพทด่ี ตี อ กนั การที่จะสรา งสัมพนั ธภาพใหเกิดข้นึ ระหวางกนั นัน้ เปน เรือ่ งไมยาก แรกเริม่ คอื 1. มีการติดตอ พบปะกนั เราจะตอ งมีการติดตอพบปะพูดคยุ กบั คนทตี่ องการมีสัมพันธภาพกับเขา ใหเวลากับ เขา ทาํ งานรว มกัน ทํากิจกรรมรวมกนั เลน กีฬาดว ยกนั และในที่สดุ เราก็มโี อกาสสรางมิตรภาพท่ีดีตอ กนั 2. มคี วามสนใจและประสบการณร วมกัน ประสบการณเปนส่ิงท่ีนําคนสองคนใหมารวมมือกัน การชวยเหลือกันในระหวาง การเลาเรียน หรือการทํางานดวยกัน มีความสนใจในเรื่องเดียวกัน การรวมประสบการณ และ แลกเปล่ียนประสบการณระหวา งกนั เปนการสรา งมติ รภาพที่ดใี หเกิดข้นึ ได 3. มีทศั นคติและความเชอื่ ที่คลา ยคลงึ กัน ชวงวัยรุนเปนชวงท่ีความคิด ทัศนคติ และความรูสึกอาจมีการเปล่ียนแปลงอยาง รวดเรว็ ถา คนไหนมคี วามคิดเหน็ คลา ยคลงึ กับเรา เราจะรูส ึกพอใจ แตถาคนไหนมคี วามคดิ แตกตางกบั เรา เราจะรสู กึ ไมพอใจ แตในความเปนจริงตองเขา ใจวา คนสวนใหญไมไดมีความเห็นเหมือนกันทุก เรอ่ื ง แมในคนทเี่ ปน มิตรตอ กนั เพยี งใดก็ตาม จะสรา งสมั พันธภาพท่ีดีไดอ ยางไร การเรียนรูวิธีการสรางสัมพนั ธภาพท่ีดีเปน สาํ คัญ และทุกคนควรจะคนหาเพ่ือใหเกิด มิตรภาพ ดงั นี้ 1. ความใสใจ เอาใจใสซ่ึงกันและกัน ดูแลกันทั้งยามสขุ ยามทกุ ข
186 2. ความไวเน้อื เช่อื ใจ การอยูก บั ผอู น่ื อยา งมคี วามสขุ เราตองไววางใจในตัวเขา และตอ งใหเขาไวว างใจในตวั เราดว ย 3. การยอมรับ เราจะตอ งรจู กั ใหก ารยอมรับ และนับถอื คนอืน่ รูจ กั แสดงความ ช่นื ชม และยนิ ดีกบั ความสําเรจ็ ของผอู ื่น 4. การมสี ว นรวม และการแบงปน สัมพนั ธภาพทด่ี ีคอื การไดมีสวนรวมแบงปนใน ประสบการณ รูจ ักรับฟง ความคิด และยอมรบั ความจริงจากคนสว นมาก 5. การมคี วามยืดหยนุ คนทม่ี คี วามยืดหยุนจะเปนคนท่ีสามารถมีความสุข แมจะอยู กับคนท่ีมีความเหน็ ตา งกนั 6. ความเห็นอกเห็นใจผูอ่ืน การแสดงความเห็นอกเห็นใจ จะทําไดงายถามี สัมพนั ธภาพท่ีดีตอกัน เพราะจะไมเ กิดความเขาใจผิดตอกนั จากการทคี่ นเราตอ งมสี มั พันธภาพที่ดกี ับผอู นื่ น้ัน ก็เพ่ือท่ีจะสามารถอยูรวมกับผูอ่ืน ได โดยท่ีไดรับการชวยเหลือจากผูอ่ืนตามสมควร ไมวาจะเปนเพื่อน พอแม พ่ีนอง หรือคน อื่น ๆ โดยเฉพาะการมสี ัมพนั ธภาพที่ดรี ะหวางพอแมกับลูกวัยรนุ เปนสิ่งทีส่ าํ คญั มาก เพอ่ื ลูกจะไดเติบโตเปน ผูใหญทดี่ ี และประสบความสําเรจ็ ในชีวติ ตอไป การสรางสมั พันธภาพดว ยการให การฝกใหเ ปน ผูเสียสละ หรอื เปนผใู หนน้ั พอแมจะตองสอนลูก หรือเปน ตวั อยางในการเปน ผใู หเสมอ การใหโดยทัว่ ไปนน้ั เรามกั จะนึกถึงแตการใหส่งิ ของ หรอื เงนิ ทอง แตค วาม จริงยงั มีส่ิงสําคญั ท่ที กุ คนควรใหแกก นั ไดแก การใหรอยย้ิม ใหค วามจริงใจ ใหการชวยเหลือ ให คาํ ชมเชย ใหความเมตตา ใหอภยั ฯลฯ ซ่ึงการใหส ิง่ เหลานไ้ี มต องเสียเงนิ ทองซอื้ หา แตตอ งเปนการให ท่ีออกมาจากใจจรงิ จะเปนการสรา งมติ รภาพท่ดี ตี อ กนั ใหน ึกเสมอวา จงเปน ผใู หเถิด ใหผ ูอ ่ืนใหม ากข้นึ รับใหน อยลง จึงจะเปน การ ทาํ ใหค รอบครวั เรามคี วามสุข และสงั คมจะอบอุน เพือ่ ลูกไดซึมซับ และนาํ ไปใชในการเปนผูใหเสมอ กับเพื่อน ๆ พี่ นอง และคนอนื่ ๆ ท่อี ยรู ว มกัน การฝก ใหเ ปน คนนา รกั นา คบหา เคยไดย นิ อาจารยท านหนึ่งพูดในรายการโทรทศั นน านมาแลววา “ลูกเราไมวาจะเปน อยางไร มันก็ดนู า รักไปหมดในสายตาพอแม แตเ ราจะตอ งสอนลกู เราใหเ ปน คนนา รกั เพื่อท่ีคนอ่ืนเขา จะไดรกั ลกู เราดว ย”
187 พวกเราที่เปน ผใู หญคงเคยเหน็ เด็กประเภทน้ีบา ง เชน - เหน็ ผใู หญแลวไมไ หว ทําเปน มองไมเหน็ - พูดจาไมเ พราะ หนา บ้งึ ตึง - ไมรูจ กั กาลเทศะ - เอาแตใ จตวั เอง - ทําทา อวดดี เด็กท่เี ปน อยางน้ี ผูใหญก จ็ ะมองวา ไมน า รกั เลย บางทีทําใหอดคิดไมไ ดว า พอ แมค งไมม ีเวลาสัง่ สอน สวนในกลุมของเด็กวัยรุนดวยกัน ไดลองถามวาเพื่อนแบบไหนที่ไมอยากคบ ดว ย ก็ไดคาํ ตอบวา - ประเภทท่ีชอบดถู ูกเพ่ือน - เอาเปรียบไมชวยงานกลมุ - ขี้อิจฉาเพื่อน เหน็ เพ่อื นมดี ีไมไ ด - ชอบพดู ใหค นอืน่ หนา แตก หมอไมร บั เยบ็ - คยุ โมโ ออ วดตนเอง และวา คนอ่นื - ชอบแกลงเพอื่ น ถา เปน อยางน้ีเพ่ือนก็ไมอยากคบหาสมาคม และไมอ ยากใหเ ขา รวมกลมุ เพราะเขา ทีไ่ หนก็วงแตกกระเจงิ ทกุ ที จนเพื่อน ๆ เออื มระอา คนเปน พอแมค งเศรา ใจมาก ถาลูกเรากลายเปนคนนา รงั เกียจที่ไมม ใี คร อยากคบ ดงั นัน้ พอ แมต อ งพยายามพดู คยุ ยกตวั อยางคนท่ีทําตัวนารัก และคนที่ทําตัวไมนารักให ลูก เห็น เพ่ือเปรียบเทียบ และเอาเปนตัวอยาง ซ่ึงลักษณะของคนนารักน้ัน พระเทพวิสุทธิกวี แหง วัด โสมนสั วิหาร กรงุ เทพมหานคร ไดกลา ววา คนท่นี า รักยอ มมคี ณุ สมบตั ิ 9 ประการ คอื 1. ไมเ ปน คนอวดดี 2. ไมพดู มากจนเขาเบอื่ 3. เปนคนออ นนอ มถอมตน 4. รจู ักผอ นสั้นผอนยาว 5. พดู จาออ นหวาน 6. เปนคนเสยี สละ ไมเ อาเปรียบผูอนื่ 7. เปนคนกตญั กู ตเวที 8. เปน คนไมม นี สิ ยั ริษยา เสยี ดสีผอู ่นื 9. เปนคนมีนิสยั สขุ ุมรอบคอบ ไมย กตนขมทาน
188 “พอ แมท ห่ี วังใหลกู เปนทร่ี ักของผใู หญ และเพื่อนฝงู ตองพยายามเพาะนสิ ัย ดังกลา วใหก บั ลูก กจ็ ะทําใหการอยูรวมกับผูอ่ืนในสังคมเกิดเปนสัมพันธภาพท่ีดีระหวางกันและกัน ทกุ คนกจ็ ะมแี ตความสขุ ” 2.3 ทกั ษะการเขา ใจผูอืน่ การที่บุคคลจะอยูในครอบครัว อยูในสังคมอยางมีความสุข จําเปนตองรูจักตนเอง และรจู ักผูทต่ี นเกยี่ วขอ งสัมพันธด ว ย ดงั ภาษิตจนี ที่วา “รูเ ขา รูเรา รบรอ ยครงั้ ชนะรอยครั้ง” ดงั นนั้ การทเี่ ราจะทําความรูจักผูอ่นื ซงึ่ เราจะตอ งเกย่ี วขอ งสัมพันธดวย ไมวาจะเปน ภายในครอบครัวของเราเอง หรอื ในสถานศกึ ษา ในสถานทีท่ าํ งาน เพราะเราไมสามารถอยูคนเดียวได ในทกุ ที ทกุ สถานการณ หลกั ในการเขาใจผูอ ืน่ มีดังนี้ 1. ตอ งคาํ นงึ วาคนทกุ คนมศี กั ดศ์ิ รีความเปนมนุษยเชนเดียวกับเรา จึงควรปฏิบัติกับ เพือ่ นมนุษยทุกคนดว ยความเคารพในศกั ดิศ์ รขี องความเปน มนษุ ยเทา เทียมกนั ไมวาจะเปน คนจน คนรวย คนแก เดก็ คนพิการ ฯลฯ 2. บุคคลทุกคนมีความแตกตางกัน ท้ังพื้นฐานความรู ฐานะทางเศรษฐกิจ สภาพ ความเปน อยู ระดับการศึกษา การปลูกฝงคณุ ธรรม คา นยิ ม ระเบยี บ วินยั ความรับผิดชอบ ฯลฯ ดังนั้น หากเรายอมรับความแตกตา งระหวา งบุคคลดงั กลาว จะทําใหเ ราพยายามทาํ ความเขา ใจเขา และส่ือสาร กับเขาดว ยกิรยิ าวาจาสุภาพ ซึ่งหากยังไมเขาใจเรากจ็ ําเปน ตองอดทน และอธิบายดวยภาษาท่ีเขาใจงาย ไมแ สดงอาการดูถูกดแู คลน หรือแสดงอาการหงุดหงดิ รําคาญ เปน ตน 3. การเอาใจเขามาใสใจเรา บุคคลท่ัวไปมักชอบใหคนอื่นเขาใจตนเอง ยอมรับ ใน ความตองการ ควรเปน ตัวตนของตนเอง ดงั นั้นจึงมักมคี ําพูดตดิ ปากเสมอ เชน ฉันอยา งน้นั ฉันอยาง นี้ ทาํ ไมเธอไมท าํ อยา งนน้ั ทําไมเธอไมทาํ อยางนี้ ทาํ ไมเธอถงึ ไมเ ขาใจฉัน ฯลฯ ซึ่งเปนการเอาใจเรา ไปยดั เยียดใสใจเขา และมกั ไมพ ึงพอใจในทุกเรือ่ ง ทกุ ฝา ย ท้ังนใี้ นดา นกลบั กัน หากเราคดิ ใหม ปฏิบัติ ใหม โดยพยายามทาํ ความเขาใจผอู ืน่ ไมวาจะเปน พอ แมเขา ใจลูก หรือลูกเขา ใจ พอแม เพือ่ นเขาใจ เพอื่ น โดยการทําความเขาใจวา เขาหรือเธอมเี หตผุ ลอะไร ทาํ ไมจึงแสดงพฤติกรรมเชนนั้น เขามีความ ตองการอะไร เขาชอบอะไร ฯลฯ เมื่อเราพยายามเขาใจเขา และปฏิบัติใหสอดคลองกับความชอบ ความตอ งการของเขาแลว ก็จะทําใหการอยูรวมกัน หรือการทํางานรวมกันเปนไปดวยความราบร่ืน และแสดงความสงบสนั ติสุขในครอบครัว ชุมชน และสงั คม 4. การรับฟงผูอ่ืน การท่ีเราจะเขาใจผูอื่นไดดีหรือไม ขึ้นอยูกับวาเรารับฟงความ คิดเหน็ ความตองการของเขามากนอ ยเพียงใด บคุ คลท่ัวไปในปจจุบันไมชอบฟงคนอ่ืนพูด แตชอบที่ จะพดู ใหค นอนื่ ฟง และปฏบิ ัติตาม ดงั น้นั สิง่ สาํ คญั ท่ีเปน พ้ืนฐานที่จะทําใหเราเขาใจผูอื่นก็คือ ทักษะ การฟง ซงึ่ จะตอ งเปนการฟงอยา งต้งั ใจ ไมขดั จงั หวะ หรือแสดงอาการเบ่ือหนาย และควรแสดงกิริยา
189 ตอบรบั เชน สบตา ผงกศรี ษะ ทั้งน้ี การฟงอยางตง้ั ใจ จะทําใหเรารับทราบความคดิ ความตองการ หรอื ปญหาของผูท่ีเราเกี่ยวของดวย ไมวาจะเปนในฐานะลูกกับพอแม พอแมกับลูก นายจางกับลูกจาง หวั หนา กบั ลูกนอ ง ฯลฯ ซึง่ จะทําใหเ ราเกดิ อาการเขา ใจ และสามารถแกป ญ หาไดอ ยา งถูกตองในทส่ี ุด กจิ กรรม 1 ใหผ เู รยี นยกตัวอยาง วธิ กี ารสือ่ สารกบั พอแม และหัวหนางาน หรอื ลูกนอ ง ดังนี้ 1. การสอ่ื สารกบั พอ แม กรณขี อไปเท่ยี วคา งคืนตา งจงั หวดั .................................................................................................... ................................................. .................................................................................................... ................................................. ...................................................................................................................................................... 2. การสอื่ สารกบั หัวหนา งาน หรือลกู นอ ง กรณขี อข้นึ เงินเดือน หรือลดโบนสั .................................................................................................... ................................................. .................................................................................................... ................................................. ..................................................................................................................................................... กจิ กรรม 2 ถา ทานมีลูกวัยรุนท่กี ําลังมีปญหาอกหัก ถูกแฟนบอกเลกิ ทานจะมีแนวทางชวยเหลือ ลูกอยา งไร โดยใชท ักษะการสื่อสาร การสรา งสมั พันธภาพ และทักษะการเขา ใจผอู นื่ .................................................................................................... ................................................. ...................................................................................................................................................... .................................................................................................... ................................................. ....................................................................................................................... .............................. .................................................................................................... ................................................. .................................................................................................... .................................................
190 บทท่ี 10 อาชพี แปรรูปสมุนไพร สมุนไพรกบั บทบาททางเศรษฐกจิ สมุนไพร หมายถึง พืชท่ีมีสรรพคุณในการรักษาโรค หรืออาการเจ็บปวยตาง ๆ การใช สมุนไพรสาํ หรบั รกั ษาโรค หรืออาการเจ็บปว ยตา งๆ นี้ จะตองนําเอาสมนุ ไพรตง้ั แตสองชนดิ ขนึ้ ไปมา ผสมรวมกันซง่ึ จะเรยี กวา ยา ในตํารบั ยา นอกจากพชื สมุนไพรแลว ยังอาจประกอบดว ยสตั วและแรธ าตุ อีกดวย เราเรียกพืช สัตว หรือแรธาตุท่ีเปนสวนประกอบของยานี้วา เภสัชวัตถุ สมุนไพรเปนสวน หนึง่ ในแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหงชาติ กระทรวงสาธารณสุขไดดําเนิน โครงการ สมุนไพร กับสาธารณสขุ มลู ฐาน โดยเนน การนาํ สมนุ ไพรมาใชบาํ บัดรักษาโรคใน สถานบรกิ ารสาธารณสขุ ของ รฐั มากขึน้ และ สง เสรมิ ใหป ลูกสมุนไพรเพ่ือใชภ ายในหมูบ านเปนการสนบั สนุนใหม กี ารใชสมนุ ไพร มากยิ่งขึ้น อันเปนวิธีหน่ึงที่จะชวยประเทศชาติประหยัดเงินตราในการส่ังซ้ือยาสําเร็จรูปจาก ตางประเทศไดปล ะเปนจาํ นวนมาก การผลิตสมนุ ไพรในรปู แบบการประกอบอาชีพ ปจจุบันมีผูพยายามศึกษาคนควาเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑสมุนไพรใหสามารถนํามาใชใน รูปแบบท่ีสะดวกย่งิ ขน้ึ เชน นาํ มาบดเปนผงบรรจุแคปซูล ตอกเปนยาเม็ด เตรียมเปนครีมหรือยาขี้ผึ้ง เพือ่ ใชทาภายนอก เปนตน ในการศึกษาวจิ ัยเพ่ือนําสมนุ ไพรมาใชเ ปน ยาแผนปจจบุ ันนั้น ไดมีการวิจัย อยางกวางขวาง โดยพยายามสกัดสารสําคัญจากสมุนไพรเพื่อใหไดสารท่ีบริสุทธ์ิ ศึกษาคุณสมบัติ ทางดานเคมี ฟสิกสของสารเพ่ือใหทราบวาเปนสารชนิดใด ตรวจสอบฤทธ์ิดานเภสัชวิทยาใน สัตวท ดลองเพ่ือดใู หไ ดผ ลดีในการรกั ษาโรคหรือไมเพียงใด ศึกษาความเปนพิษและผลขางเคียง เม่ือ พบวาสารชนิดใดใหผ ลในการรกั ษาที่ดี โดยไมม พี ิษหรอื มพี ิษขางเคียงนอยจงึ นําสารนน้ั มาเตรียมเปน ยารปู แบบท่เี หมาะสมเพื่อทดลองใชต อไป การแปรรปู สมุนไพรเพอื่ การจาํ หนา ย สมุนไพรถูกนาํ มาใชสารพดั ประโยชน และถูกแปรรูปออกมาในแบบตาง ๆ เพอื่ การจําหนา ย ซ่ึงสามารถนํามาใชประกอบอาชีพ ทั่งอาชีพหลัก ละอาชีพเสริมได สิ่งสําคัญที่สุดของการแปรรูป สมนุ ไพร คอื การปรงุ สมุนไพร การปรุงสมุนไพร หมายถึง การสกัดเอาตัวยาออกมาจากเนื้อไมยา สารที่ใชสกัดเอาตัวยา ออกมาทน่ี ิยมใชก ัน ไดแ ก นาํ้ และเหลา สมนุ ไพรที่นํามาปรงุ ตามภมู ปิ ญ ญาด้ังเดมิ มี 7 รปู แบบ คือ
191 1.การตม เปน การสกดั ตัวยาออกมาจากไมยาดวยน้ํารอน เปนวิธีที่นิยมใชมากที่สุด ใชกับ สวนของเน้ือไมทแี่ นนและแข็ง เชน ลาํ ตนและราก ซง่ึ จะตองใชการตมจึงจะไดตัวยาที่เปนสารสําคัญ ออกมา ขอดีของการตม คือ สะอาด ปลอดจากเชือ้ โรค มี 3 ลักษณะ การตมกินตางนํ้า คือการตมใหเดือดกอนแลวตมดวยไฟออน ๆอีก 10 นาที หลังจากนั้น นํามากินแทนนาํ้ การตม เคีย่ วคอื การตม ใหเดือดออ น ๆ ใชเวลาตม 20-30 นาที การตม 3 เอา 1 คอื การตม จากนํ้า 3 สวน ใหเ หลือเพียง 1 สว น ใชเ วลาตม 30-45 นาที 2.การชง เปน การสกดั ตัวยาสมุนไพรดว ยนํ้ารอน ใชกับสวนท่ีบอบบาง เชน ใบ ดอก ท่ีไม ตองการโดนนํ้าเดอื ดนาน ๆ ตวั ยากอ็ อกมาได วิธกี ารชง คือ ใหนํายาใสแกวเติมนํ้ารอนจัดลงไป ปด ฝาแกว ทงิ้ ไวจ นเยน็ ลักษณะนีเ้ ปน การปลอยตัวยาออกมาเต็มท่ี 3. การใชน้ํามัน ตัวยาบางชนิดไมยอยละลายน้ํา แมวาจะตมเคี่ยวแลวก็ตาม สวนใหญยาที่ ละลายน้ําจะไมละลายในนํ้ามันเชนกัน จึงใชน้ํามันสกัดยาแทน แตเน่ืองจากยานํ้ามันทาแลวเหนียว เหนอะหนะ เปอ นเส้อื ผา จงึ ไมนิยมปรุงใชกัน 4.การดองเหลา เปน การใชก บั ตวั ยาของสมุนไพรทไ่ี มล ะลายน้ํา แตละลายไดดีในเหลาหรือ แอลกอฮอล การดองเหลามักมกี ล่ินแรงกวายาตม เน่ืองจากเหลามีกล่ินฉุน และหากกินบอย ๆอาจทํา ใหตดิ ได จงึ ไมน ิยมกนิ กนั จะใชตอ เมื่อกินยาเมด็ หรอื ยาตม แลวไมไดผ ล 5.การตม ค้ันเอานํา้ เปนการนําเอาสวนของตนไมท่ีมีนํ้ามาก ๆ ออนนุม ตําแหลกงาย เชน ใบ หัว หรือเหงา นํามาตําใหละเอียด และค้ันเอาแตนํ้าออกมา สมุนไพรที่ใชวิธีการน้ีกินมากไมได เชนกัน เพราะน้ํายาที่ไดจะมีกลิ่นและรสชาติที่รุนแรง ตัวยาเขมขนมาก ยากท่ีจะกลืนเขาไปท่ีเดียว ฉะน้ันกินครงั้ ละหนึ่งถวยชากพ็ อแลว 6.การบดเปน ผง เปนการนําสมุนไพรไปอบหรือตากแหงแลวบดใหเปนผง สมุนไพรท่ีเปน ผงละเอยี ดมากย่งิ มสี รรพคณุ ดี เพราะจะถูกดูดซึมสูลําไสงาย จึงเขาสูรางกายไดรวดเร็ว สมุนไพรผง ชนิดใดท่กี นิ ยากก็จะใชปนเปนเม็ดท่ีเรียกวา \"ยาลูกกลอน\" โดยใชน้ําเชื่อมน้ําขาวหรือนํ้าผ้ึง เพื่อให ติดกนั เปน เมด็ สวนใหญนยิ มใชนํ้าผึ้งเพราะสามารถเกบ็ ไวไ ดน านโดย ไมข ึ้นรา 7.การฝน เปนวิธีการที่หมอพื้นบานนิยมกันมาก วิธีการฝน คือ หาภาชนะใสน้ําสะอาด ประมาณครง่ึ หน่งึ แลว นําหินลับมดี เล็ก ๆ จมุ ลงไปในหินโผลเหนือน้ําเล็กนอย นําสมุนไพรมาฝนจน ไดน้ําสขี ุนเลก็ นอย กนิ ครั้งละ 1 แกว
192 อยางไรกต็ าม การแปรรปู ผลติ ภณั ฑส มนุ ไพร ควรแปรรปู ในลักษณะอาหารหรือเครื่องใชท่ี ไมจัดอยใู นประเภทยารกั ษา คือไมมสี รรพคุณในการรักษาหรือปองกัน บรรเทา บําบัดโรค เน่ืองจาก ผลิตภณั ฑประเภทยาจะตองผา นการตรวจสอบท่ีมมี าตรฐานสูงและถกู ตอง มผี ชู าํ นาญการทม่ี คี ณุ วฒุ ใิ น การดําเนินการดวย ลกั ษณะของผูท จี่ ะประกอบอาชพี ผลิตภณั ฑสมุนไพรในการปรุงผลิตภัณฑจากสมุนไพร ผู ปรงุ จาํ เปน ตองรหู ลกั การปรงุ ผลติ ภัณฑจากสมนุ ไพร 4 ประการคอื 1. เภสัชวัตถุ ผูปรุงตองรูจักชื่อ และลักษณะของเภสัชวัตถุท้ัง 3 จําพวก คือ พืชวัตถุ สัตว วัตถุ และธาตวุ ตั ถุ รวมทง้ั รปู สี กลิ่นและรสของเภสชั วตั ถุนั้นๆ ตัวอยางเชน กะเพราเปนไมพุมขนาด เล็ก มี 2 ชนิด คือ กะเพราแดงและกะเพราขาว ใบมีกลิ่นหอม รสเผ็ดรอน หลักของการปรุงยาขอน้ี จาํ เปน ตองเรียนรูจากของจริง 2. สรรพคุณเภสัช ผูปรุงตองรูจักสรรพคุณของยา ซึ่งสัมพันธกับรสของสมุนไพรเรียกวา รสประธาน แบงออกเปน 2.1 สมนุ ไพรรสเยน็ ไดแ ก ยาที่ประกอบดวยใบไมที่รสไมเผ็ดรอนเชน เกสรดอกไม สัตว เขา (เขาสตั ว 7 ชนิด) เนาวเขย้ี ว (เข้ยี วสตั ว 9 ชนิด) และของที่เผาเปนถาน ตัวอยางเชน ยามหานิล ยา มหากาฬ เปนตน ยากลุมนใี้ ชสําหรับรกั ษาโรคหรอื อาการผิดปกติทางเตโชธาตุ (ธาตุไฟ) 2.2 สมุนไพรรสรอน ไดแก ยาท่ีนําเอาเบญจกูล ตรีกฎก หัสคุณ ขิง และขามาปรุง ตัวอยางเชน ยาแผนโบราณท่ีเรียกวายาเหลืองทั้งหลาย ยากลุมน้ีใชสําหรับรักษาโรคและอาการ ผดิ ปรกตทิ างวาโยธาตุ (ธาตลุ ม) 2.3 สมนุ ไพรรสสุขมุ ไดแ ก ยาที่ผสมดว ย โกฐ เทยี น กฤษณา กระลําพกั ชะลดู อบเชย ขอนดอก และแกนจันทนเ ทศ เปน ตน ตัวอยา งเชน ยาหอมทั้งหลาย ยากลมุ นใี้ ชร กั ษาความผดิ ปรกติ ทางโลหิต นอกจากรสประธานของสมนุ ไพรดงั ท่ีกลาวน้ีเภสัชวัตถยุ งั มรี สตา งๆ อีก 9 รสคอื รสฝาด รส หวาน รสเบ่ือเมา รสขม รสมนั รสหอมเย็น รสเค็ม รสเปรี้ยว และรสเผ็ดรอน ในตําราสมุนไพรแผน โบราณบางตาํ ราไดเพม่ิ รสจืดอีกรสหน่งึ ดว ย 3. คณาเภสัช ผูปรุงสมุนไพรตองรูจักเครื่องสมุนไพรที่ประกอบดวยเภสัชวัตถุมากกวา 1 ชนิด ท่ีนํามารวมกนั แลว เรยี กเปนช่อื เดียว ตวั อยา งเชน ทเวคนั ธา หมายถึงเคร่อื งสมุนไพรท่ีประกอบดว ยเภสัชวตั ถุ 2 ชนิด คอื รากบนุ นาค และ รากมะซาง
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208