ชุดกชาุดรทเี่ 1รยี กนารรนับู้ เวลาและชว่ งเวลาประวตั ิศาสตร์ เรอ่ื ง การศกึ ษาประวัตศิ าสตร์และพฒั นาการของแหล่งอารยธรรม ในภมู ิภาคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ รายวชิ า ประวตั ศิ าสตร์ 1 รหสั วชิ า ส21102 กลุม่ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 1 เรอื่ ง การนบั เวลาและช่วงเวลาประวัติศาสตร์ ชนาธนิ าถ ชีโพธิ์ ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ชานาญการพเิ ศษ โรงเรียนโยธนิ นกุ ูล เทศบาลตาบลหนองไผล่ อ้ ม อาเภอเมอื งนครราชสีมา จังหวดั นครราชสีมา กรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่นิ กระทรวงมหาดไทย
ชดุ ที่ 1 การนับเวลาและชว่ งเวลาประวัติศาสตร์ ก ชุดการเรียนรู้ เรื่อง การศึกษาประวัติศาสตร์และพัฒนาการของแหล่งอารยธรรมใน ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 ผู้วิจัยพัฒนาข้ึนเพ่ือเป็นแนวทางในการจัด กิจกรรมการเรยี นการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ เน้ือหาที่ศึกษาเป็นเรื่องการนับเวลาและช่วงเวลา ประวัติศาสตร์ ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ วิธีการและหลักฐานทางประวัติศาสตร์ พัฒนาการของ ประเทศต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ความร่วมมือและการรวมกลุ่มของประเทศใน ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน โดยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเอง เพอื่ ให้ผู้เรียนไดร้ ับความรู้จากประสบการณ์ตรง ชุดการเรียนรู้ เรื่อง การนับเวลาและช่วงเวลาประวัติศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 ไดจ้ ัดทาขน้ึ เพื่อมุ่งเน้นให้ชุดการเรียนรู้ดังกล่าวสามารถพัฒนาการเรียนการสอน และมีจุดมุ่งหมาย เพ่ือให้ผู้เรียนรู้เก่ียวกับความสาคัญของเวลาและช่วงเวลา การนับและการเปรียบเทียบศักราชแบบ ต่าง ๆ ตัวอย่างการใช้เวลา ช่วงเวลา และยุคสมัยที่ปรากฏในหลักฐานทางประวัติศาสตร์ไทยโดย เนน้ การจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน ที่ผเู้ รยี นเป็นผกู้ ระทาโดยฝึกผา่ นกระบวนการทางานร่วมกนั ผู้วิจัยหวังเป็นอย่างย่ิงว่า เนื้อหา ส่ือ ตลอดจนข้อมูลต่าง ๆ ที่ผู้วิจัยได้รวบรวมไว้ ในชุดการเรียนรู้นี้คงเป็นประโยชน์ต่อผู้เรียนและครู ในการพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอน ให้บรรลวุ ัตถปุ ระสงคท์ ก่ี าหนดไว้เปน็ อย่างดี ชนาธินาถ ชีโพธ์ิ
ชุดท่ี 1 การนับเวลาและชว่ งเวลาประวตั ศิ าสตร์ ข สารบญั เร่ือง หน้า คานา ก สารบญั ข มาตรฐานการเรยี นรู้ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1 ผงั มโนทัศน์ 2 ขัน้ ตอนการเรยี น 3 คาแนะนาสาหรบั นักเรยี น 4 แบบทดสอบก่อนเรยี น 5 เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรยี น 7 ศูนย์การเรียนท่ี 1 8 ศูนยก์ ารเรียนที่ 2 18 ศนู ย์การเรยี นท่ี 3 30 ศูนย์สารอง 38 แบบทดสอบหลังเรียน 42 เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน 44 บรรณานุกรม 45 แหลง่ ทมี่ าของภาพ 46
ชดุ ท่ี 1 การนบั เวลาและช่วงเวลาประวัตศิ าสตร์ 1 ชดุ การเรียนรู้ เร่ือง การศึกษาประวตั ศิ าสตรแ์ ละพฒั นาการของแหล่งอารยธรรม ในภมู ิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ชุดท่ี 1 การนบั เวลาและชว่ งเวลาประวัติศาสตร์ มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ส 4.1 เขา้ ใจความหมาย ความสาคญั ของเวลา และยุคสมยั ทางประวัติศาสตร์ สามารถ ใชว้ ธิ กี ารทางประวตั ศิ าสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณต์ ่าง ๆ อยา่ งเปน็ ระบบ ตัวชีว้ ัด ส 4.1 ม. 1/1 วเิ คราะหค์ วามสาคัญของเวลาในการศกึ ษาประวัตศิ าสตร์ ส 4.1 ม. 1/2 เทียบศกั ราชระบบตา่ ง ๆ ทใ่ี ช้ศึกษาประวตั ิศาสตร์ ส 4.1 ม. 1/3 นาวิธีการทางประวัตศิ าสตร์มาใชศ้ กึ ษาเหตุการณ์ทางประวัตศิ าสตร์ จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรยี นวิเคราะหค์ วามสาคัญของเวลาในการศกึ ษาประวัตศิ าสตร์ 2. นกั เรียนสามารถเทยี บศักราชระบบตา่ ง ๆ ท่ใี ชใ้ นการศกึ ษาประวัติศาสตร์ 3. นักเรยี นสามารถอธบิ ายตัวอยา่ งการใชเ้ วลา ชว่ งเวลา และยคุ สมัยที่ปรากฏในหลักฐาน ทางประวัติศาสตร์ไทย
ชุดที่ 1 การนบั เวลาและชว่ งเวลาประวตั ศิ าสตร์ 2 ชดุ การเรียนรู้ เรอื่ ง การศึกษาประวัตศิ าสตร์และพัฒนาการของแหลง่ อารยธรรม ในภมู ภิ าคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ ชดุ ที่ 1 การนบั เวลาและชว่ งเวลาประวัตศิ าสตร์ ผังมโนทัศน์ ศูนย์การเรียนที่ 1 ความสาคัญของเวลาและช่วงเวลา การนับเวลาและชว่ งเวลา ประวัตศิ าสตร์ ศนู ยก์ ารเรยี นท่ี 2 ศนู ย์การเรยี นที่ 3 การนบั และการเปรยี บเทยี บศักราช ตวั อยา่ งการใช้เวลา ช่วงเวลา และยคุ แบบตา่ ง ๆ สมยั ทป่ี รากฏในหลกั ฐานทาง ประวตั ิศาสตร์ไทย
ชดุ ท่ี 1 การนบั เวลาและชว่ งเวลาประวตั ิศาสตร์ 3 ชดุ การเรยี นรู้ เรอ่ื ง การศกึ ษาประวตั ศิ าสตรแ์ ละพฒั นาการของแหลง่ อารยธรรม ในภูมภิ าคเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ ชดุ ท่ี 1 การนบั เวลาและช่วงเวลาประวตั ศิ าสตร์ ขนั้ ตอนการเรยี น 1. อา่ นคาแนะนาและบัตรคาส่งั 2. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน 3. ศึกษาบทเรยี นและทากิจกรรมในศูนย์การเรยี น 3 ศูนย์ ไมผ่ ่านเกณฑ์ ศนู ย์การเรียนท่ี 1 ความสาคัญของเวลาและช่วงเวลา ศนู ย์การเรยี นที่ 2 การนับและการเปรียบเทยี บศักราชแบบต่าง ๆ ศูนย์การเรยี นท่ี 3 ตวั อย่างการใช้เวลา ชว่ งเวลา และยคุ สมยั ท่ี ปรากฏในหลกั ฐานทางประวัติศาสตร์ไทย 4. ทาแบบทดสอบหลังเรยี น การประเมนิ ผล ศกึ ษาชุดท่ี 2 ถดั ไป ผา่ นเกณฑ์
ชุดท่ี 1 การนับเวลาและชว่ งเวลาประวตั ิศาสตร์ 4 คาแนะนาสาหรับนกั เรียน 1. ชดุ การเรยี นรู้ ชดุ ที่ 1 ใชเ้ วลา 2 ชั่วโมง 2. นักเรียนแบ่งกลุ่ม เลือกประธาน กรรมการ และเลขานุการกลุ่มและตาแหน่งต่าง ๆ เพ่อื แบ่งหน้าท่ีรับผดิ ชอบ 3. ตวั แทนกลุ่มแจกแบบฝกึ ปฏิบัตปิ ระจาศนู ยก์ ารเรยี นท่ี 1, 2 และ 3 ใหก้ บั สมาชิก 4.ในแต่ละศูนยก์ ารเรียนนักเรียนจะได้รับซองเอกสารและอุปกรณ์ประกอบกิจกรรมจาก ครูดังนี้ 4.1 คาแนะนา 4.2 บตั รคาสงั่ 4.3 บตั รเนอื้ หา 4.4 บตั รกจิ กรรม 4.5 บตั รเฉลยกจิ กรรม 4.6 บตั รคาถาม 4.7 บัตรเฉลยคาถาม 4.8 แบบฝึกปฏบิ ัติ 5. นักเรียนมีเวลาสาหรับการปฏบิ ัติกิจกรรมในศูนย์การเรียน ศูนย์การเรียนละ 40 นาที 6. กิจกรรมที่นกั เรียนตอ้ งปฏิบตั ิ 6.1 ก่อนศึกษาชุดการเรียนรู้น้ี นักเรียนต้องอ่านคู่มือการใช้ชุดการเรียนรู้และปฏิบัติ กจิ กรรมตามลาดับข้ันตอนด้วยความต้ังใจ 6.2 ขณะศกึ ษาชุดการเรยี นรู้นี้ นักเรียนต้องปฏิบัติกิจกรรม และสังเกตจากบัตรคาสั่ง บัตรเนอื้ หา บตั รกจิ กรรม และบัตรคาถาม ตามลาดบั 6.3 นกั เรยี นตอบคาถามลงในแบบฝึกปฏิบัติท่คี รแู จกให้ 7. การประเมินผลหลงั เรยี น เม่ือนกั เรียนปฏบิ ัติกิจกรรมตามกาหนดจบแลว้ ครผู สู้ อนจะ ประเมนิ ผลจากแบบทดสอบหลงั เรียน ชดุ ที่ 1
ชุดท่ี 1 การนับเวลาและช่วงเวลาประวตั ิศาสตร์ 5 แบบทดสอบกอ่ นเรยี น รายวชิ า ประวตั ศิ าสตร์ 1 เร่ือง การศึกษาประวตั ิศาสตรแ์ ละพัฒนาการของแหล่ง รหัสวชิ า ส21102 อารยธรรมในภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 ชุดที่ 1 การนบั เวลาและช่วงเวลาประวัติศาสตร์ คาชีแ้ จง ให้นกั เรียนเลือกคาตอบที่ถกู ทีส่ ดุ เพียงขอ้ เดียวโดยทาเครือ่ งหมายกากบาท () ลงในกระดาษคาตอบ 1. ข้อใดมคี วามสาคญั และเกยี่ วข้องกับการดาเนนิ ชีวิตของคนเรา ก. วนั และเดอื น ข. เวลาและปี ค. สถานที่ วนั เดือน ง. วนั และเวลา 2. ช่วงเวลา เชน่ ศกั ราช วัน เดือน ปี ช่วั โมง นาที ยคุ สมัย มีไวเ้ พื่อวัตถุประสงคใ์ นขอ้ ใด ก. เพื่อให้รวู้ ่ามีเหตุการณใ์ ดเกดิ ขน้ึ บ้าง ข. เพื่อให้รวู้ า่ มีเหตกุ ารณ์นนั้ เกิดข้นึ เม่ือใด ค. เพือ่ ให้รู้วา่ เหตกุ ารณ์นัน้ มีความสาคญั อย่างไร ง. เพอ่ื สามารถเปรียบเทียบชว่ งเวลาของการเกิดเหตุการณ์นั้น ๆ 3. เวลาและชว่ งเวลาทางประวัติศาสตรม์ ไิ ด้หมายถึงเฉพาะเวลาและช่วงเวลาท่เี ห็นหรือแปลออกมา เปน็ ตัวเลข แตย่ ังหมายรวมถงึ ส่ิงใด ก. สภาพภมู ิศาสตร์ ข. ระบอบการปกครอง ค. ปจั จัยแวดลอ้ มต่าง ๆ ของสังคมนนั้ ในขณะน้นั ง. ส่งิ ท่มี อี ิทธิพลตอ่ พฤติกรรมของมนษุ ยใ์ นสงั คมน้ัน ณ เวลาใดเวลาหนง่ึ 4. ข้อใดเปน็ การบอกเวลาในประวัตศิ าสตร์ ก. อาณาจกั รลา้ นนาเจริญสงู สุดในสมัยพระเจ้าติโลกราช ข. พอ่ ขุนรามคาแหงมหาราชประดษิ ฐ์อักษรไทยเมื่อ พ.ศ. 1826 ค. อาณาจกั รขอมร่งุ เรอื งขึ้นในสมัยพระเจา้ อศิ านวรมัน (พ.ศ.1159-1169) ง. สมยั ธนบุรี ต้งั แต่ พ.ศ. 2310-2325 เป็นสมยั ของการฟ้ืนฟูบ้านเมอื งหลงั เสยี กรุงศรีอยธุ ยา
ชดุ ที่ 1 การนับเวลาและช่วงเวลาประวตั ศิ าสตร์ 6 5. ข้อใดไม่ใช่การบอกชว่ งเวลาในประวัตศิ าสตร์ ก. ในช่วง พ.ศ.1835-1840 สโุ ขทัยสง่ คณะฑตู พรอ้ มเครอื่ งบรรณาการไปจีน ข. อาณาจกั รโคตรบูรณ์ (พทุ ธศตวรรษที่ 12 – 16) มีศนู ย์กลางอยู่ที่นครพนม ค. สุโขทยั ตกเป็นเมืองขึ้นของอยุธยาซงึ่ ตรงกบั สมยั พระอินราชา (พ.ศ. 1952-1967) ง. ใน พ.ศ. 1999 มกี ารใชเ้ งนิ “บาท” เป็นเงินตราสาหรับเป็นส่ือกลางใชแ้ ลกเปล่ียน 6. ข้อใดไม่ใช่ความสาคญั ของเวลาและชว่ งเวลา ก. บอกให้รูว้ ่าเหตุการณ์ต่าง ๆ เกดิ ขนึ้ หรือสนิ้ สดุ ในเวลาใด ชว่ งเวลาใด ข. บอกใหร้ ้วู ่าเหตุการณ์ต่าง ๆ เกดิ ขน้ึ มานานเทา่ ใดแล้วเม่ือนับถึงปัจจุบนั ค. บอกใหร้ วู้ ่าเหตกุ ารณต์ า่ ง ๆ ท่เี กดิ ข้นึ ในเวลาน้ันเป็นเหตุการณท์ เ่ี กิดขึ้นจริง ง. บอกใหร้ วู้ า่ เหตุการณต์ ่าง ๆ เหตุการณใ์ ดเกดิ ขน้ึ ก่อน-หลังเม่อื เปรยี บเทียบกบั เหตกุ ารณ์อน่ื 7. การนับเวลาแบบจันทรคติมลี ักษณะตามข้อใด ก. วนั ทางจันทรคติในเดือนหน่ึง ๆ มี 31 วนั ข. วนั ทางจันทรคตินับเปน็ วนั ข้ึนกค่ี า่ หรือวันแรมกีค่ ่า ค. จนั ทรคตนิ ับวันและเดือนโดยถอื ตาแหนง่ ดวงอาทิตย์เป็นหลัก ง. เดือนทางจนั ทรคติมี 12 เดือน คอื เดือนมกราคมเร่ือยไปถงึ เดือนธนั วาคม 8. ขอ้ ใดไมใ่ ช่การนับเวลาแบบสุริยคติ ก. สรุ ยิ คตนิ ับวนั และเดือนโดยถือตาแหน่งดวงจันทร์เปน็ หลัก ข. เวลา 1 ปี ทางสุริยคติมี 365 วัน และทุก 4 ปี มี 366 วัน ค. วนั ทางสุริยคตนิ บั เป็นวันท่ี 1, 2, 3,... เรื่อยไปในเดือนหนึ่ง ๆ มีวนั ไมเ่ กิน 31 วัน ง. เดอื นทางสุริยคตมิ ี 12 เดอื น คือ เดือนมกราคม เดือนกุมภาพนั ธ์ เร่ือยไปถึงเดือนธันวาคม 9. ประเทศไทยใช้การนับเวลาแบบจันทรคติตงั้ แตส่ มัยใด ก. สมยั สมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช ข. สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อย่หู ัว ค. สมัยพระบาทสมเดจ็ พระปกเกล้าเจา้ อย่หู วั ง. สมยั พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยหู่ วั 10. การเทยี บศกั ราชมปี ระโยชน์ต่อการศึกษาประวตั ศิ าสตร์อยา่ งไร ก. กระตุ้นใหค้ นหันมาสนใจประวตั ศิ าสตร์ ข. เรยี นร้ปู ระวัติศาสตร์ไดอ้ ย่างมีความหมายและเขา้ ใจมากขน้ึ ค. เนน้ ให้ตระหนกั ถงึ ความสาคัญของการศกึ ษาประวตั ิศาสตร์ ง. สร้างจติ สานึกใหม้ ีการอนุรกั ษห์ ลกั ฐานทางประวัติศาสตร์
ชุดท่ี 1 การนับเวลาและช่วงเวลาประวตั ศิ าสตร์ 7 เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรยี น รายวชิ า ประวตั ิศาสตร์ 1 เรอื่ ง การศกึ ษาประวตั ิศาสตรแ์ ละพฒั นาการของแหลง่ รหสั วชิ า ส21102 อารยธรรมในภมู ิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้ ชั้น มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 ชดุ ที่ 1 การนับเวลาและชว่ งเวลาประวตั ิศาสตร์ 1. ง 2. ข 3. ค 4. ข 5. ง 7. ข 8. ก 9. ก 10. ข
ชดุ ที่ 1 การนบั เวลาและชว่ งเวลาประวตั ศิ าสตร์ 8 รายวิชา ประวตั ศิ าสตร์ 1 เร่ือง การศึกษาประวตั ศิ าสตรแ์ ละพฒั นาการของแหลง่ รหัสวิชา ส21102 อารยธรรมในภูมภิ าคเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ ชั้น มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 ชุดที่ 1 การนบั เวลาและช่วงเวลาประวตั ศิ าสตร์ ศูนยก์ ารเรียนที่ 1 ความสาคญั ของเวลาและชว่ งเวลา
ชุดที่ 1 การนับเวลาและชว่ งเวลาประวตั ศิ าสตร์ 9 รายวชิ า ประวตั ิศาสตร์ 1 เรอ่ื ง การศึกษาประวตั ิศาสตร์และพัฒนาการของแหล่ง รหัสวิชา ส21102 อารยธรรมในภูมภิ าคเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 ชดุ ท่ี 1 การนบั เวลาและช่วงเวลาประวัตศิ าสตร์ บตั รคาส่งั ให้นกั เรียนอ่านบัตรคาสัง่ แล้วปฏิบตั ิตามขนั้ ตอน ดังนี้ 1. หวั หน้ากลุ่มอ่านบัตรคาสง่ั ให้สมาชกิ ฟงั และควบคุมกจิ กรรมให้เปน็ ไปตาม บตั รคาสงั่ 2. หวั หนา้ กลุ่มแจกบตั รเน้ือหาให้ทกุ คนได้ศึกษา 3. ศึกษาบัตรเนื้อหาท่ีอยู่ในศูนย์การเรียนที่ 1 ความสาคัญของเวลาและช่วงเวลา ใหเ้ ข้าใจ 4. สมาชกิ ในกล่มุ ร่วมกนั อภปิ รายเกี่ยวกบั เน้อื หา 5. อ่านบัตรกิจกรรมให้เขา้ ใจ แลว้ ลงมอื ปฏบิ ัติในแบบฝกึ ปฏิบัติ 6. ตรวจคาตอบจากบตั รเฉลยกิจกรรม 7. อ่านบตั รคาถาม ตอบคาถามลงในแบบฝึกปฏบิ ัติ 8. ตรวจคาตอบจากบตั รเฉลยคาถาม พร้อมท้งั บันทกึ ผลการตรวจคาตอบ ลงใน แบบฝึกปฏิบตั ิ เมอื่ ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมในศูนยก์ ารเรยี นนี้เรยี บร้อยแลว้ เก็บบตั รทุกชนดิ และ อุปกรณท์ ุกอย่างใหเ้ รยี บร้อย ก่อนไปปฏิบัตกิ ิจกรรมในศนู ยก์ ารเรียนชดุ ต่อไป
ชดุ ท่ี 1 การนับเวลาและชว่ งเวลาประวตั ิศาสตร์ 10 รายวชิ า ประวัตศิ าสตร์ 1 เร่อื ง การศกึ ษาประวตั ศิ าสตรแ์ ละพฒั นาการของแหลง่ รหัสวชิ า ส21102 อารยธรรมในภมู ภิ าคเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้ ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 ชุดที่ 1 การนบั เวลาและชว่ งเวลาประวตั ศิ าสตร์ บัตรเน้อื หา ประวัติศาสตร์ เป็นเร่อื งราวการเรียนรู้อดีตของมนุษยชาติ ท่ีมีความสอดคล้องเกี่ยวข้องกับ เหตุการณ์ในปัจจุบัน ทั้งนี้ย่อมเชื่อมโยงถึงเหตุการณ์ท่ีกาลังจะเกิดข้ึนในอนาคตอีกด้วย การศึกษา คน้ คว้าให้ได้มาซ่งึ ข้อเทจ็ จรงิ ทางประวตั ิศาสตรจ์ าเป็นอย่างยิ่ง ท่ีจะต้องเข้าใจและทราบความหมาย และความสาคญั ของคาว่า ประวัติศาสตรก์ อ่ น เพ่ือใหก้ ารศกึ ษาค้นควา้ เป็นไปได้อยา่ งถูกตอ้ ง ประวัติศาสตร์ หมายถึง การศึกษาค้นคว้าหาข้อมูล ข้อเท็จจริง ร่องรอยท่ีเก่ียวข้องกับ เหตุการณ์ต่าง ๆ ท่ีเกิดขึ้นในอดีต รวมถึงวิวัฒนาการของสังคมมนุษย์ สภาพแวดล้อมตั้งแต่ อดีต จนถึงปัจจุบันและอนาคต ประวัติศาสตร์ยังเป็นตัวเช่ือมโยงกาลเวลาต่าง ๆ เข้าด้วยกัน เป็นส่วน ช่วยในการตัดสินปัญหาและปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ประวัติศาสตร์จัดอยู่ ในกลุ่มวิชา สังคมศาสตร์เช่นเดียวกับรัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ ภูมิศาสตร์ สังคมวิทยา และมนุษยวิทยา ประวัติศาสตร์มีความสาคัญต่อมนุษย์ในด้านการเรียนรู้ถึงพฤติกรรม สภาพแวดล้อม กาลเวลา สถานท่ี โดยแตล่ ะเหตกุ ารณท์ ่เี กิดข้นึ อาจมคี วามแตกต่างกนั หรือ มีความสมั พันธต์ อ่ กนั ได้ การศึกษาประวัติศาสตร์มีความสาคัญมากสาหรับผู้ท่ีศึกษาค้นคว้าเรื่องราวในอดีต ทั้งน้ี เพื่อตรวจสอบและประเมินคุณค่าของหลักฐานทางประวัติศาสตร์บางส่วนที่อาจยังไม่สมบูรณ์ไม่ ถูกต้อง ไม่น่าเชื่อถือ และไม่เที่ยงธรรม ฉะน้ัน การศึกษาค้นคว้าเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ ทเ่ี กิดขึน้ จาเป็นตอ้ งศกึ ษาอยา่ งมีขนั้ ตอน วิธกี ารทางประวตั ิศาสตร์ชว่ ยใหส้ ามารถเขียน และอธิบาย เรยี บเรียงเหตกุ ารณต์ ่าง ๆ เพื่อนาเสนอในสิ่งทคี่ ้นพบไดอ้ ย่างถกู ตอ้ งตามข้อเท็จจริง และใช้บทเรียน ในอดีตมาเป็นประสบการณ์ในการตัดสินปัญหาให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม พฤติกรรมของ สังคมในปัจจุบัน รวมไปถงึ อนาคตด้วย
ชุดที่ 1 การนับเวลาและชว่ งเวลาประวัตศิ าสตร์ 11 ความสมั พันธข์ องอดีต ปจั จุบนั และอนาคต ประวัติศาสตร์มีความสาคัญต่อการดาเนินชีวิตของเรามาก อดีตเป็นตัวกาหนด เหตุการณ์ ในปัจจุบัน เพราะไม่ว่าเราจะทา อะไรไว้ในอดีตที่ผ่านมา ย่อมส่งผลกระทบ ถึงปัจจุบันด้วย และ การกระทาใด ๆในปัจจุบัน ย่อมส่งผลเป็นไปถึงอนาคตเช่นเดียวกัน เราอาจเคยได้ยินคาว่า “ประวัติศาสตร์ซ้ารอย” ซึ่งหมายถึง เหตุการณ์เดิม ๆ ย่อมเกิดซ้าข้ึนอีก แต่หากเราเข้าใจใน ความสัมพันธ์ของอดีต ปัจจุบัน และอนาคต แล้ว ย่อม เข้าใจว่า ประวัติศาสตร์ไม่มีทางซ้ารอยเดิม ได้ เพราะ ปัจจัยต่าง ๆ เช่น สถานที่ สภาพแวดล้อม ทางสังคม และลักษณะทางภูมิศาสตร์ ย่อมมี ความเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา อีกท้ังมนุษย์เรามีความคิดอ่าน ต้องถือเอาข้อผิดพลาดในอดีต เป็นบทเรียน ไม่ทาผิดในส่ิงที่เคย ผิดพลาดไปแล้ว และต้องหาทางป้องกันและแก้ไขเหตุการณ์ที่ กาลังจะเกิดข้ึน เช่น หากเรา ไม่รู้จักรู้รักสามัคคีกัน อาจต้องเสียบ้านเมืองเหมือนคราวเสียกรุงศรี อยุธยาให้แก่พม่าเปน็ ได้ ความสาคัญของเวลาและช่วงเวลา ประวัติศาสตร์เป็นเรื่องที่เกิดข้ึนแล้วในอดีต ซึ่งมีความแตกต่างกันตามเวลาและสถานที่ สิ่งแวดล้อมต่าง ๆ ล้วนต้องมีความสัมพันธ์เช่ือมโยงถึงกันไม่ว่าอดีตปัจจุบันหรืออนาคต ดังนั้น นักประวัติศาสตรจ์ ึงมวี ธิ ีการนับเวลาโดยการนบั เปน็ วัน เดอื น ปี ทศวรรษ ศตวรรษ และ สหัสวรรษ นอกจากน้ียงั แบง่ ชว่ งเวลาทีม่ ีเหตุการณท์ างประวตั ิศาสตร์รว่ มกันเป็นยุคสมัย เช่น ยุคหินเก่า ยุคหิน กลาง ยุคหินใหม่ และยังรวมไปถึงสมัยสุโขทัย สมัยอยุธยา และสมัยธนบุรี เป็นต้น ในการศึกษา ประวัติศาสตร์นอกจากเกี่ยวข้องกับเวลาและยุคสมัยแล้ว การใช้วิธีการ ทางประวัติศาสตร์ใน การศึกษาค้นคว้าย่อมมีความสาคัญเช่นเดียวกัน เพราะช่วยให้เกิดความเข้าใจและสามารถศึกษา เรื่องราวประวัติศาสตร์ใต้อย่างถูกต้องแม่นยา ซึ่งต้องอาศัย หลักฐานข้อมูลที่มีความน่าเชื่อถือและ ยังรวมไปถึงการวิเคราะห์เหตุผลและข้อมูลได้อย่างเป็นระบบ เวลามีความสาคัญต่อการศึกษา เร่ืองราวในประวัติศาสตร์ การกาหนดช่วงเวลาช่วยให้ นักประวัติศาสตร์และผู้ท่ีสนใจสามารถ ศึกษาและทาความเข้าใจว่าเหตุการณ์ท่ีเกิดขึ้นในอดีตนี้ เกิดข้ึนมาต้ังแต่เม่ือใด สมัยใด ยุคใด และ สนิ้ สดุ ลงเมอื่ ใด ซึ่งเม่อื นามารวมกบั การวิเคราะห์ หลักฐานและข้อมูลรวมท้ังข้อเท็จจริงต่าง ๆ แล้ว จะช่วยให้เราเขา้ ใจถึงเรื่องราวหรอื เหตกุ ารณ์ในอดีตที่มีความสอดคล้องกับเวลาและสภาพแวดล้อม ในชว่ งน้นั อย่างถูกต้อง ดังนน้ั เวลาและช่วงเวลาจึงมีความสาคญั ดงั น้ี 1. บอกให้รวู้ า่ เหตกุ ารณ์ตา่ ง ๆ เกดิ ข้ึนหรอื สิน้ สุดในเวลาใด ช่วงเวลาใด 2. บอกให้รวู้ ่าเหตกุ ารณต์ ่าง ๆ เกิดขน้ึ มานานเท่าใดแลว้ เมอ่ื นับถงึ ปัจจุบัน
ชุดท่ี 1 การนับเวลาและชว่ งเวลาประวตั ิศาสตร์ 12 3. บอกให้รู้ว่าเหตุการณ์ต่าง ๆ เหตุการณ์ใดเกิดข้ึนก่อน หรือหลัง เม่ือเปรียบเทียบกับ เหตกุ ารณอ์ ่นื ๆ 4. บอกให้รู้ถึงความสัมพันธ์หรือเกี่ยวข้องของเหตุการณ์ประวัติศาสตร์เพราะอยู่ในเวลา หรอื ชว่ งเวลาใกล้เคยี งกัน 5. ทาให้เข้าใจและวิเคราะห์เหตุการณ์ต่าง ๆ ในประวัติศาสตร์ได้ดีข้ึนเพราะกาลเวลาท่ี เปลี่ยนแปลงหรือผ่านมา มนุษย์มีพัฒนาการ มีความเจริญรุ่งเร่ืองข้ึน ทาให้มนุษย์ ประดษิ ฐ์คิดค้นสิง่ ต่าง ๆ ได้ดยี ิง่ ข้ึน การแบ่งเวลา มนุษย์รู้จักการแบ่งเวลาและการนับเวลามาตั้งแต่สมัยโบราณ โดยเริ่มจากการสังเกต ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ เช่น การหมุนรอบตัวเองของโลกทาให้เกิดกลางวัน กลางคืน การโคจร ของโลกรอบดวงอาทิตย์ทาให้เกิดฤดูกาลต่าง ๆ และการโคจรของดวงจันทร์รอบโลกทาให้เกิด ข้างข้ึน ข้างแรมเป็นต้น ความเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดขึ้นจากปรากฏการณ์ทางธรรมชาติเหล่านี้ ทาให้ มนุษย์แบ่งช่วงเวลาออกเปน็ วนั เดอื น ปี ดงั น้ี วัน ปรากฏการณ์ที่โลกหมุนรอบตัวเอง 1 รอบ ทาให้มนุษย์เห็นดวงอาทิตย์ข้ึน ดวงอาทิตย์ ตกกลางคืน และดวงอาทิตย์ข้ึนใหม่อีกคร้ัง มนุษย์ได้กาหนดการหมุนรอบตัวเองของโลก 1 รอบ เทา่ กบั 1 วัน หรือ 24 ชว่ั โมง เดือน ปรากฏการณ์ท่ีดวงจันทร์โคจรรอบโลก 1 รอบ ทาให้มนุษย์มองเห็นดวงจันทร์จาก เต็มดวงค่อย ๆ แหว่งเว้าไปจนมืดมิด จากนั้นจึงค่อย ๆ ปรากฏข้ึนอีกจนเต็มดวง ช่วงเวลาการโคจร รอบโลกของดวงจนั ทร์ 1 รอบ เท่ากบั 1 เดือน หรือประมาณ 29.53 วัน ปี ปรากฏการณ์ท่ีโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ 1 รอบ ทาให้มนุษย์สังเกตเห็นปรากฏการณ์ ของฤดูกาลต่าง ๆ ท่ีหมุนเปลี่ยนไปจนครบรอบ ซึ่งเท่ากับช่วงเวลา 1 ปี เป็นเวลา 12 เดือน หรือ ประมาณ 365.24 วนั นอกจากน้ีมนุษย์ยังแบ่งช่วงเวลาย่อยๆ ออกเป็นปักษ์ เท่ากับ 14 หรือ 15 วัน จาก ช่วงเวลาท่ีดวงจันทร์เริ่มปรากฏจนถึงดวงจันทร์เต็มดวง และช่วงเวลาท่ีดวงจันทร์เร่ิมเว้าแหว่ง จนถึงดวงจันทร์มืดมิด หรือแบ่งย่อยเป็นสัปดาห์ เท่ากับ 7 วัน ซ่ึงชาวตะวันตกกาหนดข้ึนเพื่อ ความสะดวกในการกาหนดช่วงเวลา โดยให้ชื่อวันในสัปดาห์จากชื่อดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และ ดาวพระเคราะหต์ ่างๆ ท่มี นษุ ยร์ ู้จักในขณะนัน้
ชดุ ที่ 1 การนบั เวลาและช่วงเวลาประวตั ศิ าสตร์ 13 จะเห็นว่า การแบ่งและนับช่วงเวลาของมนุษย์จากปรากฏการณ์ทางธรรมชาติเกิดข้ึนจาก ดวงอาทิตยแ์ ละดวงจนั ทร์ เราจงึ เรยี กการแบ่งเวลาท่ีเกิดข้ึนจากดวงอาทิตย์ว่าเวลาทางสุริยคติ และ การแบง่ เวลาทเี่ กดิ ข้ึนจากดวงจนั ทร์ว่าเวลาทางจันทรคติ เคร่ืองมือในการบอกเวลา ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติก่อให้เกิดการแบ่งเวลาดังกล่าวมาข้างต้น ประกอบกับการอยู่ รว่ มกนั ของมนษุ ย์ ทาให้มนุษย์ต้องกาหนดกติกาต่างๆ ท่ีจะนามาใช้ร่วมกัน เง่ือนไขเกี่ยวกับเวลา จึงเป็นกติกาอันหนึ่งในสังคมมนุษย์ ท้ังน้ีเพ่ือประโยชน์ในการนัดหมาย การบันทึก การบอกเล่า เรื่องราว และการคาดคะเนปรากฏการณ์ธรรมชาติท่ีเคยเกิดข้ึนอย่างสม่าเสมอ ดังนั้นเครื่องมือใน การบอกเวลาหรือแบ่งเวลา จึงได้ถูกคิดค้นข้ึนและพัฒนาสืบต่อมาจนถึงปัจจุบัน ได้แก่ นาฬิกา และปฏิทนิ นาฬิกา ได้รับการคิดค้นและพัฒนาจากส่ิงประดิษฐ์ที่ต้องพึ่งพาธรรมชาติ ได้แก่ นาฬิกา แดด และนาฬกิ าน้า ซงึ่ ต่อมาได้พัฒนามาเป็นนาฬิกาจักรกล และนาฬิกาอิเล็กทรอนิกส์ในปัจจุบัน โดยแบง่ หนว่ ยเวลาออกเปน็ ชวั่ โมง นาที และวนิ าที ปฏทิ นิ คอื ระบบการจดั แบง่ กาลเวลาทีต่ อ่ เนื่องยาวนานก็เป็นอีกส่ิงหนึ่งที่มนุษย์คิดค้นข้ึน เพื่อใชเ้ ป็นกติกาในการจัดแบ่งช่วงเวลา โดยมีหน่วยเป็นวัน เดือน ปี และวันในสัปดาห์ บางครั้ง ก็มีการระบุข้างข้ึนขา้ งแรม วันสาคัญ และศักราชต่างๆ ลงในปฏทิ ินดว้ ย ปฏทิ ินโบราณของฮินดู https://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/0/04/Hindu_calendar_1871-72.jpg
ชุดท่ี 1 การนบั เวลาและช่วงเวลาประวตั ศิ าสตร์ 14 รายวชิ า ประวตั ศิ าสตร์ 1 เรื่อง การศึกษาประวตั ิศาสตรแ์ ละพัฒนาการของแหล่ง รหัสวิชา ส21102 อารยธรรมในภูมิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 ชุดที่ 1 การนบั เวลาและชว่ งเวลาประวัตศิ าสตร์ บตั รกจิ กรรม คาชี้แจง ให้นักเรียนศึกษาบตั รเนื้อหา และรว่ มกันอภิปรายเกย่ี วกับความสาคัญของเวลาและ ชว่ งเวลาและตอบคาถามต่อไปน้ีในแบบฝกึ ปฏบิ ัติ 1. ให้นักเรียนบอกความสาคัญของเวลามาพอเขา้ ใจ 2. ประวตั ศิ าสตร์มคี วามสาคัญต่อการดาเนนิ ชีวติ ของเราอยา่ งไร 3. เพราะเหตุใดชว่ งเวลาทั้งอดีต ปัจจุบัน และอนาคต จงึ มคี วามสมั พนั ธก์ นั
ชุดที่ 1 การนับเวลาและช่วงเวลาประวัตศิ าสตร์ 15 รายวิชา ประวตั ศิ าสตร์ 1 เรอ่ื ง การศกึ ษาประวัตศิ าสตร์และพฒั นาการของแหลง่ รหสั วชิ า ส21102 อารยธรรมในภูมภิ าคเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้ ชั้น มัธยมศึกษาปที ี่ 1 ชุดที่ 1 การนบั เวลาและชว่ งเวลาประวัติศาสตร์ เฉลยบัตรกจิ กรรม คาชแ้ี จง ให้นกั เรียนศกึ ษาบัตรเนอ้ื หา และร่วมกันอภิปรายเกยี่ วกับความสาคัญของเวลาและ ช่วงเวลาและตอบคาถามต่อไปนี้ในแบบฝึกปฏบิ ตั ิ 1. ให้นักเรยี นบอกความสาคญั ของเวลามาพอเข้าใจ เป็นส่ิงทบี่ อกเวลาการเกดิ และสนิ้ สุดของเหตกุ ารณใ์ ดเหตุการณห์ นึ่งเป็นสง่ิ ทด่ี าเนนิ ไป สอดคลอ้ งกับธรรมชาตเิ ป็นนามธรรมทไี่ มส่ ามารถจับต้องได้และเปน็ สง่ิ ท่ีดาเนินไปโดยไม่หยดุ นิ่ง 2. ประวัติศาสตรม์ ีความสาคัญต่อการดาเนินชีวิตของเราอย่างไร ประวัติศาสตร์มีความสาคัญต่อการดาเนินชีวิตของเรามาก เพราะ อดีตเป็นตัวกาหนด เหตุการณ์ปัจจุบัน ไม่ว่าเราทาอะไรไว้ในอดีตท่ีผ่านมา ย่อมส่งผลกระทบถึงปัจจุบันด้วยและการ กระทาใด ๆ ในปัจจุบันย่อมส่งผลเป็นไปถึงอนาคตเช่นเดียวกัน เราอาจเคยได้ยินคาว่า “ประวัติศาสตร์ซ้ารอย” ซ่ึงหมายถึงเหตุการณ์เดิม ๆ ย่อมเกิดขึ้นซ้ากันอีก แต่หากเราเข้าใจใน ความสัมพนั ธ์ของอดีต ปัจจุบัน และอนาคตแล้ว ย่อมเข้าใจว่า ประวัติศาสตร์ไม่มีทางซ้ารอยเดิม ได้ เพราะปจั จยั ต่าง ๆ เชน่ สถานที่ สภาพแวดล้อมทางสงั คม และลกั ษณะภมู ิศาสตร์ ย่อมมีความ เปลยี่ นแปลงไปตามกาลเวลา 3. เพราะเหตใุ ดช่วงเวลาทั้งอดีต ปจั จุบนั และอนาคต จงึ มีความสมั พนั ธ์กัน ช่วงเวลาทั้งอดีต ปัจจุบัน และอนาคต มีความสัมพันธ์กัน เพราะ เวลาบอกให้ทราบถึงการ เปลี่ยนแปลงและความต่อเนื่อง สิ่งที่เกิดขึ้นในแต่ละช่วงเวลา มีผลสัมพันธ์และเชื่อมโยงถึงกัน ไม่ว่าอดีต ปัจจุบัน และอนาคต นักประวัติศาสตร์มีวิธีนับเวลาโดยการนับเป็นวัน เดือน ปี ทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ การกาหนดช่วงเวลาช่วยให้นักประวัติศาสตร์และผู้ที่สนใจ สามารถศึกษาและทาความเข้าใจวา่ เหตกุ ารณ์ทเ่ี กดิ ขน้ึ ในอดีตน้ันเกิดมาต้ังแต่เม่ือใด สมัยใด ยุคใด และสิน้ สดุ ลงเม่ือใด
ชุดท่ี 1 การนับเวลาและช่วงเวลาประวตั ศิ าสตร์ 16 รายวชิ า ประวตั ิศาสตร์ 1 เรอ่ื ง การศกึ ษาประวตั ิศาสตรแ์ ละพฒั นาการของแหลง่ รหัสวชิ า ส21102 อารยธรรมในภมู ิภาคเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 ชดุ ที่ 1 การนบั เวลาและชว่ งเวลาประวตั ศิ าสตร์ บตั รคาถาม คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกตอบ ถูก หน้าข้อความที่ถูก ผิด หน้าข้อความท่ีผิดโดยนาไป ตอบลงในแบบฝึกปฏิบตั ิ (จานวน 5 ขอ้ ) .................1. เวลา 1 ปักษ์ เทา่ กบั 15 วัน .................2. เครื่องมือในการบอกเวลา นาฬิกา เสียงตุ๊กแกร้อง .................3. การโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์ทาให้เกิดข้างขึ้นขา้ งแรม .................4. ความสาคัญของเวลาและช่วงเวลาบอกใหร้ วู้ า่ เหตุการณต์ ่าง ๆ เหตกุ ารณ์ใดเกิดขึ้นก่อน หรือหลงั .................5. มนษุ ยร์ ูจ้ กั การแบ่งเวลาและการนบั เวลามาตั้งแตส่ มยั โบราณ โดยเริ่ม จากการสงั เกตปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ
ชุดที่ 1 การนับเวลาและชว่ งเวลาประวตั ศิ าสตร์ 17 รายวิชา ประวัติศาสตร์ 1 เร่ือง การศกึ ษาประวัติศาสตรแ์ ละพฒั นาการของแหล่ง รหสั วิชา ส21102 อารยธรรมในภมู ภิ าคเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 ชุดที่ 1 การนบั เวลาและชว่ งเวลาประวตั ศิ าสตร์ เฉลยบัตรคาถาม คาช้ีแจง ให้นักเรียนเลือกตอบ ถูก หน้าข้อความที่ถูก ผิด หน้าข้อความท่ีผิดโดยนาไป ตอบลงในแบบฝึกปฏิบัติ (จานวน 5 ข้อ) 1. เวลา 1 ปักษ์ เท่ากบั 15 วัน 2. เครื่องมือในการบอกเวลา นาฬิกา เสียงตุ๊กแกร้อง 3. การโคจรของโลกรอบดวงอาทติ ย์ทาใหเ้ กิดข้างขึ้นขา้ งแรม 4. ความสาคัญของเวลาและช่วงเวลาบอกใหร้ ู้วา่ เหตกุ ารณ์ตา่ ง ๆ เหตกุ ารณใ์ ดเกดิ ข้ึนกอ่ น หรือหลัง 5. มนุษย์รจู้ ักการแบ่งเวลาและการนบั เวลามาต้ังแตส่ มัยโบราณ โดยเร่ิมจากการสังเกตปรากฏการณท์ างธรรมชาติ
ชุดท่ี 1 การนบั เวลาและชว่ งเวลาประวตั ิศาสตร์ 18 รายวิชา ประวัติศาสตร์ 1 เรื่อง การศึกษาประวัตศิ าสตร์และพัฒนาการของแหลง่ รหัสวิชา ส21102 อารยธรรมในภูมิภาคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 ชุดท่ี 1 การนับเวลาและชว่ งเวลาประวตั ิศาสตร์ ศนู ย์การเรยี นที่ 2 การนับและการเปรียบเทียบศักราชแบบตา่ ง ๆ
ชดุ ที่ 1 การนบั เวลาและชว่ งเวลาประวตั ศิ าสตร์ 19 รายวิชา ประวัตศิ าสตร์ 1 เรื่อง การศึกษาประวัตศิ าสตร์และพฒั นาการของแหล่ง รหัสวชิ า ส21102 อารยธรรมในภมู ภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ชั้น มัธยมศึกษาปที ี่ 1 ชดุ ที่ 1 การนับเวลาและช่วงเวลาประวัติศาสตร์ บัตรคาส่ัง ใหน้ กั เรยี นอ่านบัตรคาสัง่ แล้วปฏิบัติตามข้ันตอน ดงั นี้ 1. หัวหน้ากลมุ่ อา่ นบัตรคาสัง่ ใหส้ มาชิกฟังและควบคมุ กิจกรรมให้เปน็ ไปตามบัตร คาสัง่ 2. หัวหนา้ กล่มุ แจกบัตรเนอื้ หาใหท้ ุกคนไดศ้ กึ ษา 3. ศึกษาบัตรเนื้อหาท่ีอยู่ในศูนย์การเรียนท่ี 2 การนับและการเปรียบเทียบศักราช แบบตา่ ง ๆ 4. สมาชกิ ในกลุ่มรว่ มกนั อภิปรายเก่ียวกบั เนอ้ื หา 5. อ่านบตั รกิจกรรมให้เขา้ ใจ แลว้ ลงมือปฏบิ ตั ใิ นแบบฝกึ ปฏบิ ตั ิ 6. ตรวจคาตอบจากบตั รเฉลยกิจกรรม 7. อา่ นบัตรคาถาม ตอบคาถามลงในแบบฝกึ ปฏบิ ตั ิ 8. ตรวจคาตอบจากบัตรเฉลยคาถาม พรอ้ มทงั้ บันทกึ ผลการตรวจคาตอบ ลงใน แบบฝึกปฏิบัติ เมื่อปฏิบัตกิ ิจกรรมในศนู ยก์ ารเรียนน้ีเรียบร้อยแล้ว เก็บบตั รทุกชนิดและ อุปกรณ์ทุกอยา่ งใหเ้ รยี บร้อย กอ่ นไปปฏิบตั กิ จิ กรรมในศนู ยก์ ารเรยี นชดุ ต่อไป
ชุดท่ี 1 การนับเวลาและช่วงเวลาประวตั ิศาสตร์ 20 รายวชิ า ประวัตศิ าสตร์ 1 เร่อื ง การศกึ ษาประวตั ิศาสตร์และพฒั นาการของแหลง่ รหัสวชิ า ส21102 อารยธรรมในภมู ภิ าคเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 1 ชุดท่ี 1 การนบั เวลาและชว่ งเวลาประวัตศิ าสตร์ บตั รเนอ้ื หา การนบั เวลา การนบั เวลาในระบบสุรยิ คติ สรุ ยิ คติ หมายถงึ วธิ นี ับวันและเดอื นโดยถอื ดวงอาทิตยเ์ ป็นหลัก 1. วันทางสุริยคติ ได้แก่ วนั ที่ 1, 2, 3, ... เรือ่ ยไป ในเดือนหน่ึง ๆ มีวนั ไม่เกนิ วนั ที่ 31 2. เดือนทางสุริยคติ มี 12 เดอื นใน 1 ปี ไดแ้ ก่ 1) มกราคม 5) พฤษภาคม 9) กนั ยายน 2) กุมภาพันธ์ 6) มิถุนายน 10) ตุลาคม 3) มีนาคม 7) กรกฎาคม 11) พฤศจิกายน 4) เมษายน 8) สิงหาคม 12) ธันวาคม เดือนท่ีลงท้ายด้วย “คม” มี 31 วัน เดือนท่ีลงท้ายด้วย “ยน” มี 30 วัน ส่วนเดือน กุมภาพันธ์ ตามปกติมี 28 วนั รวมทัง้ ปไี ด้ 365 วัน เรียกปีทมี่ ี 365 วันนีว้ ่า ปปี กติ หรอื ปี ปกตสิ รุ ทนิ 3. เวลา 1 ปี คือ เวลาท่ีโลกหมุนรอบดวงอาทิตย์ 1 รอบ ประมาณ 365 วัน เวลา ในปีปกติ สุรทนิ จึงขาดไป 1 วัน เศษ 1 วันน้ีไว้เมื่อครบ 4 ปีก็จะได้นับวันเพ่ิมมาอีก 1 วัน นา วันท่ี เพ่ิมไปใส่ ในเดือนกุมภาพันธ์ ทาให้เดือนกุมภาพันธ์มี 29 วัน ในทุก ๆ 4 ปี เรียกปีนั้นว่า ปีอธิกสุรทิน มีวัน รวมท้ังปี 366 วนั การนบั เวลาในระบบจันทรคติ จันทรคติ หมายถึง วิธีนบั วันและเดอื นโดยถือเอาดวงจนั ทร์เป็นหลัก 1. วันทางจันทรคติ นับเป็นวันขึ้นกี่ค่าหรือวันแรมกี่ค่า มีชื่อเรียกว่า การนับดิถี การนับ แบบนี้เกิดจากคนโบราณสังเกตจากดวงจันทร์ท่ีมองเห็นในแต่ละคืน ว่าเปลี่ยนไปจากคืนก่อน ๆ อย่างไร และเปลี่ยนหมุนเวียนไปในลักษณะเช่นใด แล้วกาหนดวันข้ึนแรมให้สอดคล้องกับ
ชดุ ที่ 1 การนับเวลาและช่วงเวลาประวตั ศิ าสตร์ 21 สัดสว่ นของ ดวงจนั ทร์ที่ปรากฏบนท้องฟา้ คือ ข้ึน 1 ค่า, 2 ค่า, 3 ค่า, ... เริ่มเห็นดวงจันทร์สว่างข้ึนเป็นเสี้ยวเล็ก แล้วสว่างเพิ่มขึ้น จนเห็น ครึ่งดวงในวันขึ้น 8 ค่า จากนั้นเห็นเกินครึ่งดวงไปกระท่ังเห็นเต็มดวงในวันขึ้น 15 ค่า ต่อไปเป็น แรม 1 ค่า, 2 ค่า, 3 ค่า, ... ดวงจันทร์ท่ีเต็มดวงค่อย ๆ แหว่งหายไปจนเหลือคร่ึงดวงในวันแรม 8 ค่า จากน้ันเหน็ น้อยกว่าครง่ึ ดวง เห็นเปน็ เส้ียวไปจนกระทัง่ ไม่เห็นเลยในวนั แรม14-15 ค่า 2. เดือนทางจันทรคติ มี 12 เดือน คือ เดือนอ้าย, เดือนยี่, เดือน 3, เดือน 4, ... ไปถึง เดือน 12 เริ่มตน้ เดือนในวันข้นึ 1 คา่ แตว่ ันสน้ิ เดอื นแตกตา่ งกนั เป็น 2 แบบ ดังน้ี เดือนคค่ี อื เดือนอา้ ย, เดอื น 3, 5, 7, 9, 11 สิ้นเดอื นในวันแรม 14 ค่า เดือนคคู่ ือ เดือนย่,ี เดอื น 4, 6, 8, 10, 12 สิ้นเดือนในวนั แรม 15 ค่า 3. เดือนเต็ม-เดือนขาด เดือนคู่มีข้างข้ึน 15 วัน ข้างแรม 15 วัน รวมแล้วมีวันครบ 30 วัน เรียกว่า เดือนเต็ม ส่วนเดือนคี่มีข้างข้ึน 15 วัน ข้างแรม 14 วัน รวมเป็น 29 วัน ไม่เต็ม 30 วัน จึง เรียกวา่ เดือนขาด 4. ปีอธิกมาส เดือนจันทรคติใน 1 ปี รวมวันได้ 354 วัน น้อยกว่าจานวนวันในปีสุริยคติ ถึง 11 วันเศษ เพ่ือมิให้เกิดความเหลื่อมล้ากันจึงแก้ไขด้วยการปรับบางปีให้มี 13 เดือนโดยเพิ่ม เดือน 8 หลงั ไว้ตอ่ จากเดอื น 8 แรก เรยี กปที ี่มเี ดอื น 8 สองหนน้วี า่ ปีอธิกมาสหมายถงึ ปที ี่มีเดือนเพิ่ม 5. ปีอธิกวาร นอกจากเพิ่มเดือน 8 ดังกล่าวแล้ว บางปียังเพิ่มวันอีก 1 วัน ในเดือน 7 ทาให้ เดอื น 7 ปีนนั้ มีถงึ วันแรม 15 คา่ เรยี กปที ีม่ ีวนั เพ่มิ ข้นึ เชน่ นว้ี า่ ปีอธกิ วาร หมายถึง ปีทม่ี ี วันเพิม่ 6. ปีนักษัตร นักษัตรเป็นชื่อบอกรอบเวลา 12 ปี ปีนักษัตรของไทยมีรูปสัตว์เป็นสัญลักษณ์ ประจาปี ดังนี้ 1. ชวด-หนู 7. มะเมยี -ม้า 2. ฉลู-ววั 8. มะแม-แพะ 3. ขาล-เสือ 9. วอก-ลงิ 4. เถาะ-กระตา่ ย 10. ระกา-ไก่ 5. มะโรง-งูใหญ่ 11. จอ-หมา 6. มะเส็ง-งูเล็ก 12. กุน-หมู เมอ่ื ถึงปกี นุ แล้วเวยี นกลบั ไปขึน้ ตน้ รอบใหมจ่ ากปชี วดอกี
ชุดท่ี 1 การนับเวลาและชว่ งเวลาประวัตศิ าสตร์ 22 การเปรียบเทียบศักราชแบบต่าง ๆ ความหมายและความสาคัญของศักราช ศักราช คอื การกาหนดเวลาข้ึนอย่างเป็นทางการโดยการนับเป็นปี โดยกาหนดจุดเริ่มต้น ของศกั ราชที่ 1 จากเหตกุ ารณ์สาคัญทค่ี นในสังคมเข้าใจตรงกันไดง้ ่ายที่สุด โดยมักใช้ เรื่องราวหรือ เหตุการณ์สาคัญอย่างใดอย่างหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับศาสดาในศาสนาต่าง ๆ เช่น ศาสดา ใน พระพุทธศาสนา คริสต์ และอิสลาม เป็นจุดเริ่มต้นศักราช การเรียนรู้เกี่ยวกับศักราชน้ัน เป็นส่ิงท่ี ควรทาความเข้าใจ เพราะเป็นข้ันตอนที่สาคัญในการนับเวลาของเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างไม่ สับสน ในการศกึ ษาประวัติศาสตร์ในยุคสมัยต่าง ๆ จาเป็นต้องเข้าใจความหมาย ของศักราชต่าง ๆ ดว้ ย เพราะช่วยให้ทราบว่าเหตุการณ์น้ันเกิดข้ึนในปีใด การนับเวลาหรือ การเทียบเวลาของศักราช มีด้วยกนั หลายแบบ ศกั ราชทีใ่ ช้ในไทยมีดังน้ี 1. พุทธศักราช (พ.ศ.) เป็นศักราชทางพระพุทธศาสนา นิยมใช้ในประเทศที่นับถือ พระพุทธศาสนา จุดเริ่มต้นของการนับศักราชแบบพุทธศักราช คือ การเสด็จดับขันธปรินิพพาน ของพระพุทธเจ้า ซ่ึงตรงกันวันขึ้น 15 ค่าเดือน 6 ในขณะท่ีทรงมีพระชนมายุ 80 พรรษา ประเทศ ไทยรบั เอาพทุ ธศักราชมาใชอ้ ย่างแพร่หลายในสมยั พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกล้าเจ้าอยู่หวั วธิ นี บั พทุ ธศกั ราชมีด้วยกนั 2 แบบ คอื แบบไทยและแบบลังกา แบบไทย เร่ิมนับเมื่อพระพุทธเจา้ เสด็จดบั ขันธปรนิ พิ พานแลว้ 1 ปี นบั เปน็ พ.ศ. 1 โดย เริ่มตั้งแต่วันแรม 1 ค่า เดือน 6 และวันสิ้นปีในวันขึ้น 15 ค่า เดือน 6 ในสมัยพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้มีการใช้วันท่ี 1 เมษายน เป็นวันขึ้นปีใหม่ในเอกสารราชการจนถึง พ.ศ. 2484 จอมพล ป.พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรีในขณะน้ัน จึงได้มีการเปล่ียนวันสิ้นปีและ วนั ขนึ้ ปีใหม่ใหเ้ ปน็ แบบสากล จอมพล ป.พิบูลสงคราม ผู้เปลี่ยนวันขึ้นปีใหม่ของไทยให้เป็นแบบสากล http://www.manager.co.th/asp-bin/Image.aspx?ID=1437887
ชดุ ท่ี 1 การนบั เวลาและชว่ งเวลาประวตั ิศาสตร์ 23 แบบลังกา เริ่มนับเร็วกว่าแบบไทย 1 ปี คือ เริ่มนับเม่ือพระพุทธเจ้าเสร็จดับ ขนั ธปรนิ พิ พาน เปน็ พ.ศ. 1 แล้วเรยี กปีก่อนพทุ ธศักราชว่า ก่อนพทุ ธศักราชหรอื ก่อนพุทธกาล 2. มหาศักราช (ม.ศ.) เป็นศักราชท่ีเกิดขึ้น ในอินเดีย โดยพระเจ้ากนิษกะแห่งราชวงศ์ กุษาณะ เป็นผู้ทรงตั้งขึ้น มหาศกั ราชท่ี 1 หรือ ม.ศ. 1 ตรงกบั พ.ศ. 622 มหาศักราชได้เข้ามาเผยแพร่ สู่ดินแดนไทย โดยได้รับมาจากเขมร ซึ่งเขมรได้รับมาจากอินเดียโดยพราหมณ์และพ่อค้าอินเดีย ที่เข้ามาค้าขายในดินแดนแถบน้ีได้นามาเผยแพร่ มหาศักราชมักค้นพบในจารึกในสมัยสุโขทัยและ ก่อนสุโขทัย 3. จุลศักราช (จ.ศ.) เป็นศักราชท่ีเกิดในประเทศพม่า เมื่อ พ.ศ. 1182 ดังนั้น จ.ศ. 1 จึง ตรงกับ พ.ศ. 1182 ของไทย ไทยรับจุลศักราชมาใช้บอกเรื่องราวในปีที่เกิด เหตุการณ์สาคัญต่าง ๆ ใช้ในการคานวณทางโหราศาสตร์ ใช้บอกเวลาในจารึก ตานานพระราชพงศาวดาร เอกสารทาง ราชการ จดหมายเหตุ ฯลฯ จนถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 5 จึงให้ เลกิ ใช้ 4. รัตนโกสินทรศก (ร.ศ.) เป็นศักราชท่ีพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 5 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ทรงต้ังขึ้นเม่ือ พ.ศ. 2432 โดยทรงกาหนดให้นับปีที่ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ 1 ทรงสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ เป็น ราชธานี เมื่อ พ.ศ. 2325 เป็นรัตนโกสินทรศกที่ 1 (ร.ศ. 1 ) และทรงให้เร่ิมใช้ศักราชน้ีใน งาน ราชการต้ังแต่วันท่ี 1 เมษายน ร.ศ. 108 (พ.ศ. 2432) รัตนโกสินทรศกน้ีจะข้ึนปีใหม่ ในวันท่ี 1 เมษายนและใช้มาจนถึง ร.ศ. 131 (พ.ศ. 2455) พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกล้าเจ้าอยู่หัวทรงประกาศ ให้เลกิ ใชแ้ ละทรงให้เปล่ยี นไปใช้พทุ ธศักราช (พ.ศ.) แทน ซ่งึ ใชเ้ รือ่ ยมาจนถงึ ปัจจบุ นั พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ทรงตั้งการนบั ศักราชแบบ รัตนโกสนิ ทรศก (ร.ศ.) เม่ือ พ.ศ. 2432 http://www.thaixstitch.com/pinn/pinncx/CX-EV-CR88.jpg
ชุดที่ 1 การนบั เวลาและชว่ งเวลาประวัติศาสตร์ 24 การนับศกั ราชแบบอน่ื ๆ ได้แก่ คริสต์ศักราช (ค.ศ.) และฮจิ เราะหศ์ กั ราช (ฮ.ศ.) มี สาระสาคญั ดังนี้ 1. คริสต์ศักราช หรือ ค.ศ. (A.D.) เป็นศักราชทางศาสนาคริสต์ในปัจจุบันมีผู้นิยม ใช้ และเผยแพร่ไปท่ัวโลก โดยเฉพาะประเทศทางตะวันตก ถือได้ว่าเป็นศักราชแบบสากล โดย คริสต์ศักราชที่ 1 เร่ิมนับตั้งแต่ปีท่ีพระเยซูคริสต์ประสูติซ่ึงตรงกับ พ.ศ. 544 นับเป็น ค.ศ. 1 โดย ระยะเวลาท่ีอยู่ก่อนคริสต์ศักราชเรียกว่า สมัยก่อนคริสต์ศักราช หรือก่อนคริสตกาล ใช้อักษรย่อว่า กอ่ น ค.ศ. (B.C.) คริสต์ศกั ราชเร่ิมนับในปีท่ีพระเยซูประสูติ https://baugchamp.files.wordpress.com/2013/08/001.jpg 2. ฮิจเราะห์ศักราช (ฮ.ศ.) เปน็ ศกั ราชทางศาสนาอิสลาม ใช้ในประเทศท่ีนับถือ ศาสนา อิสลามเป็นศาสนาประจาชาติ ฮิจเราะห์ศักราชท่ี 1 หรือ ฮ.ศ. 1 ตรงกับ พ.ศ. 1165 เป็นปีที่มี เหตุการณ์สาคัญทางศาสนาเกิดข้ึน คือ นบีมุฮัมมัด (ศาสดาของศาสนาอิสลาม) กระทา ฮิจเราะห์ (แปลว่า การอพยพโยกย้าย) จากเมืองเมกกะฮ์ไปอยู่ท่ีเมืองเมดินา การเทียบ ฮิจเราะห์ศักราชกับ พุทธศักราชในปัจจุบันตอ้ งเอา 1122 ไปบวกหรือลบ หลกั เกณฑ์การเทยี บศกั ราชตา่ ง ๆ ม.ศ. + 621 = พ.ศ. พ.ศ. – 621 = ม.ศ. จ.ศ. + 1181 = พ.ศ. พ.ศ. – 1181 = จ.ศ. ร.ศ. + 2324 = พ.ศ. พ.ศ. – 2324 = ร.ศ. ค.ศ.+543 = พ.ศ. พ.ศ. – 543 = ค.ศ. ฮ.ศ. + 1122 = พ.ศ. พ.ศ. – 1122 = ฮ.ศ.
ชุดท่ี 1 การนับเวลาและชว่ งเวลาประวัติศาสตร์ 25 รอบทศวรรษ ศตวรรษ และสหสั วรรษ ทศวรรษ ศตวรรษ และสหสั วรรษ เป็นการนับรอบเวลาเปน็ รอบละ 10 ปี 100 ปี และ 1,000 ปี ตามแบบของชาวตะวันตกหรือตามแบบสากล มีความหมายและตัวอยา่ งการใชด้ งั นี้ 1. ทศวรรษ คอื รอบ 10 ปี นับจากศักราชทีล่ งท้ายด้วย 0 ไปจนถึงศกั ราชทีล่ งท้ายด้วย 9 เช่น ทศวรรษ 1950 ตามคริสต์ศักราช หมายถงึ ค.ศ. 1950-1959 ถ้าเขยี นเป็นภาษา อังกฤษนิยม เขยี นว่า 1950’s ทศวรรษ 2470 ตามพุทธศกั ราช หมายถึง พ.ศ. 2470-2479 2. ศตวรรษ คือ รอบ 100 ปี ศตวรรษท่ี 1 คือ ศักราชที่ 1-100 ศตวรรษต่อ ๆ ไป นับจาก ศกั ราชท่ีลงท้ายด้วย 01 ไปจนครบ 100 ปีในศกั ราชท่ลี งทา้ ยด้วย 00 เช่น คริสต์ศตวรรษที่ 20 คอื ค.ศ. 1901-2000 พุทธศตวรรษที่ 26 คอื พ.ศ. 2501-พ.ศ. 2600 คริสต์ศตวรรษก่อนตั้ง ค.ศ. จะต้องเติมคาว่า ก่อนคริสต์ศักราช หรือ ก่อน ค.ศ. ต่อท้าย ในภาษาอังกฤษใช้อกั ษรย่อ B.C. เช่น ศตวรรษท่ี 3 กอ่ น ค.ศ. (3rd century B.C.) คือ เวลา 300-201 ปกี ่อนคริสตศ์ กั ราช พุทธศตวรรษก่อนตง้ั พ.ศ. เตมิ คาวา่ กอ่ นพุทธศกั ราช หรือ ก่อน พ.ศ. ต่อทา้ ย เชน่ ศตวรรษที่ 8 ก่อนพทุ ธศักราช หมายถงึ เวลา 800-701 ปีก่อน พ.ศ. การเทียบคริสต์ศตวรรษกับพุทธศตวรรษ ใช้ 5 เป็นเกณฑ์บวกลบโดยประมาณ เช่น คริสต์ศตวรรษที่ 18 ตรงกับพุทธศตวรรษที่ 1 + 5 = 23 พุทธศตวรรษท่ี 26 ตรงกับคริสต์ศตวรรษท่ี 26 - 5 = 21 การเทียบดงั กล่าวเป็นการเทยี บโดยประมาณเทา่ น้ันอาจคลาดเคลือ่ นได้ 1 ศตวรรษ 3. สหัสวรรษ คือ รอบ 1,000 ปี ศักราชท่ีครบแต่ละสหัสวรรษจะลงท้ายด้วย 000 เช่น สหสั วรรษที่ 3 นับตามคริสตศ์ กั ราช คือ ค.ศ. 2001 ถึง ค.ศ. 3000 สหัสวรรษท่ี 6 ก่อนพทุ ธศักราช คือ 6,000-5,001 ปีก่อน พ.ศ.
ชดุ ท่ี 1 การนบั เวลาและช่วงเวลาประวตั ศิ าสตร์ 26 รายวิชา ประวตั ศิ าสตร์ 1 เรือ่ ง การศกึ ษาประวัตศิ าสตรแ์ ละพฒั นาการของแหลง่ รหัสวชิ า ส21102 อารยธรรมในภมู ภิ าคเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 ชดุ ที่ 1 การนบั เวลาและช่วงเวลาประวัตศิ าสตร์ บตั รกจิ กรรม คาชแี้ จง ให้นักเรยี นศกึ ษาบัตรเนอื้ หา และรว่ มกันอภิปรายเกีย่ วกับการนบั และการเปรยี บเทยี บ ศกั ราชแบบต่าง ๆ และตอบคาถามต่อไปน้ีในแบบฝกึ ปฏิบัติ 1. ใหน้ กั เรยี นบอกประวัตคิ วามเปน็ มาของการนบั ศักราชแบบพทุ ธศกั ราช 2. ใหน้ กั เรียนบอกประวัตคิ วามเปน็ มาของการนบั ศักราชแบบครสิ ต์ศักราช 3. ให้นักเรียนบอกประวัติความเป็นมาของการนบั ศกั ราชแบบฮจิ เราะห์ศักราช
ชุดท่ี 1 การนับเวลาและช่วงเวลาประวตั ศิ าสตร์ 27 รายวชิ า ประวัตศิ าสตร์ 1 เร่ือง การศึกษาประวัตศิ าสตร์และพัฒนาการของแหล่ง รหัสวชิ า ส21102 อารยธรรมในภมู ภิ าคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 ชดุ ท่ี 1 การนบั เวลาและชว่ งเวลาประวัตศิ าสตร์ เฉลยบัตรกจิ กรรม คาช้แี จง ให้นักเรียนศกึ ษาบตั รเน้อื หา และรว่ มกันอภิปรายเกย่ี วกับการนบั และการเปรยี บเทยี บ ศกั ราชแบบตา่ ง ๆ และตอบคาถามต่อไปน้ีในแบบฝึกปฏิบัติ 1. ใหน้ กั เรียนบอกประวัตคิ วามเป็นมาของการนบั ศกั ราชแบบพทุ ธศกั ราช เป็นการนบั ศกั ราชท่มี ีแหล่งกาเนิดในประเทศอินเดยี โดยเริ่มนับ พ.ศ. 1 หลกั จากที่ พระพุทธเจ้าเสดจ็ สู่ปรินพิ พาน 2. ให้นกั เรยี นบอกประวัตคิ วามเป็นมาของการนบั ศักราชแบบครสิ ตศ์ ักราช เปน็ การนบั ศกั ราชที่เกิดในดินแดนปาเลสไตน์ หรอื ประเทศอิสราเอลในปจั จบุ ันจะเริ่ม นบั ค.ศ. 1 ตรงกบั ปีทีพ่ ระเยซคู รสิ ตท์ รงประสตู ิ 3. ให้นกั เรียนบอกประวัตคิ วามเปน็ มาของการนับศกั ราชแบบฮจิ เราะหศ์ ักราช เป็นการนบั ศักราชของผู้ทนี่ ับถอื ศาสนาอิสลามกาเนิดในประเทศซาอุดิการเบีย ฮ.ศ. 1 ในปี พ.ศ. 1122
ชดุ ที่ 1 การนับเวลาและชว่ งเวลาประวัตศิ าสตร์ 28 รายวชิ า ประวัตศิ าสตร์ 1 เรอื่ ง การศึกษาประวตั ศิ าสตรแ์ ละพัฒนาการของแหล่ง รหสั วิชา ส21102 อารยธรรมในภมู ิภาคเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ ชั้น มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 ชดุ ที่ 1 การนบั เวลาและช่วงเวลาประวตั ิศาสตร์ บัตรคาถาม คาชีแ้ จง ให้นักเรียนเลือกตอบ ถูก หน้าข้อความที่ถูก ผิด หน้าข้อความท่ีผิดโดยนาไป ตอบลงในแบบฝึกปฏิบัติ (จานวน 10 ข้อ) 1. เวลาเป็นส่งิ ทส่ี ามารถจบั ต้องได้ 2. การนบั ศกั ราชแบบ ม.ศ. ยังคงใชอ้ ยู่ในปจั จุบัน 3. การบันทกึ พงศาวดารของอยธุ ยานิยมนับเวลาแบบจุลศักราช 4. การนบั ศักราชแบบ ค.ศ. ชาวอาหรับเป็นผนู้ ามาเผยแพร่ในประเทศไทย 5. รชั กาลที่ 5 แห่งกรุงรตั นโกสินทร์ให้กาเนดิ การนบั ศกั ราชแบบ จ.ศ. 6. พระนบมี ฮุ มั มัดให้กาเนดิ การนบั ศักราชแบบ ฮ.ศ. 7. การนบั ศักราชแบบฮิจเราะห์ศกั ราช เป็นท่ีนยิ มมากท่ีสุดในโลกปัจจบุ นั 8. การนับศกั ราชแบบพทุ ธศักราช เปน็ วธิ ีการที่มีอายเุ กา่ แกม่ ากทส่ี ุด 9. การนับศกั ราชของไทยคลา้ ยคลงึ กบั การนบั ศกั ราชของอนิ เดีย 10. การนบั ศกั ราชแบบ ร.ศ. ประกาศเลิกใช้ในสมัยรชั กาลท่ี 6
ชดุ ท่ี 1 การนบั เวลาและชว่ งเวลาประวัตศิ าสตร์ 29 รายวิชา ประวัติศาสตร์ 1 เรือ่ ง การศกึ ษาประวัติศาสตร์และพฒั นาการของแหลง่ รหัสวิชา ส21102 อารยธรรมในภมู ิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้ ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 1 ชดุ ที่ 1 การนบั เวลาและช่วงเวลาประวตั ศิ าสตร์ เฉลยบัตรคาถาม คาชีแ้ จง ให้นักเรียนเลือกตอบ ถูก หน้าข้อความท่ีถูก ผิด หน้าข้อความท่ีผิดโดยนาไป ตอบลงในแบบฝึกปฏบิ ัติ (จานวน 10 ขอ้ ) 1. เวลาเปน็ สิ่งท่สี ามารถจบั ต้องได้ 2. การนบั ศกั ราชแบบ ม.ศ. ยงั คงใช้อยใู่ นปจั จุบัน 3. การบันทึกพงศาวดารของอยุธยานยิ มนบั เวลาแบบจลุ ศักราช 4. การนับศักราชแบบ ค.ศ. ชาวอาหรับเปน็ ผูน้ ามาเผยแพร่ในประเทศไทย 5. รชั กาลท่ี 5 แห่งกรุงรตั นโกสนิ ทรใ์ หก้ าเนิดการนบั ศักราชแบบ จ.ศ. 6. พระนบมี ุฮัมมัดใหก้ าเนดิ การนบั ศกั ราชแบบ ฮ.ศ. 7. การนับศักราชแบบฮิจเราะหศ์ ักราช เป็นท่ีนยิ มมากทีส่ ดุ ในโลกปจั จุบัน 8. การนับศกั ราชแบบพุทธศกั ราช เปน็ วิธีการท่ีมีอายเุ กา่ แก่มากท่ีสุด 9. การนับศกั ราชของไทยคล้ายคลึงกบั การนับศกั ราชของอนิ เดยี 10. การนบั ศกั ราชแบบ ร.ศ. ประกาศเลิกใชใ้ นสมยั รชั กาลท่ี 6
ชดุ ที่ 1 การนับเวลาและชว่ งเวลาประวตั ศิ าสตร์ 30 รายวิชา ประวตั ิศาสตร์ 1 เรอ่ื ง การศกึ ษาประวตั ิศาสตรแ์ ละพฒั นาการของแหลง่ รหัสวิชา ส21102 อารยธรรมในภูมภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 ชุดท่ี 1 การนบั เวลาและชว่ งเวลาประวัตศิ าสตร์ ศนู ยก์ ารเรยี นท่ี 3 ตัวอยา่ งการใชเ้ วลา ช่วงเวลา และยคุ สมยั ที่ ปรากฏในหลักฐานทางประวตั ิศาสตร์ไทย
ชดุ ที่ 1 การนบั เวลาและชว่ งเวลาประวตั ศิ าสตร์ 31 รายวชิ า ประวตั ิศาสตร์ 1 เรือ่ ง การศกึ ษาประวตั ิศาสตรแ์ ละพัฒนาการของแหล่ง รหัสวชิ า ส21102 อารยธรรมในภูมิภาคเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ ช้ัน มัธยมศึกษาปีที่ 1 ชดุ ท่ี 1 การนบั เวลาและช่วงเวลาประวตั ศิ าสตร์ บตั รคาส่ัง ใหน้ ักเรยี นอ่านบัตรคาสัง่ แล้วปฏิบัติตามข้ันตอน ดังน้ี 1. หวั หน้ากลมุ่ อา่ นบัตรคาสัง่ ใหส้ มาชกิ ฟงั และควบคุมกิจกรรมให้เปน็ ไปตาม บัตรคาสงั่ 2. หัวหน้ากลุ่มแจกบัตรเนอ้ื หาให้ทุกคนได้ศกึ ษา 3. ศึกษาบตั รเน้ือหาที่อยู่ในศูนย์การเรียนที่ 3 ตวั อยา่ งการใชเ้ วลา ช่วงเวลา และยุค สมัยท่ีปรากฏในหลักฐานทางประวตั ศิ าสตร์ไทย 4. สมาชิกในกลุม่ รว่ มกันอภิปรายเกี่ยวกบั เนือ้ หา 5. อ่านบัตรกิจกรรมให้เขา้ ใจ แล้วลงมือปฏบิ ัติในแบบฝึกปฏิบตั ิ 6. ตรวจคาตอบจากบัตรเฉลยกิจกรรม 7. อ่านบตั รคาถาม ตอบคาถามลงในแบบฝกึ ปฏิบัติ 8. ตรวจคาตอบจากบตั รเฉลยคาถาม พร้อมทงั้ บนั ทึกผลการตรวจคาตอบ ลงใน แบบฝกึ ปฏบิ ัติ เม่ือปฏิบัติกจิ กรรมในศนู ยก์ ารเรียนนเ้ี รยี บรอ้ ยแล้ว เกบ็ บัตรทุกชนดิ และ อปุ กรณ์ทุกอย่างให้เรียบร้อย ก่อนไปปฏบิ ัตกิ ิจกรรมในศูนยก์ ารเรยี นชดุ ตอ่ ไป
ชุดท่ี 1 การนบั เวลาและชว่ งเวลาประวัติศาสตร์ 32 รายวชิ า ประวตั ศิ าสตร์ 1 เรอ่ื ง การศกึ ษาประวัตศิ าสตรแ์ ละพัฒนาการของแหลง่ รหสั วิชา ส21102 อารยธรรมในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 1 ชุดที่ 1 การนบั เวลาและช่วงเวลาประวัตศิ าสตร์ บัตรเน้อื หา เม่ือนกั เรยี นอ่านหนังสือประวัตศิ าสตร์ทัง้ ของไทยและสากล พบการใช้ภาษาหรือศกั ราช ซึ่ง แสดงถงึ เวลา ชว่ งเวลา และยคุ สมยั อย่บู ่อย ๆ ดังน้ันนกั เรียนต้องสงั เกตและทาความเขา้ ใจใหด้ ีเพ่ือได้ เขา้ ใจเหตุการณท์ างประวตั ศิ าสตร์ไดถ้ กู ต้อง ตวั อย่างเชน่ “เมื่อชัว่ พอ่ กู กูบาเรอแกพ่ ่อกู กูบาเรอแก่แม่กู กูไดต้ ัวเนื้อตัวปลา กูเอามาแกพ่ ่อกู กูได้ หมากสม้ หมากหวาน อนั ใดกนิ อร่อยกนิ ดี กูเอามาแกพ่ ่อก.ู ..” (จารึกพ่อขุนรามคาแหง พ.ศ. ๑๘๓๕ ด้านที่ ๑) ข้อความข้างต้นกล่าวถึง ช่วงเวลา หรือสมัย คาว่า “เม่ือชั่วพ่อกู” คือ เมื่อครั้ง หรือ สมัยพระราชบิดาของพ่อขุนรามคาแหงมหาราช (เมื่อชั่ว = เม่ือครั้ง, เมื่อรัชสมัย) คือ พ่อขุน ศรอี นิ ทราทิตย์ พอ่ ขนุ รามคาแหงมหาราชทรงปรนนิบัติต่อพระราชบิดา ได้ เน้อื (สัตวบ์ ก) ได้ปลา (สตั วน์ า้ ) ไดผ้ ลไม้เปรี้ยวหวานท่ีอร่อย ก็เอามาถวาย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระนามเดิมว่า สมเด็จพระเจ้า ลกู ยาเธอ เจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ เป็นพระราชโอรสองค์ใหญ่ในพระบาทสมเด็จพระจอม เกลา้ เจ้าอยู่หวั กับพระนางเธอพระองคเ์ จา้ ราเพยภมราภิรมย.์ .. เสด็จพระราชสมภพเมื่อ วนั ที่ 20 กนั ยายน พ.ศ. 2396 นับเปน็ พระราชโอรสองค์แรกทปี่ ระสูติและเจริญพระ ชนั ษาหลงั จากทพ่ี ระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวครองราชยส์ มบัต.ิ .. ท่ีมา : “จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ” สารานุกรม ประวตั ิศาสตร์ไทย เล่ม 2 อกั ษร ข-จ ฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน. หนา้ 291-298
ชดุ ท่ี 1 การนบั เวลาและชว่ งเวลาประวัติศาสตร์ 33 “๑๒๖๙ ศก (ปี) กุน พระบาทกัมรเดงอัญฦๅไทยราช ผู้เป็นราชนัดดาของพระ บาทกัมรเองอัญ ศรีรามราช เสด็จนาพลพยุหเสนาทั้งหลายออกมาจากเมืองศรีสัช ชนาลัย... เขา้ เสวยราชย.์ .. ในเมอื ง สุโขทัย... พระนามว่า พระบาทกัมรเดงอัญศรีสุริย พงศรามมหาธรรมราชาธริ าช...” (จารึกวัดปา่ มะม่วง หรือจารึกหลักท่ี ๔ ภาษาเขมร ด้านท่ี ๑) ข้อความข้างต้นกล่าวถึง เวลา ๑๒๖๙ แต่ไม่ได้บอกว่าเป็นศักราชอะไร เม่ือ พิจารณาจาก บริบทหรือเหตุการณ์ประกอบ บอกได้ว่าเป็นมหาศักราช ตรงกับ พุทธศักราช ๑๘๙๐ พระเจ้า ฦๅไทย หรือพระเจ้าลิไทย ผู้เป็นหลานของพ่อขุน รามคาแหงมหาราช ยกทัพออกจากเมืองศรีสัชนาลัย ปราบศัตรู แล้วขึ้นครองราชย์ เมืองสุโขทยั มีพระนามว่า “สมเดจ็ พระมหาธรรมราชาธิราช” \"... ณ วันอังคารข้ึน ๕ ค่าเดือนยี่ จุลศักราช ๘๙๒ ปีขาลโทศก ขณะนั้นมี หนังสือเมืองสุพรรณบุรีบอกราชการเข้าไปถึงกรุง พอทัพพระเจ้าหงสาวดี ก็ถึงทุ่ง สมุ พลพี รอ้ มกัน สมเด็จพระมหาจักรพรรดิราชาธิราชเจ้าตกพระทัย ตรัส ให้เร่งพล นอกเมืองในเมืองขึ้นรักษาหน้าท่ีเป็นโกลาหล สมเด็จพระเจ้าหงสาวดี ตั้งอยู่ลุมพลี ๓ วนั พอทอดพระเนตรดูกาแพงพระนครศรีอยุธยาและปราสาท ราชมณเทียรแล้ว ก็เลกิ ทพั กลบั ไปกรุงหงสาวดีโดยทางมา...” ที่มา : พระราชพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขา ข้อความข้างต้นกล่าวถึง จุลศักราช 892 เป็นการนับแบบจุลศักราช เม่ือ เทยี บกบั พทุ ธศักราชโดยนา 1181+ 892 ได้เท่ากับ พทุ ธศักราช 2073 อันเป็นปีที่ตาม พระราชพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขา บันทึกไว้ว่า พระเจ้าหงสาวดีตะเบ็งชะ เวตที้ รงยกทัพมายงั กรุงศรีอยุธยาด้วยไพร่พล 30,000 คน ช้างศึก 300 ตัว และม้าศึก 2,000 ตัว สมเด็จพระมหาจักรพรรดิกษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยาจึง เตรียมรับศึก แต่ พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ทรงตั้งทัพอยู่นอกพระนครเพียง 3 วัน ก็เลิกทัพกลับไป เพราะ พระองค์เพียงต้องการหยัง่ เชงิ กาลังทัพฝ่ายอยุธยา
ชดุ ที่ 1 การนบั เวลาและช่วงเวลาประวัตศิ าสตร์ 34 รายวชิ า ประวตั ศิ าสตร์ 1 เร่ือง การศกึ ษาประวัติศาสตร์และพฒั นาการของแหล่ง รหัสวชิ า ส21102 อารยธรรมในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ชั้น มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 ชุดที่ 1 การนับเวลาและชว่ งเวลาประวตั ิศาสตร์ บตั รกิจกรรม คาชแ้ี จง นกั เรียนศึกษาบัตรเนื้อหา และร่วมกันอภิปรายเก่ียวกับตัวอย่างการใช้เวลา ช่วงเวลา และ ยุคสมัยท่ีปรากฏในหลักฐานทางประวัติศาสตร์ไทย และตอบคาถามต่อไปนี้ในแบบฝึก ปฏบิ ัติ 1. นกั เรียนเปล่ยี น จลุ ศกั ราช 1182 เป็นแบบพุทธศกั ราช 2. นกั เรียนเปลี่ยน คริสตศ์ กั ราช 1800 เป็นแบบพทุ ธศักราช 3. นักเรียนเปลี่ยน รัตนโกสนิ ทรศ์ ก 112 เป็นแบบพทุ ธศักราช 4. นกั เรยี นเปล่ียน ฮิจเราะห์ศกั ราช 1400 เป็นแบบพทุ ธศกั ราช 5. นักเรียนเปล่ียน มหาศักราช 1214 เปน็ แบบพุทธศกั ราช
ชดุ ที่ 1 การนบั เวลาและชว่ งเวลาประวัตศิ าสตร์ 35 รายวชิ า ประวตั ิศาสตร์ 1 เรือ่ ง การศึกษาประวตั ศิ าสตร์และพฒั นาการของแหล่ง รหสั วิชา ส21102 อารยธรรมในภูมิภาคเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 ชดุ ท่ี 1 การนบั เวลาและช่วงเวลาประวตั ิศาสตร์ เฉลยบตั รกจิ กรรม คาชแ้ี จง นักเรียนศึกษาบัตรเน้ือหา และร่วมกันอภิปรายเก่ียวกับตัวอย่างการใช้เวลา ช่วงเวลา และ ยุคสมัยท่ีปรากฏในหลักฐานทางประวัติศาสตร์ไทย และตอบคาถามต่อไปนี้ในแบบฝึก ปฏบิ ตั ิ 1. นกั เรยี นเปล่ยี น จลุ ศกั ราช 1182 เปน็ แบบพุทธศักราช พ.ศ. 2363 2. นักเรียนเปลยี่ น ครสิ ตศ์ ักราช 1800 เป็นแบบพุทธศักราช พ.ศ. 2343 3. นักเรียนเปล่ียน รตั นโกสนิ ทร์ศก 112 เปน็ แบบพทุ ธศักราช พ.ศ. 2343 4. นกั เรียนเปลี่ยน ฮจิ เราะห์ศักราช 1400 เป็นแบบพทุ ธศักราช พ.ศ. 2436 5. นักเรยี นเปล่ียน มหาศักราช 1214 เป็นแบบพุทธศักราช พ.ศ. 1835
ชดุ ที่ 1 การนับเวลาและชว่ งเวลาประวัตศิ าสตร์ 36 รายวชิ า ประวัติศาสตร์ 1 เร่ือง การศึกษาประวตั ิศาสตร์และพฒั นาการของแหลง่ รหัสวิชา ส21102 อารยธรรมในภมู ภิ าคเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ ชั้น มัธยมศึกษาปีท่ี 1 ชดุ ท่ี 1 การนับเวลาและช่วงเวลาประวัติศาสตร์ บตั รคาถาม คาช้แี จง นกั เรยี นเตมิ คาหรือข้อความลงในชอ่ งว่างใหถ้ ูกต้องโดยนาไปตอบลงในแบบฝกึ ปฏบิ ัติ (จานวน 10 ข้อ) 1. การนับศักราชแบบมหาศักราชเกิดหลังการนบั ศักราชแบบพุทธศกั ราชอยู่จานวน ปี 2. การนับ พ.ศ. 1 นบั ในปที ่พี ระพทุ ธเจ้าเสด็จ 3. เปน็ การนับศักราชท่ีเก่ียวข้องกบั โหราศาสตร์ 4. การนับศักราชแบบ ร.ศ. ประกาศใชใ้ นรัชสมัยรัชกาลที่ แห่งกรงุ รัตนโกสินทร์ 5. การนบั ศกั ราชแบบ เป็นวิธที พี่ บมากในพงศาวดารของสโุ ขทัย 6. การนับศกั ราชแบบ ค.ศ. ในประวตั ิศาสตร์ไทยมใี นสมยั รัชกาลที่ แหง่ กรงุ รัตนโกสนิ ทร์ 7. ในปี พ.ศ. 2324 เปน็ การเริ่มต้นนบั ศักราชที่ 1 ของศักราช 8. ประเทศซาอดุ ิอารเบยี เกี่ยวข้องกบั การนบั ศกั ราชแบบ 9. ประเทศอิสราเอลเกย่ี วขอ้ งกบั การนับศกั ราชแบบ 10. การนบั ศักราชของไทยส่วนใหญ่นบั แบบอยา่ งมาจากประเทศ
ชดุ ที่ 1 การนับเวลาและชว่ งเวลาประวัติศาสตร์ 37 รายวิชา ประวัติศาสตร์ 1 เรือ่ ง การศกึ ษาประวตั ิศาสตรแ์ ละพัฒนาการของแหล่ง รหัสวิชา ส21102 อารยธรรมในภมู ิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้ ชั้น มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 ชดุ ท่ี 1 การนบั เวลาและช่วงเวลาประวตั ศิ าสตร์ บตั รคาถาม คาช้แี จง นักเรียนเตมิ คาหรือขอ้ ความลงในชอ่ งวา่ งใหถ้ กู ต้องโดยนาไปตอบลงในแบบฝึกปฏบิ ัติ (จานวน 10 ข้อ) 1. การนับศักราชแบบมหาศกั ราชเกดิ หลังการนบั ศกั ราชแบบพุทธศักราชอยู่จานวน 621 ปี 2. การนับ พ.ศ. 1 นบั ในปีทพ่ี ระพทุ ธเจา้ เสดจ็ สปู่ รนิ พิ พาน 3. ม.ศ. เป็นการนบั ศกั ราชที่เกยี่ วข้องกับโหราศาสตร์ 4. การนับศกั ราชแบบ ร.ศ. ประกาศใช้ในรชั สมัยรัชกาลท่ี 5 แห่งกรงุ รัตนโกสินทร์ 5. การนับศักราชแบบ ม.ศ. เป็นวิธที พ่ี บมากในพงศาวดารของสุโขทัย 6. การนบั ศกั ราชแบบ ค.ศ. ในประวัติศาสตรไ์ ทยมีในสมยั รัชกาลท่ี 4 แหง่ กรงุ รัตนโกสนิ ทร์ 7. ในปี พ.ศ. 2324 เปน็ การเร่ิมตน้ นบั ศกั ราชท่ี 1 ของศักราช ร.ศ. 8. ประเทศซาอดุ ิอารเบีย เก่ียวขอ้ งกบั การนบั ศกั ราชแบบ ฮ.ศ. 9. ประเทศอสิ ราเอลเกย่ี วขอ้ งกับการนบั ศกั ราชแบบ ค.ศ. 10. การนับศกั ราชของไทยสว่ นใหญ่นบั แบบอยา่ งมาจากประเทศ อินเดยี
ชุดท่ี 1 การนับเวลาและช่วงเวลาประวัตศิ าสตร์ 38 รายวชิ า ประวัตศิ าสตร์ 1 เรอ่ื ง การศึกษาประวตั ิศาสตรแ์ ละพฒั นาการของแหลง่ รหัสวิชา ส21102 อารยธรรมในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ ชั้น มัธยมศึกษาปที ่ี 1 ชุดที่ 1 การนับเวลาและชว่ งเวลาประวตั ศิ าสตร์ ศนู ย์สารอง เกมสลบั คา
ชุดท่ี 1 การนบั เวลาและชว่ งเวลาประวัตศิ าสตร์ 39 รายวชิ า ประวตั ิศาสตร์ 1 เร่อื ง การศึกษาประวัติศาสตรแ์ ละพัฒนาการของแหลง่ รหัสวชิ า ส21102 อารยธรรมในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 1 ชุดที่ 1 การนับเวลาและช่วงเวลาประวตั ิศาสตร์ บัตรคาสั่ง ให้นักเรียนอ่านบัตรคาส่ังแล้วปฏิบัติตามขั้นตอน ดังนี้ 1. ศึกษาบัตรกจิ กรรมใหเ้ ข้าใจ แลว้ ลงมือปฏิบัติกจิ กรรม โดยบนั ทึกลงในแบบฝึก ปฏบิ ัติ 2. ตรวจคาตอบจากบตั รเฉลยกิจกรรม เมอื่ ปฏบิ ัติกิจกรรมในศูนยก์ ารเรียนนเ้ี รยี บรอ้ ยแลว้ เกบ็ บตั รทุกชนิดและ อปุ กรณท์ ุกอยา่ งให้เรยี บร้อย ก่อนไปปฏิบัตกิ ิจกรรมในศูนยก์ ารเรยี นชดุ ตอ่ ไป
ชุดท่ี 1 การนบั เวลาและชว่ งเวลาประวัติศาสตร์ 40 รายวชิ า ประวัตศิ าสตร์ 1 เรอ่ื ง การศึกษาประวตั ิศาสตร์และพัฒนาการของแหลง่ รหสั วชิ า ส21102 อารยธรรมในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ ช้ัน มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 ชุดที่ 1 การนบั เวลาและชว่ งเวลาประวตั ศิ าสตร์ บตั รกิจกรรม เกมสลับคา คาชแี้ จง นักเรียนเลน่ เกมสลบั คา โดยบนั ทกึ คาตอบลงในแบบฝึกปฏิบตั ิ (จานวน 5 ขอ้ ) 1. คาทหี่ มายถึง เคร่อื งมือในการบอกเวลามีหนว่ ยเป็น วนั เดือน ปี ฏินทปิ 2. คาทหี่ มายถึง วิธนี ับวันและเดอื นโดยถือดวงอาทิตย์เป็นหลัก ติยสุคริ 3. คาทห่ี มายถึง วธิ นี บั วันและเดือนโดยถือเอาดวงจันทร์เปน็ หลกั ติคนรทจั 4. คาที่หมายถึง ชอื่ บอกรอบเวลา 12 ปี ของไทยมีรูปสตั วเ์ ป็นสญั ลกั ษณ์ประจาปี ตรกษนั ปั ี 5. คาที่หมายถึง เป็นศกั ราชท่ีพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อย่หู ัว ทรงตั้งขน้ึ เมอื่ พ.ศ. 2432 โกรันนกศสิตทร
ชุดท่ี 1 การนบั เวลาและช่วงเวลาประวตั ศิ าสตร์ 41 รายวิชา ประวัติศาสตร์ 1 เรือ่ ง การศกึ ษาประวตั ิศาสตร์และพฒั นาการของแหล่ง รหัสวชิ า ส21102 อารยธรรมในภูมภิ าคเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ ช้ัน มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 ชดุ ที่ 1 การนบั เวลาและชว่ งเวลาประวตั ศิ าสตร์ บัตรเฉลยกจิ กรรม เกมสลบั คา คาชีแ้ จง นกั เรยี นเล่นเกมสลบั คา โดยบันทกึ คาตอบลงในแบบฝึกปฏิบัติ (จานวน 5 ข้อ) 1. คาทีห่ มายถงึ เคร่อื งมือในการบอกเวลามีหนว่ ยเป็น วนั เดอื น ปี ปฏิทิน ฏินทิป 2. คาท่หี มายถงึ วธิ นี บั วันและเดอื นโดยถือดวงอาทิตย์เปน็ หลัก สุริยคติ ตยิ สุคริ 3. คาที่หมายถึง วธิ ีนบั วนั และเดอื นโดยถอื เอาดวงจันทรเ์ ปน็ หลกั จนั ทรคติ ติคนรทจั 4. คาท่หี มายถึง ช่อื บอกรอบเวลา 12 ปี ของไทยมรี ูปสตั วเ์ ปน็ สญั ลกั ษณ์ประจาปี ตรกษันัปี ปนี ักษตั ร 5. คาทห่ี มายถงึ เปน็ ศักราชท่ีพระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงตง้ั ข้ึนเมอ่ื พ.ศ. 2432 โกรันนกศสิตทร รตั นโกสนิ ทรศก
ชุดที่ 1 การนบั เวลาและช่วงเวลาประวตั ศิ าสตร์ 42 แบบทดสอบหลังเรยี น รายวิชา ประวัตศิ าสตร์ 1 เรอื่ ง การศกึ ษาประวัติศาสตร์และพัฒนาการของแหลง่ รหัสวิชา ส21102 อารยธรรมในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 ชดุ ที่ 1 การนบั เวลาและชว่ งเวลาประวตั ศิ าสตร์ คาช้ีแจง ให้นกั เรยี นเลอื กคาตอบที่ถกู ท่ีสุดเพียงขอ้ เดยี วโดยทาเคร่ืองหมายกากบาท () ลงในกระดาษคาตอบ 1. ขอ้ ใดเปน็ การบอกเวลาในประวตั ศิ าสตร์ ก. อาณาจักรล้านนาเจริญสูงสุดในสมัยพระเจ้าติโลกราช ข. สมัยธนบรุ ี ตง้ั แต่ พ.ศ. 2310-2325 เปน็ สมัยของการฟ้ืนฟูบา้ นเมอื งหลงั เสยี กรงุ ศรีอยุธยา ค. พอ่ ขุนรามคาแหงมหาราชประดษิ ฐ์อักษรไทยเมื่อ พ.ศ. 1826 ง. อาณาจักรขอมรุ่งเรอื งข้ึนในสมัยพระเจ้าอิศานวรมัน (พ.ศ.1159-1169) 2. ข้อใดมคี วามสาคญั และเก่ียวข้องกับการดาเนินชวี ิตของคนเรา ก. วันและเดือน ข. สถานที่ วนั เดือน ค. เวลาและปี ง. วนั และเวลา 3. ชว่ งเวลา เช่น ศกั ราช วัน เดอื น ปี ชว่ั โมง นาที ยุค สมัย มีไวเ้ พื่อวัตถปุ ระสงค์ในขอ้ ใด ก. เพ่ือให้รวู้ า่ มีเหตกุ ารณ์ใดเกิดข้ึนบา้ ง ข. เพ่อื ให้รวู้ ่ามเี หตกุ ารณ์นั้นเกิดขึ้นเม่ือใด ค. เพอ่ื สามารถเปรียบเทียบช่วงเวลาของการเกิดเหตกุ ารณน์ ั้น ๆ ง. เพ่อื ให้รู้วา่ เหตกุ ารณ์นนั้ มีความสาคัญอยา่ งไร 4. ข้อใดไมใ่ ช่การบอกชว่ งเวลาในประวตั ิศาสตร์ ก. ใน พ.ศ. 1999 มกี ารใช้เงิน “บาท” เปน็ เงินตราสาหรบั เป็นส่ือกลางใช้แลกเปล่ยี น ข. สุโขทยั ตกเป็นเมืองขึน้ ของอยธุ ยาซง่ึ ตรงกับสมยั พระอินราชา (พ.ศ. 1952-1967) ค. อาณาจักรโคตรบูรณ์ (พุทธศตวรรษท่ี 12 – 16) มีศูนยก์ ลางอยู่ทน่ี ครพนม ง. ในชว่ ง พ.ศ.1835-1840 สโุ ขทัยส่งคณะฑตู พร้อมเครื่องบรรณาการไปจนี
ชุดที่ 1 การนบั เวลาและช่วงเวลาประวตั ศิ าสตร์ 43 5. ข้อใดไมใ่ ช่ความสาคญั ของเวลาและชว่ งเวลา ก. บอกใหร้ ู้ว่าเหตุการณ์ต่าง ๆ เกดิ ขึน้ หรือสนิ้ สดุ ในเวลาใด ชว่ งเวลาใด ข. บอกให้รู้วา่ เหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เกดิ ขน้ึ ในเวลาน้นั เป็นเหตุการณ์ทเี่ กดิ ข้ึนจริง ค. บอกให้รวู้ า่ เหตุการณต์ ่าง ๆ เกดิ ข้นึ มานานเทา่ ใดแลว้ เม่ือนับถงึ ปัจจบุ ัน ง. บอกให้รูว้ ่าเหตุการณ์ต่าง ๆ เหตกุ ารณใ์ ดเกดิ ขึ้นก่อน-หลังเม่ือเปรียบเทยี บกบั เหตุการณ์อน่ื ๆ 6. การนบั เวลาแบบจนั ทรคตมิ ีลักษณะตามขอ้ ใด ก. วนั ทางจนั ทรคติในเดือนหน่ึงๆ มี 31 วนั ข. จันทรคตินบั วันและเดือนโดยถือตาแหน่งดวงอาทิตย์เป็นหลกั ค. เดอื นทางจันทรคติมี 12 เดือน คือ เดอื นมกราคมเร่ือยไปถึงเดือนธนั วาคม ง. วันทางจันทรคตินับเปน็ วนั ข้ึนกีค่ ่าหรือวนั แรมก่ีค่า 7. ข้อใดไมใ่ ช่การนับเวลาแบบสุรยิ คติ ก. สุรยิ คตินบั วันและเดือนโดยถือตาแหนง่ ดวงจันทร์เป็นหลกั ข. เวลา 1 ปี ทางสรุ ิยคตมิ ี 365 วัน และทุก 4 ปี มี 366 วนั ค. วนั ทางสรุ ยิ คตนิ บั เป็นวันที่ 1, 2, 3,... เร่ือยไปในเดือนหน่งึ ๆ มีวันไม่เกนิ 31 วนั ง. เดือนทางสุริยคติมี 12 เดอื น คือ เดือนมกราคม เดือนกุมภาพนั ธ์ เรอ่ื ยไปถึงเดือนธันวาคม 8. ประเทศไทยใชก้ ารนับเวลาแบบจันทรคติต้ังแตส่ มัยใด ก. สมยั พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยูห่ วั ข. สมยั สมเดจ็ พระนารายณ์มหาราช ค. สมยั พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจา้ อยูห่ วั ง. สมัยพระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั 9. เวลาและชว่ งเวลาทางประวัติศาสตร์มิได้หมายถงึ เฉพาะเวลาและชว่ งเวลาท่เี หน็ หรือแปลออกมา เป็นตัวเลข แต่ยงั มีหมายรวมถงึ สงิ่ ใด ก. สภาพภมู ิศาสตร์ ข. ปจั จัยแวดลอ้ มตา่ งๆ ของสงั คมนัน้ ในขณะนั้น ค. สิ่งทม่ี ีอทิ ธพิ ลตอ่ พฤติกรรมของมนุษย์ในสงั คมนั้น ณ เวลาใดเวลาหนึง่ ง. ระบอบการปกครอง 10. การเทยี บศักราชมีประโยชน์ต่อการศึกษาประวัตศิ าสตรอ์ ยา่ งไร ก. กระตุ้นใหค้ นหันมาสนใจประวตั ิศาสตร์ ข. เน้นให้ตระหนักถงึ ความสาคัญของการศกึ ษาประวัติศาสตร์ ค. เรยี นรูป้ ระวัติศาสตร์ไดอ้ ย่างมีความหมายและเขา้ ใจมากขึ้น ง. สรา้ งจิตสานึกใหม้ กี ารอนุรกั ษห์ ลักฐานทางประวตั ศิ าสตร์
ชุดท่ี 1 การนับเวลาและช่วงเวลาประวัติศาสตร์ 44 รายวชิ า ประวตั ศิ าสตร์ 1 เรื่อง การศึกษาประวัตศิ าสตร์และพฒั นาการของแหลง่ รหัสวชิ า ส21102 อารยธรรมในภูมภิ าคเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ ช้ัน มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 ชดุ ท่ี 1 การนับเวลาและชว่ งเวลาประวตั ศิ าสตร์ 1. ข 2. ค 3. ง 4. ก 5. ข 6. ง 7. ก 8. ข 9. ง 10. ค ไชโย ถกู ทุกขอ้ ครบั
45 บรรณานกุ รม เคน จันทร์วงษ์. หนังสือคู่มือ – เตรียมสอบ สาระประวัติศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1. กรุงเทพฯ : สานกั พิมพภ์ ูมิบณั ฑติ . จตุพร ศลิ าเดช. (2557). เกง็ ขอ้ สอบสงั คมศกึ ษา ม. 1. กรงุ เทพฯ : แม็คเอด็ ดเู คชั่น. ณรงค์ พ่วงพิศ และ วุฒิชัย มูลศิลป์. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน ประวัติศาสตร์ 1 ช้ัน มัธยมศึกษาปีที่ 1. พิมพ์คร้งั ที่ 9. กรงุ เทพฯ : อกั ษรเจริญทศั น์. ธีระ นุชเปี่ยม. (2556). หนังสือเรียนรายวิชาพ้ืนฐาน ประวัติศาสตร์ 1 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1. พิมพค์ รงั้ ท่ี 1. กรุงเทพฯ : แมค็ เอ็ดดูเคชนั่ . นิคม สมุ งคล. คมู่ อื เตรียมสอบ สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ม.1. กรุงเทพฯ : ไฮเอ็ด พับลชิ ช่ิง จากดั . ไพฑูรย์ มกี ุศล และคณะ. หนังสอื เรยี นรายวชิ าพ้ืนฐาน ประวตั ิศาสตร์ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1. กรงุ เทพฯ : สานกั พมิ พ์วฒั นาพานชิ . วงเดือน นาราสัจจ์. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน ประวัติศาสตร์ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1. กรุงเทพฯ :สานกั พิมพ์ พฒั นาคณุ ภาพวชิ าการ(พว.). ศิริพร กรอบทอง และ สักกะ จราวิวัฒน์. (2553). หนังสือเรียนรายวิชาพ้ืนฐาน ประวัติศาสตร์ 1 ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 1. พมิ พ์คร้งั ที่ 1. กรุงเทพฯ : สานักพมิ พ์เอมพนั ธ.์ สุพรรณี ชะโลธร. (2553). หนังสือเรียนรายวิชาพ้ืนฐาน ประวัติศาสตร์ 1 ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1. พมิ พ์ครั้งที่ 1. กรงุ เทพฯ : สานักพมิ พ์ประสานมติ ร.
46 แหล่งท่ีมาของภาพ http://www.manager.co.th/asp-bin/Image.aspx?ID=1437887 http://www.thaixstitch.com/pinn/pinncx/CX-EV-CR88.jpg https://baugchamp.files.wordpress.com/2013/08/001.jpg https://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/0/04/Hindu_calendar_1871-72.jpg
Search
Read the Text Version
- 1 - 49
Pages: