Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือปฏิบัติงานวิชาการ

คู่มือปฏิบัติงานวิชาการ

Published by วิลัยพร พิทักษา, 2022-01-01 14:43:31

Description: คู่มือปฏิบัติงานวิชาการ

Search

Read the Text Version

ก คู่มอื ปฏิบัติงาน กลุ่มบรหิ ารวิชาการ

ข คานา คมู่ อื การปฏบิ ตั งิ านของกลุ่มบริหารวิชาการ จดั ทาข้ึนเพื่อประกอบการปฏิบตั ิหน้าทใ่ี ห้ครบถว้ นสมบูรณ์ ตามขอบข่ายของกลมุ่ งาน เพื่อให้การดาเนินงานเป็นไปตามมาตรฐาน ขอบข่ายของงานกล่มุ บรหิ ารวชิ าการ ประกอบดว้ ย งานบริหารสานักงานกลุ่มบริหารวิชาการ งานพัฒนาหลกั สตู รสถานศึกษาและกระบวนการเรียนรู้ งานกล่มุ สาระการเรยี นรู้ งานทะเบยี น งานวัดผลและประเมนิ ผล นวตั กรรมและงานวิจยั งานห้องสมดุ งานแนะ แนว งานโรงเรยี นมาตรฐานสากล งานประกนั คุณภาพการศกึ ษา งานโครงการหอ้ งเรียนพิเศษ และกจิ กรรมพฒั นา ผเู้ รยี น เอกสารเล่มนี้คงจะมปี ระโยชนส์ าหรบั คณะครู และผูท้ ี่ได้รับมอบหมายใหป้ ฏิบัตงิ านกลมุ่ บริหารวิชาการ ตอ่ ไป กลุ่มบรหิ ารวชิ าการ คมู่ อื ปฏิบตั งิ าน กลุม่ บรหิ ารวิชาการ

สารบญั ค แนวคิดหลักในการบรหิ ารวิชาการ หน้า วัตถปุ ระสงค์ ขอบข่ายภารกจิ กลุ่มบรหิ ารวชิ าการ งานในกลมุ่ บรหิ ารวิชาการ คณะกรรมการบริหารหลกั สตู รและยกระดบั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น หนา้ ทแี่ ละความรบั ผดิ ชอบผูช้ ่วยผูอ้ านวยการกลุม่ บรหิ ารวชิ าการ การจัดการเรียนการสอนในสภาวะการแพรร่ ะบาดของโรค โควดิ -19 งานสานกั งานกลมุ่ บริหารวิชาการ งานสารบรรณกลมุ่ บริหารวิชาการ งานพัฒนาหลักสตู รสถานศกึ ษา งานบรหิ ารโครงการห้องเรียนพิเศษ งานโครงการห้องเรียนสง่ เสรมิ ภาษาอังกฤษ งานโครงการห้องเรยี นส่งเสรมิ คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี งานโครงการหอ้ งเรยี นส่งเสริมภาษาจีน งานนเิ ทศการศึกษา งานพฒั นาส่อื นวัตกรรมและงานวจิ ยั ทางการศึกษา งานส่งเสรมิ ศักยภาพผ้เู รยี น งานกลุม่ สาระการเรียนรู้และการจัดการเรียนรู้ งานจัดตารางเรียนและตารางสอน งานกิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน งานวดั ผลและประเมินผลการศกึ ษา งานทะเบียนนักเรียน งานมาตรฐานการศกึ ษาและแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา งานประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา งานสารสนเทศของสถานศกึ ษา งานหอ้ งสมดุ งานวิเทศสัมพนั ธแ์ ละงานจดั ทาเอกสารครชู าวตา่ งประเทศ งานโรงเรียนคูพ่ ฒั นา งานรับนกั เรียน งานโรงเรียนคณุ ธรรม งานโรงเรยี นมาตรฐานสากล งานจดั การเรยี นการสอนสาระการศกึ ษาค้นควา้ ดว้ ยตนเอง (Independent study : IS) งานโรงเรียนคณุ ภาพ SMT สสวท. ค่มู อื ปฏิบตั ิงาน

สารบญั (ต่อ) ง งานคณะกรรมการภาคสี ฝี่ ่าย หนา้ งานธนาคารโรงเรยี น งานสารสนเทศกลุ่มบรหิ ารวชิ าการ งานพฒั นาเวบ็ ไซตโ์ รงเรยี น งานประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิงานกลมุ่ บรกิ ารวิชาการ แนวปฏบิ ตั เิ กย่ี วกบั งานวิชาการอนื่ ๆ เอกสารหลกั ฐานทางการศึกษา ภาคผนวก คูม่ อื ปฏิบตั งิ าน กลมุ่ บรหิ ารวิชาการ

1 คูม่ อื การปฏบิ ตั ิงานกล่มุ บรหิ ารวชิ าการ แนวคิดหลกั ในการบริหารวิชาการ งานวิชาการเป็นภารกิจหลักของสถานศึกษาท่ี พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และแก้ไขเพ่ิมเติม ( ฉบับ2 ) พ.ศ.2545 มงุ่ ใหก้ ระจายอานาจในการบรหิ ารจัดการไปให้สถานศกึ ษาให้มากทีส่ ดุ ดว้ ยเจตนารมณ์ที่จะให้ สถานศึกษาดาเนินการได้โดยอิสระ คล่องตัวรวดเร็ว สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน สถานศึกษา ชุมชน ท้องถ่ิน และ การมีส่วนร่วมจากผู้ท่ีมีส่วนได้เสียทุกกลุ่มบริหาร ซึ่งจะเป็นปัจจัยสาคัญทาให้สถานศึกษามีความ เข้มแข็งในการบริหารจัดการสามารถพัฒนาหลักสูตร และกระบวนการเรียนรู้ตลอดจนการวัดผล ประเมินผล รวมท้งั วัดปัจจยั เก้ือหนนุ การพฒั นาคณุ ภาพนักเรยี น ชุมชน ทอ้ งถนิ่ ไดอ้ ย่างมีคุณภาพ และ มปี ระสทิ ธิภาพ วัตถุประสงค์ 1. เพ่อื ใหก้ ารบริหารงานดา้ นวชิ าการมีอิสระ คล่องตวั รวดเรว็ และสอดคล้องกับความตอ้ งการของนักเรียน สถานศกึ ษา ชมุ ชน ท้องถน่ิ 2. เพื่อให้การบริหาร และการจัดการศึกษาของโรงเรียนได้มาตรฐาน และ มีคุณภาพสอดคล้องกับระบบ ประกันคุณภาพการศึกษา และ ประเมนิ คุณภาพภายในเพ่ือพัฒนาตนเอง และ จากการประเมนิ หนว่ ยงานภายนอก 3. เพือ่ ให้โรงเรียนพฒั นาหลักสตู ร และ กระบวนการเรียนรู้ ตลอดจนปจั จัยหนนุ การเรียนรู้ทส่ี นองต่อความ ต้องการของผูเ้ รียน ชมุ ชน และ ท้องถ่นิ โดยยึดผเู้ รียนเป็นสาคัญได้อย่างมคี ุณภาพ และประสทิ ธภิ าพ 4. เพ่ือให้โรงเรียนได้ประสานความร่วมมือในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา และของบุคคล ครอบครวั องคก์ ร หน่วยงาน และ สถาบันอน่ื ๆ อย่างกวา้ งขวาง ขอบข่ายภารกจิ 1. การพัฒนาหลกั สูตรสถานศกึ ษาและกระบวนการเรียนรู้ 2. การจดั ทาทะเบยี นและการวดั ผล-ประเมนิ ผล 3. การบริหารกลุ่มสาระการเรียนรู้และกจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รียน 4. การสง่ เสริมคณุ ภาพการจัดการศึกษา 5. การส่งเสรมิ พฒั นาส่ือนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศกึ ษา 6. การพัฒนาหอ้ งสมุดและแหล่งเรยี นรู้ 7. การสร้างเครอื ข่ายพฒั นาหลักสตู รและการจัดการเรยี นการสอน คูม่ อื ปฏิบตั ิงาน กลุม่ บรหิ ารวิชาการ

งานในกลมุ่ บริหารวิชาการ 2 1. งานสานักงานกลุ่มบริหารวิชาการ กลุ่มบริหารวิชาการ 2. งานสารบรรณกล่มุ บรหิ ารวิชาการ 3. งานพฒั นาหลกั สูตรสถานศึกษา 4. งานบริหารโครงการห้องเรียนพเิ ศษ 5. งานโครงการห้องเรยี นสง่ เสรมิ ภาษาอังกฤษ 6. งานโครงการห้องเรียนสง่ เสรมิ คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 7. งานโครงการหอ้ งเรยี นส่งเสริมภาษาจีน 8. งานนิเทศการศึกษา 9. งานพฒั นาสือ่ นวตั กรรมและงานวิจัยทางการศึกษา 10. งานสง่ เสริมศักยภาพผูเ้ รียน 11. งานกลุ่มสาระการเรยี นรู้และการจัดการเรียนรู้ 12. งานจัดตารางเรียนและตารางสอน 13. งานกจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน 14. งานวดั ผลและประเมนิ ผลการศึกษา 15. งานทะเบยี นนักเรียน 16. งานมาตรฐานการศกึ ษาและแผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา 17. งานประกนั คุณภาพการศึกษา 18. งานสารสนเทศของสถานศึกษา 19. งานห้องสมดุ 20. งานวิเทศสมั พันธแ์ ละงานจดั ทาเอกสารครูชาวตา่ งประเทศ 21. งานโรงเรยี นคู่พัฒนา 22. งานรับนกั เรยี น 23. งานโรงเรียนคุณธรรม 24. งานโรงเรียนมาตรฐานสากล คมู่ อื ปฏิบตั ิงาน

3 25. งานจัดการเรยี นการสอนสาระการศกึ ษาค้นควา้ ด้วยตนเอง (Independent study : IS) 26. งานโรงเรียนคุณภาพ SMT สสวท. 27. งานคณะกรรมการภาคีสฝ่ี ่าย 28. งานธนาคารโรงเรยี น 29. งานสารสนเทศกลมุ่ บริหารวิชการ 30. งานพัฒนาเว็บไซต์โรงเรยี น 31. งานประเมินผลการปฏิบัติงานกลุ่มบริการวชิ าการ คู่มอื ปฏิบัตงิ าน กล่มุ บรหิ ารวชิ าการ

4 คู่มอื ปฏิบัติงาน กลุ่มบรหิ ารวิชาการ

5 คู่มอื ปฏิบัติงาน กลุ่มบรหิ ารวิชาการ

6 หนา้ ที่และความรบั ผดิ ชอบ รองผอู้ านวยการกลุม่ บรหิ ารวิชาการ 1. เปน็ ประธานกลมุ่ บรหิ ารวชิ าการ 2. วางแผนการดาเนินงานดา้ นการจัดการเรยี นรู้ และการพัฒนาสง่ เสรมิ การเรยี นรใู้ ห้เป็นไปตาม วิสยั ทศั น์ พนั ธกจิ และเป้าประสงค์ของสถานศกึ ษา 3. บริหารงานใหเ้ ป็นไปตามนโยบาย แผนงาน โครงการของสถานศกึ ษา สานกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษา สานักงานการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน และกระทรวงศึกษาธกิ าร 4. จดั ทาปฏิทินงานของกลุม่ บรหิ ารวชิ าการเพอื่ เป็นเคร่ืองมอื ในการตดิ ตาม ตรวจสอบการปฏบิ ตั ิงาน ตามแผนทว่ี างไว้ 5. จดั ทาคมู่ อื การบริหารกลมุ่ วิชาการเพอ่ื เป็นแนวทางในการบริหารงานแบบยดึ โรงเรยี นเป็นฐาน 6. ชว่ ยแกไ้ ขปัญหา พัฒนางาน และสรา้ งขวัญกาลังใจแกบ่ คุ ลากรเพ่อื ใหง้ านเป็นไปตามเปา้ หมาย 7. ปฏิบตั งิ านอื่น ๆ ตามท่ไี ด้รบั มอบหมายจากผู้บังคบั บัญชา การจดั การเรยี นการสอนในสภาวะการแพร่ระบาดของโรค โควดิ -19 1. โรงเรยี นเลือกวธิ กี ารจัดการเรียนการสอนท่โี รงเรยี น จัดการเรียนการสอนแบบปกติ นง่ั เรียนประจาที่ หอ้ ง เวน้ ระยะห่าง 1 เมตร โดยมมี าตรการควบคุมหลกั ในมิตกิ ารดาเนินงานเพ่อื ความปลอดภัย จากการลดการ แพรเ่ ชอื้ โรค 6 ข้อปฏิบัติในสถานศกึ ษา ไดแ้ ก่ (1) คัดกรอง วัดไข้ (2) สวมหน้ากาก (3) ล้างมอื (4) เวน้ ระยะห่าง (5) ทาความสะอาด (6) ลดแออดั 2. การจัดตารางเรยี น 2.1 เรม่ิ เรียนเวลา 08.30 น. – 15.30 น. ภาคเชา้ 3 ชว่ั โมง และภาคบ่าย 3 ชวั่ โมง เนน้ รายวิชา พ้ืนฐานใหค้ รบก่อน จึงจัดกลุ่มสาระการเรยี นรู้สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ศิลปะ และการงานอาชีพ โดยให้สอน ทฤษฎี ตามหลกั สูตรสถานศึกษาที่สอดคล้องหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ 2560) ยังไมเ่ นน้ ภาคปฏิบัติ 2.2 การพกั กลางวัน จัดเหลอื่ มเวลาเพ่อื ลดความแออดั โดยใหน้ ักเรยี น ม.1-3 พกั กลางวนั เวลา 11.30 – 12.30 น. และนกั เรยี น ม.4-6 พักกลางวันเวลา 11.40 – 12.30 น. 2.3 กิจกรรมพิเศษ อน่ื ๆ ได้แก่ หน้าท่พี ลเมอื ง แนะแนว ชุมนมุ กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียนจัดไวใ้ น ตารางชว่ั โมงท่ี 7 ซึง่ ระยะแรกแขวนไวก้ ่อนเพราะจะเลิกเรียนกลบั บา้ นหลังเรียนในชัว่ โมงที่ 6 เวลา 15.30 น. คมู่ อื ปฏิบัตงิ าน กล่มุ บรหิ ารวิชาการ

7 งานบรหิ ารสานักงานกลุ่มบรหิ ารวชิ าการ 1. จัดทาทะเบยี นคุมและจัดทาแฟม้ เอกสารหนงั สือรับ-สง่ ของกลุม่ บริหารวชิ าการ กลุ่มสาระการเรียนรู้ 2. ประสานงาน แจ้งหนงั สือเวียนตา่ ง ๆ ใหผ้ ู้เกย่ี วข้องทราบ 3. จดั ทาวาระการประชมุ บนั ทึกและรายงานการประชมุ ของกลมุ่ บริหารวิชาการเสนอผูเ้ กี่ยวข้องทราบ ตามลาดับ 4. รบั ผิดชอบการเบิก-จ่ายพสั ดุตรวจสอบและรายงานพัสดุครภุ ณั ฑป์ ระจาปขี องสานกั งานกล่มุ บรหิ าร วชิ าการ 5. ควบคุมการออกเกยี รติบัตรของกลุม่ บรหิ ารวชิ าการ 6. อนื่ ๆ ตามทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย งานพฒั นาหลักสูตรสถานศึกษาและกระบวนการเรียนรู้ 1. แตง่ ตงั้ และประชุมคณะกรรมการบรหิ ารหลกั สตู รและวิชาการ 2. ศกึ ษา วเิ คราะหเ์ อกสารหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 และนโยบายของ รัฐบาล กระทรวงศึกษาธิการ และสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน รวมท้ังวิเคราะห์แนวโน้มและ ทิศทางในการจดั การศกึ ษา 3. ประสานงานและจัดทาโครงสร้างของหลักสูตรสถานศึกษา ให้สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของ สถานศึกษา โดยมสี ว่ นร่วมของทกุ ฝา่ ยในโรงเรยี นและชมุ ชน 4. จัดทาเล่มหลักสูตรและแนวปฏิบัติการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โดยประสานงานกับกลุ่มสาระการ เรียนรู้ 5. ประชาสัมพันธ์หลักสูตรสถานศึกษา 6. นาหลักสูตรไปใช้ในการจัดการเรยี นการสอน และบรหิ ารจัดการหลกั สตู ร 7. ดาเนินการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการใช้หลักสตู รให้มีความเหมาะสม 8. นาข้อมูลท่ไี ด้จากการประเมินผลการใชห้ ลักสูตรไปปรับปรุงและพฒั นาหลกั สูตรตามความเหมาะสม 9. สารวจความรู้ ความสามารถ และความสอดคล้องของครูกับหลักสูตรของโรงเรียน ประสานงานกบั กล่มุ บรหิ ารงานบคุ คล เพ่อื จดั สรรอตั รากาลัง 10. จัดรายวิชาตามโครงสร้างหลักสูตร สารวจความต้องการ ความถนัด ความสนใจ และจัดรายวิชา ใหก้ บั นกั เรียนลงทะเบียนในแตล่ ะภาคเรียน 11. ประสานงาน จัดตารางสอนของครู ตารางเรียนของนกั เรยี น และตารางการใช้ห้องเรียนให้มีความ ถูกต้องเหมาะสม ตรงตามหลักสตู รสถานศกึ ษา 12. ตรวจสอบเก่ียวกับการเทยี บโอน/ย้าย หลักสูตรระหว่างโรงเรียนและหลกั สูตรอน่ื 13. ประเมนิ ผลและสรุปผลการปฏิบตั ิงาน เพื่อปรับปรุง พัฒนางานให้ดีข้นึ คู่มอื ปฏิบัติงาน กลมุ่ บริหารวิชาการ

8 การจัดตารางสอน/จัดครเู ขา้ สอน 2.1 สารวจความรู้ ความสามารถของครู และความสอดคลอ้ งของครูกับหลักสตู รของโรงเรยี น ประสาน กบั กลุ่มบรหิ ารงานบคุ คลเพ่อื จัดสรรอัตรากาลงั 2.2 วิเคราะหโ์ ครงสร้างหลกั สูตร สารวจความตอ้ งการ ความถนัดความสนใจรว่ มกับกลุ่มงานแนะแนว และ เสนอแนะต่อคณะกรรมการบรหิ ารหลักสูตรเพอ่ื จัดรายวชิ าใหน้ กั เรยี นลงทะเบยี น 2.3 จดั ตารางสอนนักเรียน ครู ตารางการใช้ห้อง และติดตาม ควบคมุ ใหก้ ารดาเนนิ การตามตารางสอน ให้ ถกู ตอ้ ง ท้ังการเรียนและการสอน 2.4 กาหนดแนวปฏบิ ัตใิ นการจดั สอนแทน ติดตามผลการปฏบิ ัติ งานกลุ่มสาระการเรียนรแู้ ละกิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น 1. งานกลุ่มสาระการเรียนรู้ 1.1 จดั ทารายวิชาตามโครงสร้างหลกั สูตร 1.2 จัดครูผู้สอนตามสาระพื้นฐานและสาระเพ่ิมเติมให้ครบทกุ คนในกลมุ่ สาระการเรียนรู้ 1.3 บริหารกล่มุ สาระการเรยี นรใู้ ห้เป็นไปตามหลักสตู รของโรงเรียน สอดคล้องกับนโยบาย วิสัยทัศน์ พนั ธะกจิ และเป้าหมายของโรงเรยี น และของหลกั สตู ร 1.4 ควบคุม ดูแล กากับการใช้หลกั สตู รของกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ประเมินผลการใชห้ ลกั สตู รอย่าง ตอ่ เนื่อง รวมทั้งเสนอขอปรับปรงุ หลักสูตรเมอ่ื พบขอ้ บกพรอ่ ง หรอื จดุ ทคี่ วรพฒั นา 1.5 จดั ทาเอกสารแผนงาน/โครงการทสี่ อดคลอ้ งกับแผนงานโรงเรยี น 1.6 ควบคุม ดแู ล กากับให้ครูในกลมุ่ สาระการเรยี นรทู้ กุ คนจดั ทาหลักสูตรชั้นเรียน แผนการจดั การ เรียนรแู้ ละ สอนตามแผนการจดั การเรยี นรู้ การตรวจสมดุ ปพ.5 ข้อสอบกลางภาค ขอ้ สอบ ปลายภาค การประเมิน การอา่ น คดิ วิเคราะหแ์ ละเขยี นสมรรถนะของผู้เรียนและคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ 1.7 กากับติดตามให้ครูเข้าสอนตามตารางสอนทุกคาบ จดั สอนซ่อมเสรมิ สอนชดเชยและสอนแทน เมอื่ ครใู น กลุ่มสาระฯ ลาหรือไปราชการ 1.8 จัดให้มกี ารนเิ ทศงานวิชาการในกลมุ่ สาระการเรียนรู้ ประชมุ ครใู นกลมุ่ สาระฯอยา่ งน้อยเดอื นละ 1 ครง้ั เพือ่ ปรับปรุงแกป้ ัญหาและพัฒนาการเรียนการสอน การวจิ ยั ในชั้นเรยี น 1.9 สง่ เสริมสนับสนนุ ให้บุคลากรในกล่มุ สาระ พัฒนาและแกป้ ัญหาในการเรยี นการสอน โดยใหม้ ี ผลงาน วชิ าการปรากฏอย่างน้อย 1 อยา่ ง /คน /ปี (พฒั นาตนเองอย่างน้อย 20 ช่ัวโมง/ปี) 1.10 จดั กจิ กรรมเสรมิ หลกั สตู ร และรว่ มกบั งานกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี นจัดกิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน 1.11 ประสานงานระหวา่ งกลุ่มสาระการเรยี นรู้ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น ในการบูรณาการการ เรียนการสอน ระหวา่ งกลุ่มสาระ และกิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น 1.12 ประสานงานให้มีการจดั หา ผลิต และใชส้ อ่ื การเรียนการสอน ปรบั ซอ่ มสือ่ การเรียนการสอน 1.13 สง่ เสริมความเป็นเลิศทางวชิ าการ และแก้ปัญหาของนักเรียนในวิชาทกี่ ลุ่มสาระรับผดิ ชอบ คมู่ อื ปฏิบัตงิ าน กลุ่มบรหิ ารวิชาการ

9 เรยี น/ปี 1.14 จดั ระบบข้อมูล สถิติ เอกสารสารสนเทศของกลุม่ สาระการเรยี นรู้ 1.15 กากับดูแลกิจกรรมชมุ ชน และโครงการพิเศษทอี่ ยูใ่ นความรับผิดชอบของกลุ่มสาระการเรียนรู้ 1.16 จดั ทาเอกสารสรปุ ผลการดาเนินงานของกล่มุ สาระการเรยี นรู้ เสนอตอ่ โรงเรียนเม่ือส้ินภาค 1.17 ปฏบิ ัติงานอ่นื ๆ ทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย 2. งานกิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น 2.1 จัดทาโครงการ กาหนดแผนการจดั กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี นใหเ้ ปน็ ไปตามหลกั สูตรสถานศกึ ษา และนโยบาย ของสถานศึกษา 2.2 จัดทาคู่มือ แนวปฏบิ ัติท่ีเก่ยี วขอ้ งกับการจดั กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน 2.3 กากบั ตดิ ตาม ดูแลการจัดกจิ กรรมพฒั นาผ้เู รยี นของครูและนกั เรียนใหเ้ ป็นไปด้วยความ เรยี บร้อยและมี ประสทิ ธภิ าพ 2.4 ประสานงานในการจดั กิจกรรมพฒั นาผู้เรียนของสถานศึกษาทุกรปู แบบกับทุกกล่มุ บริหารใหเ้ กดิ ประสิทธผิ ลสูงสุด 2.5 ประเมนิ ผลการจดั กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียนของครแู ละนกั เรยี นสรปุ รายงานเสนอตอ่ โรงเรียน และ กลุ่มบริหารท่เี กยี่ วข้อง งานทะเบยี น 1. กาหนดระเบยี บ แนวปฏิบตั ิเกยี่ วกบั งานทะเบยี น 2. ดาเนนิ การลงทะเบยี นประวัตินักเรียน และจาหนา่ ยนกั เรียน 3. จัดทาและตรวจสอบระเบยี บแสดงผลการเรียน ( ปพ.1 ) ให้ถกู ตอ้ งและเป็นปัจจุบันอยเู่ สมอ ออกให้ ระเบยี นแสดงผลการเรียนใหแ้ ก่นักเรียนทจ่ี บหลักสูตรและประสงค์ จะลาออก 4. จัดทารายงานผลการเรียนของผ้เู รยี นทจ่ี บหลกั สูตร ( ปพ.1 ) ให้เสรจ็ ส้ินเรยี บร้อยภายใน 30 วนั นบั แตว่ นั อนุมตั ผิ ลการเรียนสง่ หน่วยงานเจา้ ของสังกดั ให้ถกู ต้องตามระเบียบ 5. ดาเนนิ การในการออกประกาศนียบัตรแกผ่ ูส้ าเรจ็ การศกึ ษาจัดทาทะเบยี นคมุ และการจา่ ย ประกาศนยี บัตรแกผ่ ูส้ าเรจ็ การศึกษา 6. ดาเนนิ การในการออกเอกสารรับรองผลการเรียน รบั รองการเปน็ นักเรยี น เอกสารแสดงผลการเรยี น ภาษาอังกฤษและเอกสารรบั รองอืน่ ๆ ท่ีนกั เรยี นรอ้ งขอ 7. ใหค้ วามรว่ มมอื กับสถานศึกษาอ่ืนท่ขี อตรวจคุณวฒุ ิและดาเนนิ การในการขอตรวจสอบคุณวฒุ ขิ อง นักเรยี น 8. จัดทาและเก็บรักษาเอกสาร หลักฐานทางการศึกษา ใหเ้ ปน็ ปัจจบุ นั 9. ควบคมุ ดูแลงาน GPA 10. ประสานกับงานวัดผลประเมินผลในการติดตามนกั เรียนทมี่ ปี ัญหาไม่จบหลกั สตู ร คู่มอื ปฏิบัตงิ าน กล่มุ บรหิ ารวชิ าการ

10 11. ควบคมุ การลงผลการเรียนในระบบ SGS ทุกรายวิชาให้ถกู ต้อง 12. ปฏิบัติหน้าท่อี ่นื ตามท่ีไดร้ ับมอบหมาย แนวปฏบิ ตั ทิ ี่เกย่ี วขอ้ งกบั งานทะเบยี น 1. การลาออก 1.1 ผู้ปกครองนกั เรยี นมาติดต่อโดยตรงทงี่ านทะเบียน 1.2 ขอแบบคาร้องใบลาออกและกรอกรายละเอยี ด 1.3 ผปู้ กครองนักเรียนหรือบดิ า มารดา ลงชือ่ รบั ทราบการลาออก 1.4 เตรยี มรูปถ่ายขนาด 1.5 นิว้ 2 รปู เพื่อจัดทาเอกสาร (รปู ถา่ ยเป็นรูปปจั จุบนั เครื่องแบบนกั เรียน ไม่เปน็ รูปทีอ่ ดั ดว้ ยระบบโพลารอยด์) 2. การขอรบั หลักฐาน รบ.1/ปพ.1 2.1 รบั คารอ้ งที่ห้องทะเบยี น กลุ่มบรหิ ารวิชาการ 2.2 ยืน่ คาร้องขอหลกั ฐาน 2.3 ถา้ เปน็ การขอ รบ.1-ต, รบ.1-ป, ปพ.1 ฉบบั ที่ 2 รบ.1-ต, รบ.1-ป (จบการศึกษากอ่ นปี 2547) ใช้รูปถ่ายขนาด 4x5 ซม. จานวน 2 รูป ปพ.1 (จบการศึกษาตัง้ แตป่ ี 2547) ใช้รูปถา่ ยขนาด 3x4 ซม. จานวน 2 รปู (รูปถ่ายท้งั 2 ขนาด เปน็ รปู หน้าตรง สวมเส้อื เชิ้ตขาว ไม่สวมแวน่ ตาดา ไม่สวมหมวก) - ถา้ เปน็ การขอแทนฉบบั ท่ีหาย ใหแ้ จง้ ความและนาหลกั ฐานแจง้ ความมาแสดง ถา้ เป็นการ ขอใบรับรอง - นักเรยี นท่กี าลังเรียนในโรงเรยี นต้องใหผ้ ูป้ กครองท่มี ชี ่อื ในทะเบียนบา้ นมาย่ืนคาร้องดว้ ยตนเอง - ใชร้ ปู ถ่ายขนาด 3x4 ซม.แตง่ เครอื่ งแบบนกั เรยี น จานวน 1 รปู งานวัดผลและประเมินผล 1. จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ เอกสาร ระเบยี บ คู่มือ เกยี่ วกับงานวัดผลและจดั เก็บเป็นแฟม้ อยา่ งเปน็ ระบบ 2. ประสาน ดาเนนิ การลงทะเบียนเรียนในรายวชิ าตา่ ง ๆ ตามทนี่ ักเรยี นลงทะเบียนเรยี นไวใ้ นแต่ละ ภาคเรยี นลงในระบบงานทะเบียน-วัดผล 3. จัดทาแบบฟอร์ม แบบคาร้องตา่ ง ๆ ที่เกยี่ วข้องกบั งานวดั ผล 4. เก็บรกั ษาเอกสาร/หลกั ฐานที่เกยี่ วข้องตามระเบยี บสานกั นายกรัฐมนตรี 5. ดาเนนิ การเกยี่ วกบั การขอผ่อนผันการเรียน การหยดุ พักการเรยี น การเปลีย่ นแปลงวชิ าเรยี น การ ถอน การขอ เพมิ่ วิชาเรยี น 6. การควบคมุ ดูแล กากับ ติดตาม งานดา้ นวดั ผลประเมินผลใหเ้ ปน็ ไปตามแนวปฏบิ ัติ และปฏทิ ิน ที่ กาหนด 7. ดาเนินการเกี่ยวกบั หลักฐานการเรยี นการประเมนิ ผลการเรียนใหถ้ ูกต้องเปน็ ปัจจบุ นั มีการจัดเก็บ อย่างเปน็ ระบบ สะดวกแก่การสืบค้นและให้บรกิ าร คมู่ อื ปฏิบตั งิ าน กลุ่มบรหิ ารวชิ าการ

11 8. ดาเนนิ การเกี่ยวกบั นักเรียนท่ีมีเวลาเรยี นไมถ่ ึง ร้อยละ 80 ประกาศรายชอ่ื ผู้ท่มี ีเวลาเรียนไมค่ รบ ร้อย ละ 80 การผอ่ นผันให้เขา้ ประเมินผลปลายภาคเรียน รวมทง้ั ประกาศรายชอื่ ผู้ไมม่ สี ทิ ธเิ ข้ารบั การประเมนิ ผล ปลาย ภาคเรียน แจง้ ผู้เกยี่ วขอ้ งทราบ 9. ดาเนินการจัดทาตารางสอบกลางภาค ปลายภาค ประสานงานกบั งานธรุ การกลุ่มบริหารวชิ าการ ใน การออกคาส่งั การสอบต่าง ๆ จดั เตรยี มอุปกรณ์การสอบเกบ็ รักษาขอ้ สอบไว้ 1 ภาคเรยี น และดาเนินการ จาหนา่ ย ให้ถูกตอ้ ง ตามระเบยี บ 10. ดาเนินการเกี่ยวกบั การเปลี่ยนแปลงผลการเรียนของนกั เรยี นทไ่ี ม่ผ่านรายวิชาและการ ลงทะเบียน เรยี นซ้า 11. จดั ทาสารสนเทศผลการวดั และประเมินความรู้, คุณลกั ษณะฯ, การอา่ น คดิ วเิ คราะห์และเขยี น, สมรรถนะ กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียน 12. แจ้งแนวปฏบิ ัติเกยี่ วกับงานวดั ผลใหผ้ ู้เก่ียวข้องทราบ 13. งานอน่ื ๆ ตามทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย งานวจิ ัยและพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา งานวจิ ัยและพฒั นาการศกึ ษา มีขอบข่ายงานดงั น้ี 1. งานวจิ ัยในช้ันเรยี น มแี นวปฏิบตั ิ ดงั นี้ 1.1 สง่ เสริมและสนบั สนุนการวจิ ยั และพฒั นาโรงเรียน โดยเนน้ การวิจยั ที่เป็นความกา้ วหนา้ ทาง วชิ าการและ การพฒั นาองคก์ รในลกั ษณะการวิจยั ในชั้นเรยี น 1.2 สง่ เสรมิ และสนับสนนุ การนาผลการวิจัยไปใช้ 1.3 จัดอบรมเกยี่ วกบั การวิจัย และการพฒั นาบคุ ลากรในหนว่ ยงาน 2. งานเผยแพร่งานวิจัย มแี นวปฏิบัติ ดังนี้ 2.1 สง่ เสริมการเผยแพร่ความรเู้ ก่ียวกับการวจิ ัย ผลการวิจัย และพัฒนาสังคม 2.2 ประสานงานการวจิ ยั กับหน่วยงานต่างๆ ท้งั ในโรงเรยี น และนอกโรงเรยี น 2.3 เป็นแหล่งกลางในการทาวิจัย และประสานงานแลกเปลีย่ นเรียนรู้ทงั้ ในโรงเรียน และภายนอก โรงเรยี น 2.4 รวบรวมงานวจิ ัยในโรงเรียนให้เป็นระบบ ท้งั ในระดบั บุคคล กลมุ่ สาระการเรยี นร้แู ละระดบั โรงเรยี นสอดคลอ้ งกับมาตรฐานการศึกษาท่วี ่าดว้ ยเร่ืองการวิจัยในชนั้ เรียน 3. ประเมนิ ผล สรุปผล/รายงานการดาเนนิ งานวิจัยและพฒั นาการศกึ ษาในโรงเรียนเสนอผูบ้ รหิ าร โรงเรยี น 4. งานอนื่ ๆ ตามทีไ่ ด้รับมอบหมาย คมู่ อื ปฏิบัติงาน กลมุ่ บริหารวชิ าการ

12 งานสารสนเทศ 1. สารวจสือ่ การสอนของครทู กุ คน ทกุ กลมุ่ สาระ รวบรวมเป็นระบบ เพอื่ ใช้สอื่ การสอนรว่ มกันได้ 2. สารวจ/จัดอบรม/เผยแพร่ สอ่ื นวัตกรรมของครทู ุกกลุ่มสาระ 3. สารวจแหลง่ เรียนร้แู ละภูมิปัญญาท้องถน่ิ ท้ังในสถานศกึ ษา ชมุ ชน ท้องถิน่ ท่เี กย่ี วขอ้ งกบั การพฒั นา คุณภาพ การศึกษา 4. จัดทาเอกสารเผยแพรแ่ หล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาทอ้ งถิน่ .ใหแ้ ก่ครู สถานศกึ ษาอืน่ บคุ คลองค์กร หน่วยงาน 5. จดั ตั้งและพฒั นาแหล่งการเรียนร้แู ละภมู ิปัญญาท้องถนิ่ รวมท้งั พัฒนาใหเ้ กดิ องคค์ วามรู้ 6. สง่ เสรมิ สนับสนนุ ให้ครูใชแ้ หล่งเรียนรทู้ ัง้ ใน และนอกโรงเรยี นการจดั กระบวนการเรียนรู้ใหค้ รอบคลุม ภูมิ ปญั ญาท้องถนิ่ 7. รว่ มกบั กลมุ่ บริหาร/งาน/กล่มุ สาระ ในการสร้างและพัฒนาแหล่งเรยี นรภู้ ายในโรงเรียน 8. ประเมนิ /สรปุ ผล การใช้สือ่ และแหลง่ เรียนรขู้ องครจู ากนักเรยี น ผปู้ กครอง ชมุ ชน 9. งานอื่น ๆ ตามที่ได้รบั มอบหมาย งานประกนั คุณภาพการศึกษา ระบบประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายในสถานศึกษา (Internal Quality Assurance System) สถานศกึ ษา จะตอ้ งจดั ใหม้ รี ะบบการประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายในสถานศกึ ษา เพอื่ สร้างความมั่นใจใหแ้ ก่ผู้ที่ เกย่ี วขอ้ งว่า ผ้เู รียนทุกคนจะได้รับการศกึ ษาท่มี คี ุณภาพจากสถานศึกษา เพ่อื พฒั นาความรู้ ความสามารถและ คุณลกั ษณะท่พี งึ ประสงค์ ตามมาตรฐานการศึกษาและตวั บง่ ชี้ เพ่อื การประเมนิ คณุ ภาพภายนอก ระดบั การศึกษา ข้ันพ้ืนฐาน รอบท่ีสอง (พ.ศ.๒๕๔๙-๒๕๕๓) ทกี่ าหนด ในหลกั สูตรการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐานพุทธศักราช ๒๕๔๔ ระบบ การประกันคุณภาพการศกึ ษาภายในสถานศกึ ษา เปน็ สว่ นหนึ่งของการบรหิ ารการศกึ ษา ซงึ่ เป็นกระบวน การ พัฒนาคณุ ภาพการศึกษาอย่างต่อเน่อื ง โดยให้สถานศึกษายึดหลักการมีส่วนร่วมของชมุ ชนและหนว่ ยงานท่ี เก่ยี วข้องโดยการส่งเสริม สนบั สนุนและกากับ ดูแลของหน่วยงานต้นสังกดั ประกอบด้วย 1. การจัดระบบบริหารและสารสนเทศ ดว้ ยการทาจัดโครงสร้างการบรหิ ารจดั การใหเ้ อ้ือตอ่ การ ดาเนนิ งาน ทุกคนมสี ่วนร่วมและมีการประชาสมั พันธ์กบั ทกุ ฝ่ายท่ีเกยี่ วขอ้ ง แต่งต้งั คณะกรรมการเพื่อกาหนด แนวทางให้ความเหน็ และข้อเสนอแนะและแต่งตง้ั คณะบุคคลทาการตรวจสอบ ทบทวนและรายงานคณุ ภาพ การศึกษาและจดั ใหม้ ขี อ้ มูลท่ีเพยี งพอในการดาเนนิ งานพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาเพือ่ นามากาหนดวิสัยทัศน์ ภารกจิ และแผนพฒั นา 2. การพฒั นามาตรฐานการศึกษา โดยมงุ่ เนน้ มาตรฐาน ผลการเรยี นรขู้ องผเู้ รียนทสี่ อดคล้องกบั มาตรฐานช่วงช้ันที่หลักสตู รกาหนด 3. การจัดทาแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา ด้วยการจัดทาแผนอย่างเปน็ ระบบพน้ื ฐานของข้อมูล สถานศึกษา ซง่ึ ประกอบดว้ ย เปา้ หมาย ยุทธศาสตร์ และแนวปฏบิ ตั ทิ ่ีชดั เจน สมบูรณ์ ครอบคลุมการพฒั นาทกุ กจิ กรรมท่เี ป็นส่วน ประกอบหลกั ของการจดั การศึกษาและเปน็ ที่ยอมรบั ร่วมกันของทกุ ฝา่ ยท่เี กี่ยวข้องนาไปปฏบิ ัติ คูม่ อื ปฏิบตั งิ าน กลุ่มบรหิ ารวิชาการ

13 เพอ่ื ใหบ้ รรลตุ ามเปา้ หมายของแต่ละกจิ กรรมทีก่ าหนดอย่างสอดรบั กบั วสิ ยั ทัศน์และมาตรฐานหลักสตู รการศึกษา ขน้ั พน้ื ฐาน 4. การดาเนนิ งานตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยการกากบั ติดตามการดาเนนิ งานอย่าง ตอ่ เน่ือง ใหบ้ รรลุเป้าหมายจามแผนพัฒนาคุณภาพสถานศกึ ษาท่กี าหนดไว้โดยจดั ทาแผนปฏิบัตกิ ารประจาปีที่ ชัดเจนครอบคลมุ งาน/โครงการของสถานศกึ ษา 5. การตรวจสอบและทบทวนคณุ ภาพการศกึ ษา จะประกอบดว้ ยการตรวจสอบและทบทวน ภายในโดยบุคลากรในสถานศึกษาดาเนินการและการตรวจสอบและทบทวนจากหน่วยงานตน้ สังกดั 6. การประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษา โดยม่งุ เนน้ การประเมนิ ผลสัมฤทธ์ขิ องผูเ้ รยี นในระดบั ชัน้ ที่เปน็ ตัว ประโยค ได้แกป่ ระถมศกึ ษาปีที่ 3 และ 6 มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 และ 6 ในวิชาแกนรว่ มโดยใช้แบบทดสอบมาตรฐาน จากหน่วยงานสว่ นกลางร่วมกับต้นสงั กัด (เขตพื้นท่)ี ดาเนนิ การ 7. การรายงานคณุ ภาพการศึกษาประจาปี เปน็ การนาข้อมลู ผลการประเมนิ มาตรฐานคุณภาพ การ ตรวจสอบและทบทวนภายในและภายนอกประมวลรายงานผลการพฒั นาคุณภาพประจาปีการศึกษาซึง่ จะนาไปใช้ เป็นข้อมูลสาหรบั การวางแผนพัฒนาคุณภาพต่อไป 8. การผดุงระบบการประกนั คณุ ภาพการศึกษา เปน็ กลไกส่วนหนึ่งของระบบประกันคุณภาพ ภายใน เพอื่ ใหข้ ้อมูลย้อนกลับเพอ่ื การสง่ เสรมิ พัฒนาและประเมนิ ประสทิ ธภิ าพการดาเนนิ งานของระบบประกนั คณุ ภาพ หลักเกณฑ์ และวธิ ีการประกันคณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา 1. สถานศกึ ษาจะต้องจดั ทาโครงสร้างการบรหิ ารทเ่ี อ้อื ต่อการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาตามระบบ กระกนั คุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา 2. สถานศึกษาจะตอ้ งแต่งต้งั คณะกรรมการประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษาใหม้ ีอานาจ และหน้าที่ ดงั น้ี 2.1 กาหนดแนวทางและวิธีดาเนินการประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายในสถานศกึ ษา 2.2 กากบั ตดิ ตาม และให้ความเหน็ และขอ้ เสนอแนะเกย่ี วขอ้ งกับการดาเนนิ การประกนั คณุ ภาพ การศึกษาภายในสถานศึกษา 2.3 เสนอสถานศึกษาแต่งตัง้ คณะบุคคลทาหน้าท่ีตรวจสอบ ทบทวนและรายงานคุณภาพ การศึกษาภายในสถานศึกษา 3. สถานศกึ ษาจะต้องจดั ระบบสารสนเทศทมี่ าขอ้ มูลอยา่ งเพยี งพอตอ่ การดาเนนิ งานประกันคุณภาพ การศึกษาภายในสถานศึกษา 4. สถานศึกษาจะตอ้ งกาหนดมาตรฐานการศกึ ษาระดับสถานศกึ ษาที่ครอบคลมุ สาระการเรยี นรู้ กระบวนการเรียนรู้ และผลการเรยี นรใู้ หเ้ หมาะสมกบั สภาพผูเ้ รยี น สถานศกึ ษา ท้องถน่ิ และสอดคล้องกบั มาตรฐานการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน 5. สถานศกึ ษาจะต้องจัดทาแผนพฒั นาการศึกษาของสถานศึกษาโดยคานึงถงึ หลกั การและ ครอบคลุมในเรอื่ ง ต่อไปน้ี คูม่ อื ปฏิบตั ิงาน กลุ่มบรหิ ารวิชาการ

14 5.1 เปน็ แผนยทุ ธศาสตรท์ ่ีใช้ข้อมูลจากการวเิ คราะหส์ ภาพปญั หาและความจาเปน็ อย่างเปน็ ระบบและมแี ผนปฏบิ ัติการประจาปีรองรบั 5.2 กาหนดวิสัยทัศน์ ภารกิจ เป้าหมาย และสภาพความสาเร็จของการพัฒนาไวอ้ ยา่ งต่อเน่ือง ชัดเจน และเปน็ รูปธรรม 5.3 กาหนดวิธีดาเนนิ งานทมี่ หี ลักวชิ าหรอื ผลการวจิ ยั หรือข้อมูลเชงิ ประจักษ์ทีอ่ ้างถงึ ให้ ครอบคลมุ การพัฒนาด้านการจัดประสบการณ์เรยี นรู้ กระบวนการเรยี นรู้ การสง่ เสริมการเรยี นรู้ การวัดและ ประเมนิ ผล การพฒั นาบุคลากรและการบรหิ ารจดั การ เพือ่ นาไปสเู่ ปา้ หมายท่กี าหนดไว้ 5.4 กาหนดแหล่งวทิ ยาการภายนอกท่ีให้การสนับสนนุ ทางวชิ าการ 5.5 กาหนดบทบาทหนา้ ที่ใหบ้ ุคลากรของสถานศึกษาทุกคนรวมท้งั ผเู รยี น รบั ผดิ ชอบ และ ดาเนินงานตามทก่ี าหนดไวอ้ ย่างอยา่ งมีประสิทธภิ าพ 5.6 กาหนดบทบาทหน้าที่ และแนวทางให้บิดา มารดา ผู้ปกครองและบคุ ลากรในชุมชน เข้ามามี สว่ นรว่ มในการดาเนนิ งาน 5.7 กาหนดการจัดงบประมาณและการใช้ทรพั ยากรอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ 6. สถานศกึ ษาจะตอ้ งดาเนนิ งานตามแผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษา รวมทั้งมกี าร กากับ ตดิ ตามการดาเนนิ งานใหเ้ ปน็ ไปอยา่ งตอ่ เนือ่ งและบรรลุเปา้ หมายท่กี าหนดไว้ 7. ให้คณะกรรมการประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษาดาเนนิ การตรวจสอบ ทบทวนและ รายงานการดาเนินงานตามแผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา สาหรบั ในการตรวจสอบและทบทวน คณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษาให้ใชว้ ิธกี ารท่ีหลากหลายและเหมาะสม (การสังเกตพฤตกิ รรม และ กระบวนการทางาน กระบวนการจัดการเรียนการสอน การสอบถาม การสัมภาษณ์ การพิจารณาหลกั ฐาน รอ่ งรอย การปฏิบตั ิงาน ตัวอย่างผลงาน และแฟม้ สะสมงาน แบบสารวจ แบบสอบถาม แบบทดสอบและแบบวัด มาตรฐาน) การตรวจสอบและทบทวนคูณภาพการศกึ ษาภายในสถานศกึ ษา จะต้องดาเนนิ การอย่างเป็นระบบ ต่อเนือ่ งเพอ่ื นาไปใชใ้ นการปรับปรงุ แก้ไข เปลย่ี นแปลงและพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา 8. สถานศึกษาจะตอ้ งจดั ให้ผเู้ รยี นทกุ คนในทุกระดบั ชว่ งชน้ั ท่หี ลักสตู รการศึกษาข้ันพน้ื ฐานกาหนด ได้รบั การประเมนิ ผลสมั ฤทธ์ิในวิชาแกนหลกั และคณุ ลกั ษณะที่สาคญั ด้วยเครอ่ื งมอื มาตรฐาน 9. สถานศึกษาจะต้องจดั ทารายงานคุณภาพการศึกษาประจาปี โดยระบคุ วามสาเร็จตามเป้าหมายท่ี กาหนดในแบบพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศึกษาพร้อมหลกั ฐานขอ้ มูลและผลการประเมินผลสมั ฤทธ์ิ ตาม ข้อ (8) เสนอตอ่ หนว่ ยงานตน้ สงั กัด หนว่ ยงานที่เกย่ี วขอ้ งและสาธารณชน 10. หนว่ ยงานต้นสงั กดั และหนว่ ยงานตน้ สงั กดั ระดบั จังหวัด ส่งเสรมิ สนบั สนุนและรว่ มดาเนินงาน ตามระบบการประเมินคณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศึกษาดังน้ี 10.1 จดั ระบบการประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายในสถานศกึ ษาใหม้ ีประสทิ ธภิ าพ 10.2 จัดใหม้ ีการกาหนดสาระการเรียนรู้ กระบวนการเรยี นรู้ และผลการเรียนรู้ในวชิ าแกนหลกั ของสถานศกึ ษารว่ มกันเป็นรายปี/รายภาค คู่มอื ปฏิบัตงิ าน กลมุ่ บรหิ ารวิชาการ

15 10.3 จดั ใหม้ ีการประเมนิ ผลสัมฤทธิ์ในวชิ าแกนหลัก และคุณลกั ษณะที่สาคญั ด้วยเครือ่ งมอื มาตรฐาน 11. หน่วยงานต้นสังกัดระดับจงั หวดั ดาเนินการตรวจสอบและทบทวนคณุ ภาพสถานศกึ ษาอย่าง น้อยหน่งึ ครั้งในทกุ สามปี และรายงานผลให้สถานศกึ ษาและหน่วยงานตน้ สังกัดทราบ ท้งั น้กี ารตรวจสอบและ ทบทวนให้เปน็ ไปตามข้อ (7) โดยอนโุ ลม 12. หนว่ ยงานต้นสังกัดศกึ ษา วิเคราะห์ วจิ ยั และเผยแพรน่ วัตกรรมเก่ยี วกบั รูปแบบและเทคนคิ วธิ ีการประกันคณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษาอยา่ งต่อเนอ่ื ง รวมทั้งกากับ สนับสนุน สง่ เสรมิ ติดตาม ประเมินผลและผดงุ ประสิทธิภาพของระบบการประกนั คุณภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษาด้วย ข้นั ตอนการประกนั คุณภาพการศกึ ษา การควบคมุ คุณภาพ (Quality Control) 1. ศึกษาและเตรียมการ · ตง้ั คณะกรรมการงานประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา · ให้ความรแู้ กบ่ ุคลากรทุกทา่ น · จัดทาคาส่งั แต่งตง้ั คณะทางานฝ่ายต่างๆ 2. วางแผนการประกันคณุ ภาพการศึกษา · กาหนดมาตรฐานคณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา · สร้างเครอื่ งมอื ประเมินคณุ ภาพตามมาตรฐาน · จดั ทาสารสนเทศสภาพปจั จุบัน (ขอ้ มลู พื้นฐาน) · จดั ทาแผนปฏบิ ัติการประจาปีตามแผนยุทธศาสตร์ในธรรมนญู สถานศกึ ษา · จดั ทามาตรฐานการปฏิบตั งิ านต่าง ๆ ของสถานศกึ ษา · ประเมนิ สภาพปัจจบุ ันของสถานศกึ ษาตามมาตรฐาน · จดั ทาธรรมนญู สถานศึกษาหรอื แผนพฒั นาสถานศกึ ษา 3. ดาเนินการประกันคณุ ภาพการศึกษาตามแผน · ปฏบิ ตั งิ านตามมาตรฐานการปฏิบตั ิงานของสถานศึกษา และตามแผนปฏบิ ตั กิ ารของ สถานศกึ ษา · นเิ ทศ กากบั ติดตามผลการดาเนนิ งานตามมาตรฐานคณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษา การตรวจสอบ ทบทวน และปรับปรุงคุณภาพ (Quality Audit) 4. ตรวจสอบ และทบทวนคณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษา · แต่งตงั้ กรรมการตรวจสอบ · กาหนดระยะเวลาและแนวทางการตรวจสอบ คมู่ อื ปฏิบัติงาน กล่มุ บรหิ ารวิชาการ

16 · ประเมนิ สภาพของสถานศึกษาตามมาตรฐานของสถานศึกษาคร้ังที่ 2 หลังจากปฏิบตั ิงานไปได้ ระยะเวลาหนึ่ง · จัดทาสารสนเทศแสดงผลการปฏิบตั งิ านตามตัวชี้วดั และเกณฑม์ าตรฐานคุณภาพการศึกษาของ สถานศกึ ษา 5. พัฒนาและปรับปรงุ คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา · ปรบั ปรงุ แก้ไขการปฏิบัตงิ านทีไ่ มเ่ ปน็ ไปตามมาตรฐานคุณภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษา · ตดิ ตาม ตรวจสอบการแก้ไข ปรับปรงุ การปฏบิ ตั ิงานท่ไี มเ่ ป็นไปตามมาตรฐานของสถานศกึ ษา · สรปุ ผลการตรวจสอบ จดั ทาสารสนเทศ (ข้อมูลพน้ื ฐาน) ครง้ั ที่ 2 และรายงานการตรวจสอบ การประกันคณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษา · พัฒนาการปฏบิ ัติงานใหม้ ปี ระสิทธิภาพยิ่งขึ้น การประเมนิ (Quality Assessment )และรบั รองคณุ ภาพ (Quality Accreditation) 6. เตรียมการเพอ่ื รบั การประเมินจากสานกั งานรับรองมาตรฐาน และประเมินคุณภาพการศึกษา · จัดเตรียมหลกั ฐาน และขอ้ มูลต่าง ๆ ตามมาตรฐานการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน เพอ่ื รับการประเมนิ จากสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคณุ ภาพการศกึ ษา · ถา้ ไดร้ บั การรบั รอง และไดใ้ บรบั รอง สถานศกึ ษารักษามาตรฐานคุณภาพให้คงไวแ้ ละรายงาน ผลการประเมนิ · ถ้ายังไม่ไดร้ ับการรบั รอง สถานศึกษาปรับปรุงแกไ้ ข และขอรับการประเมนิ ใหม่ ตามเวลาที่ กาหนด แนวการดาเนนิ การตามขนั้ ตอนการประกันคุณภาพการศกึ ษา การควบคมุ คุณภาพการศกึ ษา (Quality Control) 1. การศึกษา และเตรยี มการ มีแนวการดาเนินการ ดังนี้ 1.1 ตงั้ คณะทางาน และพฒั นาระบบการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาเพื่อ 1) ศึกษาแนวคิด รูปแบบ และวธิ กี ารประกันคุณภาพการศกึ ษา 2) พฒั นาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา โดยกาหนดรปู แบบที่ สถานศกึ ษาสามารถปฏบิ ตั ิไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ 3) จดั ทาส่ือ เอกสาร คู่มือ และเครอ่ื งมือต่าง ๆ เพือ่ คณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษา 1.2 ใหก้ ารศกึ ษาแก่ครู และบุคลากรท่ีเกี่ยวข้องเพ่อื … 1) สร้างความรู้ ความเข้าใจ ใหเ้ กิดความตระหนัก และเหน็ ความสาคญั ของการประกัน คุณภาพการศกึ ษา เพื่อทุกมนุษยจ์ ะไดใ้ หค้ วามรว่ มมือในการปฏบิ ัติงานตา่ ง ๆ เพื่อคุณภาพการศึกษาของ สถานศกึ ษา 2) ใหช้ ว่ ยกนั สร้างแนวคดิ การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศึกษาและกาหนดรูปแบบ การดาเนินงานทเี่ หมาะสมกบั สถานศกึ ษา 1.3 ตง้ั คณะกรรมการ และคณะอนกุ รรม ในการดาเนินการประเมินคุณภาพการศึกษา เพอื่ … คูม่ อื ปฏิบตั งิ าน กลุ่มบรหิ ารวิชาการ

17 1) กาหนดบทบาทหน้าท่ี ความรบั ผิดชอบงานต่าง ๆ ที่สถานศึกษาตอ้ งจัดทาเพ่อื การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษา 2) การสร้างทีมงานตา่ ง ๆ ของสถานศึกษาให้เขม้ แขง็ 3) การพัฒนาความสามารถในการปฏบิ ัตงิ านต่าง ๆ เพอื่ การประกันคุณภาพการศกึ ษาของ สถานศกึ ษา 2. การวางแผนการประกนั คุณภาพการศึกษา โดยวางแผนการดาเนนิ การประกนั คุณภาพ การศึกษาของสถานศึกษา โดย… 1.1 กาหนดมาตรฐานคุณภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ท่ีเป็นการกาหนดจากมาตรฐาน การศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน และมาตรฐานการศึกษาของหนว่ ยงานตน้ สงั กดั มีขั้นตอน ดงั น้ี 1) ตง้ั คณะทางานยกรา่ งมาตรฐานคุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา 2) ประชมุ พิจารณา ความเหมาะสมของรา่ งมาตรฐานคุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา 3) ปรบั ปรุง และจดั ทาเปน็ มาตรฐานคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษามาให้ทกุ มนุษย์ของ สถานศกึ ษานาไปเปน็ แนวทางในการพฒั นาสถานศึกษา ให้เข้าสู่มาตรฐานของสถานศกึ ษาตอ่ ไป 1.2 จัดทามาตรฐานการปฏิบัตงิ านต่าง ๆ ของสถานศกึ ษาเพอื่ ควบคุมให้ผู้รับผิดชอบงาน คณุ ภาพต่าง ๆ ทเี่ ก่ยี วข้องกบั มาตรฐาน และตัวช้ีวัดทกี่ าหนดปฏบิ ตั งิ านอย่างมีคณุ ภาพสม่าเสมอตลอดเวลา มี ข้นั ตอน ดงั นี้ 1) ตั้งคณะทางานยกรา่ งมาตรฐานการปฏิบัตงิ าน สาหรบั งานตา่ ง ๆ ที่วเิ คราะห์มาจา มาตรฐานคุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา 2) จัดประชมุ พิจารณาทบทวน และรบั รองมาตรฐานการปฏบิ ัติงานท่เี ขียนข้นึ พร้อมกับ ปรับปรุงแก้ไขใหเ้ หมาะสมกบั การปฏบิ ัตงิ านในสถานศึกษา 3) จดั ทาเปน็ มาตรฐานการปฏบิ ัติงานของสถานศึกษาและประกาศให้ทุกคนนาไปปฏิบตั ิ 1.3 สรา้ งเคร่ืองมือประเมินคุณภาพการศึกษา ตามมาตรฐานคุณภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ท่ีกาหนดขนึ้ เพื่อเกบ็ รวบรวมข้อมลู คณุ ภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา มาจัดทาเป็นข้อมูลพ้ืนฐานของสถานศึกษา ที่จะใช้ในการหาจุดที่จะพัฒนาสถานศึกษาตอ่ ไป มีข้นั ตอนดังนี้ 1) ตง้ั กรรมการสรา้ งเครือ่ งมือเก็บรวบรวมข้อมูลพืน้ ฐานของสถานศึกษา ตามมาตรฐาน คุณภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษา 2) ดาเนนิ การสร้างเครื่องมอื เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ตามมาตรฐานคุณภาพการศกึ ษาของ สถานศกึ ษา 3) ตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมอื เกบ็ รวบรวมข้อมูล 4) จัดเก็บเครื่องมือเพือ่ การนาไปใชต้ อ่ ไป 1.4 ประเมนิ สภาพปจั จุบนั หรือเก็บข้อมลู สภาพปัจจบุ ันของสถานศึกษา โดยใช้เครอื่ งมอื ประเมนิ คณุ ภาพการศึกษาทส่ี ร้างข้นึ ในขอ้ 1.2 มีข้นั ตอน ดงั นี้ 1) วางแผนกาหนดการประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศึกษา ตลอดปกี ารศึกษา คูม่ อื ปฏิบัตงิ าน กลุ่มบริหารวชิ าการ

18 2) แต่งตงั้ คณะกรรมการประเมนิ คณุ ภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา เป็นคณะเล็ก ๆ คณะละ 2-3 คน โดยใหม้ กี ารประเมินข้ามฝ่าย เพ่ือป้องกนั การประเมินที่เขา้ ขา้ งฝา่ ยของตน จะได้ชว่ ยกนั หากข้อบกพร่อง ของการปฏิบัตงิ าน ทีจ่ ะช่วยกนั แก้ไข ใหง้ านนัน้ ๆ มคี ุณภาพ และป้องกนั ไมใ่ ห้ข้อบกพร่องนนั้ ๆ เกดิ ข้นึ อกี 3) เตรยี มเครื่องมือประเมิน โดยรวบรวมเคร่อื งมอื ประเมนิ ที่เก่ยี วกบั นักเรยี น หรอื ครู หรือ ผปู้ กครอง ฯลฯ ให้เป็นฉบับเดยี วกันสาหรับแต่ละกลุม่ เพื่อใชก้ ารประเมินเพียงครัง้ เดียว แลว้ ทาให้ไดข้ อ้ มูลทุก มาตรฐาน และตวั ช้ีวดั ท่เี ก่ียวข้องกับกล่มุ มนุษย์น้ัน ๆ อย่างครบถว้ น ท้งั น้ีเพ่อื ไมใ่ หเ้ กิดความราคาญแก่ ผ้ใู ห้ข้อมูล 4) ดาเนนิ การประเมิน และสรุปผลการประเมนิ ตามมาตรฐาน และตัวชวี้ ัด 1.5 จดั ทาสารสนเทศ หรอื ข้อมลู พ้นื ฐานสภาพปัจจุบันของสถานศกึ ษา โดยนาผลการประเมิน คณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษา มาจัดทาขอ้ มลู พืน้ ฐานแสดงผลการปฏิบัตงิ านของสถานศึกษา โดยจดั กลุ่มของ ข้อมูล ตามมาตรฐานและตัวช้วี ัด คุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา 1.6 จัดทาแผนกลยุทธ์ของสถานศกึ ษา หรือแผนพฒั นาสถานศึกษา มีขนั้ ตอน ดงั นี้ 1) ต้ังคณะทางานรา่ งแผนกลยุทธ์หรอื แผนพัฒนาสถานศกึ ษา 2) สารวจความตอ้ งการของผปู้ กครอง ชุมชน สงั คม ตรวจสอบนโยบายของ กระทรวงศึกษาธิการ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน สานักงานเจตพื้นท่ีการศกึ ษานนทบุรีเขต 2 สภาพขีดความสามารถของสถานศึกษา และผลการประเมนิ คุณภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษาสาหรับมาตรฐาน และตวั ชี้วัดคุณภาพทีย่ งั ต้องปรับปรุง มาเปน็ ข้อมูลหน่ึงในการจดั ทาแผนพัฒนาสถานศกึ ษา จัดทาแผนปฏบิ ตั ิ ราชการประจาปี ตามแผนกลยุทธข์ องสถานศึกษา 3) รา่ งแผนกลยุทธส์ ถานศึกษาระยะ 3 ปี 4) ประชุมคณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พจิ ารณาให้ขอ้ เสนอแนะ 5) ปรับปรุงร่างแผนกลยุทธ์ สถานศกึ ษา 6) ส่งใหผ้ ู้เกย่ี วข้องใหค้ วามเหน็ ชอบและลงนาม 7) ประกาศใช้เปน็ แผนพัฒนาสถานศกึ ษาต่อไป 1.7 จดั ทาแผนปฏิบัติราชการตามแผนกลยุทธข์ องสถานศึกษา โดยการนากลยุทธ์และกจิ กรรม ในแต่ละปีการศกึ ษา ท่กี าหนดไวใ้ นกลยทุ ธส์ ถานศึกษา ไปวางแผนการปฏบิ ัตริ าชการประจาปี ซ่งึ อาจจะมขี ้นั ตอน การดาเนินงาน ต่อไปน้ี 1) ต้งั คณะทางาน ยกรา่ งกาหนดกรอบแผนงาน โครงการของสถานศึกษา 2) ประชุมพิจารณากรอบแผนงาน โครงการ และงบประมาณ 3) ให้ทกุ ฝ่าย/กลมุ่ สาระการเรยี นร/ู้ งาน ร่วมกันวางแผนปฏบิ ัติการของตน 4) ประชมุ ช้แี จง พิจารณารา่ งแผนปฏบิ ัติราชการ 5) ปรับปรงุ และจัดทาแผนปฏิบัติราชการการที่สมบูรณ์ 6) ขอความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพน้ื ฐาน 7) จัดทาเปน็ แผนปฏิบตั ริ าชการประจาปีของสถานศึกษา ค่มู อื ปฏิบัตงิ าน กลุ่มบริหารวชิ าการ

19 3. การดาเนนิ การประกนั คณุ ภาพการศึกษา มีข้ันตอนการดาเนินการ ดงั น้ี 3.1 ทบทวนการประกนั คุณภาพการศกึ ษา โดยทบทวนงานต่าง ๆ ทส่ี ถานศึกษาไดท้ าการ วางแผนไว้ให้ทุกคนเขา้ ใจ และนาไปปฏบิ ตั ิ 3.2 ปฏิบตั งิ านตามมาตรฐานการปฏบิ ตั งิ านของสถานศึกษา และตามแผนปฏิบตั ริ าชการของ สถานศกึ ษาโดยดาเนนิ การ ดังน้ี 1) ใหผ้ ู้เก่ยี วข้องและผรู้ ับผิดชอบปฏิบตั ิงานตามมาตรฐานการปฏบิ ตั งิ านของสถานศึกษาที่ รับผิดชอบ และปฏิบัติงานตามแผน/โครงการ ทร่ี บั ผดิ ชอบใหเ้ ตม็ ความสามารถ พรอ้ มเกบ็ รวบรวมหลกั ฐานการ ปฏิบัตงิ านไวอ้ ยา่ งเปน็ ระบบ ท่คี ้นหางา่ ย รวดเร็ว 2) ติดตามการปฏบิ ตั งิ านตามมาตรฐานการปฏิบัติงาน และตดิ ตามการทางานตามโครงการ ท่ี ไดร้ ับมอบหมาย 3) แก้ไข ปรบั ปรุงขอ้ บกพร่องทพี่ บจากการติดตามการปฏิบตั งิ าน 3.3 นเิ ทศ กากบั ติดตามผลการดาเนินงานตามมาตรฐานคณุ ภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา ระหว่างทีท่ ุกฝ่ายของสถานศึกษาได้ดาเนนิ งานไป ขณะเดยี วกนั ก็ชว่ ยกันแกไ้ ขปญั หาที่เกดิ ข้ึนใหส้ าเร็จลลุ ว่ งไป เพือ่ ให้คณุ ภาพของสถานศกึ ษาเข้าส่มู าตรฐานทกี่ าหนดไวเ้ รว็ ขึ้น การตรวจสอบ ทบทวน และปรบั ปรงุ คณุ ภาพ 4. การตรวจสอบ และทบทวนคณุ ภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา โดยดาเนนิ การ ดงั น้ี 4.1 แตง่ ตั้งคณะกรรมกมาตรวจสอบคุณภาพการศึกษาของถานศึกษา 4.2 กาหนดระยะเวลา และแนวทางการตรวจสอบ หรอื วางแผนการตรวจสอบ ซ่งึ การตรวจสอบ และทบทวนคุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา สถานศึกษาควรทาการตรวจสอบ ทงั้ การปฏบิ ตั งิ านตามมาตรฐาน การปฏิบัติงาน และตรวจสอบคณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ตามมาตรฐานคณุ ภาพการศกึ ษา (มาตรฐานและ ตวั ช้วี ดั ) ของสถานศึกษาดว้ ย 4.3 ดาเนินการตรวจสอบตามแผนทีว่ างไว้ สาหรับการประเมนิ สภาพของสถานศึกษาตาม มาตรฐานคุณภาพการศึกษาของสาถานศึกษาคร้งั ท่ี 2 หลังจากได้ปฏบิ ัตงิ านตามมาตรฐานการปฏบิ ัติงานของ สถานศึกษา ไปได้ระยะเวลาหน่งึ โดยนาเครอ่ื งมอื ประเมินคุณภาพการศกึ ษาท่ีสรา้ งขนึ้ มาแล้วในข้อ 1.3 ของ ขั้นตอนท่ี 2 (การวางแผนฯ) และทาการประเมินคุณภาพการศกึ ษา ดงั ข้อ 1.4 และจัดทาสารสนเทศหรือข้อมูล พ้นื ฐานของสถานศกึ ษาคร้ังที่ 2 ตามข้อ 1.5 ของขัน้ ตอนท่ี 2 (การวางแผนฯ) ทั้งนเี้ พื่อตรวจสอบความก้าวหน้า ของตวั ชวี้ ดั และมาตรฐานคุณภาพการศึกษา ทบ่ี กพรอ่ งทพี่ บจากการประเมนิ คร้งั ท่ี 1 และเพอ่ื ตรวจสอบ และ แก้ไขส่ิงทยี่ งั ไม่เป็นไปตามมาตรฐานคณุ ภาพการศึกษาต่อไป 5. การพฒั นาและการปรับปรุงคณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษา โดย… 5.1 ปรบั ปรุง แก้ไขการปฏิบัติงานที่พบว่าไมเ่ ป็นไปตามมาตรฐานการปฏบิ ตั งิ าน และมาตรฐาน คณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษา คู่มอื ปฏิบัตงิ าน กลุ่มบริหารวิชาการ

20 5.2 ติดตาม ตรวจสอบแกไ้ ขปรบั ปรงุ การปฏิบตั งิ านท่ีไม่เป็นไปตามมาตรฐานการปฏบิ ัตงิ านและ มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ตามระยะเวลาท่ีเหมาะสมที่ผปู้ ฏบิ ัติได้กาหนดไว้ว่าจะแก้ไขเสร็จ ทง้ั น้ี เพ่อื ให้ แน่ใจวา่ ข้อบกพร่องที่พบ ได้รับการแก้ไขอยา่ งจรงิ จงั 5.3 สรุปผลการตรวจสอบ และรายงานผลการตรวจสอบการประกนั คณุ ภาพการศึกษาของ สถานศกึ ษาโดยการจดั ทารายงานผลการประเมินตนเอง (SAR) 5.4 สาหรับงานทีม่ คี ุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานท่ีกาหนดไว้ ใหพ้ ัฒนาการปฏิบตั งิ านใหม้ ี ประสิทธภิ าพดยี ่ิง ๆ ขนึ้ ต่อไป การประเมนิ และรับรองคณุ ภาพ 6. การเตรียมการเพ่อื รับการประเมินจากสานกั งานรบั รองมาตรฐาน และประเมินคณุ ภาพการศกึ ษา โดยดาเนินการ ดงั น้ี 6.1 ผ้เู กยี่ วข้องจัดเตรียมหลักฐานการปฏิบัตงิ าน และขอ้ มลู ต่าง ๆ ตามมาตรฐานคุณภาพ การศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน และรายงานการประเมินตนเองไวล้ ว่ งหน้าให้พรอ้ ม เพ่ือรบั การประเมนิ จากองคก์ รภายนอก ทีเ่ ปน็ ผู้แทนสานกั งานรบั รองมาตรฐาน และประเมนิ คุณภาพการศึกษา ตามกาหนดระยะเวลาท่อี งค์กรภายนอกจะ มาประเมินคุณภาพของสถานศกึ ษา 6.2 รบั การประเมินจากองค์กรภายนอก โดยองคก์ รภายนอก จะทาการประเมนิ คุณภาพของ สถานศึกษาตามมาตรฐานคณุ ภาพการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐานท้ัง 14 มาตรฐาน ซ่ึงเมื่อองค์กรภายนอกจึงส่งรายงาน ข้อเท็จจริงดังกลา่ วให้กับสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคณุ ภาพการศึกษา 6.3 ถ้าสานกั งานรับรองมาตรฐาน และประเมนิ คุณภาพการศกึ ษา พิจารณารายงานข้อเท็จจรงิ แล้วเห็นว่า สถานศกึ ษามคี ุณภาพผ่านเกณฑม์ าตรฐานการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน ครบถว้ นท้ัง 14 มาตรฐาน กจ็ ะให้การ รบั รองมาตรฐานคุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา ซึง่ หมายความวา่ สถานศึกษาได้รบั การรบั รองคณุ ภาพ การศึกษาจากสานักงานรบั รองมาตรฐาน และประเมนิ คณุ ภาพการศึกษาแลว้ ซึ่งการรบั รองดงั กล่าวจะมอี ายุ 5 ปี คอื เม่อื ครบ 5 ปี สถานศกึ ษาจะต้องถกู ประเมินคณุ ภาพาใหม่ทั้งหมด 14 มาตรฐาน อย่างไรกต็ าม ระหวา่ งท่ี สถานศกึ ษาไดร้ ับใบรับรองคุณภาพการศึกษา องค์กรภายนอกจะมาทาการประเมินคณุ ภาพการศกึ ษาของ สถานศกึ ษาอย่างสม่าเสมอ ตลอดเวลา 6.4 ถ้าสถานศกึ ษาไมผ่ า่ นเกณฑก์ ารประเมนิ คุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน สถานศกึ ษาตอ้ งปรบั ปรงุ คณุ ภาพของสถานศึกษาใหไ้ ด้มาตรฐาน ตามระยะเวลาทค่ี ณะกรรมการประเมนิ กาหนด แลว้ ข้อรบั การประเมนิ ใหม่ แตถ่ ้าถงึ ระยะเวลาที่กาหนดแล้วสถานศกึ ษายังมกี ารพฒั นายังไม่ถงึ เกณฑ์ สานักงาน รบั รองมาตรฐานและประเมินคณุ ภาพการศกึ ษา ต้องรายงานต่อคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน เพ่ือให้ ดาเนินการปรับปรงุ แก้ไข ตามมาตรา 51 ของหมวด 6 ของพระราชบญั ญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แกไ้ ข เพิม่ เติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 การประเมินภายในสถานศกึ ษา การประเมนิ ภายใน (Internal Evaluation) เปน็ ประบวนการประเมินผลการดาเนินงานของหน่วยงานที่ กระทาโดยบคุ ลากรในหน่วยงาน หรอื ผทู้ ่เี กยี่ วข้อง อย่างตอ่ เนอ่ื ง เพอื่ ให้ไดข้ ้อมลู มาใช้ในการปรบั ปรุงพฒั นาการ ค่มู อื ปฏิบตั ิงาน กลุ่มบรหิ ารวิชาการ

21 ดาเนินงานใหบ้ รรลุเป้าหมายที่กาหนดไว้ ซึง่ การประเมนิ ภายในนีถ้ ือเป็นกระบวนการตรวจสอบการทางานของ ตนเอง(Self-evaluation) สถานศึกษา ควรกาหนดใหก้ ารประเมินภายใน เปน็ กิจกรรมหน่งึ ทต่ี ้องปฏบิ ัตอิ ยา่ ง ตอ่ เน่ืองของสถานศึกษา และถ้าโรงเรียนจัดทามาตรฐานการปฏบิ ัติงานแล้ว ดงั น้ัน ในการประเมนิ คณุ ภาพการจดั การศกึ ษาของโรงเรยี นควรดาเนนิ การประเมนิ 2 ลักษณะ ได้แก่ 1. ประเมินผลการปฏิบัติงานตามมาตรฐานการศึกษาระดบั การศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน 2. ประเมินการปฏิบัตงิ านตามมาตรฐานการปฏบิ ัติงานของทกุ ฝ่ายในโรงเรยี น เพือ่ ใหโ้ รงเรยี นมกี าร ดาเนินงานมีคณุ ภาพอย่างสม่าเสมอ วตั ถุประสงค์ของการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา 1. เพอ่ื ตรวจสอบคุณภาพ และผลการปฏิบตั ิงานของโรงเรียน ตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษา ข้นั พนื้ ฐาน 2. เพอ่ื นาผลการประเมินมาจัดทาขอ้ มูลพื้นฐานเกี่ยวกับคุณภาพการจัดการศกึ ษาของโรงเรียน และนามาใชใ้ นการตัดสนิ ใจวางแผนพัฒนา และปรับปรุงคณุ ภาพการศึกษาของโรงเรียน 3. เพอ่ื รายงานผลการพฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรยี นตอ่ หนว่ ยงานทเ่ี ก่ียวข้อง และ สาธารณชน 4. เพอ่ื เตรยี มความพร้อมในการรับการประเมินจากองคก์ รภายนอก เพือ่ นาไปสกู่ ารรบั รอง คุณภาพการศกึ ษา การประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ านตามมาตรฐานคุณภาพการศกึ ษา การดาเนนิ การประเมินผลการปฏิบตั ิตามมาตรฐานคุณภาพการศกึ ษา ภายในสถานศกึ ษา มี แนวทางในการดาเนนิ การประเมนิ 2 วิธี ได้แก่ 1. การประเมินผลการปฏบิ ตั ิงานตามมาตรฐานการศึกษา โดยการนาผลการปฏบิ ัติงานพฒั นา โรงเรียนเปน็ ปกติ มาสรปุ เขียนรายงานการประเมนิ ตนเอง 2. การประเมินผลการปฏิบัตงิ านตามมาตรฐานการศกึ ษา โดยการสร้างเครือ่ งมือวัดสาหรับตวั บ่งช้ที กุ ตัว แล้วประเมนิ คุณภาพการจัดการศกึ ษาของโรงเรยี น แล้วสรปุ เขียนรายงาน งานนิเทศและบรกิ ารทางการศกึ ษา การนิเทศภายในสถานศึกษาจะเป็นกระบวนการทางานของผู้บริหารสถานศกึ ษา (หรอื ผู้ทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย) ในการพัฒนาคณุ ภาพการทางานของครูและบคุ ลากรภายในสถานศึกษา เพือ่ ให้ได้มาซง่ึ สัมฤทธ์ผิ ล สูงสุดในการเรียน ของผู้เรียน 1. ขอบเขตการนเิ ทศงานวิชาการ งานวชิ าการภายในโรงเรียนทีผ่ ้บู ริหารจะตอ้ งรับผิดชอบมี 2 ประเภท คอื 1.1 งานหลัก ได้แก่ 1.1.1 หลกั สูตรสถานศึกษา ค่มู อื ปฏิบตั ิงาน กลุม่ บรหิ ารวิชาการ

22 – การปรบั ปรงุ หลกั สูตรให้สอดคล้องกับสภาพของท้องถ่ิน – การสร้างหลกั สตู รเพอ่ื สนองความตอ้ งการของผ้เู รยี นทอ้ งถ่นิ – การจัดแผนการเรยี นการสอน – การจัดทาโครงการสอน – การจัดตารางสอน – การจดั ครผู ู้สอน – การจดั ชน้ั เรยี น (จัดนกั เรยี นเขา้ แผนการเรียน) – การจดั กิจกรรมในหลกั สูตร - การผลติ สอ่ื และอุปกรณก์ ารสอน ฯลฯ 1.1.2 การเรียนการสอน ได้แก่ – การพัฒนาเทคนิควิธกี ารสอน – การพัฒนาเทคนคิ ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน – การพัฒนาเทคนคิ ในการใช้สอ่ื และอปุ กรณก์ ารสอน ฯลฯ 1.1.3 การวัดและประเมินผลการเรยี นการสอน ไดแ้ ก่ – การสรา้ งข้อทดสอบ – การวดั และประเมนิ ผล - งานทะเบียนวัดผลและรายงานความกา้ วหน้าของนักเรยี น ฯลฯ 1.2 งานสนับสนนุ วิชาการ ได้แก่ งานเกย่ี วกับอาคารสถานท่ี กิจการนักเรียน ธรุ การและการเงิน และ ความสัมพนั ธ์กบั ชุมชน ขอบเขตงานที่กล่าวมานี้หากผู้บริหารมคี วามมุง่ หวังทีจ่ ะใหไ้ ด้ผลงานของบุคลากร ภายใตก้ าร ควบคมุ ดแู ลมีคุณภาพก็จาเปน็ จะตอ้ งพัฒนาบคุ ลากรเหล่านี้ ใหม้ ีความรู้ ความสามารถในการ ปฏบิ ตั งิ านจงึ จะไดผ้ ลงาน ท่ีมคี ุณภาพตามความมุ่งหวังทตี่ ง้ั ไว้ 2. วิธีดาเนินการ ขนั้ ท่ี 1 การวางแผนการนเิ ทศ ขนั้ ที่ 2 การใหค้ วามร้กู ่อนดาเนินการนเิ ทศ คูม่ อื ปฏิบตั งิ าน กลุ่มบริหารวชิ าการ

23 ข้นั ท่ี 3 การดาเนนิ การปฏบิ ตั ิงานนิเทศ ขั้นท่ี 4 การสรา้ งเสริมกาลงั ใจแก่ผ้ปู ฏิบตั งิ านนเิ ทศ ขน้ั ที่ 5 การประเมินผลการนิเทศ งานแนะแนว 1. จดั องคก์ รบรหิ ารงานแนะแนวใหม้ ผี รู้ ับผิดชอบปฏิบตั ิงานดา้ นต่าง ๆ ที่กาหนดในขอบข่ายของการ บริการ แนะแนว 2. ดาเนินการในการคดั เลอื กนักเรยี นเพอื่ รับทนุ การศกึ ษา รางวลั การศกึ ษาต่าง ๆ และดาเนนิ การ เกย่ี วกบั กองทุน อื่น ๆ เพื่อการศกึ ษา 3. ประสานงานใหก้ ับวิทยากรและสถาบันการศกึ ษาภายนอกเข้ามาใหก้ ารแนะแนวการศึกษาและอาชพี รวมท้ัง นกั เรียนกลุม่ ที่สนใจไปศึกษาจากสถานศกึ ษา สถานประกอบการหรอื สถานประกอบอาชีพอิสระภายนอก 4. จัดแผนงาน โครงการแนะแนว และการจัดปฏิทนิ ปฏบิ ัติงานประจาปี 5. ประสานงานการจัดสอนวดั ความร้คู วามสามารถทางวชิ าการกบั สถาบนั การทดสอบต่างๆ รวมทัง้ ดาเนินการ เกีย่ วกบั การสอบเข้าศึกษาตอ่ ของนักเรียนชนั้ ม.3 และ ม.6 6. จดั เก็บและรวมรวมสถติ ขิ ้อมูลด้านตา่ ง ๆ ตลอดปีการศกึ ษา และนาเสนอเปน็ เอกสารเผยแพร่เม่ือสิ้น ภาคเรยี น/ปี 7. การจดั กจิ กรรมแนะแนว 7.1 การบรกิ ารแนะแนว 7.1.1 งานศกึ ษารวบรวมขอ้ มลู โดยศึกษา รวบรวม วเิ คราะห์ สรุป และนาเสนอขอ้ มูลของ ผู้เรยี น 7.1.2 งานสารสนเทศ โดยจดั ศูนย์สารสนเทศทางการแนะแนวในรปู ศูนยก์ ารเรียนรู้ดว้ ยตนเอง โดย ครอบคลุมด้านการศกึ ษา อาชพี ชีวิตและสังคม 7.1.3 งานใหค้ าปรึกษา อบรมทักษะการให้คาปรึกษาเบือ้ งตน้ แกค่ รูให้คาปรกึ ษาผ้เู รยี นท้ัง รายบคุ คลและเป็น กลุม่ 7.1.4 งานกจิ กรรมส่งเสรมิ พฒั นา ช่วยเหลอื ผเู้ รียน ศึกษารายกรณี (Case study) และจดั กลุ่ม ปรกึ ษา คูม่ อื ปฏิบัติงาน กลมุ่ บริหารวิชาการ

24 ปัญหา (Case conference) สง่ ต่อผเู้ ชี่ยวชาญ ในกรณีทีผ่ ู้เรียนมีปัญหายากแก่การแก้ไข จัด กลุ่มพฒั นา ผ้เู รียนดว้ ย เทคนิคทางจติ วทิ ยา จัดบรกิ าร สร้างเสรมิ ประสบการณ์ รวมท้ังให้การสงเคราะห์ เพอื่ ตอบสนองความถนัดความ ต้องการ และความสนใจของผ้เู รยี น 7.1.5 งานตดิ ตามประเมนิ ผล ประเมินผล/รายงานผลการดาเนินงานแนะแนว 7.2 การจดั กจิ กรรมแนะแนว 7.2.1 กจิ กรรมโฮมรูม 7.2.2 กิจกรรมคาบแนะแนว 7.2.3 การสอดแทรกกระบวนการแนะแนว งานห้องสมดุ 1. จัดทาแผนงาน/โครงการงานหอ้ งสมุดใหเ้ ปน็ ไปตามนโยบายของโรงเรียน 2. จดั และพัฒนาสถานที่หอ้ งสมุดใหเ้ หมาะสมกับเปน็ แหลง่ ค้นควา้ หาความรไู้ ดต้ ลอดเวลาและ หลากหลาย 3. จัดให้มวี ัสดุ ครุภัณฑ์ และเคร่อื งอานวยความสะดวกทเ่ี พียงพอกบั จานวนสมาชิก 4. ดแู ล เก็บรักษา ซอ่ มบารุง ครุภณั ฑ์ ให้อยู่ในสภาพทด่ี ใี ชก้ ารได้ตลอด 5. จดั หา ซอ้ื ทาเอกสาร วารสาร และสิ่งพมิ พต์ ่าง ๆ ที่เป็นประโยชนต์ อ่ การค้นคว้าหาความรแู้ ละความ บันเทงิ 6. จดั บรรยากาศ สถานท่ีและส่งิ แวดล้อม การบริการให้ชักจูงบคุ คลภายนอกให้เหน็ ประโยชน์ และเข้า มาใชบ้ รกิ าร 7. จดั กิจกรรมส่งเสริมให้นกั เรยี นของโรงเรยี นมนี สิ ยั รักการอ่าน 8. จดั ทาสถิติ ข้อมูลเกี่ยวกับการดาเนินงาน รวมทง้ั ประเมนิ ผลงานท่ปี ฏิบตั ติ ลอดภาคเรยี น/ปี 9. ใหบ้ ริการใช้ห้องสมดุ แกน่ กั เรียน ครู และบุคคลภายนอก งานบรกิ ารหอ้ งสมุดคอื งานท่หี ้องสมดุ จัดทาข้ึนเพ่อื อานวยความสะดวกแก่ผู้ใช้ในด้านการอ่านการ คน้ ควา้ หาความรู้และสง่ เสริมการอ่านใหก้ วา้ งขวางและท่วั ถึงเพือ่ ให้ผู้ใช้ไดร้ บั สารสนเทศอย่างรวดเรว็ และตรงตาม ความต้องการมากท่ีสดุ รวมถึงการจัดบรรยากาศทีด่ ีเปน็ ระเบียบทาให้ผู้ใชเ้ กิดความรู้สกึ ทดี่ ีและประทับใจเมื่อเข้าใช้ บริการความสาคัญของงานบรกิ าร ห้องสมุดงานบรกิ ารเป็นหัวใจสาคัญของห้องสมุด เป็นงานท่ีเกี่ยวข้องกับ ผู้ใช้ ทุกระดับสาหรับงานบริการของห้องสมุด โรงเรียน มีส่วนสาคัญท่ีทาให้นักเรียน ผู้ปกครองและชุมชน มาใช้ คมู่ อื ปฏิบัติงาน กลมุ่ บรหิ ารวชิ าการ

25 หอ้ งสมดุ มาก ขึ้น งานบริการเป็นงานท่หี ้องสมดุ ทาขนึ้ เพ่ือสง่ เสรมิ สนบั สนนุ การเรียนการสอน ใหน้ ักเรยี นเกิดการ เรยี นรู้ รู้จักศกึ ษาค้นควา้ ด้วยตนเองใชป้ ระโยชน์จากการอา่ น เพอ่ื เพมิ่ พนู ความรู้ ตลอดจนนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ ให้เกดิ ประโยชน์ใน ชีวิตประจาวันไดเ้ ปน็ อยา่ งดี วัตถุประสงคข์ องการให้บรกิ ารหอ้ งสมดุ 1. เพือ่ ส่งเสรมิ การอา่ น 2. เพ่ืออานวยความสะดวกแกผ่ ใู้ ช้ห้องสมดุ 3. เพื่อสนับสนุนการเรยี นการสอนใหเ้ กดิ ประโยชนอ์ ย่างเตม็ ทีแ่ ละค้มุ ค่า 4. เพือ่ ให้เกดิ ความรู้ ความเพลดิ เพลิน พัฒนาสมองใหม้ สี ตปิ ัญญาเฉลยี วฉลาด สามารถนาสง่ิ ที่ได้ จากการอา่ นไปปฏิบัติเพ่ือบรรลวุ ตั ถุประสงค์ทตี่ นต้องการประเภทของงานบรกิ ารหอ้ งสมุดงาน บรกิ ารของ ห้องสมดุ มหี ลายอย่าง ขึ้นอยู่กบั นโยบายและวตั ถุประสงค์ของห้องสมุด สาหรบั หอ้ งสมุด โรงเรียน โดยท่ัวไป มดี ังนี้ 1. บรกิ ารการอ่าน เปน็ บรกิ ารหลักของหอ้ งสมดุ ท่จี ดั หาและคดั เลอื กหนังสอื ส่ิงพิมพ์ตา่ งๆ มา ไวเ้ พอื่ ให้บริการ และจดั เตรยี มสถานทใี่ หอ้ านวยความสะดวกต่อการอ่าน เพ่ือตอบสนองความตอ้ งการ และ ความ สนใจของ ผู้ใชม้ ากท่สี ดุ 2. บริการยืม - คนื คอื บรกิ ารใหย้ มื - คืนทรัพยากรสารสนเทศประเภทตา่ งๆ ตามระเบียบ การยมื ของหอ้ งสมดุ แตล่ ะแห่ง เพอื่ ให้ความสะดวกในการใช้ ในกรณที ่ยี มื เกินกาหนดผู้ยืมจะตอ้ งเสียคา่ ปรับ ตาม อัตราทห่ี อ้ งสมุดกาหนด 3. บรกิ ารหนังสอื จอง เปน็ บรกิ ารท่ีหอ้ งสมดุ จดั แยกหนังสอื รายวิชาตา่ ง ๆ ท่ีครูผูส้ อนกาหนด ใหน้ ักเรยี นอ่านประกอบ รวมท้ังเปน็ บริการพเิ ศษที่จดั ขน้ึ ในกรณที ่ีหนงั สือนั้นมจี านวนนอ้ ยแต่มผี ู้ใช้ตอ้ งการ จานวนมาก โดยแยกไว้ตา่ งหากและมกี าหนดระยะเวลาให้ยืมส้นั กวา่ หนงั สือทวั่ ไป 4.บรกิ ารแนะนาการใชห้ ้องสมดุ เป็นบรกิ ารเพอื่ แนะนาผใู้ ช้ให้ทราบว่าห้องสมดุ จัดบริการ อะไรบา้ งใหก้ บั ผ้ใู ช้ เช่น การปฐมนเิ ทศแนะนาแกน่ ักเรยี นที่เขา้ เรียนในชั้นปแี รกห้องสมุดสว่ นใหญจ่ ะจดั ทาคู่มือ การใช้ ห้องสมุด เพือ่ ให้ขอ้ มูลเกย่ี วกบั หอ้ งสมดุ เช่น ประวตั ิของห้องสมดุ ระเบียบการยืม - คนื ทรพั ยากร สารสนเทศ มารยาทในการใช้ หอ้ งสมดุ บรกิ ารและกิจกรรมตา่ งๆของหอ้ งสมุด เป็นต้น 5. บรกิ ารตอบคาถามและช่วยการค้นคว้า เปน็ บริการที่ครูบรรณารักษ์หรอื เจ้าหน้าท่ีหอ้ งสมุด จะช่วยให้คาแนะนา และบริการตอบคาถามแก่นักเรียนและผู้ใช้ทั้งคาถามทั่วไปเกี่ยวกับการใช้ห้องสมุดและ คาถามทีต่ ้องค้นหาคาตอบจากทรัพยากรสารสนเทศต่าง ๆ ในหอ้ งสมดุ ค่มู อื ปฏิบัตงิ าน กลมุ่ บริหารวิชาการ

26 6. บริการแนะแนวการอ่าน เปน็ บริการสาคญั ที่ห้องสมุดจัดขึ้นเพื่อส่งเสรมิ การอ่านพัฒนา นสิ ัยรกั การอา่ น และใชเ้ วลาว่างใหเ้ ป็นประโยชน์ นอกจากนีย้ งั เป็นการชว่ ยเหลือผ้ใู ช้หอ้ งสมุดทมี่ ปี ัญหาในการอา่ น ผทู้ ี่ไม่อยากอ่านหนังสือหรอื เลอื กหนังสอื อา่ นไม่เหมาะสมกบั ความตอ้ งการของตน 7. บรกิ ารสอนการใชห้ ้องสมุดเปน็ บรกิ ารของห้องสมุดในโรงเรียนทจี่ ดั สอนใหแ้ ก่นักเรยี น ที่ เข้าเรียนใหมใ่ นชัน้ ปีแรก เพอ่ื ใหค้ วามรู้เก่ยี วกบั การใช้ห้องสมดุ การเลอื กใช้ทรพั ยากรสารสนเทศแต่ละประเภท และบริการต่าง ๆ ของหอ้ งสมุด ให้ผใู้ ชส้ ามารถใช้ประโยชนจ์ ากห้องสมุดได้อยา่ งเตม็ ที่ 8. บรกิ ารสบื ค้นฐานข้อมูล เปน็ บรกิ ารสบื คน้ ฐานขอ้ มลู หนงั สือของหอ้ งสมดุ ชว่ ยให้ผ้ใู ช้ สามารถค้นหาหนังสือด้วยตนเองไดส้ ะดวกรวดเรว็ ขน้ึ 9. บรกิ ารรวบรวมบรรณานกุ รม เปน็ การรวบรวมรายชอื่ หนงั สอื สาหรับใชป้ ระกอบการเรียน การสอนในรายวชิ าตา่ ง ๆ รวมถงึ การรวบรวมบรรณานกุ รมหนังสือใหม่ประจาเดือนทีห่ อ้ งสมดุ ออกใหบ้ ริการ แก่ ผู้ใช้ 10. บริการข่าวสารทนั สมัย เป็นบรกิ ารท่ีช่วยใหผ้ ู้ใชห้ อ้ งสมดุ ไดท้ ราบขอ้ มลู ใหม่ ๆ ในสาขา วชิ าต่าง ๆ โดยการถ่ายสาเนาหนา้ สารบัญวารสารฉบับล่าสดุ ทห่ี ้องสมดุ ได้รับรวบรวมไว้ในแฟม้ เพื่อให้บรกิ าร แก่ ผ้ใู ช้ในการศกึ ษา คน้ ควา้ 11. บริการอินเทอรเ์ นต็ ผู้ใช้บรกิ ารสามารถสืบค้นข้อมูลบนอินเทอร์เนต็ ทีส่ นใจได้ทว่ั โลก ซึ่ง ทาให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงสารสนเทศทท่ี นั สมยั ได้มากข้นึ ตรงตามความต้องการและสะดวกรวดเรว็ 12. บรกิ ารอ่ืน ๆ ทีห่ ้องสมุดอาจจดั ขน้ึ เช่น บรกิ ารโสตทัศนวัสดุ ส่ืออเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ บรกิ าร หอ้ งสมุด เคลอื่ นท่ี บริการชุมชน บริการขอใช้สถานที่ประชุม เปน็ ต้น 12.1 บริการส่อื อเิ ล็กทรอนิกส์ เปน็ บรกิ ารคน้ คว้าหาความร้ดู ้วยส่ืออิเล็กทรอนกิ ส์ตา่ ง ๆ เช่น สื่อ มัลตมิ เี ดีย ซีดีรอม ดีวีดี วซี ดี ี เป็นต้น 12.2 บรกิ ารห้องสมดุ เคลอ่ื นท่ี เปน็ บรกิ ารการอา่ นทห่ี อ้ งสมดุ จัดไวต้ ามมุมต่าง ๆ ของ โรงเรยี น เพือ่ สง่ เสริมการเรียนรู้ เช่น ใต้บนั ได ระเบียงอาคาร สวน ศาลา ฯลฯ เปน็ การใหบ้ ริการ อย่างไม่เป็น ทางการง่าย ๆ และตกแต่งด้วยธรรมชาติอย่างสวยงามตามสภาพของสถานท่นี ้ัน ๆ 12.3 บริการชมุ ชน เปน็ บริการที่ขยายโอกาสทางการศกึ ษาคน้ คว้าใหก้ วา้ งออกไป โดย ห้องสมดุ จะจัดหนังสอื และสิง่ พิมพ์ ไปให้บริการแกช่ มุ ชนและหน่วยงานต่าง ๆ รอบโรงเรยี น เช่น ที่วัด ศนู ย์พัฒนา เดก็ เล็ก จดุ บรกิ าร จักรยานยนตร์ ับจ้างเป็นการปลกู ฝังนสิ ัยรักการอา่ นใหแ้ ก่เด็ก และประชาชน ในชุมชนทกุ เพศ ทกุ วยั เพอื่ เพิ่มพนู ความรู้ ข่าวสาร และทนั ตอ่ เหตุการณ์ คู่มอื ปฏิบัตงิ าน กล่มุ บริหารวชิ าการ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook