Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การให้ออกซิเจนโดยใช้ T–PIECE

การให้ออกซิเจนโดยใช้ T–PIECE

Published by imthila7882, 2021-09-13 17:07:12

Description: การให้ออกซิเจนโดยใช้ T–PIECE

Search

Read the Text Version

- BCNC - การให้ออกซิเจน โดยใช้ T–PIECE Boromarajonani College of Nursing Chiang Mai รายวิชาหลักการและเทคนิคทางการพยาบาล (พบ.1202) Boromarajonani College of Nursing Chiang Mai

การดแู ลผปู้ วยทีได้รบั ความสาํ คัญของการให Oxygen T-Piece T-Piece เหมาะสาํ หรับให ออกซเิ จนแกผูปวยที่มที อ ทางเดนิ หายใจ เชน Endotracheal tube หรอื Tracheostomy tube อาการแสดงของภาวะขาด ออกซเิ จน - วติ กกังวล - ระดบั การมสี มาธิลดลง - ความออนเพลยี เหน่ือยลาเพม่ิ ข้ึน - มอี าการวิงเวียนศรี ษะ - อัตราการเตนของชีพจรเร็วข้ึน - ในชวงแรกอตั ราการหายใจเร็ว และลึก - ความดนั โลหิตลดลง - อาการหายใจลําบาก

วตั ถุประสงค์และข้อบง่ ชี ของการให้ออกซิเจนเพือการรกั ษา วัตถุประสงค์ ข้อบ่งชี 1 การรกั ษาภาวะพรอ่ งออกซเิ จน 1.มภี าวะออกซเิ จนในเลือดคือมภี าวะPao2 น้ อยกวา่ 60 mmHg หรอื Sao2 น้ อยกวา่ 90% ทาํ ให้ออกซเิ จนในเลือดตาโดยวธิ กี าร เพิมปรมิ าณออกซเิ จนในถุงลมปอด เมือหายใจเข้าในบรรยากาศปกติ และกระเเสเลือด 2.เสียงตอ่ การเกิดภาวะ( hypoxemia) 2 ลดการขาดออกซเิ จนเรอื รงั ตามมาหลังได้รบั การรกั ษาเบืองต้น โดยเฉพาะผปู้ วยโรคถุงลมโปงพอง เชน่ ผปู้ วยโดนไฟไหม้ 3.เกดิ ภาวะบาดเจบ็ ขันรุนแรง(severe trauma) 4.ภาวะกล้ามเนื อหัวใจขาดเลือดชนิ ดเฉียบพลัน (acute myocardial infarction:MI) 3 ชว่ ยในการทาํ งานของระบบตา่ งๆ 5.การให้ออกซเิ จนระยะสัน ในการทาํ ผา่ ตดั เชน่ หลังการดมยาสลบ ระบบทางเดินหายใจ หัวใจ หรอื การทาํ ผา่ ตดั ใหญ่ ระบบการไหลเวยี นโลหิตและ หลอดเลือดจากภาวะพรอ่ งออกซเิ จน Source Boromarajonani Chaingmaii

*

ขอ้ ควรระวงั / ขอ้ เสนอเเนะ ดแู ลเปลียนนากลันในขวดทําความชอื ทุก 8 ชวั โมง และดแู ลอยา่ ให้นาแห้ง เปลียนสาย T – Piece วนั ละครงั อาจเกิดภาวะกดการหายใจผูป้ วยที หายใจเอง อาจเกิดภาวะปอดแฟบ (lung atelectasis) ออกซเิ จนเปนพษิ (oxygen toxicity) หรอื กดการทํางาน ของcilia ควรระวงั การให้ออกซเิ จนในผูป้ วยทีได้ รบั พษิ จาก paraquat ควรระวงั การให้ความชนื รว่ มกับ ออกซเิ จนโดยเฉพาะการให้ความชนื แบบ(nebulizer)สามารถเพมิ หา วา่ การติดเชอื แบคทีเรยี ในทางเดิน หายใจได้ การมคี วามเข้มข้นระดับสูงของ ออกซเิ จนบรเิ วณทีเกิดไฟไหมจ้ ะ ทําให้ขบวนการติดไฟเพมิ ความ รุนแรงยงิ ขึน ถ้าผูป้ วยอาการดีและไมจ่ ําเปนต้องให้ ออกซเิ จน ชว่ ยอีก นําเครอื งใชไ้ ป ทําความสะอาดและเก็บเข้าที



การพยาบาลผปู้ วยทไี ดร้ บั ออกซิเจน 3.ดแู ลทางเดนิ หายใจ high fowler's position (Clear air way) ให้ผปู้ วยรูส้ ึกสบาย หายใจ 1.การจดั ทา่ ผปู้ วย สะดวกขนึ 2.ดดู เสมหะทคี ้างตามทา่ ทางเดนิ 3.สอนการไออยา่ งถูกวธิ ี Orthopnea position 4.กระตนุ้ ให้ไดร้ บั นาอยา่ งเพียงพอ ผูปวยท่หี ายใจลาํ บา นอนราบไมได 4. ดแู ลความสะอาดของจมกู และปาก 1.ถ้าเจบ็ คอให้ลา้ งปากดว้ ยนายาหรอื บว้ นดว้ ยนาสะอาดบอ่ ยๆ 2.ทารมิ ฝปากดว้ ย กลเี ซอรนี บอแรกซ์ 3.ทาํ ความสะอาดช่องจมกู 5.ดแู ลความสะอาดบรเิ วณหน้า โดยเฉพาะ Oxygen mask ควรเช็ด mask และทาแปงให้บอ่ ยๆ เพือให้ผปู้ วยรูส้ ึกสบาย 5.ดแู ลดา้ นจติ ใจ 1.บอกประโยชน์ของการไดร้ บั ออกซิเจน 2.พยาบาลมคี วามชํานาญในการใช้เครอื งมอื 3.แนะนํา อธบิ ายให้ผปู้ วยรูจ้ กั เครอื งมอื ตา่ งๆไดง้ า่ ย 4.สนใจ รบั ฟงความตอ้ งการของผปู้ วยอยา่ งจงิ จงั 5.ให้เวลาผปู้ วยในการพดู คุยและสัมผสั ผปู้ วยบา้ ง



วิธีถอดเคร่ืองชวยหายใจ 1. จัดท่านัง ศรี ษะสงู 2. Clear secretion ใน ปาก และในท่อชว่ ยหายใจ 3. แกะพลาสเตอรท์ ยี ึด 4. ใหผ้ ปู้ วยกลันหายใจค่อยๆ ท่อชว่ ยหายใจ ดึงท่อชว่ ยหายใจออก และให้ ผปู้ วยไอแรงๆ ขบั เสมหะออก มา ดดู เสมหะอกี ครงั 5. 6. ให้ O2 mask c bag เฝาระวังอยา่ งใกล้ชดิ Check V/S q 10/min 2 hr. 15 min x 4, 30 min x 2, 1hr. จนกว่าจะคงที ถ้า O2sat ดี เปลยี นเปน พยาบาลจะติดตามผปู้ วยอยา่ งใกล้ชดิ และใหก้ ําลังใจ Can nula 3-6 LPM วิธกี ารหยา่ การหายใจด้วย T-piece มกั ใชเ้ มอื ผปู้ วยตืนตัวและตืน ตัวของการหายใจได้โดยไมม่ ปี ญหา มกี ารตอบสนองต่อเสยี งปดปากและอาการไอทดี ี มคี วามเสถยี รของเลือดแบบไดนามกิ ควรสงั เกตอาการและอาการแสดงของภาวะขาดออกซเิ จน เพมิ ความเหนือยล้าของกล้ามเนือทางเดินหายใจ หรอื ความเหนือยล้า ของระบบ อาการกระสบั กระสา่ ย อัตราการหายใจเพมิ ขนึ มากกว่า 35 ครงั / นาที การใชก้ ล้ามเนือเสรมิ หวั ใจเต้นเรว็ ทมี กี ารหดตัวของหวั ใจ การเคลือนไหวของหน้าอกทขี ดั แยง้ กัน

จดั ทําโดย นางสาวธนพร แ ส ง บุ ญ เลขที 29 น า ง ส า ว ธี ร พ ร วรรณวิไลวรรณ เลขที 34 นางสาวนั นทินี เ ล า ลี เลขที 38 นางสาวนุ ศรา แ ซ่ ย่ า ง เลขที 42 นางสาวปราณทิพย์ แสงผึง เลขที 43 นางสาวพรนั ชชา บาํ รุ งจิตร เลขที 46 นางสาวพัชราภรณ์ สายก้อน เลขที 49 นางสาวภัณฑิรา ขันธะ เลขที 52 นางสาวมรกต พวงสุ วรรณ์ เลขที 55 น า ง ส า ว ลิ ด า จะฟะ เลขที 57 น า ง ส า ว โ ส ภิ ด า นั นตา เลขที 65 นางสาวนอภิภาวดี นํานอก เลขที 69 นางสาวอรวรรณ จุมปาดง เลขที 70 น า ง ส า ว อ า รี ศรีบุญรุ่งโรจน์ เลขที 74 น า ง ส า ว อิ ม ธิ ล า แ ส ง เ รื อ น เลขที 75 นั กศึ กษาพยาบาลศาสตร์บัณฑิตชันปที 2 ห้อง 2


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook