Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore gs571150011

gs571150011

Published by Arcade kewsavang, 2022-10-21 06:14:42

Description: gs571150011

Search

Read the Text Version

286 ข้อเสนอแนะในการวิจยั ข้อเสนอแนะในการนาผลการวิจยั ไปใช้ 1. สมรรถนะพลเมืองยุคดิจิทัลเป็ นสมรรถนะท่ีควรจะพัฒนาให้ กับนักเรียน มธั ยมศกึ ษาของไทยโดยไมไ่ ด้เน้นเฉพาะวธิ ีการใช้เทคโนโลยีให้เป็นเทา่ นนั้ ปัจจบุ นั นกั เรียนเป็ นชน พืน้ เมืองดิจิทัล (digital native) ซ่ึงรู้จักวิธีการใช้เทคโนโลยีโดยสัญชาตญาณ การสอนการใช้ เทคโนโลยีเพียงอย่างเดียวยังไม่เพียงพอ จาเป็ นจะต้องพัฒนาทัง้ ความรู้ กระบวนการ และ คณุ ลกั ษณะไปพร้อม ๆ กนั เป็ นองค์รวม เพ่ือให้เกิดการพฒั นานกั เรียนทงั้ ตวั บคุ คล (holistic view of development) ให้นักเรียนเกิดการรู้เท่าทนั ส่ือและเทคโนโลยีดิจิทัล และใช้ส่ือและเคร่ืองมือ ดจิ ทิ ลั เหลา่ นีเ้พื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขนึ ้ ในสงั คมได้อยา่ งสร้างสรรค์ 2. องค์ประกอบสมรรถนะพลเมืองดิจิทลั ที่เหมาะสมกับนักเรียนมธั ยมศึกษาของ ไทยในความคดิ เหน็ ของผ้เู ช่ียวชาญมีบริบททางวฒั นธรรมและคา่ นยิ มท่ีดงี านของสงั คมไทยเข้ามา เกี่ยวข้อง เชน่ มารยาทในการใช้ส่ือดิจิทลั การปฏิบตั ิตนตามสถานภาพของบคุ คลในสงั คมดิจิทลั จะต้องปฏิบตั ิตนตามสถานภาพบุคคลเช่นเดียวกบั สงั คมจริง และการหลีกเลี่ยงการนาเสนอสื่อ ลามกอนาจารในส่ือดิจิทลั ของตนเองซ่ึงคณุ ลักษณะดิจิทลั เหล่านีถ้ ือเป็ นเอกลกั ษณ์เฉพาะของ สงั คมไทย การพฒั นาสมรรถนะพลเมืองยคุ ดิจิทลั ที่เหมาะสมกบั พลเมืองยคุ ดิจิทลั ของไทยจึงต้อง คานงึ ถงึ บริบทของสงั คมและวฒั นธรรมควบคไู่ ปกบั บริบทของสงั คมดจิ ิทลั ที่มีความเป็นสากล 3. ครู นักการศึกษา และนักพัฒนาหลักสูตรสามารถประยุกต์ใช้หลักสูตรท่ีเน้น สงั คมเป็ นศนู ย์กลางไปใช้ในการพฒั นาหลกั สตู รในโรงเรียนได้โดยเฉพาะหลกั สตู รรายวิชาเพิ่มเตมิ ในกรณีท่ีต้องการให้นกั เรียนได้เรียนรู้จากเรื่องราวรอบตวั และสง่ิ ที่เกิดขนึ ้ จริงในสงั คมทงั้ สงั คมจริง และสงั คมดิจิทลั การจดั หลกั สตู รจากเร่ืองราวในชีวิตประจาวนั ของนกั เรียนจะทาให้นกั เรียนเกิด การเรียนรู้ท่ีมีความหมาย (meaningful learning) 4. การจดั การเรียนรู้ด้วยกระบวนการอภิปรายไตร่ตรองเป็ นกระบวนการในการ อภิปรายอีกรูปแบบหนึ่งที่ช่วยพฒั นากระบวนการประชาธิปไตย คือ การเคารพความคิดเห็นที่ แตกต่างของผู้อ่ืน การวิเคราะห์รายละเอียดของประเด็นปัญหาท่ีเกิดขึน้ จริงในสงั คมและช่วยให้ นกั เรียนรู้จกั นาความรู้โดยเฉพาะความรู้จากรายวิชาสงั คมศกึ ษามาใช้เพื่อนาเสนอแนวทางการ แก้ไขปัญหา ครูสงั คมศกึ ษาและครูในกลมุ่ สาระอ่ืนสามารถนาไปใช้ในการจดั การเรียนรู้ในเนือ้ หาท่ี เกี่ยวข้องกบั การพฒั นาพลเมืองได้ 5. จุดเด่นสาคัญของการจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการอภิปรายไตร่ตรองใน หลักสูตรนี ้ คือ การเลือกประเด็นท่ีเป็ นข้อถกเถียง (controversial issues) ซ่ึงเป็ นประเด็นและ


287 สถานการณ์ ที่มีการแบ่งปั นข้ อมูลกันในสังคมดิจิทัลมาออกแบบหน่วยการเรี ยนร้ ู และบทเรี ยน สาหรับการอภิปรายไตร่ตรองจงึ ได้ชื่อวา่ หลกั สตู รท่ีเน้นสงั คมเป็ นศนู ย์กลาง ซงึ่ การเลือกเนือ้ หามา สร้างบทเรียนในการอภิปรายไตร่ตรองนนั้ จะต้องเลือกเนือ้ หาท่ีอย่ใู นความสนใจของนกั เรียนเป็ น ประเด็นที่ไม่มีคาตอบชัดเจน และมีข้อมูลทัง้ ฝ่ ายที่สนับสนุนและคัดค้านสนับสนุน เม่ือนา กระบวนการอภิปรายไตร่ตรองไปใช้ควรให้ความสาคญั กบั การคดั สรรประเด็นท่ีจะมาพฒั นาเป็ น บทเรียนในการอภิปราย 6. การจดั การเรียนรู้ด้วยกระบวนการอภิปรายไตร่ตรองในหลกั สตู รเน้นการมีส่วน ร่วมของนกั เรียนในทกุ กระบวนการในระหว่างการอภิปรายไตร่ตรอง ตงั้ แตก่ ารอ่านและวิเคราะห์ ข้อมลู อย่างละเอียดการสงั เคราะห์และนาเสนอจดุ ยืนของกล่มุ การอภิปรายแลกเปล่ียนจดุ ยืนของ กล่มุ และการระดมความคดิ เห็นเพ่ือสร้างฉันทนามติ บทบาทของนกั เรียนในกระบวนการอภิปราย ไตร่ตรองจึงถือเป็ นผ้อู ภิปรายหลกั โดยมีครูเป็ นเพียงผ้ชู ีแ้ นะ เตรียมข้อมูล คดั เลือกบทเรียน และ จดั การบรรยากาศในการอภิปรายไตร่ตรองเทา่ นนั้ เม่ือนาหลกั สตู รไปใช้จงึ จะคานงึ ถึงบทบาทของ นกั เรียนเป็นหลกั ในกระบวนการอภิปรายไตร่ตรอง 7. การนาหลักสูตรท่ีเน้นสังคมเป็ นศูนย์กลางร่วมกับการอภิปรายไตร่ตรองเพ่ือ เสริมสร้างสมรรถนะพลเมืองยคุ ดจิ ิทลั ไปใช้กบั กลมุ่ เป้ าหมายนกั เรียนมธั ยมศกึ ษาตอนปลายชนั้ ปี ท่ี 5 ผ้วู ิจยั จดั การเรียนรู้ด้วยกระบวนการอภิปรายไตร่ตรองร่วมกับผ้ปู ระสานงานของโรงเรียนใน ลักษณะการสอนเป็ นทีม (team teaching) เพ่ือช่วยกันวางแผน สร้ างบรรยากาศ และอานวย ความสะดวกให้กับนักเรียนกลุ่มเป้ าหมายรายกลุ่มย่อย เพราะเนือ้ หาในบทเรียนการอภิปราย ไตร่ตรองมีความแตกต่างจากบทเรียนปกติ เมื่อนาหลกั สูตรไปใช้จึงควรจดั การสอนเป็ นทีมหรือ ปรับปรุงกระบวนการจดั การเรียนรู้ให้เหมาะสมกบั บทเรียนและโรงเรียน 8. ระยะเวลาในการจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการอภิปรายไตร่ตรองในเวลา จานวน 3 คาบเรียน ต่อ 1 บทเรียน หากครูสังคมศึกษาหรือครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้อ่ืนนา กระบวนการอภิปรายไตร่ตรองไปใช้จึงจาเป็ นจะต้องปรับกระบวนการให้เหมาะสมกบั บริบทของ เนือ้ หา ประเด็นท่ีนามาอภิปราย และบริบทของสงั คมท้องถ่ิน โดยให้ความคานึงถึงข้อจากัดด้าน ระยะเวลา


288 ข้อเสนอแนะในการวิจยั ครัง้ ตอ่ ไป ผ้วู จิ ยั ของเสนอแนะประเดน็ ในการทาวิจยั ครัง้ ตอ่ ไป ดงั นี ้ 1. ศึกษาปั จจัยเชิงสาเหตุ การวิเคราะห์องค์ประกอบ และการวิเคราะห์ องค์ประกอบเชิงยืนยันของสมรรถนะพลเมืองยุคดิจิทัล เพ่ือยืนยันองค์ประกอบทางสถิติของ สมรรถนะพลเมืองดจิ ิทลั ทงั้ ความรู้ดจิ ิทลั กระบวนการดจิ ิทลั และคณุ ลกั ษณะดจิ ิทลั 2. ศึกษาและวิจัยการพัฒนาสมรรถนะพลเมืองยุคดิจิทัลโดยเน้นการจัดการ เรียนรู้และการอภิปรายแลกเปล่ียนความคดิ เห็นแบบออนไลน์ โดยพฒั นาตอ่ ยอดจากงานวิจยั เป็ น โปรแกรมหรือแอปพลิเคชนั่ เพื่อให้ได้นวตั กรรมทางการศกึ ษาในยคุ ดจิ ิทลั 3. ศกึ ษาการจดั การเรียนรู้โดยใช้การอภิปรายไตร่ตรองเพ่ือพฒั นาคณุ ลกั ษณะ ความเป็ นพลเมืองโดยเน้นการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึน้ จริงในร่วมกบั คนในชุมชนและพฒั นาต่อยอด ไปส่กู ารแก้ไขปัญหาจริง เช่น การรณรงค์แก้ไขปัญหาขยะในชมุ ชนและปัญหาส่ิงแวดล้อมอื่น ๆ เป็ นต้น เพราะการอภิปรายไตร่ตรองจะนาไปสู่การสร้างฉันทนามติ คือ การยอมรับความเห็นทงั้ ฝ่ ายท่ีเสนอและฝ่ ายท่ีต่อต้ าน ซึ่งจะช่วยให้ นักเรียนเข้ าใจหลักการอยู่ร่วมกันแบบอย่าง ประชาธิปไตยในชมุ ชนอยา่ งแท้จริง 4. ศึกษาความคงทนของสมรรถนะพลเมืองยุคดิจิทัลเพ่ิมเติม และตรวจสอบ คุณภาพของหลักสูตรโดยการนาไปทดลองใช้ขยายผลในโรงเรียนอื่น ๆ เพ่ือเป็ นการยืนยัน ประสิทธิภาพและประสทิ ธิผลของหลกั สตู ร 5. ศกึ ษาและวิจยั การพฒั นาสมรรถนะพลเมืองยคุ ดิจิทลั ในระดบั นโยบายเพราะ เป็ นสมรรถนะที่สอดคล้องกับการดาเนินชีวิตของนกั เรียนมธั ยมศึกษาตอนปลายในปัจจุบนั ท่ีใช้ การตดิ ตอ่ ส่ือสารผา่ นเครื่องมือและเทคโนโลยีดจิ ิทลั เป็นหลกั 6. การประเมินประสิทธิผลของหลกั สตู รเป็ นการประเมินสมรรถนะของหลกั สตู ร จากแบบทดสอบสมรรถนะพลเมืองยุคดิจิทัลก่อนเรียนและหลังเรียน รวมกับการประเมินจาก แบบสอบถามพฤติกรรมการใช้ส่ือสงั คมออนไลน์ของนกั เรียนกล่มุ เป้ ามายซึ่งถือเป็ นแนวทางการ ประเมินผลท่ีสามารถนาไปใช้ได้ ในการดาเนินการวิจยั ครัง้ ต่อไปควรศกึ ษาและวิจัยโดยจะต้อง คานงึ ถึงการประเมนิ ผลสมรรถนะในรูปแบบอื่นควบคไู่ ปด้วยโดยเน้นการประเมนิ ผลตามสภาพจริง (authentic assessment) เช่น การประเมินจากแฟ้ มสะสมผลงาน หรือการประเมินจาก สถานการณ์จาลองให้ครอบคลมุ การประเมนิ สมรรถนะทงั้ ความรู้ กระบวนการ และคณุ ลกั ษณะให้ มากย่ิงขนึ ้


289 7. การศึกษาองค์ประกอบของสมรรถนะพลเมืองยุคดิจิทัลสาหรับนักเรียน มธั ยมศกึ ษาตอนปลายของไทย ผ้วู จิ ยั ให้การสมั ภาษณ์เชิงลึกผ้เู ช่ียวชาญด้านการพฒั นาสมรรถนะ พลเมืองยุคดิจิทลั และการประเมินความเหมาะสมขององค์ประกอบสมรรถนะพลเมืองยุคดิจิทลั จากครูมธั ยมศึกษาในการศึกษาและวิจยั ครัง้ ต่อไปควรศึกษาความเหมาะสมขององค์ประกอบ สมรรถนะพลเมืองยุคดิจิทลั กับกลุ่มตวั อย่างนกั เรียนมธั ยมศกึ ษาตอนปลายเพ่ือเปรียบเทียบกัน หรือศึกษาเพ่ือให้ได้มุมมองในการพัฒนาสมรรถนะพลเมืองยุคดิจิทลั ท่ีมาจากกล่มุ ชนพืน้ เมือง ดจิ ทิ ลั (digital native) อยา่ งแท้จริง


บ รรณาน ุกร ม บรรณานกุ รม Alanazi, S. (2016). Comparison for Curriculum Ideologies. American Research Journal of Humanities and Social Sciences, 2, 1-10. Alberta Government. (2013). Technology Briefing: Digital Citizenship. Alberta Government. Andronache, D., Bocos, M., & Necular, B. C. (2015). A Systemic-Interactionist Model to Design a Competency-Based Curriculum. ScienceDirect Procedia-Social and Behavioral Sciences, 80(2), 715-721. Avery, P. G., Kundin, D. M., Sheldon, T. D., & Thompson, J. (2012). The Deliberating in a Democracy in Americas (DDA) Project: Final Report. Minnesota: Department of Curriculum & Instruction and Center for Applied Research and Educational Improvement College of Education and Human Development University of Minnesota. Avery, P. G., Levy, S. A., & Simmons. (2013). Deliberating Controversial Public Issues as Part of Civic Education. The Social Studies. Baker, F. W. (2010). Media Literacy: 21st Century Literacy Skills H. H. Jacobs Curriculum 21: Essential Education for a Changing World (pp. 133-152). Virginia: ASCD Member Book. Barber, B. (2011). From Citizen to Consumer and Back Again: Deliberative Democracy and the Challenge of Interdependence R. Cavalier Approaching Deliberative Democracy: Theory and Practice (pp. 53-74). Pittsburgh: Carnegie Mellon University Press. Beauchamp, G. A. (1981). Cirriculum Theory. Willmette: Kagg Press. Carcasson, M. (2010). Facilitation Democracy: Centers and Institutes of Public Deliberation and Collaborative Problem Solving, Educating for Deliberative Democracy N. L. Thomas New Directions for Higher Education (pp. 51-57). San Francisco: Wiley press. Carlsson, U. (2010). Young People in the Digital Media Culture: Global and Nordic Perspectives an Introduction U. Carlsson Children and Youth in the Digital Media


291 Culture. Sweden: Litorapid Media AB. Cavalier, R. (2011). The Conversational Turn in Political Philosophy R. Cavalier Approaching Deliberative Democracy: Theory and Practice. Pittsburgh: Carnegie Mellon University Press. Chappell, Z. (2012). Deliberative Democracy: a Critical Introduction. China: Macmillan Publishers. Cheung, D. (2000). Analyzing the Hong Kong junior secondary science syllabus using the concept of curriculum orientations. Educational Research Journal, 15, 69-94. Cullen, D. (2012). Democracy by Constraint: the Ideal of Deliberative Democracy in the Light of Rousseau D. L. Schaefer Democratic Decision-Making: Historical and Contemporary Perspectives. United States of America: Lexington Books. Deliberating in a Democracy in the Americas. (2012). Deliberating in a Democracy in the Americas. www.dda.deliberating.org/index.php?option=com_content&view=article&id=22&lte mid=1&lang=en. Ellis, A. K. (2004). Exemplars of Curriculum Theory. New York: Seattle Pacific University. Erstad, O. (2010). Paths Towards Digital Competencies: Naïve Participation or Civic Engagement? U. Carlsson Children and Youth in the Digital Media Culture (35-66). Sweden: Litorapid Media AB. Gutmann, A., & Thompson, D. (1996). Democracy and Disagreement. Massachusetts: The Belknap Press of Harvard University Press. Hess, E. D. (2010). “Discussion in Social Studies: Is it Worth the Trouble?”. Social Education. Hobbs, R. (2011). Digital and Media Literacy: Connecting Culture and Classroom. United States of America: Corwin. Hollandsworth, R., Dowdy, L., & Donovan, J. (2011). Digital Citizenship in K-12: It takes a Village. TechTrends. Hollandswroth, R., Donovan, J., & Welch, M. (2017). Digital Citizenship: You can’t Go Home Again. Teach Trends, 61, 524-530.


292 Hultin, E. (2017). Children’s Democratic Experiences in a Collective Writing Process- Analysing Classroom Interaction in Terms of Deliberation. Nordic Journal of Literacy Research, 3(1), 26-44. Information Technology Authority Sultanate of Oman. (2016). What is the digital Society? http://www.ita.gov.om/ITAPortal/Info/FAQ_DigitalSociety.aspx. Jones, L. M., & Mitchell, K. J. (2016). Defining and Measuring Youth Digital Citizenship. New Media & Society, 18, 2063-2079. Kim, M., & Choi, D. (2018). Development of Youth Digital Citizenship Scale and Implication for Educational Setting. Education Technology & Society, 21, 155-171. Kock, C. (2014). Aristotle on Deliberation: It’s place in ethics, politics and rhetoric H. V. O. Blle Let’s Talk Politics New Essays on Deliberative Rhetoric: Argumentation in Context 6 (pp. 13-25). Amsterdam: John Benjamin Publishing. Latimer, C., & Hempson, K. (2012). Using Deliberation in the Classroom: A Teaching Pedagogy to Enhance Student Knowledge, Opinion Formation, and Civic Engagement. Journal of Political Science Education, 372-388. Lee, K. (2015). Competency-based Curriculum and Curriculum Autonomy in the Republic of Korea. Geneva: UNESCO International Bureau of Education. List, C., & Sliwka, A. (2011). Learning Democratic Communication through Deliberative Polling R. Cavalier Approaching Deliberative Democracy: Theory and Practice (pp. 9-50). Pittsburgh: Carnegie Mellon University Press. Longstreet, W. S., & Shane, H. G. (1993). Curriculum for a New Millennium. United States: Allyn & Bacon. Mattson, K. (2017). Digital Citizenship in Action: Empowering Students to Engage in Online Communities. Portland, Oregon: International Society Technology in Education. Mossberger, K., Tolbert, C. J., & McNeal, R. S. (2008). Digital Citizenship: the Internet, Society, and Participation. Massachusetts: Massachusetts Institute of Technology. Murphy, T. A. (2004). Deliberative Civic Education and Civil Society: A Consideration of Ideals and Actualities in Democracy and Communication Education. Communication Education Technology & Society, 53(1).


293 Nelson, K., Courier, M., & Joseph, G. W. (2011). Teaching Tip an Investigation of Digital Literacy Needs of Students. Journal of Information Systems Education, 22(2), 95- 106. Ohler, J. B. (2010). Digital Community Digital Citizen. United States of America: Corwin. Oliva, P. F. (2009). Developing in the Curriculum (7). United States of American: Person Education. Ornstein, A. C., & Hunkins, F. P. (2013). Curriculum Foundations, Principles, and Issues (6). United Stated: Person Education. Oxley, C. (2010). Digital Citizenship: Developing an Ethical and Responsible Online Culture. Brisbane: Brisbane Grammar School. Pangrazio, L. (2016). Reconceptualising critical digital literacy. Studies in the Cultural Politics of Education, 37(2), 163-174. Proulx, S., & Goldenberg, A. (2012). Politicization of Socio-technical Spaces of Collective Cognition: the Practice of Public Wikis Digital Cognitive Technologies: Epistemology and Knowledge Society. New Jersey: Hoboken. Reich, W. (2007). Deliberative Democracy in the Classroom: A Sociology View. Educational Theory, 57, 187-197. Ribble, M. (2011). Digital Citizenship in Schools (2). United States of America: International Society for Technology in Education. Schaefer, D. L. (2012). Deliberative Democracy: the Transformation of a Political Concept D. L. Schaefer Democratic Decision-Making: Historical and Contemporary Perspectives. United States of America: Lexington Books. Taba, H. (1962). Curriculum Development: Theory and Practice. Newyork: Harcourt Brace and World. Tahirsylaj, A. (2017). Curriculum Field in the Making: Influences That Led to Social Efficiency as Dominant Curriculum Ideology in Progressive Era in the U.S. European Journal of Curriculum Studies, 4(1), 628-638. Tan, T. (2011). Educating Digital Citizens. Leadership. Thomas, N. L. (2010). Editor’s Notes, Educating for Deliberative Democracy N. L. Thomas


294 New Directions for Higher Education. UNESCO. (2016). A Policy Review: Building Digital Citizenship in Asia-Pacific through Safe, Effective and Responsible Use of ICT. Bangkok: UNESCO Bangkok Office. Watson, R. (2555). เจาะชีวติ มนษุ ย์ยคุ อนาคต: แนวโน้ม 5 ประการที่จะเปลี่ยนแปลงโลกในอีก 50 ปี ข้างหน้า Future files : the 5 trends that will shape the next 50 years (เอกชยั อศั วนฤนาท, ผ้แู ปล). กรุงเทพฯ: ทรู ดจิ ิตอล คอนเท้นท์แอนดม์ ีเดีย. Winn, M. R. (2011). Promote digital citizenship through school-based social networking. Learning & Leading with Technology, 39, 10-13. เปร่ือง กิจรัตน์. (2532). การจดั กิจกรรมการเรียนรู้สาหรับอตุ สาหกรรมศลิ ป์ . กรุงเทพฯ: สถาบนั ราช ภฎั พระนคร. ไพฑรู ย์ สนิ ลารัตน์. (2555). ปรัชญาการศกึ ษาเบอื ้ งต้น. กรุงเทพฯ: สานกั พมิ พ์แหง่ จฬุ าลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั . ชญาน์ทตั ศภุ ชลาศยั . (2554). วงศาวิทยาปรัชญาการเมือง วา่ ด้วยการตอ่ ต้านฉนั ทามติ. กรุงเทพฯ: สานกั พมิ พ์แหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั . ชรินทร์ มง่ั คง่ั . (2561). รูปแบบหลกั สตู รเพ่ือปวงชนขององค์กรประชาสงั คมสาหรับนกั เรียนชาตพิ นั ธ์ุ ในจงั หวดั เชียงใหม.่ วารสารศกึ ษาศาสตร์มหาวทิ ยาลยั ทกั ษิณ, 18(1), 210-222. ชยั ยงค์ พรหมวงศ์. (2556). การทดสอบประสทิ ธิภาพสื่อหรือชดุ การสอน. วารสารศลิ ปากร ศกึ ษาศาสตร์วิจยั , 5(1), 5-20. ดนชุ า ปนคา, วลยั อิศรางกรู ณ อยธุ ยา, & สาลี ทองธิว. (2556). การวจิ ยั และพฒั นาหลกั สตู รตาม ทฤษฎีการศกึ ษาเพื่อสงั คมท่ีดกี วา่ เพื่อเสริมสร้างจติ สาธารณะของนกั เรียนประถมศกึ ษา. วารสารศลิ ปากรศกึ ษาศาสตร์วจิ ยั , 5(2), 322-334. ดนวุ ศนิ เจริญ. (2557). ความเลื่อมลา้ ในการเข้าถึงข้อมลู . http://mba.nida.ac.th/cec/images/stories/cecpic/magazine/02/13_digital_03%20ca se5.pdf ธารง บวั ศรี. (2504). ทฤษฏีหลกั สตู ร. พระนคร: โครงการพฒั นาการศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธิการ. ธารง บวั ศรี. (2542). ทฤษฎีหลกั สตู รการออกแบบและการพฒั นา. กรุงเทพฯ: ครุ ุสภา. ปรีชา อยุ ตระกลู และคณะ. (2554). กระบวนการประชาธิปไตยแบบปรึกษาหารืออยา่ งมี วจิ ารณญาณการใช้เอกสารเชงิ ประเดน็ : กรณีศกึ ษาในจงั หวดั นครราชสีมา. ประชาธิปไตย ทางตรง (direct democracy):กระบวนการประชาธิปไตยแบบปรึกษาหารืออยา่ งมี


295 วิจารณญาณ (deliberative democracy). พระไพศาล วสิ าโล. (2554). สถานะและชะตากรรมของมนษุ ย์ในยคุ คอมพิวเตอร์. กรุงเทพฯ: สานกั พมิ พ์มลู นิธิโกมลคีมทอง. ภทั ราวดี, ม. (2560). การออกแบบการวิจยั สาหรับการวจิ ยั แบบผสานวิธี (Research Design for Mixed Method Research). วารสารสมาคมนกั วิจยั , 21(2), 29. ราชบณั ฑิตยสถาน. (2555). พจนานกุ รมศพั ท์ศกึ ษาศาสตร์ (ฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน). กรุงเทพฯ: ราชบณั ฑิตยสถาน. ราชบณั ฑิตยสถาน. (2562). พจนานกุ รมศพั ท์ศกึ ษาศาสตร์ร่วมสมยั ชดุ ความฉลาดรู้ (literacy) ฉบบั ราชบณั ฑิตยสภา. กรุงเทพฯ: สานกั งานราชบณั ฑิตยสภา. ลดั ดาวลั ย์ ตนั ตวิ ิทยาพิทกั ษ์. (2554). ประชาธิปไตยหารืออยา่ งมีวิจารณญาณ. ประชาธิปไตย ทางตรง (direct democracy):กระบวนการประชาธิปไตยแบบปรึกษาหารืออยา่ งมี วิจารณญาณ (deliberative democracy). วรพจน์ วงศ์กิจรุ่งเรือง. (2561). คมู่ ือพลเมืองดจิ ิทลั . กรุงเทพฯ: สานกั งานสง่ เสริมเศรษฐกิจดจิ ิทลั กระทรวงดจิ ทิ ลั เพื่อเศรษฐกิจและสงั คม. วรรณี แกมเกต.ุ (2551). วิธีวทิ ยาการวจิ ยั ทางพฤตกิ รรมศาสตร์. กรุงเทพฯ: ภาควิชาวิจยั และ จิตวิทยาการศกึ ษา คณะครุศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . วลยั อิศรางกรู ณ อยธุ ยา. (2554). บทบาทของครูสงั คมศกึ ษาในการพฒั นาประชาธิปไตย. วารสารครุ ศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั . วฒั นา พฒั นพงษ์. (2547). มารู้จกั Competency กนั เถอะ. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์. วนั ชยั วฒั นศพั ท์. (2551). การดาเนินการเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีสว่ นร่วมในการบริหาร ราชการระดบั จงั หวดั . กรุงเทพฯ: สถาบนั พระปกเกล้า. วนั ชยั วฒั นศพั ท์, & ถวลิ วดี บรุ ีกลุ . (2555). คมู่ ือการประชาเสวนาหาทางออก: ทางออกที่เราต้อง ร่วมกนั เลือกอนาคตประเทศไทย: เหตใุ ดประชาชนต้องมาร่วมกนั ประชาเสวนาหาทางออก ให้ประเทศ. กรุงเทพฯ: สานกั วจิ ยั และพฒั นา สถาบนั พระปกเกล้า. วิชยั ตนั ศริ ิ. (2549). อดุ มการณ์ทางการศกึ ษา ทฤษฎีและภาคปฏิบตั .ิ กรุงเทพฯ: สานกั พมิ พ์แหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . วชิ ยั วงษ์ใหญ่. (2551). กระบวนการพฒั นาหลกั สตู รและการเรียนการสอนภาคปฏิบตั ิ. . กรุงเทพฯ: สวุ ีริยาสาส์น. วิชยั วงษ์ใหญ่. (2537). กระบวนการพฒั นาหลกั สตู รและการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ: สวุ ีริยาสาสน์.


296 สงดั อทุ รานนั ท์. (2532). พืน้ ฐานและหลกั การพฒั นาหลกั สตู ร. กรุงเทพฯ: เซนเตอร์พบั ลิเคชนั่ . สถาบนั สื่อเด็กและเยาวชน. (2561). ความฉลาดทางดจิ ิทลั (DQ Digital Intelligence). กรุงเทพฯ: มลู นธิ ีสถาบนั ส่ือเดก็ และเยาวชน สานกั งานกองทนุ สนบั สนนุ การสร้างเสริมสขุ ภาพ. . สาโรจน์ บวั ศรี. (2528). การศกึ ษาแบบพิพฒั นาการ. วารสารนกุ รมศกึ ษาศาสตร์ 1 สานกั งานเลขาธิการสภาการศกึ ษา. (2562). แนวทางการพฒั นาสมรรถนะผ้เู รียนระดบั การศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน. กรุงเทพฯ: กลมุ่ มาตรฐานการศกษึ า สานกั งานมาตรฐานการศกึ ษาและพฒั นาการ เรียนรู้ สานกั งานเลขาธิการสภาการศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธิการ. สานกั งานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. (2550). ข้าราชการพลเรือนไทยกบั สมรรถนะ. สืบค้น จาก https://www.dopa.go.th/web_pages/m03020000/article/article2.doc.9%20%E0%B9 %80%E0%B8%A1%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%99%20255 1 สานกั งานสถิตแิ หง่ ชาติ. (2555). วยั รุ่น: อนิ เตอร์เน็ต: เกมออนไลน์. http://service.nso.go.th/nso/nsopublish/citizen/news/news_internet_teen.jsp. สานกั วิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา, ส. แ. (2556). การศกึ ษาประสทิ ธิภาพการจดั การเรียนการ สอนของครูกลมุ่ สาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ ชมุ นมุ สหกรณ์แหง่ ประเทศไทย. สริ ิพรรณ นกสวน. (2558). Democracy, Deliberative ประชาธิปไตยแบบอภิปรายไตร่ตรอง. คาและ ความคดิ ในรัฐศาสตร์ร่วมสมยั เลม่ 2. สมุ ิตร คณุ านกุ ร. (2523). หลกั สตู รและการสอน. กรุงเทพฯ: ชวนพิมพ์. อานนท์ ศกั ดวิ์ รวิชญ์. (2547). แนวความคดิ เร่ืองสมรรถนะ (Competency) เร่ืองเกา่ ที่เรายงั หลงทาง. จฬุ าลงกรณ์วารสาร, 16(64), 57-78.


ภาคผนวก


298 ภาคผนวก ก. รายชื่อผ้เู ชี่ยวชาญในการตรวจคณุ ภาพเคร่ืองมือที่ใช้ในการวจิ ยั


299 รายช่ือผ้เู ชี่ยวชาญ 1. การสมั ภาษณ์เชิงลกึ เพื่อหาองค์ประกอบสมรรถนะพลเมืองยคุ ดจิ ทิ ลั ของนกั เรียนมธั ยมศกึ ษา ตอนปลายของไทย ผ้เู ช่ียวชาญด้านทฤษฎีและแนวคดิ พลเมืองยคุ ดจิ ิทลั 1. รองศาสตราจารย์ ดร.ประไพ จนั ทราสกลุ หวั หน้าสาขาวิชาภาษา ภาควิชาวทิ ยาศาสตร์ประยกุ ต์และสงั คม วิทยาลยั เทคโนโลยีอตุ สาหกรรม มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ 2. รองศาสตราจารย์ นิลมณี พิทกั ษ์ หลกั สตู รศกึ ษาศาสตร์บณั ฑิต สาขาวชิ าสงั คมศกึ ษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ 3. ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.นทั ธีรัตน์ พีระพนั ธ์ุ ภาควชิ าเทคโนโลยีการศกึ ษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ 4. อาจารย์ ดร.วรวฒุ ิ สภุ าพ ภาควิชาหลกั สตู รและการสอน คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ ผ้เู ชี่ยวชาญด้านกระบวนการดจิ ิทลั 1. คณุ อเนก ชยั ศรี ผ้ชู ว่ ยผ้จู ดั การฝ่ ายประชาสมั พนั ธ์ เทคโนโลยีและสื่อดจิ ทิ ลั แผนกการจดั การทรัพยากรบคุ คลและความร่วมมือองคก์ ร บริษทั ปนู ซีเมนต์ไทย จากดั (มหาชน)


300 2. การตรวจสอบคณุ ภาพของหลกั สตู รท่ีเน้นสงั คมเป็นศนู ย์กลางร่วมกบั การอภิปรายไตร่ตรอง สาหรับนกั เรียนมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 1. ศาสตราจารย์ ดร.สิริวรรณ ศรีพหล อาจารย์ประจาแบบพเิ ศษ บณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ 2. รองศาสตราจารย์ ดร.ประไพ จนั ทราสกลุ หวั หน้าสาขาวชิ าภาษา ภาควชิ าวทิ ยาศาสตร์ประยกุ ตแ์ ละสงั คม วิทยาลยั เทคโนโลยีอตุ สาหกรรม มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ 3. ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วลยั อิศรางกรู ณ อยธุ ยา อาจารย์ประจาแบบพิเศษ สาขาศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธิราช นายกสมาคมครูสงั คมศกึ ษาแหง่ ประเทศไทย 4. อาจารย์ ดร.รังรอง สมมิตร หวั หน้าภาควชิ าหลกั สตู รและการสอน คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ 5. อาจารย์ ดร.นนั ทิณา นลิ ายน ภาควิชาหลกั สตู รและการสอน คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศรีนคริทรวิโรฒ


301 3. การตรวจสอบคณุ ภาพเคร่ืองมือ 1. ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.มณั ฑณา เมฆโสภาวรรณกลุ สาขาวชิ าภาษา ภาควิชาวิทยาศาสตร์ประยกุ ต์และสงั คม มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ 2. อาจารย์ ดร.กมั ปนาท บริบรู ณ์ หวั หน้าภาควชิ าการศกึ ษาตลอดชีวิต คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ 3. อาจารย์ ดร.นฤมล พระใหญ่ ภาควชิ าแนะแนวและจติ วทิ ยาการศกึ ษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ 4. อาจารย์ ดร.รังรอง สมมติ ร หวั หน้าภาควิชาหลกั สตู รและการสอน คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ 5. อาจารย์ ดร.นนั ทณิ า นิลายน ภาควชิ าหลกั สตู รและการสอน คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศรีนคริทรวิโรฒ


302 ภาคผนวก ข. ผลการตรวจคณุ ภาพเคร่ืองมือที่ใช้ในการวจิ ยั


303 สรุปผลการประเมนิ IOC (Index of Item-Objective Congruence: IOC) แบบสอบถามองค์ประกอบสมรรถนะพลเมืองยคุ ดจิ ิทลั ของนกั เรียนมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ข้อคาถามองค์ประกอบสมรรถนะ ความคิดเห็นของผ้เู ชี่ยวชาญ เฉล่ีย ความหมาย ข้อเสนอแนะ คนที่ 1 คนที่ คนที่ คนท่ี คนที่ 2345 สภาพสงั คมดิจิทลั (Digital Society) สอดคล้อง DK 1 สภาพสงั คมดิจิทลั เป็ นสงั คม 1 1111 1 เสมือนท่ีใช้เคร่ืองมือดิจิทลั เป็ นสื่อกลาง ในการติดตอ่ สื่อสาร DK 2 พนื ้ ท่ีในสงั คมดิจิทลั ทงั้ เวป็ ไซต์ สอื่ สงั คมออนไลน์ และแอปพลเิ คชนั่ ตา่ ง ๆ สอดคล้อง เป็ นพนื ้ ที่สาธารณะ ทกุ คนสามารเข้าถึง 1 1111 1 ได้และเป็ นเป็ นพนื ้ ที่ที่มคี วามเป็ น สว่ นตวั น้อยท่ีสดุ DK 3 สงั คมดิจิทลั มีข้อมลู มากมากมาย ซงึ่ จะช่วยอานวยความสะดวกให้ 1 1111 1 สอดคล้อง นกั เรียนได้ค้นหาความรู้ได้ด้วยตนเอง ตามความถนดั และความสนใจ DK 4 ข้อมลู ดิจิทลั เป็ นข้อมลู ท่ีเข้าถงึ ได้ งา่ ยสะดวกรวดเร็วเข้าถงึ ได้ทกุ ท่ีทกุ เวลา สอดคล้อง จากแหลง่ ที่มาท่ีหลากหลายซงึ่ เป็ น 1 1111 1 ข้อมลู ท่ีจะต้องผา่ นการกลนั่ กรองและ คดั สรรก่อนนาไปใช้ DK 5 ข้อมลู ในสงั คมดิจิทลั กระจาย ตวั อยา่ งไร้ทิศทางไมห่ ยดุ น่ิง 1 1111 1 สอดคล้อง เปรียบเสมือนไวรัลเม่ือข้อมลู ถกู เผยแพร่ ไปแล้วไมส่ ามารถเรียกคืนกลบั มาได้ DK 6 เข้าใจวา่ เม่อื ข้อมลู ถกู เผยแพร่ใน โลกดิจิทลั แล้วจะไมม่ ีวนั เลือนหาย 1 1111 1 สอดคล้อง เปรียบเสมือนรอยเท้าของผ้ใู ช้ข้อมลู ท่ีจะ คงอยใู่ นโลกดิจิทลั ตลอดไป DK 7 การระรานทาง ไซเบอร์เป็ นพฤติกรรมท่ีผ้ใู ช้สอ่ื สงั คม ออนไลน์แสดงออกเพื่อทาร้ายผ้อู ื่นให้ 1 1111 1 สอดคล้อง เกิดผลทางจิตใจท่ีพบเห็นถือเป็ นการ คกุ คามเพอื่ ให้เกิดผลกระทบต่อจิตใจ ของผ้ถู กู กระทา


304 แบบสอบถามองค์ประกอบสมรรถนะพลเมืองยคุ ดจิ ิทลั ของนกั เรียนมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย (ตอ่ ) ข้อคาถามองค์ประกอบสมรรถนะ คนที่ 1 ความคิดเห็นของผ้เู ชี่ยวชาญ เฉลยี่ ความหมาย ข้อเสนอแนะ 1 คนที่ 2 คนท่ี 3 คนท่ี 4 คนท่ี 5 DK 8 วิธีการในการระรานทางไซเบอร์ 1 เกดิ ขนึ ้ โดยผ้ใู ช้สอื่ สงั คมออนไลน์ใช้การ 1 111 1 1 สอดคล้อง ปรับคา เขยี น รูปภาพ อารมณ์หรือวิดโี อ โต้ตอบกนั 1 ด้วยคาพดู ท่ีไม่ได้กลน่ั กรองเป็นการกระทา 1 111 1 1 สอดคล้อง ไปตามอารมณ์ เพอื่ ให้ผ้ถู กู กระทาเสยี หาย 1 111 ขดั กบั หลกั ทางศีลธรรมและหลกั กฎหมาย 111 สอดคล้อง DP1 นกั เรียนมกี ารวเิ คราะห์ความ 1 111 11 นา่ เชอื่ ถอื ของข้อมลู การแยกแยะข้อเท็จจริง 111 และข้อคิดเห็นจากข้อมลู ในสงั คมดจิ ิทลั กอ่ 1 1 1 สอดคล้อง นาข้อมลู ไปใช้ 1 011 DP2 นกั เรียนมีการเลอื กสรรข้อมลู ในสงั คม 1 1 สอดคล้อง ดจิ ิทลั ทเ่ี ป็นประโยชน์มาประยกุ ต์ใช้ในการ 111 พฒั นาตนเอง และนาข้อมลู ที่ตนเอง 111 สอดคล้อง เลอื กสรรแล้วไปเผยแพร่ตอ่ ให้ผ้อู ่นื หรือ 11 พฒั นาผลงานให้ดขี นึ ้ DP3 นกั เรียนมีการตดั สนิ ใจบนพืน้ ฐานของ สอดคล้อง ปรับ ข้อมลู ทีถ่ กู ต้องและการยอมรับในหลกั การ เบอื ้ งต้นวา่ ความคิดของตนเองไม่ใช่ 1 0.8 คาอธิบาย ความคิดที่ถกู ต้องท่ีสดุ DP4 นกั เรียนได้มีการตรวจสอบแหลง่ ที่มา สอดคล้อง ของข้อมลู เป็นวิธีการคดั สรรข้อมลู ในโลก 11 ดิจิทลั เพื่อใช้ให้เกิดประโยชน์กบั การเรียน และการพฒั นาตนเอง 1 1 สอดคล้อง DP5 นกั เรียนการอ้างอิงแหลง่ ท่มี าของ ข้อมลู โดยระบชุ ่อื เวปไซต์ ชอ่ื ผ้ใู ห้ข้อมลู วนั และเวลาท่ีทาการสบื ค้น การค้นข้อมลู ทาให้ข้อมลู ท่ีได้จากโลกดจิ ทิ ลั มคี วาม นา่ เช่อื ถอื มากขนึ ้ DP6 นกั เรียนคดั ลอกข้อมลู ทงั ้ หมดจาก แหลง่ ข้อมลู เดยี ว ถือเป็นการคดั ลอก ผลงานและการขโมยความคิดของผ้อู น่ื (Plagiarism) ซงึ่ การคดั ลอกผลงานยงั ชนี ้ า ว่ามีการละเมิดสทิ ธิทางปัญญา (Digital Rights) ของผ้ผู ลติ ผลงานอีกด้วย DP7 มกี ารนาข้อมลู มาอภปิ ราย แลกเปลยี่ นกบั เพือ่ นซง่ึ ถอื เป็นทกั ษะของ การทางานร่วมกบั ผ้อู น่ื ในสงั คมดจิ ทิ ลั ซงึ่ การอภิปรายชว่ ยเกดิ การยอมรับความ คดิ เห็นทีแ่ ตกต่างจากตนเองได้ DP8 นกั เรียนมีการทางานกลมุ่ และการ ทางานร่วมกบั ผ้อู ืน่ โดยอาศยั ข้อมลู ใน สงั คมดจิ ิทลั ไมค่ วรใช้ข้อมลู จากแหลง่ เดยี ว


305 แบบสอบถามองค์ประกอบสมรรถนะพลเมืองยคุ ดจิ ิทลั ของนกั เรียนมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย (ตอ่ ) ข้อคาถามองค์ประกอบสมรรถนะ ความคิดเห็นของผ้เู ชยี่ วชาญ เฉลยี่ ความหมาย ข้อเสนอแนะ คนที่ 1 คนที่ คนที่ คนท่ี คนท่ี 2345 DP9 การกรอกข้อมลู สว่ นตวั อาทิ ทีอ่ ยู่ รหสั บตั รประชาชน และรหสั บญั ชธี นาคารลง ในเวป็ ไซต์ สอ่ื สงั คมออนไลน์ และ สอดคล้อง แอปพลเิ คชน่ั ต่าง ๆ เพ่อื หลกี เลยี่ งความ 11111 1 เสย่ี ง อาจจะทาให้ข้อมลู ร่ัวไหล และตกเป็นเหย่อื ของมจิ ฉาชพี ได้ มารยาทในการใช้สอื่ ดิจิทลั (Digital Etiquettes) DA1. (1) ทกุ คนมีสทิ ธิเทา่ เทียมกนั ในการ นาเสนอข้อมลู การแสดงความคิดเห็น และ 1 1 0 1 1 0.8 สอดคล้อง การวิพากษ์วจิ ารณ์ผ้อู ่ืนภายใต้กรอบของ กฎหมาย โดยจาเป็นจะต้องคานงึ ถงึ สทิ ธิ ของผ้ใู ช้คนอืน่ โดยไมล่ ะเมดิ สทิ ธิผ้อู ืน่ DA2 (1). นกั เรียนใช้สอื่ ดจิ ทิ ลั จะต้องให้ เกียรติซงึ่ กนั และกนั ด้วยการใช้คาพดู ภาษา เขียน รูปภาพ และการแสดงความคดิ เหน็ 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง ด้วยภาษาท่ีสภุ าพ โดยการไม่หม่นิ ประมาท หรือใช้คาพดู ไมส่ ภุ าพในการแสดงความ คิดเหน็ DA3. มีการปฏิบตั ิตนต่อผ้อู ่นื ตามสภาพ บคุ คล เชน่ เดยี วกับชีวติ จริง เชน่ พ่อแม่ ครู 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง อาจารย์ด้วยความเคารพ ให้ทงั ้ ในสงั คม ดิจทิ ลั และสงั คมปกติ DA4. การปฏิบตั ิตนตอ่ ผ้ใู ช้สอื่ ดจิ ิทลั ทงั ้ เพ่อื น พ่ีน้อง และคนทว่ั ไป ยดึ หลกั การ 11111 1 สอดคล้อง ปฏิบตั ิตนตามสถานภาพบุคคลทกุ คน DA5 มีการแสดงความคิดเห็นใช้ภาษาท่ี สอดคล้อง สภุ าพ ตามกาลเทศะ และสถานภาพของบุ 0 1 1 1 1 0.8 คล DA6 (2) ไม่ควรนาเสนอสอื่ ลามก อนาจาร ทงั ้ รูปภาพ เพราะถือเป็นการเสย่ี งทาให้ผ้ไู ม่ 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง หวงั ดสี ามารถเข้าถงึ ข้อมลู สว่ นตวั ในสอื่ สงั คมออนไลน์ของเรา DA7. ผ้ใู ช้ระวงั วา่ ผ้อู ่นื ยอ่ มได้รับผลกระทบ จากการกระทาของตนเอง เพราะพนื ้ ที่ใน สอดคล้อง สงั คมดิจทิ ลั เป็นพืน้ ทส่ี าธารณะทที่ กุ คน 11111 1 เข้าถงึ ได้พลเมอื งยคุ ดจิ ิทลั ต้องรับผดิ ชอบ กบั การนาเสนอข้อมลู ของตน


306 สรุปผลการประเมนิ IOC (Index of Item-Objective Congruence: IOC) แบบทดสอบสมรรถนะพลเมืองยคุ ดจิ ิทลั แบบทดสอบสมรรถนะพลเมืองยคุ ดจิ ทิ ลั ด้านความรู้ ชดุ ที่ 1 องค์ประกอบสมรรถนะ ข้อสอบ ความเหน็ ข้อผ้เู ชี่ยวชาญ เฉลยี่ ความหมาย ข้อเสนอแนะ คนที่ 1 คนที่ 2 คนท่ี 3 คนที่ 4 คนท่ี 5 สภาพสงั คมดิจิทลั สอดคล้อง ปรับแก้ข้อ (Digital Society) 1 1 0 1 1 1 0.8 คาถามให้ DK 1 สภาพสงั คมดิจิทลั เป็ น ชดั เจนขนึ ้ สงั คมเสมอื นท่ีใช้เคร่ืองมือ สอดคล้อง เรียงข้อคาถามให้ ดิจิทลั เป็ นสอื่ กลางในการ 2 1 0 1 1 1 0.8 มคี าสาคญั Communication ติดตอ่ สื่อสาร 3 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง 4 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง 5 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง DK 2 พนื ้ ท่ีในสงั คมดิจิทลั 6 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง ทงั้ เว็ปไซต์ สือ่ สงั คมออนไลน์ สอดคล้อง แบง่ วรรคตอน และแอปพลิเคชนั่ ตา่ ง ๆ เป็ น 7 1 1 0 1 1 1 และสะท้อน พนื ้ ท่ีสาธารณะ ทกุ คนสามาร สงั คมดจิ ิทลั เข้าถงึ ได้และเป็ นเป็ นพนื ้ ท่ีท่ีมี 8 1 1 11 1 1 สอดคล้อง ความเป็ นสว่ นตวั น้อยท่ีสดุ 9 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง 10 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง DK 3 สงั คมดิจิทลั มีข้อมลู มาก 11 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง มากมายซง่ึ จะช่วยอานวยความ 12 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง สะดวกให้นกั เรียนได้ค้นหา 13 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง ความรู้ได้ด้วยตนเองตามความ 14 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง ถนดั และความสนใจ 15 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง DK 4 ข้อมลู ดจิ ทิ ลั เป็นข้อมลู ที่ 16 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง เข้าถงึ ได้งา่ ยสะดวกรวดเร็วเข้าถงึ 17 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง ได้ทกุ ที่ทกุ เวลาจากแหล่งที่มาที่ 18 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง หลากหลายซง่ึ เป็นข้อมลู ทจี่ ะต้อง ผา่ นการกลนั่ กรองและคดั สรรก่อน 19 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง นาไปใช้ 20 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง DK 5 ข้อมลู ในสงั คมดิจิทลั 21 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง กระจายตวั อยา่ งไร้ทิศทางไม่ 22 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง หยดุ นิ่งเปรียบเสมือนไวรัลเม่ือ 23 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง ข้อมลู ถกู เผยแพร่ไปแล้วไม่ 24 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง สามารถเรียกคืนกลบั มาได้ 25 1 0 0 1 1 0.6 ไมส่ อดคล้อง ปรับตวั เลอื กให้ ถกู ต้องเดน่ ชดั DK 6 เข้าใจวา่ เมือ่ ข้อมลู ถกู 26 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง เผยแพร่ในโลกดิจิทลั แล้วจะไม่ 27 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง มวี นั เลอื นหายเปรียบเสมอื น 28 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง รอยเท้าของผ้ใู ช้ข้อมลู ที่จะคง 29 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง อยใู่ นโลกดิจิทลั ตลอดไป 30 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง


307 แบบทดสอบสมรรถนะพลเมืองยคุ ดจิ ิทลั ด้านความรู้ ชดุ ที่ 1 (ตอ่ ) องค์ประกอบสมรรถนะ ข้อสอบ ความเหน็ ข้อผ้เู ชี่ยวชาญ เฉล่ยี ความหมาย ข้อเสนอแนะ คนที่ 1 คนท่ี 2 คนท่ี 3 คนที่ 4 คนท่ี 5 1 DK 7 การระรานทาง 31 0 1 1 1 1 0.8 สอดคล้อง ปรบั รูปแบบคาถาม 1 1 สอดคล้อง ไซเบอร์เป็นพฤติกรรมที่ผ้ใู ช้สอ่ื สงั คม 32 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง 1 1 สอดคล้อง ออนไลน์แสดงออกเพื่อทาร้ายผ้อู ่นื ให้ 33 1 1 1 1 1 สอดคล้อง 1 เกิดผลทางจิตใจท่ีพบเหน็ ถือเป็นการ 34 1 1 1 1 1 สอดคล้อง คกุ คามเพ่ือให้เกิดผลกระทบตอ่ จิตใจของ 1 สอดคล้อง 35 1 1 1 1 ผ้ถู กู กระทา 0 1 1 DK 8 วธิ ีการในการระรานทางไซเบอร์ 36 1 1 1 1 1 0.6 ไมส่ อดคล้อง ปรบั รูปแบบคาถาม 0.8 สอดคล้อง ปรบั รูปแบบคาถาม เกิดขนึ ้ โดยผ้ใู ช้สือ่ สงั คมออนไลน์ใช้การ 37 1 1 1 1 0.8 สอดคล้อง ปรบั รูปแบบคาถาม เขียน รูปภาพ อารมณ์หรือวิดโี อ โต้ตอบ กนั ด้วยคาพดู ท่ีไมไ่ ด้กลนั่ กรองเป็นการ 38 0 1 1 1 กระทาไปตามอารมณ์ เพื่อให้ผ้ถู กู กระทา 39 0 1 1 1 เสยี หายขดั กบั หลกั ทางศีลธรรมและหลกั กฎหมาย 40 0 1 1 1 แบบทดสอบสมรรถนะพลเมืองยคุ ดจิ ทิ ลั ด้านความรู้ ชดุ ที่ 2 องค์ประกอบสมรรถนะ ข้อสอบ คนที่ 1 ความเหน็ ข้อผ้เู ชย่ี วชาญ คนท่ี 5 เฉลยี่ ความหมาย ข้อเสนอแนะ 1 คนท่ี 2 คนท่ี 3 คนที่ 4 1 สภาพสงั คมดิจิทลั 1 1 1 1 สอดคล้อง (Digital Society) 2 1 111 1 1 สอดคล้อง DK 1 สภาพสงั คมดจิ ิทลั เป็นสงั คม 3 1 111 1 1 สอดคล้อง เสมือนทีใ่ ช้เคร่ืองมอื ดิจิทลั เป็น 4 1 111 1 1 สอดคล้อง สอื่ กลางในการตดิ ตอ่ สอ่ื สาร 5 1 111 1 1 สอดคล้อง 6 1 111 1 1 สอดคล้อง DK 2 พนื ้ ท่ีในสงั คมดิจิทลั ทงั ้ เว็ปไซต์ 7 1 111 1 1 สอดคล้อง สอื่ สงั คมออนไลน์ และแอปพลเิ คชน่ั 8 111 0.8 สอดคล้อง ปรับตวั เลอื กให้ ตา่ ง ๆ เป็นพนื ้ ท่ีสาธารณะ ทกุ คนสา 1 110 1 มารเข้าถงึ ได้และเป็นเป็นพนื ้ ที่ท่ีมี 9 1 1 ตอบได้ทกุ ศาสนา ความเป็นสว่ นตวั น้อยทีส่ ดุ 10 -1 111 1 1 สอดคล้อง 11 111 1 สอดคล้อง DK 3 สงั คมดจิ ทิ ลั มีข้อมลู มาก 1 111 1 0.6 ไม่ ปรับสถานการณ์ มากมายซงึ่ จะชว่ ยอานวยความ 12 1 1 สะดวกให้นกั เรียนได้ค้นหาความรู้ได้ 13 1 111 1 สอดคล้อง ให้สอดคล้องกบั ด้วยตนเองตาม ความถนดั และ 14 0 111 1 คาถาม ความสนใจ 15 111 101 1 สอดคล้อง 1 สอดคล้อง DK 4 ข้อมลู ดจิ ิทลั เป็นข้อมลู ท่เี ข้าถงึ 16 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง 0.6 ไม่ ควรมกี ารแปล ได้ง่ายสะดวกรวดเร็วเข้าถงึ ได้ทกุ ท่ี 17 1 1 1 1 1 สอดคล้อง ขา่ ว เพอ่ื ให้เข้าใจ ทกุ เวลาจากแหลง่ ที่มาทีห่ ลากหลาย 18 1 1 1 1 1 ง่าย ซง่ึ เป็นข้อมลู ท่ีจะต้องผ่านการ กลน่ั กรองและคดั สรรก่อนนาไปใช้ 19 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง 1 สอดคล้อง 20 1 1 0 1 1 1 สอดคล้อง 1 สอดคล้อง 0.8 สอดคล้อง ปรับภาษาของข้อ คาถาม


308 แบบทดสอบสมรรถนะพลเมืองยคุ ดจิ ทิ ลั ด้านความรู้ ชดุ ที่ 2 (ตอ่ ) องค์ประกอบสมรรถนะ ข้อสอบ ความเห็นข้อผ้เู ช่ียวชาญ เฉล่ีย ความหมาย ข้อเสนอแนะ คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3 คนท่ี 4 คนท่ี 5 DK 5 ข้อมลู ในสงั คมดิจิทลั 21 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง กระจายตวั อยา่ งไร้ทิศทางไม่ 22 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง หยดุ น่ิงเปรียบเสมอื นไวรัล 23 11 1 1 1 1 สอดคล้อง เมอื่ ข้อมลู ถกู เผยแพร่ไปแล้ว 24 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง ไมส่ ามารถเรียกคืนกลบั มาได้ 25 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง DK 6 เข้าใจวา่ เม่ือข้อมลู ถกู 26 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง เผยแพร่ในโลกดิจิทลั แล้วจะ 27 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง ไมม่ วี นั เลือนหาย 28 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง เปรียบเสมือนรอยเท้าของ 29 0 1 1 1 1 0.8 สอดคล้อง ปรับตวั เลือก ผ้ใู ช้ข้อมลู ท่ีจะคงอยใู่ นโลก 30 11 1 1 1 1 สอดคล้อง ดิจิทลั ตลอดไป DK 7 การระรานทางไซเบอร์ 31 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง เป็ นพฤติกรรมท่ีผ้ใู ช้ส่ือสงั คม 32 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง ออนไลน์แสดงออกเพอื่ ทา 33 -1 1 1 1 1 0.6 ไม่ ข้อคาถามไม่ ร้ายผ้อู ่ืนให้เกิดผลทางจติ ใจที่ สอดคล้อง สอดคล้อง พบเห็นถือเป็ นการคกุ คาม กบั ตวั เลือก เพื่อให้เกิดผลกระทบตอ่ จิตใจ 34 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง ของผ้ถู กู กระทา 35 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง DK 8 วิธีการในการระราน 36 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง ทางไซเบอร์เกิดขนึ ้ โดยผ้ใู ช้ 37 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง ส่อื สงั คมออนไลน์ใช้การเขยี น 38 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง รูปภาพ อารมณ์หรือวิดีโอ โต้ตอบกนั ด้วยคาพดู ที่ไมไ่ ด้ 39 0 1 1 1 1 0.8 สอดคล้อง ปรับข้อ 1 1 คาถาม กลน่ั กรองเป็ น การกระทา 40 0 1 ไปตามอารมณ์ เพื่อให้ 1 0.8 สอดคล้อง ปรับตวั เลอื ก ผ้ถู กู กระทาเสียหายขดั กบั หลกั ทางศีลธรรมและหลกั กฎหมาย


309 แบบทดสอบสมรรถนะพลเมืองยคุ ดจิ ทิ ลั ด้านทกั ษะ ชดุ ที่ 1 องค์ประกอบสมรรถนะ ข้อสอบ ความเห็นข้อผ้เู ชี่ยวชาญ เฉล่ยี ความหมาย ข้อเสนอแนะ คนท่ี 1 คนที่ 2 คนท่ี 3 คนที่ 4 คนที่ 5 DP1 นักเรี ยน มี การวิเค ราะห์ ค วาม 1 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง น่ าเช่ื อถื อข องข้ อ มูล ก ารแ ย ก แ ย ะ 2 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง ข้ อเท็จ จริ งแล ะข้ อคิด เห็น จากข้ อมูลใน 3 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง สงั คมดิจิทลั ก่อนาข้อมลู ไปใช้ 4 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง DP2 นกั เรียนมกี ารเลอื กสรรข้อมลู ใน 5 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง สงั คมดจิ ิทลั ที่เป็นประโยชน์มา 6 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง ประยกุ ตใ์ ช้ในการพฒั นาตนเอง และนา 7 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง ข้อมลู ท่ีตนเองเลือกสรรแล้วไปเผยแพร่ 8 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง ตอ่ ให้ผ้อู ื่นหรือพฒั นาผลงานให้ดขี นึ ้ 9 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง 10 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง DP3 นกั เรียนมกี ารตดั สินใจบนพืน้ ฐาน 11 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง ของข้อมลู ที่ถกู ต้องและการยอมรับใน 12 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง หลกั การเบือ้ งต้นวา่ ความคิดของตนเอง ไมใ่ ชค่ วามคดิ ท่ีถกู ต้องท่ีสดุ 13 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง 14 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง DP4 นกั เรียนได้มกี ารตรวจสอบ 15 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง แหลง่ ที่มาของข้อมลู เป็นวธิ ีการคดั สรร 16 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง ข้อมลู ในโลกดจิ ทิ ลั เพื่อใช้ให้เกิด 17 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง ประโยชน์กบั การเรียนและการพฒั นา ตนเอง 18 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง 19 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง DP5 นกั เรียนการอ้างอิงแหลง่ ท่ีมาของ 20 0 1 1 1 1 0.8 สอดคล้อง ปรบั ตวั เลือก ข้อมลู โดยระบชุ ื่อเวปไซต์ ชื่อผ้ใู ห้ข้อมลู 21 0 1 1 1 1 0.8 สอดคล้อง ปรบั ตวั เลือก วนั และเวลาท่ีทาการสืบค้น การค้นข้อมลู 22 0 1 1 1 1 0.8 สอดคล้อง ปรบั ข้อคาถาม ทาให้ข้อมลู ท่ีได้จากโลกดจิ ิทลั มคี วาม 23 0 1 1 1 1 0.8 สอดคล้อง ปรับข้อคาถาม นา่ เช่ือถือมากขนึ ้ DP6 นกั เรียนคดั ลอกข้อมลู ทงั้ หมดจาก 24 0 1 1 0 1 0.6 ไมส่ อดคล้อง คาถามไม่ แหลง่ ข้อมลู เดยี ว ถือเป็นการคดั ลอก สอดคล้องกบั ผลงานและการขโมยความคิดของผ้อู น่ื ตวั ชีว้ ดั (Plagiarism) ซ่งึ การคดั ลอกผลงานยงั 25 0 1 1 1 1 0.8 สอดคล้อง ปรบั ตวั เลือก ชีน้ าวา่ มกี ารละเมดิ สิทธิทางปัญญา (Digital Rights) ของผ้ผู ลิตผลงานอีก 26 0 1 1 1 1 0.8 สอดคล้อง ปรับตวั เลอื ก ด้วย 27 0 1 1 1 1 0.8 สอดคล้อง ปรับตวั เลอื ก DP7 มีการนาข้อมลู มาอภิปราย 28 0 0 1 1 1 0.6 ไมส่ อดคล้อง ปรบั ตวั เลอื ก แลกเปลย่ี นกบั เพื่อนซ่งึ ถือเป็นทกั ษะของ และข้อคาถาม การทางานร่วมกบั ผ้อู ืน่ ในสงั คมดิจิทลั ซึง่ 29 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง การอภปิ รายช่วยเกิดการยอมรบั ความ 30 0 1 1 1 1 0.8 สอดคล้อง ปรับตวั เลือก คดิ เหน็ ที่แตกตา่ งจากตนเองได้ 31 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง


310 แบบทดสอบสมรรถนะพลเมืองยคุ ดจิ ทิ ลั ด้านทกั ษะ ชดุ ท่ี 1 (ตอ่ ) องค์ประกอบสมรรถนะ ข้อสอบ ความเหน็ ข้อผ้เู ชยี่ วชาญ เฉลย่ี ความหมาย ข้อเสนอแนะ คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3 คนที่ 4 คนที่ 5 ปรับตวั เลอื ก ปรับตวั เลอื ก DP8 นกั เรียนมีการทางานกล่มุ และ 32 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง ปรับตวั เลอื ก การทางานร่วมกบั ผ้อู ื่น โดยอาศยั 33 0 1 1 1 1 0.8 สอดคล้อง ปรับตวั เลอื ก ปรับตวั เลอื ก ข้อมลู ในสงั คมดจิ ทิ ลั ไมค่ วรใช้ 34 0 1 1 1 1 0.8 สอดคล้อง ข้อมลู จากแหล่งเดียว 35 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง DP9 การกรอกข้อมลู สว่ นตวั อาทิ ท่ี 36 0 1 1 1 1 0.8 สอดคล้อง อยู่ รหสั บตั รประชาชน และรหสั 37 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง บญั ชีธนาคารลงในเว็ปไซต์ สอื่ 38 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง สงั คมออนไลน์ และแอปพลิเคชน่ั 39 0 1 1 1 1 0.8 สอดคล้อง ต่าง ๆ เพ่ือหลีกเลี่ยงความเส่ียง อาจจะทาให้ข้อมูลร่ัวไหล และตก 40 0 1 1 1 1 0.8 สอดคล้อง เป็นเหย่อื ของมิจฉาชีพได้ แบบทดสอบสมรรถนะพลเมืองยคุ ดจิ ิทลั ด้านทกั ษะ ชดุ ที่ 2 องคป์ ระกอบสมรรถนะ ข้อสอบ ความเหน็ ข้อผ้เู ช่ียวชาญ เฉลยี่ ความหมาย ข้อเสนอแนะ คนท่ี 1 คนท่ี 2 คนท่ี 3 คนที่ 4 คนที่ 5 1 DP1 นักเรียนมีการวิเคราะห์ 1 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง 0.6 ไม่ ปรับตวั เลือกและคาถาม ความน่าเชื่อถือของข้อมูลการ 2 0 1 0 1 1 1 สอดคล้อง ให้สอดคล้องกบั ตวั ชีว้ ดั แ ย ก แ ย ะ ข้ อ เท็ จ จ ริ ง แ ล ะ 1 1 สอดคล้อง 1 1 สอดคล้อง ข้อคิดเห็นจากข้อมลู ในสังคม 3 1 1 1 1 1 สอดคล้อง 1 1 สอดคล้อง ดจิ ิทลั ก่อนาข้อมลู ไปใช้ 41111 1 51111 1 DP2 นกั เรียนมกี ารเลือกสรร 6 1 1 1 1 1 1 ข้อมลู ในสงั คมดจิ ิทลั ท่เี ป็น 1 ประโยชน์มาประยกุ ตใ์ ช้ในการ 7 1 1 -1 1 0.6 ไม่ คาถามไมเ่ หมาะสมกบั 1 พฒั นาตนเอง และนาข้อมลู ท่ี 1 สอดคล้อง นกั เรียน 1 ตนเองเลอื กสรรแล้วไปเผยแพร่ 8 1 0 1 1 1 0.8 สอดคล้อง ปรบั ข้อคาถามให้ตรงกบั ตอ่ ให้ผ้อู น่ื หรือพฒั นาผลงาน 1 ตวั ชีว้ ดั 1 ให้ดีขนึ ้ 91111 1 1 สอดคล้อง 10 1 1 1 1 1 สอดคล้อง DP3 นกั เรียนมกี ารตดั สินใจบน 11 1 1 0 1 0.8 สอดคล้อง ปรับข้อคาถามให้ตรงกบั พืน้ ฐานของข้อมลู ท่ีถกู ต้องและ ตวั ชีว้ ดั การยอมรับในหลกั การเบือ้ งต้น 12 1 1 1 1 1 สอดคล้อง วา่ ความคดิ ของตนเองไมใ่ ช่ 13 1 1 1 1 1 สอดคล้อง ความคดิ ท่ีถกู ต้องท่ีสดุ 14 1 1 1 1 1 สอดคล้อง DP4 นกั เรียนได้มกี าร 15 1 1 0 1 0.8 สอดคล้อง ปรบั โจทย์ ตรวจสอบแหลง่ ท่ีมาของข้อมลู 16 1 -1 1 1 0.6 ไม่ คาถามไมเ่ หมาะสมกบั เป็นวธิ ีการคดั สรรข้อมลู ในโลก สอดคล้อง นกั เรียน ดจิ ิทลั เพื่อใช้ให้เกิดประโยชน์ 17 1 1 1 1 1 สอดคล้อง กบั การเรียนและการพฒั นา 18 1 1 1 1 1 สอดคล้อง ตนเอง 19 1 0 1 1 0.8 สอดคล้อง ปรบั โจทย์


311 แบบทดสอบสมรรถนะพลเมืองยคุ ดจิ ทิ ลั ด้านทกั ษะ ชดุ ที่ 2 (ตอ่ ) องค์ประกอบสมรรถนะ ข้อสอบ ความเหน็ ข้อผ้เู ชย่ี วชาญ เฉลยี่ ความหมาย ข้อเสนอแนะ ปรับตวั เลอื ก คนท่ี 1 คนท่ี 2 คนท่ี 3 คนที่ 4 คนท่ี 5 ปรับตวั เลอื ก DP5 นกั เรียนการอ้างอิงแหลง่ ที่มา 20 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง ปรับตวั เลอื ก ปรับตวั เลอื ก ของข้อมลู โดยระบชุ อื่ เวปไซต์ ชอื่ 21 0 1 1 1 1 0.8 สอดคล้อง ปรับตวั เลอื ก ผ้ใู ห้ข้อมลู วนั และเวลาท่ที าการ 22 0 1 1 1 1 0.8 สอดคล้อง ปรับตวั เลอื ก ปรับตวั เลอื ก สบื ค้น การค้นข้อมลู ทาให้ข้อมลู ท่ี 23 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง ปรับตวั เลอื ก ปรับตวั เลอื ก ได้จากโลกดจิ ิทลั มีความน่าเชือ่ ถอื มากขนึ ้ DP6 นกั เรียนคดั ลอกข้อมลู ทงั ้ หมด 24 0 1 1 1 1 0.8 สอดคล้อง จากแหลง่ ข้อมลู เดียว ถือเป็นการ 25 0 1 1 1 1 0.8 สอดคล้อง คดั ลอกผลงานและการขโมย 26 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง ความคิดของผ้อู นื่ (Plagiarism) ซงึ่ 27 1 1 1 0 1 0.8 สอดคล้อง การคดั ลอกผลงานยงั ชนี ้ าวา่ มีการ ละเมิดสทิ ธิทางปัญญา (Digital Rights) ของผ้ผู ลติ ผลงานอีกด้วย DP7 มกี ารนาข้อมลู มาอภิปราย 28 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง แลกเปลยี่ นกบั เพอื่ นซง่ึ ถือเป็น 29 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง ทกั ษะของการทางานร่วมกบั ผ้อู นื่ 30 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง ในสงั คมดจิ ิทลั ซงึ่ การอภปิ รายช่วย 31 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง เกดิ การยอมรับความคดิ เหน็ ที่ แตกต่างจากตนเองได้ DP8 นกั เรียนมีการทางานกลมุ่ 32 0 1 1 1 1 0.8 สอดคล้อง และการทางานร่วมกบั ผ้อู นื่ โดย 33 0 1 1 1 1 0.8 สอดคล้อง อาศยั ข้อมลู ในสงั คมดจิ ทิ ลั ไมค่ วร 34 0 1 1 1 1 0.8 สอดคล้อง ใช้ข้อมลู จากแหลง่ เดียว 35 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง DP9 การกรอกข้อมลู สว่ นตวั อาทิ 36 0 1 1 1 1 0.8 สอดคล้อง ท่ีอยู่ รหสั บตั รประชาชน และรหสั 37 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง บญั ชีธนาคารลงในเวป็ ไซต์ สอื่ 38 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง สงั คมออนไลน์ และแอปพลเิ คชน่ั 39 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง ต่าง ๆ เพอื่ หลกี เลย่ี งความเสย่ี ง 40 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง อาจจะทาให้ข้อมูลร่ัวไหล และตก เป็นเหยื่อของมิจฉาชพี ได้


312 แบบทดสอบสมรรถนะพลเมืองยคุ ดจิ ทิ ลั ด้านคณุ ลกั ษณะ ชดุ ที่ 1 องค์ประกอบสมรรถนะ ข้อสอบ ความเห็นข้อผ้เู ช่ยี วชาญ เฉลยี่ ความหมาย ข้อเสนอแนะ คนท่ี 2 คนที่ 3 คนท่ี 4 คนที่ 1 คนที่ 5 110 มารยาทในการใช้สอื่ ดิจิทลั 0 ไมส่ อดคล้อง ตวั เลอื กข้อ ก.ซงึ่ เป็ นข้อ 111 (Digital Etiquettes) 1 1 111 1 0.6 ท่ไี ด้คะแนนมากทสี่ ดุ 1 111 กลบั ไม่มปี ระเด็นที่ DA1. (1) ทกุ คนมีสทิ ธิเท่าเทยี มกนั ใน 2 1 101 3 1 การนาเสนอข้อมูล การแสดงความ 4 110 เกี่ยวกบั การนาเสนอ 5 คดิ เหน็ และ การ 111 1 1 สอดคล้อง 101 วิพากษ์วจิ ารณ์ผ้อู ่นื ภายใต้กรอบของ 1 -1 0 1 1 สอดคล้อง กฎหมาย โดยจาเป็ นจะต้องคานงึ ถงึ สทิ ธิ 110 1 1 สอดคล้อง ของผ้ใู ช้คนอื่นโดยไม่ละเมดิ สทิ ธิผ้อู นื่ 111 1 0.8 สอดคล้อง ปรับตวั เลอื ก 101 สอดคล้อง แยกไมไ่ ด้ว่าใช้ภาษา 61 111 1 0.8 สภุ าพและประเดน็ พนื ้ ท่ี สว่ นตวั นนั ้ ประเด็นไหน 111 111 สาคญั กวา่ กนั 111 DA2 (1). นกั เรียนใช้สอ่ื ดิจิทลั จะต้องให้ 7 1 101 1 1 สอดคล้อง เกยี รติซง่ึ กนั และกนั ด้วยการใช้คาพดู 8 1 101 ภาษาเขียน รูปภาพ และการแสดงความ 9 1 101 1 0.8 สอดคล้อง ปรับตวั เลอื ก คิดเหน็ ด้วยภาษาที่สภุ าพ โดยการไม่ 111 หมิ่นประมาท หรือใช้คาพดู ไมส่ ภุ าพใน 10 1 111 1 0.4 ไมส่ อดคล้อง ปรบั เฉลยให้มคี วาม การแสดงความคดิ เห็น 111 เหมาะสม 11 1 111 1 0.8 สอดคล้อง ปรบั เฉลยให้มคี วาม เหมาะสม 1 -1 1 1 1 สอดคล้อง ตวั เลอื ก ข ใช้ภาษาไม่ 111 ถกู ตามหลกั ไวยากรณ์ 101 สอดคล้อง ปรับการให้คาอธิบาย 111 เฉลย โดยเฉลยข้อ ง. 12 1 111 1 0.8 การกลา่ วหาผ้อู ่ืนว่า 1 101 หลอกลวงจะเป็ นการ 111 1 ละเมดิ ไหม 1 DA3. มกี ารปฏิบตั ติ นตอ่ ผ้อู ่ืนตามสภาพ 1 สอดคล้อง ปรับคาอธิบายเฉลย ข้อ บคุ คล เช่นเดยี วกบั ชีวิตจริง เช่น พ่อแม่ 1 ครูอาจารย์ด้วยความเคารพ ให้ทงั ้ ใน 13 1 11 ค. อาจจะไมใ่ ช่การ สงั คมดจิ ทิ ลั และสงั คมปกติ 1 14 1 ประชดประชนั 15 1 16 1 1 1 สอดคล้อง 17 18 -1 1 1 สอดคล้อง 19 20 1 1 1 สอดคล้อง 21 22 1 1 0.8 สอดคล้อง ปรบั คาอธิบายเฉลย 23 1 1 0.8 สอดคล้อง ปรับคาอธิบายเฉลย 1 1 0.8 สอดคล้อง ปรับคาอธิบายเฉลย 1 1 1 สอดคล้อง 1 1 1 สอดคล้อง ปรบั คาอธิบายเฉลย 1 1 1 สอดคล้อง ไม่สอดคล้อง ปรับคาอธิบายเฉลย โดย 1 0.6 ให้เรียงลาดบั คะแนน เฉลยใหม่ ไมส่ อดคล้อง ปรับตวั เลอื ก โดย 24 1 0.6 เปลยี่ นตวั เลอื ก ข. เป็ น 25 26 นา่ สงสารสมหญิงมาก DA4 ไมค่ วรนาเสนอสอื่ ลามก อนาจาร 27 1 1 สอดคล้อง ปรบั คาถามตัดคาวา่ ไม่ ทงั ้ รูปภาพ เพราะถือเป็ นการเสย่ี งทาให้ผู้ 28 ไม่หวงั ดีสามารถเข้าถงึ ข้อมลู สว่ นตวั ใน 29 สอดคล้อง ปรับข้อคาถามและ สอ่ื สงั คมออนไลน์ของเรา 30 1 0.8 ตวั เลอื กให้เป็ นลกั ษณะ ของคาวจิ ารณ์ 1 1 สอดคล้อง ปรับตวั เลอื กให้มีความ สอดคล้อง 1 1 สอดคล้อง ปรบั ตวั เลอื กให้มีความ เหมาะสม 1 0.8 สอดคล้อง ปรับคาอธิบายเฉลย 1 1 สอดคล้อง


313 แบบทดสอบสมรรถนะพลเมืองยคุ ดจิ ทิ ลั ด้านคณุ ลกั ษณะ ชดุ ที่ 1 (ตอ่ ) องค์ประกอบสมรรถนะ ข้อสอบ ความเห็นข้อผ้เู ช่ียวชาญ เฉล่ยี ความหมาย ข้อเสนอแนะ คนท่ี คนท่ี คนที่ คนที่ คนที่ 12345 DA4 ไมค่ วรนาเสนอ 31 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง สอื่ ลามก อนาจารทงั้ 32 0 1 1 1 1 0.8 สอดคล้อง ปรับคาอธิบายเฉลย รูปภาพ เพราะถือเป็ น 33 1 1 0 1 1 0.8 สอดคล้อง ปรับตวั เลือกให้ตรงกบั การเสีย่ งทาให้ผ้ไู มห่ วงั ตวั ชีว้ ดั ดีสามารถเข้าถึงข้อมลู 34 0 1 0 1 1 0.6 สอดคล้อง ปรับข้อคาถาม สว่ นตวั ในสอ่ื สงั คม ไมส่ อดคล้อง ข้อสอบและตวั เลือก ออนไลน์ของเรา (ตอ่ ) เป็ นการชีน้ าให้ 35 -1 1 -1 1 1 0.2 นกั เรียนกระทาผิดใน สงั คมดิจิทลั สมควรท่ี จะตดั ข้อสอบข้อนีอ้ อก DA5. ผ้ใู ช้ระวงั วา่ ผ้อู ื่น 36 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง ยอ่ มได้รับผลกระทบ 37 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง จากการกระทาของ 38 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง ตนเอง เพราะพนื ้ ท่ีใน สอดคล้อง ปรับข้อคาถามให้ช่ือ สงั คมดิจิทลั เป็ นพนื ้ ที่ 39 1 1 -1 1 1 0.6 ของบคุ คลใน สถานการณ์ไม่ สาธารณะท่ีทกุ คน เข้าถึงได้พลเมืองยคุ คล้ายกนั จนเกินไป ดิจิทลั ต้องรับผิดชอบ สอดคล้อง กบั การนาเสนอข้อมลู 40 11111 1 ของตน


314 สมรรถนะพลเมืองยคุ ดจิ ิทลั ด้านคณุ ลกั ษณะ ชดุ ที่ 2 องค์ประกอบสมรรถนะ ข้อสอบ ความเห็นข้อผ้เู ชี่ยวชาญ เฉลีย่ ความหมาย ข้อเสนอแนะ คนท่ี คนที่ คนท่ี คนท่ี คนท่ี 12345 มารยาทในการใช้สอื่ ดิจทิ ลั 1 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง (Digital Etiquettes) 2 0 1 1 -1 1 0.4 ไมส่ อดคล้อง คาถามไม่ DA1. (1) ทกุ คนมสี ทิ ธิเท่า เทียมกนั ในการนาเสนอ 3 เหมาะสมกบั ข้อมลู การแสดงความ 4 นกั เรียน คดิ เหน็ และ 5 การวิพากษ์วิจารณ์ผ้อู ืน่ 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง ภายใต้กรอบของกฎหมาย 0 1 1 1 1 0.8 สอดคล้อง ปรับตวั เลือก โดยจาเป็ นจะต้ องคานึงถงึ 0 1 1 0 1 0.6 ไมส่ อดคล้อง คาถามไม่ สอดคล้องกบั สทิ ธิของผ้ใู ช้คนอ่ืนโดยไม่ 6 ตวั ชีว้ ดั ละเมดิ สทิ ธิผ้อู นื่ 0 1 1 1 1 0.8 สอดคล้อง ปรับตวั เลอื ก DA2 นกั เรียนใช้สื่อ 7 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง ดิจิทลั จะต้องให้เกียรติ 8 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง ซง่ึ กนั และกนั ด้วยการ 9 0 1 1 1 1 0.8 สอดคล้อง ปรับตวั เลือก ใช้คาพดู ภาษาเขียน 10 0 1 1 1 1 0.8 สอดคล้อง ปรับตวั เลือก รูปภาพ และการแสดง 11 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง ความคิดเห็นด้วยภาษา 12 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง ท่ีสภุ าพ โดยการไมห่ มน่ิ ประมาท หรือใช้คาพดู ไมส่ ภุ าพในการแสดง ความคิดเห็น DA3. มกี ารปฏิบตั ิตน 13 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง ตอ่ ผ้อู ่ืนตามสภาพ 14 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง บคุ คล เช่นเดียวกบั ชีวติ 15 1 0 -1 1 1 0.4 ไมส่ อดคล้อง ควรตดั ออกเพราะ จริง เช่น พอ่ แม่ ครู โจทย์ไมเ่ หมาะสม อาจารย์ด้วยความ กบั วยั และตวั ชีว้ ดั เคารพ ให้ทงั้ ในสงั คม 16 1 1 0 0 1 0.6 ไมส่ อดคล้อง คาถามไมต่ รงกบั ดิจิทลั และสงั คมปกติ ตวั ชีว้ ดั 17 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง 18 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง 19 1 1 0 0 1 0.6 ไมส่ อดคล้อง ปรับคาถามใหมไ่ ม่ ตรงกบั ตวั ชีว้ ดั 20 1 1 0 0 1 0.6 ไมส่ อดคล้อง ปรับคาถามใหมไ่ ม่ ตรงกบั ตวั ชีว้ ดั 21 1 1 0 1 1 0.8 ไมส่ อดคล้อง ปรับตวั เลือก 22 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง 23 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง 24 0 1 1 1 1 0.8 สอดคล้อง ปรับตวั เลอื ก


315 แบบทดสอบสมรรถนะพลเมืองยคุ ดจิ ทิ ลั ด้านคณุ ลกั ษณะ ชดุ ที่ 2 (ตอ่ ) องค์ประกอบ ข้อสอบ ความเห็นข้อผ้เู ช่ียวชาญ เฉล่ยี ความหมาย ข้อเสนอแนะ สมรรถนะ คนท่ี 1 คนที่ คนที่ คนที่ คนท่ี 2345 DA4 ไมค่ วรนาเสนอ 25 0 1 1 1 1 0.8 สอดคล้อง ปรับตวั เลอื ก สือ่ ลามก อนาจารทงั้ 26 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง รูปภาพ เพราะถือเป็ น 27 1 -1 1 1 1 0.6 ไมส่ อดคล้อง คาถามไมต่ รงกบั การเส่ยี งทาให้ผ้ไู มห่ วงั ตวั ชีว้ ดั ดีสามารถเข้าถึงข้อมลู 28 0 -1 1 0 1 0.2 ไมส่ อดคล้อง คาถามกากวม ไม่ สว่ นตวั ในสื่อสงั คม ตรงกบั ตวั ชีว้ ดั ออนไลน์ของเรา และนกั เรียน 29 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง 30 0 1 0 1 1 0.6 ไมส่ อดคล้อง คาถามกากวม ตวั เลอื กถกู ไม่ ชดั เจน 31 1 1 0 1 1 0.8 สอดคล้อง ปรับตวั เลือก 32 0 1 1 1 1 0.8 สอดคล้อง ปรับตวั เลือก 33 1 1 0 0 1 0.6 ไมส่ อดคล้อง โจทยก์ ากวม ไม่ เหมาะกบั นกั เรียน 3 1 1 0 1 1 0.8 สอดคล้อง ปรับตวั เลอื ก 35 0 1 1 0 1 0.6 ไมส่ อดคล้อง คาถามไมเ่ หมาะ กบั ตวั ชีว้ ดั DA5 ผ้ใู ช้ระวงั วา่ ผ้อู ื่น 36 0 1 1 1 1 0.8 สอดคล้อง ปรับตวั เลือก ยอ่ มได้รับผลกระทบ 37 0 1 0 1 1 0.6 ไมส่ อดคล้อง คาถามไมต่ รงกบั จากการกระทาของ ตวั ชีว้ ดั ตนเอง เพราะพนื ้ ที่ใน 38 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง สงั คมดิจิทลั เป็ นพนื ้ ที่ 39 1 -1 -1 0 1 0 ไมส่ อดคล้อง คาถามกากวม สาธารณะที่ทกุ คน 40 เฉลยใกล้เคียงกนั เข้าถงึ ได้พลเมืองยคุ มากเกินไป ควร ดิจิทลั ต้องรับผิดชอบ ตดั ออก กบั การนาเสนอข้อมลู ของตน 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง


316 สรุปผลการประเมิน IOC (Index of Item-Objective Congruence: IOC) แบบประเมินพฤตกิ รรมการใช้สื่อออนไลน์ของพลเมืองยคุ จิ ิทลั ข้อคาถามองค์ประกอบสมรรถนะ ความคิดเห็นของผ้เู ชี่ยวชาญ เฉลยี่ ความหมาย ข้อเสนอแนะ คนที่ คนที่ คนท่ี คนที่ คนที่ 12345 1. นกั เรียนเป็นพลเมอื งยคุ ดจิ ิทลั ท่ีใช้ สอดคล้อง เคร่ืองมือดิจทิ ลั ในการติดตอ่ สอ่ื สารในโลก 1 1 1 1 1 1 ออนไลน์ 2. นกั เรียนระมดั ระวงั การโพสข้อความตา่ ง ๆ สอดคล้อง ในสอ่ื สงั คมออนไลน์ เพราะรู้วา่ เป็นพนื ้ ท่ีทีม่ ี 1 1 1 1 1 1 ความเป็นสว่ นตวั น้อย ใคร ๆ ก็เข้าถงึ ได้ 3. นกั เรียนคดั สรรข้อมลู ทีเ่ ป็นประโยชน์ใน 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง การเรียนหรือความสนใจ 4. นกั เรียนสามารถสบื ค้นข้อมลู ดจิ ทิ ลั ได้ใน 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง ทกุ สถานท่ี ทกุ เวลา 5. นกั เรียนตรวจสอบข้อมลู /เนอื ้ หา/คลปิ สอดคล้อง วิดีโอทเี่ ป็นไวรัลกอ่ นโพส และแสดงความ 11111 1 คดิ เหน็ ทกุ ครัง้ ท่ีมีโอกาส 6. นกั เรียนไมโ่ พสข้อมลู /เนอื ้ หาท่ีมีความ 11110 สอดคล้อง รุนแรง เนื่องจากทราบว่าข้อมลู จะไม่มีวนั 0.8 เลอื นหายไป 7. นกั เรียนใช้สอ่ื สงั คมออนไลน์ในการ 11101 0.8 สอดคล้อง แสดงออกเพอื่ ทาร้ายผ้อู ื่นโดยใช้นามแฝง 8. นกั เรียนแสดงความคดิ เหน็ ด้วยคาพดู ตาม 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง ความรู้สกึ โดยไม่ได้กลนั ้ กรอง 9. นกั เรียนเลอื กท่จี ะแยกความคิดเห็นออก จากข้อเท็จจริงเมอื่ มีการใช้ข้อความจาก 11111 1 สอดคล้อง บคุ คลอ่ืนในสงั คมออนไลน์ 10. นกั เรียนใช้ข้อมลู ดจิ ทิ ลั ในสงั คมออนไลน์ 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง ในการสร้างสรรค์ผลงาน/ชนิ ้ งาน ของนกั เรียน 11. นกั เรียนใช้ความคิดเหน็ ของตนเองในการ 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง ตดั สนิ ข้อมลู จากสงั คมออนไลน์ 12. นกั เรียนใช้ข้อมลู จากสอ่ื สงั คมออนไลน์ โดยไม่เคยตรวจสอบแหลง่ ท่ีมา เพราะถอื วา่ 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง เป็นข้อมลู ทผี่ ่านการคดั กรองมาแล้ว 13. นกั เรียนคดั ค้านการใช้ข้อมลู จากสงั คม 1 0 1 1 1 0.8 สอดคล้อง ออนไลน์ เมอ่ื ไม่มีการอ้างอิงอย่างถกู ต้อง 14. นกั เรียนเลอื กใช้ข้อมลู จากแหลง่ ทม่ี าที่ 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง หลากหลาย เพ่ือเปรียบเทียบความถกู ต้อง 15. นกั เรียนนาประเดน็ ร้อนจากสอ่ื สงั คม 11111 1 สอดคล้อง ออนไลน์มาพดู คยุ แลกเปลยี่ นกบั เพื่อน 16. นกั เรียนอาศยั ข้อมลู จากแหลง่ เดยี วกนั ในการทางานกลมุ่ หรือการทางานร่วมกบั 10111 0.8 สอดคล้อง ผ้อู น่ื


317 แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการใช้ส่ือออนไลน์ของพลเมืองยคุ จิ ทิ ลั (ตอ่ ) ข้อคาถามองค์ประกอบสมรรถนะ ความคิดเห็นของผ้เู ชีย่ วชาญ เฉลยี่ ความหมาย ข้อเสนอแนะ คนที่ คนที่ คนท่ี คนที่ คนที่ 12345 17. นกั เรียนอนญุ าต/กรอกข้อมลู สว่ นตวั ใน 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง การสมคั ร เว็ปไซต์ท่ีสนใจ 18. นกั เรียนแสดงความคดิ เหน็ และ วพิ ากษ์วิจารณ์ผ้อู นื่ ได้โดยไม่สนใจว่าละเมดิ 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง ใครหรือไม่ 19. นกั เรียนใช้คาพดู ด้วยถ้อยคาทส่ี ภุ าพใน 0 1 1 1 1 0.8 สอดคล้อง การแสดงความคดิ เห็น 20. นกั เรียนระมดั ระวงั ในการแสดงความ 11111 1 สอดคล้อง คิดเห็นในสอ่ื สงั คมออนไลน์ของคณุ ครู 21. นกั เรียนจะใช้ถ้อยคาหยอกล้อกบั เพื่อน 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง ในสอื่ สงั คมออนไลน์เมื่อมโี อกาส 22. นกั เรียนเลอื กใช้คาพดู ให้มีความ 11111 1 สอดคล้อง เหมาะสมกบั สถานะของบคุ คล 23. นกั เรียนแชร์โพสที่มีความลอ่ แหลม โดย 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง ปิ ดการแสดงเป็ นสาธารณะ 24. นกั เรียนแสดงความรู้สกึ ในด้านลบกบั นกั การเมอื งท่ีไมช่ อบ เพราะอยากให้เกดิ การ 1 1 1 1 1 1 สอดคล้อง รับรู้ในวงกว้าง


318 แบบประเมินความพงึ พอใจของหลกั สตู ร ข้อคาถามองค์ประกอบสมรรถนะ ความคิดเห็นของผ้เู ชี่ยวชาญ เฉลย่ี ความหมาย ข้อเสนอแนะ คนท่ี 1 คนท่ี 2 คนที่ คนท่ี คนท่ี 345 1. นกั เรียนรู้จกั สภาพสงั คมดิจิทลั การ เข้าถงึ ดิจิทลั การกระจายตวั ของข้อมลู 1 1 110 0.8 สอดคล้อง ร่องรอยดิจิทลั และลกั ษณะการระราน ทางไซเบอร์ 2. นกั เรียนมีกระบวนการคิดอยา่ งมี วิจารณญาณเพ่อื การรู้เท่าทนั สงั คม สอดคล้อง ดิจิทลั การทางานสว่ นบคุ คลและการ 1 1 111 1 ทางานร่วมกบั ผ้อู ่ืน และปฏิบตั ิตาม กระบวนการรักษาความปลอดภยั ใน โลกดิจิทลั ได้ 3. นกั เรียนรับรู้และสร้างแนวทางการ ปฏิบตั ิตนให้เกิดมารยาทในการใช้ส่ือ 1 1 111 1 สอดคล้อง ดิจิทลั และความรับผิดชอบสว่ นบคุ คล ในการใช้สอื่ ดิจิทลั ได้ 4. เนือ้ หาที่ใช้ในการอภิปรายเหมาะสม 1 1 111 1 สอดคล้อง กบั วยั และเป็ นเร่ืองท่ีนกั เรียนสนใจ 5. เนือ้ หาที่ใช้อภิปรายเกิดขนึ ้ จริงและมี การ shared ในสงั คมออนไลน์ และ 1 1111 1 สอดคล้อง สามารถนามาอภิปรายไตร่ตรองได้ 6. เนือ้ หาประเดน็ ท่ีเป็ นข้อถกเถียง (controversial issues) มีทงั้ ผ้ทู ่ีเห็น 1 1 111 1 สอดคล้อง ด้วยและเห็นต่าง ไมม่ คี าตอบที่ถกู ต้อง เสมอไป 7. เนือ้ หาเป็ นประเด็นท่ีมขี ้อมลู 1 1 1 0 1 0.8 สอดคล้อง ออนไลน์สนบั สนนุ 8. เนือ้ หาเป็ นประเด็นที่ช่วยเสริมสร้าง สมรรถนะพลเมอื งยคุ ดิจิทลั ทงั้ ความรู้ 1 1 1 0 1 0.8 กระบวนการ และ คณุ ลกั ษณะ สอดคล้อง 9. นกั เรียนได้อภิปรายแลกเปลยี่ นความ 1 1 1 0 1 0.8 สอดคล้อง คิดเห็นกบั เพ่อื นในห้องเรียน


319 แบบประเมนิ ความพงึ พอใจของหลกั สตู ร (ตอ่ ) ข้อคาถามองค์ประกอบสมรรถนะ คนท่ี 1 ความคิดเห็นของผ้เู ช่ียวชาญ เฉลยี่ ความหมาย ข้อเสนอแนะ 1 คนที่ 2 คนท่ี 3 คนท่ี 4 คนที่ 5 10. นกั เรียนได้รับข้อมลู ใหม่ ๆ ท่ีไมเ่ คย 1 รู้มากอ่ นจากการอภิปรายไตร่ตรอง 1 111 1 1 สอดคล้อง 11. นกั เรียนยอมรับความคิดเห็นท่ี 1 111 1 1 สอดคล้อง แตกต่างจากผ้อู ื่นหลงั จากการอภิปราย ไตร่ตรอง 1 111 1 1 สอดคล้อง 12. นกั เรียนรู้จกั การระดมสมองหรือลง 1 1 สอดคล้อง ข้อสรุปร่วมกบั เพอ่ื น ๆ ในห้องเพ่ือสร้าง 1 111 ฉนั ทนามติ 1 1 1 สอดคล้อง 13. นกั เรียนได้ฝึกทกั ษะการพดู 1 111 นาเสนองานและการอภิปรายใน 1 1 1 สอดคล้อง ระหวา่ งทากิจกรรม 1 111 1 1 สอดคล้อง 14. การจดั การเรียนรู้ด้วยกระบวนการ 1 1 1 สอดคล้อง อภิปรายไตร่ตรองทาให้นกั เรียนมีความ 111 1 1 สอดคล้อง กระตือรือร้ นในการเรียนและเกิดแจงจงู 1 1 สอดคล้อง ใจในการเรียน 111 1 1 สอดคล้อง 15. การจดั กาเรียนรู้ด้วยกระบวนการ อภิปรายไตร่ตรองสง่ เสริมการทางาน 111 เป็ นกลมุ่ และการร่วมมือระหวา่ งกนั 111 16. นกั เรียนได้มโี อกาสแสดงความ 111 คิดเห็นของตนเองระหวา่ งการอภิปราย ไตร่ตรอง 17. การวดั และประเมินผลครอบคลมุ ทงั้ ความรู้ กระบวนการ และ คณุ ลกั ษณะ 18. ใช้วธิ ีการและเคร่ืองมอื ท่ี หลากหลายเพ่ือให้ได้ข้อมลู ในการ ประเมินที่เพยี งพอ 19. เปิ ดโอกาสให้ผ้เู รียนมสี ว่ นร่วมใน การวดั และประเมินผลในการสอน 20. มีการวดั และประเมนิ ผลอยา่ ง ตอ่ เน่ืองควบคไู่ ปกบั การจดั การเรียนรู้


320 ภาคผนวก ค ตวั อยา่ งหลกั สตู รที่เน้นสงั คมเป็ นศนู ย์กลางร่วมกบั การอภิปรายไตร่ตรอง เพื่อเสริมสร้างสมรรถนะพลเมืองยคุ ดจิ ิทลั สาหรับนกั เรียนมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย


321 **ผ้สู นใจหลกั สตู รท่ีเน้นสงั คมเป็ นศนู ย์กลางร่วมกับการอภิปรายไตร่ตรองเพื่อเสริมสร้ างสมรรถนะ พลเมืองยุคดิจิทัลสาหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย สามารถติดต่อเพ่ือขอรับฉบับสมบูรณ์ ได้ ท่ี [email protected]**


322 **ผ้สู นใจหลกั สตู รท่ีเน้นสงั คมเป็ นศนู ย์กลางร่วมกบั การอภิปรายไตร่ตรองเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะพลเมืองยุค ดิ จิ ทัล ส า ห รับ นั ก เรี ย น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ต อ น ป ล า ย ส า ม ารถ ติ ด ต่ อ เพ่ื อ ข อ รับ ฉ บั บ ส ม บู รณ์ ได้ ท่ี [email protected]**


323 **ผ้สู นใจหลกั สตู รที่เน้นสงั คมเป็นศนู ย์กลางร่วมกบั การอภิปรายไตร่ตรองเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะพลเมอื งยคุ ดิจิทลั สาหรับนกั เรียนมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย สามารถติดตอ่ เพือ่ ขอรับฉบบั สมบรู ณ์ได้ท่ี [email protected]**


324 **ผ้สู นใจหลกั สตู รที่เน้นสงั คมเป็นศนู ย์กลางร่วมกบั การอภิปรายไตร่ตรองเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะพลเมอื งยคุ ดิจิทลั สาหรับนกั เรียนมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย สามารถติดตอ่ เพือ่ ขอรับฉบบั สมบรู ณ์ได้ท่ี [email protected]**


325 **ผ้สู นใจหลกั สตู รที่เน้นสงั คมเป็นศนู ย์กลางร่วมกบั การอภิปรายไตร่ตรองเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะพลเมอื งยคุ ดิจิทลั สาหรับนกั เรียนมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย สามารถติดตอ่ เพือ่ ขอรับฉบบั สมบรู ณ์ได้ท่ี [email protected]**


326 **ผ้สู นใจหลกั สตู รที่เน้นสงั คมเป็นศนู ย์กลางร่วมกบั การอภิปรายไตร่ตรองเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะพลเมอื งยคุ ดิจิทลั สาหรับนกั เรียนมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย สามารถติดตอ่ เพือ่ ขอรับฉบบั สมบรู ณ์ได้ท่ี [email protected]**


327 **ผ้สู นใจหลกั สตู รที่เน้นสงั คมเป็นศนู ย์กลางร่วมกบั การอภิปรายไตร่ตรองเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะพลเมอื งยคุ ดิจิทลั สาหรับนกั เรียนมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย สามารถติดตอ่ เพือ่ ขอรับฉบบั สมบรู ณ์ได้ท่ี [email protected]**


328 **ผ้สู นใจหลกั สตู รที่เน้นสงั คมเป็นศนู ย์กลางร่วมกบั การอภิปรายไตร่ตรองเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะพลเมอื งยคุ ดิจิทลั สาหรับนกั เรียนมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย สามารถติดตอ่ เพือ่ ขอรับฉบบั สมบรู ณ์ได้ท่ี [email protected]**


329 **ผ้สู นใจหลกั สตู รที่เน้นสงั คมเป็นศนู ย์กลางร่วมกบั การอภิปรายไตร่ตรองเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะพลเมอื งยคุ ดิจิทลั สาหรับนกั เรียนมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย สามารถติดตอ่ เพือ่ ขอรับฉบบั สมบรู ณ์ได้ท่ี [email protected]**


330 **ผ้สู นใจหลกั สตู รที่เน้นสงั คมเป็นศนู ย์กลางร่วมกบั การอภิปรายไตร่ตรองเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะพลเมอื งยคุ ดิจิทลั สาหรับนกั เรียนมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย สามารถติดตอ่ เพือ่ ขอรับฉบบั สมบรู ณ์ได้ท่ี [email protected]**


331 **ผ้สู นใจหลกั สตู รที่เน้นสงั คมเป็นศนู ย์กลางร่วมกบั การอภิปรายไตร่ตรองเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะพลเมอื งยคุ ดิจิทลั สาหรับนกั เรียนมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย สามารถติดตอ่ เพือ่ ขอรับฉบบั สมบรู ณ์ได้ท่ี [email protected]**


332 **ผ้สู นใจหลกั สตู รที่เน้นสงั คมเป็นศนู ย์กลางร่วมกบั การอภิปรายไตร่ตรองเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะพลเมอื งยคุ ดิจิทลั สาหรับนกั เรียนมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย สามารถติดตอ่ เพือ่ ขอรับฉบบั สมบรู ณ์ได้ท่ี [email protected]**


333 **ผ้สู นใจหลกั สตู รที่เน้นสงั คมเป็นศนู ย์กลางร่วมกบั การอภิปรายไตร่ตรองเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะพลเมอื งยคุ ดิจิทลั สาหรับนกั เรียนมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย สามารถติดตอ่ เพือ่ ขอรับฉบบั สมบรู ณ์ได้ท่ี [email protected]**


334 **ผ้สู นใจหลกั สตู รที่เน้นสงั คมเป็นศนู ย์กลางร่วมกบั การอภิปรายไตร่ตรองเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะพลเมอื งยคุ ดิจิทลั สาหรับนกั เรียนมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย สามารถติดตอ่ เพือ่ ขอรับฉบบั สมบรู ณ์ได้ท่ี [email protected]**


335 **ผ้สู นใจหลกั สตู รที่เน้นสงั คมเป็นศนู ย์กลางร่วมกบั การอภิปรายไตร่ตรองเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะพลเมอื งยคุ ดิจิทลั สาหรับนกั เรียนมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย สามารถติดตอ่ เพือ่ ขอรับฉบบั สมบรู ณ์ได้ท่ี [email protected]**


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook