41 รปู ท่ี 3.3 ระยะความลกึ ของการปกั เสา 2. วธิ กี ารขดุ หลมุ แบ่งออกเปน็ 3 วธิ ี คือ ใชแ้ รงงานจากคน ใชร้ ถขดุ หลุมและใช้ระเบิดขุดหลุม 2.1 ใชแ้ รงงานจากคน แบง่ ออกเปน็ 2 ประเภทคอื 1) ขดุ ดว้ ยวิธธี รรมดาใชแ้ รงงานคน จะใชจ้ อบ เสียม ชะแลง พล่ัวหนีบดินในการขุด รปู ที่ 3.4 ขดุ ดว้ ยวิธธี รรมดาใช้แรงงานคน 2) การใช้สว่างมือขุดหลมุ จะใชแ้ รงงานจากคนงาน 3 - 4 คน เพ่ือหมุนดา้ มของสวา่ นให้หมนุ ปักลกึ ลงดินไปเรื่อย ๆ รปู ท่ี 3.5 การใชส้ ว่างมือขดุ หลุม
42 2.2 ใชร้ ถขุดหลุม ข้อเสีย คือ จะขุดหลมุ ได้เฉพาะบรเิ วณทีร่ ถเขา้ ไปถงึ เท่านน้ั ซึง่ บรเิ วณพน้ื ที่แคบ ๆ ไม่สามารถปฏิบตั ิงานด้วยวิธนี ้ีได้ ขอ้ ดี คอื สามารถทำการขดุ หลุมได้รวดเรว็ ประหยดั เวลา รปู ท่ี 3.6 รถขุดหลุม 2.3 ใชร้ ะเบิดขุดหลมุ วิธีนี้ใชใ้ นกรณที ่ีเป็นหนิ แข็งและคนงานไมส่ ามารถปฏบิ ัติงานได้ วธิ ีการปักเสา ซงึ่ แบ่งออกเป็น 2 วธิ ี คือ ใช้แรงงานคนและใช้รถปกั เสา 1. การใช้แรงงานคนในการปักเสา จะใช้เครือ่ งมือคํ้าและยกเสาไฟฟ้า ประกอบด้วย ไม้ขาทราย ไม้ขา หมุด และไม้แพน 1.1 ไม้ขาทราย สำหรบั ยกเสาให้สูงขนึ้ ทำจากไมไ้ ผ่จำนวน 2 ลำ ใช้เชอื กผูกปลายติดกนั 1.2 ไมข้ าหมดุ สำหรับรบั นำ้ หนกั ของเสาไฟฟ้า ในระหว่างทีจ่ ะยกเสาให้สูงข้ึนเร่ือย ๆใช้งานคู่กับ ไมข้ าทราย 1.3 ไมแ้ พน คอื แผ่นไม้สำหรับเสยี บลงรอบ ๆ หลมุ เพื่อป้องกนั ดนิ หล่นลงไปในหลมุ 2. ข้นั ตอนการปกั เสาโดยใชแ้ รงงานคน ปฏบิ ตั ไิ ดต้ ามลำดบั ดังน้ี 2.1 วางไมแ้ พนไวใ้ นหลุม โดยให้อยดู่ า้ นฝ่ังตรงขา้ มกบั เสาไฟฟา้ และรางหลมุ 2.2 เลอื่ นเสาลงหลุม ใหโ้ คนเสาติดกับไมแ้ พนและให้วางเสาทาบไปตามแนวรางหลมุ 2.3 ยกปลายเสาขนึ้ พรอ้ ม ๆ กัน เมือ่ ยกปลายเสาสูงขึ้นใหผ้ ู้ถือไมห้ มุดไป รองรับเสาไว้ แล้วทำการยกให้สูงขึ้นอีก พร้อมกับเลื่อนไม้ขาหมุดขยับไปทางโคนเสา ทำเช่นนี้เรื่อย ๆ เมื่อยก เสาสงู ขน้ึ 2.4 เมอ่ื ยกเสาสูงพอท่จี ะนำไม้ขาทรายคูท่ี 1 ไปรองรับเสาไว้ใช้ไม้ขาทรายคำ้ และดนั เสาให้สงู ขนึ้ นำไม้ขาทรายคู่ที่ 2 เข้าไปทำการรองรับเสาไว้ เม่อื ดันให้สงู ขนึ้ อกี ก็นำไม้ขาทรายคู่ท่ี 3 เขา้ ไปรองรับ 2.5 เมื่อระดับเสาสงู ข้ึนจนเกินที่ไมข้ าทรายคูท่ี 1 จะรองรับและดนั เสาได้ใหน้ ำไม้ขาทรายออกมา เพือ่ นำมารองรับกับเสาต่อจากไม้ขาทรายคูท่ ่ี 3 แลว้ ทำการดันเสาใหส้ งู ขึน้ 2.6 เมื่อโคนเสาลงถึงก้นหลุม ให้ทำการหมุนไม้ขาทรายให้อยู่ในลักษณะค้ำยันเสาไว้เพื่อทำการ ปรับดนั แตง่ ใหเ้ สาตรง 2.7 กลบดินฝงั เสาใหแ้ น่น
43 2.8 ถอดไม้ขาทรายออกจากเสา 3. การใช้รถปกั เสา สามารถปกั เสาได้อย่างรวดเร็วและประหยัดคา่ จ้างแรงงานเพราะรถจะมีเครน สำหรับการยก สำหรับการกลบดินฝังเสาให้แน่นจะเหมือนกับการปักเสาด้วยแรงคน ในการใช้รถปักเสา นั้นมวี ิธีการดังนี้ รูปท่ี 3.7 รถปกั เสา 3.1 ใช้ส่วนปลายของสลงิ สอดยึดเสาบรเิ วณกลางลำต้นจากน้ันเคล่ือนย้ายเสา มาใกล้ ๆหลมุ 3.2 ย้ายสว่ นปลายของสลิง จากตำแหน่งกลางเสาขึน้ มายงั ส่วนปลายเสาเล็ก นอ้ ยเพอื่ เปน็ การถ่ายเทนาํ้ หนักใหม้ าอยู่ทโ่ี คนเสา 3.3 ใชเ้ ครนที่ตวั รถยกเสาไฟฟ้าขึ้นเรอื่ ย ๆ จนตง้ั ตรงจากนั้นใหค้ นงานประคองเสาไฟฟา้ ใหน้ ่งิ ไมแ่ กวง่ ไปมา 3.4 คอ่ ย ๆ ประคองเสาลงหลมุ จนกวา่ จะไดต้ ำแหน่ง เล็งให้ตรงโดยใชเ้ หลก็ กลมเสยี บเข้าทรี่ ูของเสา แลว้ ทำการบิดเสาใหไ้ ด้ตำแหนง่ 3.5 เมอ่ื เสาลงตามตำแหนง่ ตามท่ตี ้องการแลว้ ขน้ั ตอนต่อไปคอื การกลบหลมุ ให้แน่น การทำฐานเสาไฟฟา้ ให้ม่ันคงแข็งแรง รปู ที่ 3.8 ฐานเสาไฟฟ้า
44 1. ปักเสาใหม้ ีความลึกไม่น้อยกวา่ มาตรฐานท่ีกำหนดไวแ้ ละไมค่ วรขุดหลุมขนาดใหญ่กว่าพื้นที่หน้าตัด ของโคนเสาไฟฟา้ มากนัก 2. กลบโคนเสาไฟฟ้า ให้แน่นด้วยการเทดินหินลูกรังลงไปในหลุม แล้วกระทุ้งอัดให้แน่นเพื่อป้องกัน การเกดิ โพรงอากาศอยู่ในหลมุ เพราะเม่ือฝนตกหรอื น้าํ ท่วมถึงดินเหล่าน้นั จะเกดิ การยุบตวั ลงไปในโพรงอากาศ ดังกลา่ ว อาจจะทำให้เสาลม้ ลง 3. ในกรณีที่ปักเสาได้ลึกน้อยกว่ามาตรฐานที่กำหนด หรือปักเสาในดินอ่อน จะต้องเทคอนกรีตที่โคน เสาเพือ่ ความแข็งแรง 4. ในกรณีที่ปักเสาในบริเวณที่เป็นดินอ่อน (ดินเลน, มีนํ้าขัง) ให้ใช้เสาตอหม้อเพิ่มความแข็งแรงของ รากเสาไฟฟา้ ระยะระหว่างเสาไฟฟ้าระบบจำหน่าย (การไฟฟ้าส่วนภมู ิภาค) ในระบบจำหนา่ ยแรงสูง 1. ระบบจำหนา่ ย ทก่ี ่อสร้างในเมือง ระยะระหว่างเสาปกติ 40 เมตร 2. ระบบจำหนา่ ย ทกี่ อ่ สรา้ งนอกเมอื ง ระยะระหว่างเสาปกตไิ มเ่ กินค่าตามตาราง 3. ระบบจำหน่าย ที่ก่อสร้างผ่านหมู่บ้าน ระยะระหว่างเสาปกติ 40, 80 หรือ 100 เมตรแล้วแต่ความ หนา แน่นของหมู่บ้าน พจิ ารณาตามความเหมาะสม 4. ระบบจำหนา่ ยทีพ่ าดสายเคเบิลอากาศ ระยะระหว่างเสาปกติ 40-50 เมตร ระยะระหว่างเสาไฟฟา้ ระบบจำหน่าย (การไฟฟา้ สว่ นภูมภิ าค) ในระบบจำหน่ายแรงต่ำ ระบบจำหนา่ ยแรงต่ำที่ก่อสรา้ งในเมืองและนอกเมืองระยะระหว่างเสา 40 เมตร (50 เมตร) ในกรณีที่ ปกั แซมช่วงเสาแรงสงู 100 (เมตร) 1. สำหรบั การพาดสายต่างขนาดบนเสาเดียวกัน ให้ถือหลกั เกณฑข์ องเสาขนาดใหญเ่ ปน็ หลัก 2. ระยะระหว่างเสาสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามสภาพแวดล้อม ทั้งนี้เฉลี่ยระหว่างเสาต้องไม่เกินท่ี กำหนดไว้ 3. ระยะชว่ งเสาเกิน 120 เมตร ให้ใชแ้ บบเสาคู่ 5. กิจกรรมการจดั การเรียนรู้ 5.1 การนำเข้าสบู่ ทเรียน 5.1.1 แจ้งให้ผเู้ รยี นทราบถึงเนอื้ หาสาระวชิ า จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรูแ้ ละกิจกรรมที่ใช้ในการจัดการ เรียนการสอน 5.1.2 ครูผู้สอนอธิบายการปักเสาพร้อมใช้คำถามกระตุ้นซักถามกับผู้เรียนเพื่อกระตุ้นความสนใจ ใหก้ ับผู้เรียน 5.2 การเรยี นรู้ 5.2.1 ผู้เรียนและครูผู้สอนร่วมกันอภิปรายกิจกรรมการเรียนรู้ การปักเสา โดยให้บันทึกผลตาม รปู แบบ 5.2.2 ครผู ู้สอนอธิบายหลกั การ การปักเสา 5.2.3 ตั้งคำถามใหผ้ เู้ รียนเสนอข้อมูลจากประสบการณ์ของตนในการปักเสา
45 5.2.4 ผู้เรียนร่วมกนั อภิปรายเกี่ยวกับการปักเสา ที่รวบรวมไดจ้ ากการศึกษาคน้ คว้า โดยแบ่งกลุม่ (4-5คน/กล่มุ ) เพอ่ื ระดมความคดิ ของสมาชิกในกลุ่มตามหัวข้อท่ีกำหนด โดยมีครเู ปน็ ผู้ใหค้ ำแนะนำ 5.2.5 ผู้เรยี นแต่ละกลุ่มออกแบบหรอื หาวธิ ีนำเสนอให้ผู้อน่ื รับรแู้ ละสอ่ื สารได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ 5.2.6 ให้ผู้เรียนทำแบบฝึกหัดคำถามท้ายบท และแบบประเมินผลการเรียนรู้ พร้อมกับร่วมกัน อภิปรายคำตอบทถ่ี กู ตอ้ ง 5.2.7 เชื่อมโยงความคล้ายคลึง/แตกต่างของข้อมูลที่นำมาอภิปรายและร่วมกันสรุปความรู้ตาม หัวขอ้ ท่ศี ึกษา จากน้นั บนั ทึกผลขอ้ สรปุ เปน็ ความเขา้ ใจของกลุ่มและรายบคุ คล 5.3 การสรุป 5.3.1 ครูผสู้ อนซักถามและสรปุ เนือ้ หาบทเรียนเก่ียวกบั การปักเสา 5.3.2 ครผู สู้ อนได้สอดแทรกคุณธรรมจรยิ ธรรมและจรรยาวิชาชพี ในเรือ่ ง ความมีวนิ ัย ใฝ่เรยี นรู้ มงุ่ มั่นการทำงาน มีจิตสาธารณะและอยู่อย่างพอเพียง 5.4 การวัดและประเมินผล 5.4.1 สงั เกตพฤติกรรมการปฏิบัตงิ านรายบคุ คล 5.4.2 การสังเกตและประเมินผลพฤติกรรมด้านคุณธรรมจรยิ ธรรมและคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 5.4.3 ตรวจแบบฝกึ หัดและแบบประเมินผลการเรยี นรู้ 6. สือ่ การเรียนรู้ / แหล่งการเรยี นรู้ 6.1 สื่อสิ่งพิมพ์ อนสุ รณ์ โคกกลาง. การตดิ ตั้งไฟฟ้านอกอาคาร. กรงุ เทพฯ. ศูนยส์ ง่ เสริมอาชวี ะ ศสอ. 2562. ธวชั ชยั จารุจติ ร์. การติดต้ังไฟฟ้านอกอาคาร. กรงุ เทพฯ. สำนกั พิมพ์ วังอักษร. 2553. 6.2 สื่อโสตทัศน์ (ถ้าม)ี 6.2.1 Power Point เรอ่ื ง เครอื่ งมอื ในการติดต้ังไฟฟา้ นอกอาคาร 6.2.2 YouTube เร่ือง เครือ่ งมือในการติดตง้ั ไฟฟ้านอกอาคาร 6.3 หนุ่ จำลองหรือของจริง (ถ้าม)ี 6.4 อืน่ ๆ (ถ้ามี) 7. เอกสารประกอบการจัดการเรยี นรู้ (ใบความรู้ ใบงาน แบบทดสอบก่อนเรยี น แบบทดสอบ หลังเรียน แบบถาม-ตอบ (ระหวา่ งเรยี น) แบบตรวจสอบทกั ษะ ฯลฯ) 7.1 ใบความรู้ เร่ือง การปกั เสา 7.2 ใบงาน เรื่อง การปักเสา 7.3 แบบทดสอบกอ่ นเรยี น เร่อื ง การปกั เสา 7.4 แบบทดสอบหลังเรียน เร่ือง การปกั เสา 8. การบรู ณาการหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง แสดงออกดา้ นความสนใจใฝ่รู้ การตรงต่อเวลา ความซื่อสตั ย์ สุจรติ ความมนี ำ้ ใจและแบง่ ปัน ความรว่ มมือ/ยอมรับความคดิ เหน็ ส่วนใหญ่
46 9. การสอดแทรกแนวคิด/กิจกรรมต่อต้านการทจุ รติ (กจิ กรรมสง่ เสรมิ คณุ ธรรม จริยธรรม และ ธรรมมาภบิ าล) 9.1 การอยรู่ ว่ มกับผู้อ่ืนอยา่ งมคี วามสุข การแบ่งกลุ่ม ช่วยเหลอื กนั และรว่ มงานกับผู้อน่ื ได้ 9.2 สนทนากับนกั เรียน ดา้ นคณุ ธรรมจริยธรรม ก่อนและหลงั การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ 9.3 ความร้กู ารใช้ภาษาไทย การสรุป อภิปรายโดยใชภ้ าษาส่ือสารท่ถี ูกตอ้ ง 9.4 ความรเู้ กี่ยวกับการใชอ้ นิ เตอร์เนต็ (Internet) ในการศึกษาค้นคว้า 9.5 สอดแทรกความรูแ้ ละโทษของยาเสพตดิ 10. การบรู ณาการ / ความสมั พันธก์ บั วชิ าอ่นื 10.1 มเี นือ้ หาบรู ณาการสอดคล้องกับวิชา การตดิ ตง้ั ไฟฟา้ ในอาคาร 10.2 มีเนอื้ หาบรู ณาการสอดคล้องกบั วิชา การออกแบบและประมาณราคา 10.2 มีเน้ือหาบูรณาการสอดคล้องกับวิชา การเขียนแบบไฟฟ้าเบ้ืองตน้ 11. การวัดและประเมนิ ผล 11.1 ก่อนเรียน วธิ ีการวดั ผล ทำแบบทดสอบก่อนเรียน เครอื่ งมือวดั แบบทดสอบก่อนเรียน จำนวน 10 ข้อ 11.2 ขณะเรียน วิธกี ารวัดผล ถาม-ตอบและทกั ษะการทดลอง เครอื่ งมือวดั คำถามจากบทเรยี นและการรายงานผลการทดลอง 11.3 หลังเรียน วิธีการวดั ผล ทำแบบทดสอบหลงั เรยี น เครอื่ งมือวดั แบบทดสอบหลังเรียน จำนวน 10 ข้อ
47 แบบฝึกหัด หน่วยการเรียน ท่ี 3 การปกั เสา 1. กอ่ นทจ่ี ะทำการปกั เสาควรทาส่ิงใดก่อน ก.สำรวจพนื้ ทตี่ น้ ทำงจนถึงปลายทาง ข. ขดุ หลมุ เพือ่ ทำการปกั เสา ค. จดั เตรยี มเคร่อื งมือในการปักเสา ง. ทำการวางแผนแรงงานคน 2. กำรขุดหลมุ โดยการใชแ้ รงงานคนมีกี่วธิ ี ก. 1 วธิ ี ข. 2 วธิ ี ค. 3 วธิ ี ง. 4 วธิ ี 3. รถขดุ หลุมมีข้อสียในเร่ืองใด ก. เกดิ เสยี งดงั ขณะทำการขุดหลมุ ข. ทำใหห้ น้าดินเกิดการพงั ทลาย ค. ปากหลมุ ใหญท่ ำใหย้ ากต่อการกลบ ง. ไม่สามารถขดุ หลุมในพ้นื ท่แี คบๆได้ 4. กรณีใดทตี่ ้องใชร้ ะเบดิ ในการขดุ หลุม ก. การขดุ หลุมในน้ำ ข. ลกั ษณะพนื้ ท่ีการขุดเปน็ ดินลกู ลัง ค. ลักษณะพ้นื ท่ีการขดุ เป็นดนิ ปนทราย ง. ลกั ษณะการขุดเป็นหนิ แขง็ 5. ในการปักเสาไฟฟ้ามีก่วี ธิ ี ก. 1 วิธี ข. 2 วธิ ี ค. 3 วิธี ง. 4 วธิ ี 6. ข้อใด ไม่ใช่ เครือ่ งมือที่ใช้สำหรบั การปักเสาดว้ ยแรงคนงาน ก. ไม้ขาทราย ข. ไมข้ าหมุด ค. ไมแ้ พน ง. แจ็คสลงิ 7. การขดุ หลุมเสาไฟฟ้าโดยท่ัวไปมีกีว่ ิธี ก. 4 วธิ ี ข. 3 วธิ ี ค. 2 วิธี ง. 1 วธิ ี 8. การเทคอนกรตี ท่โี คนเสาจะใช้ส่วนผสมของซีเมนต:์ ทราย: หนิ เท่ากบั เทา่ ใด ก. 2:3:5 ข. 3:3:5 ค. 1:2:4 ง. 1:3:5 9. วิธีใดทีน่ ยิ มใชม้ ำกท่ีสุดในการขุดหลุมเสาไฟฟ้า ก. การขดุ จากแรงงานคน ข. การขุดโดยรถขดุ หลมุ ค. การขุดจากแรงงานสตั ว์ ง. การขุดโดยการใชร้ ะเบดิ 10. ขอ้ ใด ไม่ใช่ วธิ ีการปอ้ งกันเสาลม้ ก. ปกั เสาให้ลกึ ไม่น้อยกว่ามาตรฐานตามทีก่ ำหนดไว้ ข. ควรลบฐานเสาไฟฟ้าให้แนน่ ๆ ค. ควรเทคอนกรตี ทับโคนเสา เพือ่ เพม่ิ ความแข็งแรง ง. การปกั เสาบริเวณท่ีมนี ้ำขังไมจ่ ํำเปน็ ต้อง ใชเ้ สาตอม่อ
48 เฉลย 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 กข ง ง ข งข ง ข ง แบบทดสอบออนไลน์ หนว่ ยการเรยี น ท่ี 2 การปักเสา http://gg.gg/uogu4
49 12. บันทกึ หลงั สอน (เขยี นแนบไวด้ า้ นหลงั แผนการจดั การเรยี นร้ตู ามแบบฟอรม์ ของวิทยาลยั ) 12.1 ผลการใชแ้ ผนการจดั การเรียนรู้ 12.2 ผลการเรยี นรู้ของนกั เรียน – นกั ศึกษา 11.3 แนวทางการพฒั นาคุณภาพการเรยี นรู้
50 แผนการจดั การเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ม่งุ เน้นสมรรถนะอาชีพบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง วชิ า การติดต้งั ไฟฟา้ นอกอาคาร สัปดาหท์ ่ี 4-5 รหสั วชิ า 20104-2106 ชือ่ หน่วย การยึดโยง ชัว่ โมงรวม 42 ช่ัวโมง จำนวนชวั่ โมง 14ชวั่ โมง 1. สาระสำคญั การยึดโยงเสา หมายถึง การเพิ่มความแข็งแรงให้กับเสาไฟฟ้า ซึ่งทาหน้าที่รองรับน้าหนักของอุปกรณ์ ไฟฟา้ ตา่ ง ๆ และแรงทีม่ ากระทากับเสาไฟฟา้ การยึดโยงเสา ต้องการยึดโยงเสาตามความเหมาะสมกับสภาพพื้นที่นั้น ๆ ดังนั้น ผู้ปฏิบัติจะต้อง ปฏบิ ตั ติ ามวิธกี ารของการยึดโยงเสาไฟฟ้า และเลอื กใชอ้ ุปกรณใ์ นการยดึ โยงเสาไฟฟา้ ให้ถกู ต้อง 2. สมรรถนะประจำหน่วย 2.1 แสดงความรู้เกี่ยวกบั การปฏิบตั กิ ารยดึ โยงเสา 2.2 ใชเ้ ครอ่ื งมืออปุ กรณ์ในการยึดโยงเสา 3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 3.1 ดา้ นความรู้ 3.1.1 อธิบายส่วนประกอบของวัสดุและอุปกรณ์สำหรับการยึดโยงได้ 3.1.2 จำแนกรูปแบบของการยึดโยง ได้ 3.1.3 บอกข้อแนะนำในการทำสายยดึ โยงเสา ได้ 3.2 ดา้ นทักษะ 3.2.1 จัดลำดับวิธีจบั ยดึ สายยดึ โยงได้ 3.2.2 ปฏิบัตกิ ารยึดโยงเสาไดอ้ ย่างถกู ต้อง 3.3 ดา้ นคุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ 3.3.1 มวี ินัย 3.3.2 ใฝเ่ รยี นรู้ 3.3.3 มงุ่ มัน่ ในการทำงาน 3.3.4 มีจติ สาธารณะ 3.3.5 มหี ลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 4. เนอื้ หาสาระการเรียนรู้ 4.1 วัสดุอุปกรณส์ ำหรับการยึดโยง 4.2 รูปแบบของการยดึ โยง 4.3 ขอ้ แนะนำในการทำสายยึดโยง 4.4 การจัยจึกสายดึ โยง
51 วสั ดุและอปุ กรณส์ ำหรับการยึดโยง โดยทั่วไปประกอบด้วยส่วนต่างๆ ดงั น้ี รปู ท่ี 4.1 วสั ดุและอปุ กรณ์สำหรบั การยดึ โยง 1. สมอบก เป็นคอนกรตี เสริมเหล็ก เปน็ ส่วนสำคญั ในการยดึ โยง โดยจะฝงั อยูใ่ นพ้นื ดินลึกประมาณ 1.5 เมตร ใช้งานควบค่กู บั กา้ นสมอบก 2. ก้านสมอบก เป็นแทง่ เหลก็ ตอ่ เชือ่ มจากสมอบก มรี ูไว้สำหรบั สอดสายยึดโยง 3. อุปกรณ์จบั ยึด สว่ นใหญ่ใช้ยูแคมป์ สำหรบั จับยดึ สายยึดโยงเข้ากบั ส่วนตา่ ง ๆ 4. สายยึดโยง มลี ักษณะเปน็ สายลวดเหลก็ ตเี กลียว ซึ่งเปน็ ส่วนสำคญั ของการยึดโยง 5. ลูกถ้วยยึดโยง ทำหน้าที่เช่ือมต่อระหว่างสายยึดโยงด้วยกัน มีคุณสมบัติเป็นฉนวนป้องกันกระแส ไฟฟา้ รั่วอีกดว้ ย
52 รูปแบบของการยดึ โยง การเรียกชื่อลักษณะการยึดโยงแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ เรียกตามลักษณะแบบและเรียกตาม หน้าทีท่ จ่ี ะนำไปใช้ ดังนี้ 1. เรียกชือ่ สายยึดโยงตามลกั ษณะแบบ จะประกอบดว้ ยการยึดโยงจำนวน 6 รุปแบบ 1.1 สายยึดโยงแบบสมอบก (Anchor Guys) โดยจะยึดส่วนบนของเสาไปยังก้านของสมอบก โดยตรง รปู ที่ 4.2 ยดึ โยงแบบสมอบก 1.2 สายยึดโยงแบบบนทางเท้า (Footpath Guys) โดยจะยึดโยงจากส่วนบนของเสาไปยัง เท้าแขน แล้วต่อไปยังสมอบกที่ฝังอยู่ในพื้นดิน ใช้การยึดโยงนี้ในพื้นที่แคบและจำกัด คือ บริเวณทางเท้าใน ชุมชน รูปท่ี 4.3 ยึดโยงแบบบนทางเทา้ 1.3 สายยึดโยงแบบตอไม้ (Stub Guys) โดยจะยึดโยงจากส่วนบนของเสาไฟฟ้าไปที่ตอไม้ยาว 2.5 – 4 เมตร โดยทเ่ี สาตอไม้จะต้องถูกยึดโยงดว้ ยสมอบกอีกทีหน่ึง ใช้ในกรณีสถานทีจ่ ำกัดไม่สามารถใช้การ ยึดโยงโดยสมอบกได้ รปู ที่ 4.4 ยึดโยงแบบตอไม้
53 1.4 สายยึดโยงแบบเสาไม้ (Pole Guys) โดยจะยึดจากส่วนบนของเสาไปยังเสาไม้หรือเสา คอนกรีตยาวประมาณ 8 – 9 เมตร โดยที่เสาไม้หรือเสาคอนกรีตจะต้องถูกยึดโยงโดยสายยึดแบบสมอบกอีก ต่อหนึง่ เพอื่ เพมิ่ ความแขง็ แรงใชก้ ับกรณยี ดึ โยงข้ามถนนบรเิ วณทางโคง้ รปู ท่ี 4.5 ยึดโยงแบบเสาไม้ 1.5 สายยึดโยงแบบยึดเสาไฟฟา้ (Span Guys) โดยจะยึดจากส่วนบนของเสาไฟฟา้ ตน้ แรกไปที่ สว่ นลา่ งของเสาต้นถัดไป กรณีนีใ้ ช้สำหรบั พ้ืนท่ตี ่างระดบั และการพาดสายข้ามทางรถไฟ เป็นตน้ รปู ท่ี 4.6 ยึดโยงแบบยึดเสาไฟฟา้ 1.6 สายยึดโยงแบบยึดหัวเสา (Head Guys) โดยจะยึดจากส่วนบนของเสาไปยังส่วนบนของ เสาอกี ต้นหน่ึง สว่ นมากจะนิยมตดิ ตั้งในแนวเดยี วกบั การพาดสาย ข้อสำคัญ คอื จะต้องไมใ่ หส้ ายยึดโยงเข้าไป ใกล้สายไฟฟา้ มากเกินไปใช้ในกรณีที่เปน็ ทางข้าม ช่วยในการลดแรงดงึ ของสายไฟฟ้า รูปท่ี 4.7 ยดึ โยงแบบยดึ หัวเสา 2. เรยี กช่อื สายยดึ โยงตามหน้าท่ที ่จี ะนำไปใช้ ประกอบดว้ ยการยดึ โยงจำนวน 5 รปู แบบ ดังนี้ 2.1 สายยึดโยงเข้าปลายสาย (Terminal Guys) ใช้รับแรงดึงของสายไฟฟ้าอันเนื่องจากการ เข้าปลายสายแยก ใช้เมื่อมีการหักมุมของสายเท่ากับ 60 องศา หรือมากกว่าจะต้องมีสายยึดโยงแบบน้จี ำนวน 2 ชุด ตอ้ งติดตง้ั ในแนวเดยี วกบั แนวของสายแต่ละชดุ เพือ่ สร้างความสมดุล การยึดโยงแบบนแ้ี บ่งได้ 3 ลกั ษณะ ดงั น้ี
54 - สายยึดโยงเข้าปลายสายแบบสมอบก รปู ท่ี 4.8 ยดึ โยงเขา้ ปลายสายแบบสมอบก -สายยดึ โยงเข้าปลายสายแบบตอไม้ รูปที่ 4.9 ยดึ โยงเขา้ ปลายสายแบบตอไม้ -สายยึดโยงเขา้ ปลายสายแบบเสาไม้ รปู ที่ 4.10 ยดึ โยงเข้าปลายสายแบบเสาไม้ 2.2 สายยึดโยงด้านข้าง (Side Guys) จะใช้กรณียึดเสาไฟฟ้าในแนวสายไฟฟ้าที่มีมุม 5 – 60 องศา สำหรบั รับแรงดึงของเสาไฟฟ้าทไ่ี มไ่ ด้อยใู่ นแนวเดยี วกนั จะใช้กบั บริเวณที่เปน็ ทางโคง้ รูปที่ 4.11 ยึดโยงด้านขา้ ง
55 2.3 สายยึดโยงตามแนวสาย (Line Guys) โดยจะใช้สายยึดโยงจำนวน 2 เส้นรวมกันเพื่อลดแรง ดึงที่ไม่สมดุลบนเสาหรือในสายส่งไกล ๆ โดยจะติดตั้งสายยึดโยงทุก ๆ ระยะ 2 – 3 กิโลเมตร จุดประสงค์ เพื่อป้องกันการเสียหาย เนื่องจากสายขาดหรือเสาล้ม การยึดโยงตามแนวสายจะติดตั้งตามแนว ยาวของ สายไฟฟา้ รปู ที่ 4.12 2.4 สายยึดโยงป้องกันพายุ (Storm Guys) ใช้สำหรับยึดโยงเสาเพือ่ ป้องกนั พายุในที่โลง่ แจง้ โดย จะติดตั้งสายยึดโยงให้กับสายส่งข้างละ 1 ชุด ทุกระยะประมาณ 500 - 1,000 เมตรโดยจะใช้สายยึดโยงแบบ สมอบกในการยึดโยง รูปท่ี 4.13 2.5 สายยึดโยงแบบตรึงกับที่ (Fix Point Guys) ใช้สำหรับยึดโยงในบริเวณที่มักจะมีพายุพัดผ่าน เช่น ทุ่งนา พื้นที่โล่งกว้าง เป็นต้น ส่วนใหญ่ใช้สมอบกเป็นสายยึดโยงเพื่อตรึงกับที่และจะมีเสาไฟฟ้าที่เป็นจุด ตรงึ อยู่กับทท่ี กุ ระยะ 2 - 3 กิโลเมตร ข้อแนะนำในการทำสายยดึ โยง 1. สายยดึ โยงควรยึดติดกับโครงสรา้ งให้ใกล้ จุดศูนย์กลางแรงดึงของสายไฟฟา้ 2. สายยึดโยงจะต้องทำมุมประมาณ 45 องศา กับแนวเสา โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่จุดเข้าปลายสายและ ยึดโยงเสาที่พาดสายแนวทางโค้งมาก ๆ แต่หากสายยึดโยงทำมุม 45 องศา จะเป็นการกีดขวางทางสัญจรแลว้ ยินยอมให้สายยึดโยงทำมุมมากกว่า 30 องศา กับแนวเสาได้ แต่ทั้งนี้ให้พิจารณาความแข็งแรงของชุดยึดโยง ดังกลา่ ว เนื่องจากแรงดงึ ในสายยึดโยงเพิ่มขึน้ ดว้ ย 3. แนวของกา้ นสมอบก และสายยึดโยงต้องอยู่ในแนวเดียวกัน โดยขนาดของสายยึดโยงต้องพิจารณา ให้สอดคลอ้ งกับขนาดของสายไฟฟ้าความสูงของจุดยดึ โยง และระยะหา่ งระหวา่ งกา้ นสมอบกกบั เสาไฟฟ้า 4. สายยึดโยงควรติดตั้งใหพ้ ้นจากแนวของรั้ว คูนํ้าหรือสิง่ กีดขวาง ถ้ามีความจำเป็นต้องฝังสมอบกซง่ึ เป็นการกีดขวางทางสัญจร หรือทำการยึดโยงในแนวทางเท้า จะต้องติดตั้งกายการด์ สำหรับป้องกันสายยึดโยง โดยทกี่ า้ นสมอบกควรอยใู่ นตำแหนง่ ท่ีสามารถตรวจสอบบำรงุ รักษาไดง้ า่ ยด้วย 5. สายยึดโยงตอ้ งดงึ ใหต้ งึ พอเหมาะโดยไม่ทำใหเ้ สาไฟฟ้าโก่งหรอื แอน่ เมอ่ื พาดสายไฟฟา้ แล้ว
56 6. เม่อื ทำการฝังสมอบกแลว้ ก้านสมอบกตอ้ งไมโ่ คง้ งอ และต้องเอียงทำมุมพอดกี บั สายยึดโยงหว่ งของ ก้านสมอบก จะต้องอยูเ่ หนือผวิ ดินประมาณ 150 - 200 มม. เพื่อป้องกันสายยึดโยงสัมผัสกบั ดิน ก้านสมอบก ทีย่ ดึ ติดกับสมอบกต้องขนั ดว้ ยนทั หรอื ลอ็ คนัท 7. ในการฝังสมอบก ให้ขุดหลุมมขี นาดใหญ่กวา่ ท่อนสมอบกเล็กน้อย เพื่อสมอบกจะได้ยึดแน่นกับดิน แลว้ ทำการกลบดว้ ยดินหรอื หินแล้วอดั ให้แนน่ และพอกดินทป่ี ากหลมุ ให้พนู ข้ึนมาไมใ่ ห้มนี ้ำขงั อยู่ 8. ต้องระมดั ระวงั ไมใ่ ห้ผิวของสายหรือวัสดทุ ี่ใช้ทำสายยดึ โยงชำรุด โดยหลีก เลย่ี งการลากสายไปกับ พืน้ หรือการถกู กระทบกระแทก และสว่ นท่ียดึ โยงด้วยยูแคลมป์จับปลายสายยึดโยงต้องขันสลกั เกลยี วให้แนน่ 9. เมื่อจำเปน็ ตอ้ งทำการยึดโยงแบบสตบั เพื่อข้ามถนน ระยะตาํ่ สดุ ของสายยึดโยงเหนอื ผวิ ถนน ตอ้ งไม่ นอ้ ยกวา่ 5.50 เมตร การจับยึดสายยึดโยง แบ่งออกได้เป็น 2 วิธี คือการจับยึดโดยใช้ยูแคลมป์ และการจับยึดโยงโดยใช้ลวดอะลูมิเนียมกลมพัน สายยึดโยง 1. การใช้ยูแคลมป์จบั ปลายสายยึดโยง มวี ิธกี ารดังน้ี ขั้นตอนท่ี 1 ให้ใช้ยูแคลมป์ตัวท่ี 1 โดยรัดที่เข้าปลายสาย ให้ยูโบลต์คร่อมที่ปลายสายจากน้ัน ขันนอ็ ตใหแ้ น่นในหมายเลข 1 แล้วทำการใสห่ ่วงโค้งสายอีกดา้ นหนึ่ง ขั้นตอนท่ี 2 ใช้ยูแคลมป์ตัวที่ 2 รัดทางด้านห่วง โดยให้ใกล้กับห่วงโค้งสายมากที่สุดทำลักษณะ เดยี วกนั กับขั้นตอนที่ 1 แล้วหมนุ น็อตเขา้ ไม่ตอ้ งแนน่ ขั้นตอนท่ี 3 จากขั้นตอนที่ 2 ให้ใช้ยูแคลมป์ตัวที่ 3 รัดระหว่างกลางของตัวท่ี 1 และตัวที่ 2 โดย ให้ได้ระยะห่างเท่ากัน หมุนน็อตที่ยูแคลมป์ตัวที่ 3 เข้าไม่ต้องแน่น แล้วดึงสายสะ-ลิงให้ตึงแนบกันสนิท ห้าม หยอ่ นเด็ดขาด จากน้นั ทำการขันน็อตทย่ี ูแคลมปท์ ุกตวั ให้แน่น เปน็ อันเรียบร้อย 2. การจับยดึ โยงด้วยลวดเหลก็ พันสายยดึ โยง มีวิธกี ารดงั นี้ ขั้นตอนท่ี 1 จัดความยาวปลายสายยึดโยงให้เหลือประมาณ 700 มม. แล้วทำการพันปลายสาย ยดึ โยงท่จี ัดไวด้ ว้ ยลวดเหลก็ เส้นที่ 1 ขนั้ ตอนท่ี 2 ใช้ลวดเส้นท่ี 1 พันปลายสายจนหมด (เสน้ ลวด) แล้วงอพบั ปลาย ข้ันตอนที่ 3 ใชล้ วดเส้นท่ี 2 พันปลายสายจนหมด (เสน้ ลวด) แล้วงอพับปลาย ขั้นตอนที่ 4 ทำการคลี่ลวดเหล็กจากปลายสายยึดโยงออก 1 เส้น ลวดเหล็กที่เหลือตัดออกให้ เหลือ 30 มิลลเิ มตร ข้ันตอนที่ 5 ใช้ลวดเส้นทเี่ หลอื พนั ปลายสายจนหมด (เสน้ ลวด) แล้วพับปลาย 5. กิจกรรมการจดั การเรยี นรู้ 5.1 การนำเข้าสบู่ ทเรียน 5.1.1 แจ้งใหผ้ ้เู รยี นทราบถึงเนื้อหาสาระวชิ า จดุ ประสงคก์ ารเรียนรแู้ ละกจิ กรรมที่ใชใ้ นการจัดการ เรียนการสอน
57 5.1.2 ครูผูส้ อนอธบิ ายวิธีการ การยึดโยง พรอ้ มใชค้ ำถามกระตุ้นซักถามกบั ผู้เรียนเพ่ือกระตุ้นความ สนใจให้กับผเู้ รยี น 5.2 การเรยี นรู้ 5.2.1 ผู้เรียนและครูผู้สอนร่วมกันอภิปรายกิจกรรมการเรียนรู้ การยึดโยง โดยให้บันทึกผลตาม รปู แบบ 5.2.2 ครูผสู้ อนอธบิ ายหลกั การใช้เครือ่ งมอื อุปกรณใ์ นการยึดโยง 5.2.3 ตัง้ คำถามให้ผเู้ รยี นเสนอขอ้ มูลจากประสบการณ์ของตนในการยึดโยง 5.2.4 ผู้เรียนร่วมกนั อภิปรายเกี่ยวกบั การยึดโยง ที่รวบรวมได้จากการศึกษาค้นคว้า โดยแบ่งกลุม่ (4-5คน/กลมุ่ ) เพ่อื ระดมความคิดของสมาชกิ ในกลุ่มตามหวั ข้อที่กำหนด โดยมคี รูเปน็ ผใู้ หค้ ำแนะนำ 5.2.5 ผู้เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ออกแบบหรอื หาวธิ นี ำเสนอใหผ้ ูอ้ ่นื รับร้แู ละสอื่ สารไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ 5.2.6 ให้ผู้เรียนทำแบบฝึกหัดคำถามท้ายบท และแบบประเมินผลการเรียนรู้ พร้อมกับร่วมกัน อภิปรายคำตอบที่ถกู ต้อง 5.2.7 เชื่อมโยงความคล้ายคลึง/แตกต่างของข้อมูลที่นำมาอภิปรายและร่วมกันสรุปความรู้ตาม หัวข้อท่ีศึกษา จากน้ันบนั ทกึ ผลขอ้ สรปุ เปน็ ความเข้าใจของกล่มุ และรายบคุ คล 5.3 การสรุป 5.3.1 ครูผูส้ อนซักถามและสรุปเนอ้ื หาบทเรียนเกีย่ วกบั การยดึ โยง 5.3.2 ครูผู้สอนไดส้ อดแทรกคุณธรรมจริยธรรมและจรรยาวิชาชพี ในเรอ่ื ง ความมวี ินัย ใฝเ่ รียนรู้ มงุ่ มั่นการทำงาน มจี ิตสาธารณะและอยู่อยา่ งพอเพยี ง 5.4 การวดั และประเมินผล 5.4.1 สังเกตพฤตกิ รรมการปฏบิ ัตงิ านรายบคุ คล 5.4.2 การสงั เกตและประเมินผลพฤตกิ รรมดา้ นคุณธรรมจรยิ ธรรมและคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 5.4.3 ตรวจแบบฝกึ หดั และแบบประเมนิ ผลการเรียนรู้ 6. สอ่ื การเรียนรู้ / แหลง่ การเรียนรู้ 6.1 สื่อส่ิงพิมพ์ อนุสรณ์ โคกกลาง. การตดิ ต้ังไฟฟา้ นอกอาคาร. กรงุ เทพฯ. ศนู ย์สง่ เสรมิ อาชีวะ ศสอ. 2562. ธวชั ชยั จารุจติ ร์. การตดิ ตง้ั ไฟฟ้านอกอาคาร. กรุงเทพฯ. สำนักพิมพ์ วังอักษร. 2553. 6.2 ส่ือโสตทัศน์ (ถ้ามี) 6.2.1 Power Point เรอ่ื ง เครื่องมือในการติดต้งั ไฟฟา้ นอกอาคาร 6.2.2 YouTube เรื่อง เคร่ืองมือในการตดิ ตัง้ ไฟฟ้านอกอาคาร 6.3 หนุ่ จำลองหรือของจรงิ (ถา้ มี) 6.4 อ่ืน ๆ (ถา้ มี) 7. เอกสารประกอบการจดั การเรียนรู้ (ใบความรู้ ใบงาน แบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบ หลงั เรยี น แบบถาม-ตอบ (ระหวา่ งเรียน) แบบตรวจสอบทกั ษะ ฯลฯ) 7.1 ใบความรู้ เร่ือง การยึดโยง
58 7.2 ใบงาน เรอื่ ง การยึดโยง 7.3 แบบทดสอบก่อนเรียน เร่ือง การยึดโยง 7.4 แบบทดสอบหลังเรยี น เรื่อง การยึดโยง 8. การบูรณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง แสดงออกด้านความสนใจใฝ่รู้ การตรงตอ่ เวลา ความซือ่ สัตย์ สจุ รติ ความมนี ำ้ ใจและแบ่งปัน ความรว่ มมือ/ยอมรับความคดิ เห็นสว่ นใหญ่ 9. การสอดแทรกแนวคดิ /กจิ กรรมต่อต้านการทจุ รติ (กจิ กรรมสง่ เสรมิ คุณธรรม จรยิ ธรรม และ ธรรมมาภิบาล) 9.1 การอยู่ร่วมกับผ้อู น่ื อย่างมีความสุข การแบง่ กลุ่ม ชว่ ยเหลือกนั และรว่ มงานกับผู้อืน่ ได้ 9.2 สนทนากบั นักเรียน ด้านคุณธรรมจริยธรรม ก่อนและหลงั การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ 9.3 ความรู้การใชภ้ าษาไทย การสรุป อภิปรายโดยใช้ภาษาสอื่ สารท่ถี ูกต้อง 9.4 ความรูเ้ ก่ยี วกับการใชอ้ นิ เตอรเ์ น็ต (Internet)ในการศึกษาค้นควา้ 9.5 สอดแทรกความรูแ้ ละโทษของยาเสพติด 10. การบรู ณาการ / ความสมั พนั ธก์ บั วิชาอ่ืน 10.1 มเี นื้อหาบรู ณาการสอดคล้องกับวิชา การตดิ ตั้งไฟฟา้ ในอาคาร 10.2 มเี น้อื หาบรู ณาการสอดคล้องกับวชิ า การออกแบบและประมาณราคา 10.2 มเี น้อื หาบรู ณาการสอดคล้องกับวิชา การเขียนแบบไฟฟ้าเบื้องตน้ 11. การวดั และประเมนิ ผล 11.1 ก่อนเรยี น วธิ กี ารวดั ผล ทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี น เครอื่ งมือวัด แบบทดสอบก่อนเรยี น จำนวน 10 ขอ้ 11.2 ขณะเรยี น วธิ ีการวัดผล ถาม-ตอบและทักษะการทดลอง เครือ่ งมือวดั คำถามจากบทเรียนและการรายงานผลการทดลอง
59 11.3 หลงั เรยี น วิธีการวัดผล ทำแบบทดสอบหลงั เรียน เครือ่ งมอื วัด แบบทดสอบหลังเรยี น จำนวน 10 ขอ้ แบบฝึกหดั หน่วยการเรยี น ที่ 4 การยึดโยง 1. สว่ นประกอบใดของการยึดโยงเสาฝังอยใู่ นดิน ก. สมอบก ข. ก้านสมอบก ค. เสาไฟฟ้า ง. สายยึดโยง 2. อุปกรณ์จบั ยึดโยงคอื ขอ้ ใด ก. สมอบก ข. กา้ นสมอบก ค. เสาไฟฟ้า ง. สายยดึ โยง 3. ความสูงจากพ้ืนดนิ ของลูกถว้ ยยึดโยงต้องไม่นอ้ ยกว่ากีเ่ มตร ก. 2.50 เมตร ข. 2.40 เมตร ค. 2.30 เมตร ง. 2.00 เมตร 4. ลูกถว้ ยยึดโยง มชี ื่ออกี อย่างหนึ่งว่าอะไร ก. ลกู ถว้ ยแขวน ข. ลูกถ้วยลูกรอก ค. ลูกถว้ ยมะไฟ ง. ลูกถ้วยมะเฟอื ง 5. การยดึ โยงแบบปอ้ งกันพายุจะทำการยดึ โยงในระยะใด ก. 2,000 เมตร ข. 2,000 – 3,000 เมตร ค. 5,000 – 10,000 เมตร ง. 500 – 1,000 เมตร 6. ข้อใด ไม่ใช่ การเรยี กช่ือการยดึ โยงตามลกั ษณะการใชง้ าน ก. การยดึ โยงตามแนวสาย ข. การยึดโยงด้านขา้ ง ค. สายยดึ โยงแบบปอ้ งกนั พายุ ง. สายยึดโยงแบบตอไม้ 7. บริเวณที่เป็นชุมชน ควรติดตั้งสายยึดโยงแบบใด ก. การยดึ โยงแบบบนเท้าทาง ข. การยึดโยงแบบสมอบก ค. การยดึ โยงแบบตอไม้ ง. การยดึ โยงแบบเสาไม้ 8. การจับยึดโยงดว้ ยลวดเหลก็ พนั สายยึดโยงควรจดั ความยาวปลายสายยึดโยงให้เหลือประมารกี่ มลิ ลิเมตร ก. 400 มิลลเิ มตร ข. 500 มิลลิเมตร ค. 600 มลิ ลเิ มตร ง. 700 มิลลเิ มตร 9 อุปกรณ์สำหรบั ยดึ โยงเสาไฟฟ้า ชนดิ ใดทำมาจากคอนกรตี เสริมเหลก็ ก. สมอบก ข. กา้ นสมอบก ค. สายยดึ โยง ง. ลูกถ้วยปดั โยง
60 10. อุปกรณ์สำหรับยดึ โยงเสาไฟฟ้า ชนิดใด ทำมาจากเหล็กซบุ กลั ฟ์วาไนซ์ ก. สมอบก ข. ก้านสมอบก ค. สายยึดโยง ง. ลูกถว้ ยปดั โยง เฉลย 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 กคขงกกงกกง แบบทดสอบ ออนไลน์ หนว่ ยการเรยี น ท่ี 4 การยึดโยง http://gg.gg/uogyk
61 12. บันทกึ หลงั สอน (เขยี นแนบไวด้ า้ นหลงั แผนการจดั การเรยี นร้ตู ามแบบฟอรม์ ของวิทยาลยั ) 12.1 ผลการใชแ้ ผนการจดั การเรียนรู้ 12.2 ผลการเรยี นรู้ของนกั เรียน – นกั ศึกษา 11.3 แนวทางการพฒั นาคุณภาพการเรยี นรู้
62 แผนการจดั การเรยี นรู้ หน่วยท่ี 5 มงุ่ เนน้ สมรรถนะอาชพี บรู ณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง วชิ า การตดิ ต้ังไฟฟ้านอกอาคาร สัปดาหท์ ี่ 7 รหสั วชิ า 20104-2106 ชอ่ื หน่วย การพาดสาย ชั่วโมงรวม 49 ชั่วโมง จำนวนชั่วโมง 7 ชั่วโมง 1. สาระสำคัญ การพาดสายนั้น มีอยู่หลายวิธี มีข้อดีข้อเสียแตกต่างกัน บางวิธีก็อาจจะนำไปใช้ในพืน้ ที่ตามป่าเขา ไม่ได้ อาจต้องใช้แรงงานคนหรือสัตว์แทนเครือ่ งทุ่นแรง เพราะรถไม่สามารถเข้าไปถึงหน่วยนี้ จะกล่าวถึงการ ตดิ ตัง้ แร็ก การผกู ลูกด้วยแรงตำ่ และแรงสูง รวมถงึ การตดิ ต้งั คอนสายแบบตา่ ง ๆ 2. สมรรถนะประจำหนว่ ย 2.1 ปฏบิ ตั ิงานติดตง้ั แร็กและพาดสาย 2.2 ใชเ้ ครือ่ งมือในงานตดิ ต้งั แร็กและพาดสาย 3. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 3.1 ดา้ นความรู้ 3.1.1 อธบิ ายวธิ ีการการตดิ ต้ังคอนสาย ได้ 3.1.2 บอกวิธีการตอ่ สายโดยใช้ พี.จ.ี คอนเน็กเตอร์ได้ 3.1.3 แยกประเภทเครอ่ื งมือในงานติดตั้งไฟฟา้ นอกอาคารได้ 3.2 ดา้ นทกั ษะ 3.2.1 ช้แี จงลกั ษณะของเคร่ืองมือในการติดต้ังไฟฟา้ นอกอาคาร 3.2.2 ปฏบิ ตั ิการตอ่ สายโดยใช้ พี.จี. คอนเนก็ เตอร์ได้อยา่ งถกู ต้อง 3.2.3 มีทักษะในการติดตั้งแร็กแรงต่ำ 3.3 ดา้ นคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ 3.3.1 มวี นิ ยั 3.3.2 ใฝเ่ รียนรู้ 3.3.3 มุ่งมนั่ ในการทำงาน 3.3.4 มีจิตสาธารณะ 3.3.5 มีหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 4. เน้อื หาสาระการเรียนรู้ 4.1 การตดิ ต้ังคอนสาย 4.2 การติดตง้ั แรก็ แรงดนั ตำ่ 4.3 วธิ กี ารพาดสายไฟฟ้า 4.4 การตอ่ สายโดยใช้ พ.ี จ.ี คอนเนก็ เตอร์
63 การติดตงั้ คอนสาย เมื่อทำกำรปักเสำเสร็จเรียบร้อยแล้ว ขั้นตอนต่อไป คือกำรติดตัง้ คอนสำย โดยใชร้ อกและเชอื กดึงข้ึน ไปประกอบบนเสำไฟฟ้ำ จำกนั้นทำกำรขันยึดน็อตให้แน่น แล้วประกอบลูกถ้วยเพื่อใช้ในกำรพำดสำยต่อไป สำหรับกำรประกอบคอนสำยและติดต้ังลูกถ้วยบนเสำไฟฟ้ำ มีอยหู่ ลำยแบบซึ่งแตล่ ะแบบกจ็ ะใช้ประโยชน์ตำม ควำมเหมำะสม ในกำรติดตงั้ ของสภำพพื้นท่ที แ่ี ตกตำ่ งกันออกไปซึ่งรูปแบบกำรติดต้ังมดี งั น้ี 1. คอนสำยเดี่ยว ใช้รองรับกำรพำดสำยในแนวตรง เช่น กำรพำดสำยผ่ำนสิ่งปลูกสร้ำงหรือชุมชน ใช้ ประกอบเสำเพื่อติดตั้งลูกถ้วยก้ำนตรง ลูกถ้วยพินโพสต์ และลูกถ้วยไลน์โพสต์ กับระบบจำหน่ำยแรงสูงขนำด 22 kV, 33 kV รูที่ 5.1 คอนสำยเด่ยี ว 2. คอนสำยคู่ ใชค้ อนสำยคู่เพ่ือตดิ ต้งั ประกอบกบั เสำ เพือ่ เปล่ียนแนวของสำย ไฟฟ้ำ หรือทำงแยกวงจร ในระบบจำหนำ่ ย รูที่ 5.2 คอนสำยคู่ 3. คอนสำยแบบเท้ำแขน ใชป้ ระกอบติดต้งั สำหรับกำรพำดสำยในบรเิ วณพืน้ ที่แคบ ๆชมุ ชน หรอื แนวใกล้ ต้นไม้ สำมำรถติดตั้งแบบคอนสำยเดี่ยวและคอนสำยคู่ได้ ซึ่งกำรประกอบคอนสำยและกำรติดตั้งลูกถ้วย จะตอ้ งมคี วำมแข็งแรงมำกกวำ่ กำรพำดสำยในแนวตรง
64 รูที่ 5.3 คอนสำยแบบเทำ้ แขน 4. คอนสำยแบบไขว้ ใชส้ ำหรับกำรพำดสำยในบริเวณแยกสำยในระบบจำหนำ่ ย รูที่ 5.4 คอนสำยแบบไขว้ 5. เหล็กคอนเคเบิลอำกำศทำงตรง (Tangent Support Bracket) ใช้ยึดเคเบิลสเปซ-เซอร์เพื่อใช้พำด สำยเคเบิลอำกำศ กำรใช้เหล็กคอนเคเบิลอำกำศทำงตรงในกำรพำดสำยนั้น เหมำะสำหรับพื้นที่แคบ ๆ ชุมชน หรอื บรเิ วณทมี่ ปี ัญหำในกำรตัดตน้ ไม้ รูที่ 5.5 เหล็กคอนเคเบิลอำกำศทำงตรง 6. เหล็กคอนเคเบิลอำกำศทำงโค้ง (Corner Support Bracket) ใช้ติดตั้งลูกถ้วยก้ำนตรง หรือ ลูกถ้วย ไลน์โพสต์ ในกำรเดินระบบจำหน่ำยแรงสูงด้วยสำยเคเบิลอำกำศ ส่วนมำกจะนิยมใช้กับพื้นที่แคบ ๆ เช่น ชมุ ชน บรเิ วณทำงโค้ง
65 รทู ่ี 5.6 เหล็กคอนเคเบิลอำกำศทำงโค้ง การติดต้งั แร็กแรงตา่ กอ่ นทจี่ ะทำกำรพำดสำยในระบบแรงต่ำ แรงดนั ไฟฟำ้ 380/220 โวลต์ จะตอ้ งทำกำรยึดแร็ก(Rack) พร้อมติดตั้งลูกถ้วยเข้ำกับแร็กยึดเข้ำกับปลำยเสำหรือส่วนอื่นของเสำไฟฟ้ำตำมระดับควำมสูงที่ต้องกำรจะทำ กำรพำดสำย แร็กที่จะทำกำรยึดติด เรียกเป็นจำนวนช่อง เช่น แร็ก 1 ช่อง แร็ก 3 ช่อง แร็ก 5 ช่อง แร็ก 7 ช่อง ยกตวั อย่ำง แร็กขนำด 7 ช่อง สำมำรถประกอบลูกถ้วยไดจ้ ำนวน 4 ลกู จึงสำมำรถพำดสำยได้ 4 เส้น ตำม จำนวนลกู ถว้ ยนน่ั เอง รทู ่ี 5.7 กำรติดตง้ั แร็กแรงต่ำ ในกำรพำดสำยส่วนประกอบสำคัญคือ แร็ก (Rack) เพรำะสำยไฟฟ้ำจะต้องยดึ ตดิ กับแร็กที่ประกอบ ลูกถ้วยเรียบร้อยแล้ว ในกำรพำดสำยไฟฟ้ำในระหว่ำงเสำต้นแรกกับเสำต้นสุดท้ำยในแต่ละพื้นที่จะมีระยะท่ี ต่ำงกันไป ขึ้นอยู่กับลักษณะภูมิประเทศและกำรแลกเปลี่ยนแนวเสำไฟฟ้ำเช่น ระยะห่ำงหนึ่งกิโลเมตรอำจจะ เข้ำปลำยสำย (Dead End) หนึง่ ครง้ั หรือระยะ 3 กิโลเมตร 1. ลักษณะการตดิ ต้งั แรก็ แรงตา่ ในกำรติดตั้งแร็กแรงต่ำมีอยู่หลำยรูปแบบ ซึ่งแต่ละรูปแบบมีวิธีกำรติดตั้งที่แตกต่ำงกันออกไป โดย ลกั ษณะกำรตดิ ต้ังแร็ก ดังน้ี 1. กำรติดตงั้ แร็กในแนวทำงตรง 0-5 องศำ และทำงโค้ง 5-60 องศำ ในระบบ 1 เฟส และ 3 เฟส
66 รทู ี่ 5.8 กำรติดตงั้ แร็กในแนวทำงตรง 2. กำรตดิ ตง้ั แรก็ ส่ำหรบั ต้นสดุ ทำ้ ย รทู ี่ 5.9 กำรตดิ ต้งั แร็กส่ำหรบั ตน้ สดุ ทำ้ ย 3. กำรตดิ ตัง้ แรก็ ส่ำหรบั เขำ้ ปลำยสำย 2 ข้ำง รูท่ี 5.10 กำรตดิ ต้งั แร็กสำ่ หรับเข้ำปลำยสำย 2 ขำ้ ง 4. กำรตดิ ตัง้ แรก็ สำ่ หรบั ทำงโค้ง 60 องศำ รูท่ี 5.11 กำรติดต้งั แร็กสำ่ หรับทำงโค้ง 60 องศำ
67 5. กำรติดตง้ั แรก็ ส่ำหรับกำรต่อแยกสำย รูท่ี 5.12 กำรติดตง้ั แร็กสำ่ หรับกำรต่อแยกสำย วิธพี าดสายไฟฟ้า หลังจำกปักเสำประกอบคอนสำย และลูกถ้วยเสร็จเรียบร้อยแล้ว ขั้นตอนต่อไปก็จะเป็นกำรพำดสำย แต่เน่อื งจำกสำยไฟฟ้ำในระบบจำหน่ำยมีขนำดค่อนขำ้ งใหญ่ และมนี ้ำหนกั มำกจึงต้องมีเครื่องมือ อุปกรณ์ช่วย ในกำรปฏิบัติงำนพำดสำยเพื่อช่วยผ่อนแรงให้กับผู้ปฏิบัติงำนพำดสำย เช่นรอกพำดสำย รถเครน รถลำก และ รถยก สิ่งสำคัญที่สุดคือ กำรคลี่สำย สำยที่คลี่ออกมำจะต้องไม่บิดงอ วิธีกำรพำดสำยที่ปฏิบัติกันทั่วไปใน ปจั จบุ นั มี 3 วธิ ี ได้แก่ 1.กำรวำงโรลสำยบนที่ตั้งโรลสำยบนพื้นดินและใช้คนลำกสำย วิธีนี้จะใช้แรงงำนจำกคนงำนที่ลำก สำยไปยังจุดทเี่ ข้ำปลำยสำย (Dead end) ข้อดี 1. สำมำรถปฏิบตั งิ ำนไดอ้ ย่ำงตอ่ เน่อื งไมม่ ีกำรหยุดชะงกั 2. ปฏบิ ตั ิงำนไดท้ กุ พ้นื ท่ี ข้อเสยี 1. ใช้แรงงำนจำนวนมำก 2. มคี วำมลำบำกในกำรลำกสำย 3. กำรปฏบิ ัติงำนใชเ้ วลำนำน 2. กำรวำงโรลสำยบนที่ตั้งโรลสำยบนพื้นดินและใช้คนลำกสำย วิธีนี้ใช้รถลำกสำยทำให้ได้รับควำม สะดวกมำกข้ึน แตต่ อ้ งระวงั เสำอำจจะล้ม ถำ้ หำกขำดกำรประสำนระหว่ำงคนขับรถกับผเู้ กย่ี วข้อง ข้อดี 1. สะดวกกวำ่ กำรใชแ้ รงงำนคนลำก 2. ใชเ้ วลำในกำรปฏิบัตงิ ำนน้อย ขอ้ เสีย 1. สำยอำจจะถลอกหรือชำ้ เน่อื งจำกกำรเสยี ดสขี ณะทีท่ ำกำรลำกสำย 2. แรงดงึ จำกรถยนตอ์ ำจทำให้เสำลม้ 3. กำรวำงโรลสำยบนที่ตั้งโรลสำยบนรถยนต์และใช้รถยนต์ลำยสำย วิธีนี้เหมำะสำหรับกำรลำก สำยในที่โล่งแจ้ง หรือมีต้นไม้ไม่มำกนัก รถยนต์สำมำรถวิ่งได้ตลอดเส้นทำง ทำให้สำมำรถปฏิบัติงำนได้อย่ำง รวดเร็วประหยดั เวลำและค่ำจำ้ งแรงงำน
68 การตอ่ สายไฟฟา้ ด้วย พิ.จิ คอนเนก็ เตอร์ 1. จุดต่อที่ใช้ พี.จี คอนเน็กเตอร์ 1 ตัว ใช้สำหรับกำรต่อสำยย่อย ซึ่งสำยย่อยมีขนำดเล็กกว่ำ 95 ตำรำงมิลลิเมตร หรือกำรต่อแยกสำยเข้ำอุปกรณ์ไฟฟ้ำ เช่น กำรต่อสำยแยกเขำ้ ที่ล่อฟ้ำแรงสูงและกำรต่อสำย เชอ่ื มระหว่ำง PT และ CT หรอื คำปำชิเตอร์ รทู ่ี 5.13 จุดตอ่ ท่ีใช้ พี.จี คอนเนก็ เตอร์ 1 ตัว 2. จุดตอ่ ท่ีใช้ พ.ี จี คอนเน็กเตอร์ 2 ตวั ใช้สำหรบั กำรต่อสำยในลักษณะต่ำง ๆ เช่น กำรต่อสำยย่อยท่ี มีขนำด 95 ตำรำงมิลลเิ มตร กำรต่อสำยที่เสำเข้ำปลำยสำยสองข้ำง กำรต่อสำยระหว่ำงฟีดเดอร์ (Feeder) กำรตอ่ สำยเคเบิลอำกำศกับอะลูมเิ นียมเปลือย และกำรตอ่ สำยกรณอี ่ืนทีม่ โี หลดมำก เป็นตน้ รูที่ 5.14 จุดต่อท่ีใช้ พี.จี คอนเนก็ เตอร์ 2 ตวั 5. กิจกรรมกำรจดั กำรเรียนรู้ 5.1 กำรนำเขำ้ สบู่ ทเรยี น 5.1.1 แจ้งให้ผู้เรยี นทรำบถึงเนอื้ หำสำระวิชำ จดุ ประสงค์กำรเรยี นร้แู ละกจิ กรรมท่ีใช้ในกำรจัดกำร เรียนกำรสอน 5.1.2 ครูผู้สอนอธิบำยวิธีกำรใช้ เครื่องมือในกำรติดตั้งไฟฟ้ำนอกอำคำร พร้อมใช้คำถำมกระตุ้น ซักถำมกับผู้เรยี นเพื่อกระตนุ้ ควำมสนใจให้กับผ้เู รยี น 5.2 การเรยี นรู้ 5.2.1 ผู้เรียนและครูผู้สอนร่วมกันอภิปรายกิจกรรมการเรียนรู้ การพาดสาย โดยให้บันทึกผลตาม รูปแบบ 5.2.2 ครูผสู้ อนอธิบายหลักการใช้เคร่ืองมือในการการพาดสาย 5.2.3 ตงั้ คำถามให้ผเู้ รยี นเสนอขอ้ มลู จากประสบการณข์ องตนในการพาดสาย 5.2.4 ผู้เรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับการพาดสาย ที่รวบรวมได้จากการศึกษาค้นคว้า โดย แบ่งกลมุ่ (4-5คน/กล่มุ ) เพื่อระดมความคิดของสมาชกิ ในกล่มุ ตามหวั ข้อท่ีกำหนด โดยมคี รูเป็นผู้ให้คำแนะนำ 5.2.5 ผู้เรียนแต่ละกลมุ่ ออกแบบหรือหาวธิ ีนำเสนอใหผ้ อู้ น่ื รบั รู้และสื่อสารไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ
69 5.2.6 ให้ผู้เรียนทำแบบฝึกหัดคำถามท้ายบท และแบบประเมินผลการเรียนรู้ พร้อมกับร่วมกัน อภิปรายคำตอบทีถ่ กู ตอ้ ง 5.2.7 เชื่อมโยงความคล้ายคลึง/แตกต่างของข้อมูลที่นำมาอภิปรายและร่วมกันสรุปความรู้ตาม หัวข้อท่ศี กึ ษา จากนน้ั บันทึกผลขอ้ สรปุ เปน็ ความเข้าใจของกลุ่มและรายบคุ คล 5.3 การสรุป 5.3.1 ครูผ้สู อนซกั ถามและสรปุ เน้อื หาบทเรยี นเกีย่ วกับการพาดสาย 5.3.2 ครผู ู้สอนได้สอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมและจรรยาวิชาชีพในเรอื่ ง ความมีวินัย ใฝ่เรยี นรู้ มงุ่ มนั่ การทำงาน มีจติ สาธารณะและอยู่อย่างพอเพยี ง 5.4 การวัดและประเมนิ ผล 5.4.1 สังเกตพฤติกรรมการปฏิบตั ิงานรายบคุ คล 5.4.2 การสังเกตและประเมินผลพฤติกรรมดา้ นคุณธรรมจรยิ ธรรมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 5.4.3 ตรวจแบบฝึกหดั และแบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ 6. ส่อื การเรยี นรู้ / แหล่งการเรยี นรู้ 6.1 ส่ือส่งิ พิมพ์ อนสุ รณ์ โคกกลาง. การติดตง้ั ไฟฟ้านอกอาคาร. กรุงเทพฯ. ศูนย์ส่งเสริมอาชวี ะ ศสอ. 2562. ธวชั ชัย จารจุ ิตร์. การตดิ ตัง้ ไฟฟา้ นอกอาคาร. กรุงเทพฯ. สำนกั พิมพ์ วงั อักษร. 2553. 6.2 ส่ือโสตทัศน์ (ถ้าม)ี 6.2.1 Power Point เร่ือง การพาดสาย 6.2.2 YouTube เร่อื ง การพาดสาย 6.3 หนุ่ จำลองหรือของจริง (ถา้ มี) 6.4 อ่นื ๆ (ถ้าม)ี 7. เอกสารประกอบการจดั การเรยี นรู้ (ใบความรู้ ใบงาน แบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบ หลังเรียน แบบถาม-ตอบ (ระหว่างเรียน) แบบตรวจสอบทกั ษะ ฯลฯ) 7.1 ใบความรู้ เรือ่ ง การพาดสาย 7.2 ใบงาน เร่อื ง การพาดสาย 7.3 แบบทดสอบกอ่ นเรยี น เรอ่ื ง การพาดสาย 7.4 แบบทดสอบหลังเรยี น เร่อื ง การพาดสาย 8. การบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง แสดงออกดา้ นความสนใจใฝ่รู้ การตรงตอ่ เวลา ความซอ่ื สัตย์ สุจริต ความมนี ้ำใจและแบ่งปัน ความร่วมมอื /ยอมรบั ความคดิ เหน็ สว่ นใหญ่
70 9. การสอดแทรกแนวคิด/กิจกรรมต่อต้านการทจุ รติ (กจิ กรรมส่งเสรมิ คณุ ธรรม จริยธรรม และ ธรรมมาภบิ าล) 9.1 การอยรู่ ว่ มกับผ้อู นื่ อยา่ งมคี วามสุข การแบ่งกลุ่ม ช่วยเหลือกนั และรว่ มงานกับผู้อน่ื ได้ 9.2 สนทนากับนกั เรยี น ดา้ นคณุ ธรรมจริยธรรม ก่อนและหลงั การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ 9.3 ความร้กู ารใช้ภาษาไทย การสรุป อภิปรายโดยใช้ภาษาส่ือสารทถี่ ูกตอ้ ง 9.4 ความรเู้ กี่ยวกับการใชอ้ นิ เตอร์เนต็ (Internet)ในการศึกษาคน้ ควา้ 9.5 สอดแทรกความรูแ้ ละโทษของยาเสพตดิ 10. การบรู ณาการ / ความสมั พันธก์ บั วชิ าอ่นื 10.1 มเี นือ้ หาบรู ณาการสอดคล้องกับวิชา การตดิ ตง้ั ไฟฟา้ ในอาคาร 10.2 มีเนอื้ หาบรู ณาการสอดคล้องกบั วิชา การออกแบบและประมาณราคา 10.2 มีเน้ือหาบูรณาการสอดคล้องกับวิชา การเขียนแบบไฟฟา้ เบื้องต้น 11. การวัดและประเมินผล 11.1 ก่อนเรียน วธิ ีการวดั ผล ทำแบบทดสอบก่อนเรียน เครอื่ งมอื วัด แบบทดสอบก่อนเรียน จำนวน 10 ข้อ 11.2 ขณะเรียน วิธกี ารวดั ผล ถาม-ตอบและทกั ษะการทดลอง เครอื่ งมือวัด คำถามจากบทเรยี นและการรายงานผลการทดลอง 11.3 หลังเรียน วิธีการวดั ผล ทำแบบทดสอบหลังเรยี น เครอื่ งมือวัด แบบทดสอบหลังเรียน จำนวน 10 ข้อ
71 แบบฝึกหัด หนว่ ยการเรยี น ที่ 5 การพาดสาย 1. หลังจากติดตง้ั คอนสายกบั เสาไฟฟ้าแล้ว ตอ้ งติดตง้ั อปุ กรณ์ใดในข้อเข้ากับคอนสายในลำดับตอ่ ไป ก. แรก็ ข. ลูกถว้ ย ค. สายไฟฟา้ ง. ถกู ทุกข้อ 2. การติดตัง้ คอนสายในข้อใด ใชต้ ดิ ตง้ั สา่ หรับการพาดสายในบริเวณพน้ื ท่ีแคบๆหรือชุมชน ก. คอนสายเดี'ยว ข. คอนสายแบบเท้าแขวน ค. คอนสายทางตรง ง. คอนสายแบบต่อแยก 3. การติดตัง้ แร็กในระบบไฟฟ้า 3 เฟส 4 สาย มีใช้แรก็ กี่ชอ่ ง ก. 7 ช่อง ข. 5 ช่อง ค. 3 ช่อง ง. 1 ช่อง 4. แรก็ 3 ชอ่ ง สามารถพาดสายไดก้ ี่เส้น ก. 2 เสน้ ข. 4 เส้น ค. 6 เสน้ ง. 7 เส้น 5. ส่วนประกอบท่ีสำคัญของแร็ก ในการพาดสายคือข้อใด ก. สายไฟฟา้ ข. คอนสาย ค. ลูกถ้วยลูกรอก ง. ไม่มีข้อถูก 6. ข้อใดไมใ่ ชว้ ิธีการพาดสาย ก. การวางโรสสายบนท่ีตัง้ โรสสายบนดนิ แลว้ ใช้คนลาก ข. การวางโรสสายบนที่ตั้งโรสสายบนดินแล้วใชม้ ้าลาก ค. การวางโรสสายบนท่ีต้งั โรสสายบนดนิ แล้วใชร้ ถลาก ง. การวางโรสสายบนท่ีตั้งโรสสายบนรถแลว้ รถวิ'ง 7. ขอ้ ใดกล่าวถกู ต้องเก่ียวกบั จุดต่อที่ใช้ พี จี คอนเน็กเตอร์2 ตัว ก. การต่อสายระหว่างฟิดเดอร์(Feeder) ข. การตอ่ สายเคเบิลอากาศกับอะลมู เิ นียมเปลอื ย ค. การตอ่ สายกรณีอื'นท'ี มโี หลดมาก ง. ถกู ทกุ ข้อ 8. คุณสมบัตขิ องคอมปาวดท์ ่ีทา่ ให้ พี. จี. คอนเน็กเตอร์ คือข้อใด ก. เปน็ น้ำยาทา่ ความสะอาด พี จี และสายไฟฟ้า ข. เปน็ น้ำยาชว่ ยการสมั ผัสไฟฟ้าท่ีดขี อง พี. จ.ี คอนเนก็ เตอร์ ค. เปน็ น้ำยาทช่ี ่วยให้ขันสลักเกลยี วได้แนน่ ขึน้ ง. ผดิ ทกุ ข้อ 9. การตดิ ตง้ั แร็กแรงต่ำในทางโค้งตดิ ในมุมใด ก. 0 – 5 องศา ข. 5 – 60 องศา ค. 0 – 10 องศา ง. 10 – 15 องศา
72 10. วธิ กี ารพลาดสายที'ปฏบิ ตั ิกนั ทั่วไปใน ปจั จบุ นั มีกี'วิธี ก. 1 วธิ ี ข. 2 วธิ ี ค. 3 วิธี ง. 4 วธิ ี เฉลย 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ขกกกคขงขขค แบบทดสอบออนไลน์ หน่วยการเรียน ที่ 5 การพาดสาย http://gg.gg/uoh2d
73 12. บันทกึ หลงั สอน (เขยี นแนบไวด้ า้ นหลงั แผนการจดั การเรยี นร้ตู ามแบบฟอรม์ ของวิทยาลยั ) 12.1 ผลการใชแ้ ผนการจดั การเรียนรู้ 12.2 ผลการเรยี นรู้ของนกั เรียน – นกั ศึกษา 11.3 แนวทางการพฒั นาคุณภาพการเรยี นรู้
74 แผนการจัดการเรียนรู้ หนว่ ยที่ 6 มุง่ เน้นสมรรถนะอาชีพบูรณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง วชิ า การตดิ ตั้งไฟฟา้ นอกอาคาร สปั ดาหท์ ่ี 8 รหสั วชิ า 20104-2106 ชอ่ื หน่วย การดึงสาย ช่ัวโมงรวม 56 ช่ัวโมง จำนวนช่ัวโมง 7 ช่ัวโมง 1. สาระสำคัญ การดึงสาย จะตอ้ งมคี วามตึงพอเหมาะ สามารถรองรับกบั แรงท่ีมากระทำได้ และต้องคำนึงถึงระยะใน การหย่อนของแต่ละพื้นที่ เช่น สะพาน อาคาร บ้านเรือนในชุมชน จะต้องเป็นไปตามกำหนดของการไฟฟ้า ทั้งนี้เพื่อเป็นการป้องกันอันตรายจากกระแสไฟฟ้า วิธีการผูกลูกถ้วย ก็มีส่วนสำคัญในการยึดสายให้ตึงหรือ หยอ่ น หากผกู ลกู ถว้ ยไม่แน่นอาจจะทำใหส้ ายหย่อนหรือแกว่ง จะนำมาซึง่ ความเสียหายของระบบไฟฟ้าได้ ซึ่ง จะไดศ้ กึ ษาวธิ ีการผกู ลกู ถว้ ยต่อไป 2. สมรรถนะประจำหนว่ ย 2.1 แสดงความรู้เก่ยี วกับงานดงึ สาย 2.2 ใช้เคร่ืองมือในงานดงึ สาย 3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 3.1 ด้านความรู้ 3.1.1 อธบิ ายวธิ กี ารใช้งานของเคร่ืองมอื ตดิ ต้งั ไฟฟา้ นอกอาคารได้ 3.1.2 บอกชื่อเครื่องมือในงานตดิ ต้งั ไฟฟ้านอกอาคารได้ 3.1.3 แยกประเภทเคร่ืองมอื ในงานติดตั้งไฟฟ้านอกอาคารได้ 3.1.3 แยกประเภทเครอ่ื งมอื ในงานตดิ ตั้งไฟฟ้านอกอาคารได้ 3.2 ด้านทักษะ 3.2.1 ชี้แจงลักษณะของเครื่องมือในการติดตั้งไฟฟ้านอกอาคาร 3.2.2 ปฏบิ ัตกิ ารโดยใช้ทักษะกระบวนการปฏบิ ตั ิไดถ้ ูกวิธี 3.3 ดา้ นคณุ ลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ 3.3.1 มีวนิ ัย 3.3.2 ใฝเ่ รยี นรู้ 3.3.3 มุง่ มนั่ ในการทำงาน 3.3.4 มจี ติ สาธารณะ 3.3.5 มหี ลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 4. เน้อื หาสาระการเรยี นรู้ 4.1 ขอ้ กำหนดในการดึงสาย 4.2 การดงึ สายดว้ ยฮอยส์และคมั อะลอง
75 4.3 3. การผูกลกู ถ้วยลกู รอก ขอ้ กำหนดในการดงึ สาย เมอ่ื ทำการพาดสายไฟฟ้าไว้บนคอนสายหรือพาดสายไว้กบั แร็กเรียบร้อยแล้ว ขน้ั ตอนตอ่ ไปตอ้ งทำการ ดึงสาย คือการทำให้สายไฟฟา้ ที่ระยะห่างระหวา่ งช่วงเสาตงึ พอดี มีระยะหยอ่ นหรอื ระยะตกท้องชา้ ง (Sagging) ไมเ่ กินมาตรฐานท่ีกำหนด เพอื่ ป้องกนั การแกวง่ ไปมาของสาย เปน็ เหตใุ ห้สายขาดออกจากกนั ในการดึงสายน้ัน ต้องเปน็ ไปตามขอ้ กำหนดของการไฟฟ้า ขนั้ ตอนการดึงสายด้วยฮอยสแ์ ละคัมอะลอง 1. ทำการปีนเสาตดิ ตั้งแร็ก ลูกถ้วยลกู รอกท่บี ริเวณหัวเสาไฟฟา้ ทัง้ 3 ต้น 2. นำสายไฟฟ้าเสน้ ท่ี 1 ไปยดึ กับลูกถ้วยลกู รอกช่องที่ 1 ดว้ ย พ.ี จี แคลมป์ 3. นำสายไฟฟา้ เส้นที่ 1 สอดผ่านช่องแร็กทตี่ ดิ ต้งั ลูกถ้วยลกู รอกแลว้ ในชอ่ งที่ 1ของเสาไฟฟ้าตน้ ที่ 2 4. ดึงปลายสายไฟฟา้ มาคลอ้ งกับลกู ถว้ ยลูกรอกช่องท่ี 1 ของเสาไฟฟา้ ตน้ ท่ี 3 5. ใชค้ มั อะลองจบั สายไฟฟ้า ส่วนฮอยสใ์ ช้คลอ้ งกบั เสาไฟฟา้ ต้นท่ี 3 ทำการดึงสายไฟฟา้ ให้ตงึ 6. ทำการผูกลกู ถว้ ยลูกรอกทเี่ สาต้นที่ 2 และ ตน้ ที่ 3 ดังนี้ เสาต้นท่ี 2 ผูกลูกถว้ ยลูกรอกแรงต่ําที่ตดิ ตงั้ บนหัวเสา เสาตน้ ที่ 3 เขา้ ปลายสายแรงตา่ํ ด้วยอะลูมิเนยี มกลม 7. นำสายไฟฟา้ เส้นที่ 2 ผูกตดิ กับลูกถ้วยชอ่ งที่ 2 ทำตามข้ันตอนจากข้อ 2 - 6 8. นำสายไฟฟ้าเสน้ ที่ 3 ผกู ตดิ กบั ลูกถ้วยช่องท่ี 3 ทำตามข้นั ตอนจากข้อ 2 - 6 9. นำสายไฟฟา้ เส้นที่ 4 ผกู ติดกับลูกถว้ ยช่องที่ 4 ทำตามข้นั ตอนจากข้อ 2 – 6 รูปท่ี 6.1 ขนั้ ตอนการดงึ สายด้วยฮอยสแ์ ละคัมอะลอง การผกู ลูกดว้ ยลูกรอก เนื่องจากสายตัวนำ ต้องวางไว้บนลูกถ้วย จึงถูกปะทะกับลมหรือพายุ หากการพันจับยึดไม่แน่น ไม่ แข็งแรง สายหยอ่ นเกินไป จะทำให้สายตัวนำเกิดการสั่นหรือแกว่งไปมา ซ่งึ จะสง่ ผลใหล้ วดผูกยึดสายตัวนำกับ ลูกถ้วยลูกรอกขาดออกจากกัน ดังนั้นก่อนที่จะทำการผูกลูกถ้วยลูกรอกต้องดึงสายให้อยู่ในระยะตึงพอดี เสียก่อน
76 1. การผกู ลูกถว้ ยแรงต่ำ คือ จะวางสายหมุ้ ฉนวนไว้บรเิ วณร่องดา้ นข้างของลกู ถว้ ยลูกรอก รปู ท่ี 6.2 การผกู ลกู ถว้ ยแรงต่ำ 1.1 การผูกลกู ถ้วยลกู รอกแรงต่ำ แบบพาดสายใตช้ ายคา รปู ท่ี 6.3 การผกู ลูกถว้ ยลูกรอกแรงต่ำ แบบพาดสายใต้ชายคา การเข้าปลายสายรับแรงดึงสำหรับสายหุ้มฉนวนแรงต่ำ อุปกรณ์ที่ใช้ ได้แก่ คอนเน็กเตอร์ (Connecor) หรือแคลมป์ยึดสาย โดยสายขนาดเล็กจะพันด้วยเทปพันสาย พีวีซี แต่ถ้าเป็นสายขนาดใหญ่ กว่า 120 มม. ต้องใชป้ รีฟอร์มเพอื่ เขา้ ปลายสาย 1.2 การเข้าปลายสายแรงต่ำด้วยลวดอะลูมเิ นียมกลม รูปที่ 6.4 การเข้าปลายสายแรงตำ่ ด้วยลวดอะลมู ิเนียมกลม ขั้นตอนท่ี 1
77 รปู ท่ี 6.5 การเข้าปลายสายแรงต่ำดว้ ยลวดอะลมู เิ นียมกลม ขั้นตอนที่ 2 รูปท่ี 6.6 การเข้าปลายสายแรงต่ำด้วยลวดอะลมู ิเนียมกลม ข้ันตอนท่ี 3 รปู ที่ 6.7 การเขา้ ปลายสายแรงต่ำด้วยลวดอะลูมิเนียมกลม ขั้นตอนท่ี 4 รูปท่ี 6.8 การเขา้ ปลายสายแรงต่ำด้วยลวดอะลมู เิ นยี มกลม ขั้นตอนท่ี 5 รปู ที่ 6.9 การเข้าปลายสายแรงต่ำดว้ ยลวดอะลมู ิเนียมกลม ขน้ั ตอนท่ี 6
78 1.3 การเข้าปลายสายแรงต่ำดว้ ยลวดอะลมู เิ นยี ม รูปท่ี 6.10 การเข้าปลายสายแรงต่ำด้วยลวดอะลมู ิเนียม ขั้นตอนท่ี 1 รปู ที่ 6.12 การเข้าปลายสายแรงต่ำดว้ ยลวดอะลูมิเนียม ข้ันตอนที่ 2 รปู ที่ 6.13 การเข้าปลายสายแรงต่ำด้วยลวดอะลูมิเนียม ขั้นตอนที่ 3 รูปที่ 6.14 การเข้าปลายสายแรงต่ำด้วยลวดอะลมู ิเนียม ขั้นตอนที่ 4 รูปที่ 6.15 การเข้าปลายสายแรงต่ำดว้ ยลวดอะลมู ิเนยี ม ข้ันตอนที่ 5 รูปที่ 6.16 การเข้าปลายสายแรงตำ่ ดว้ ยลวดอะลมู ิเนียม ขั้นตอนท่ี 6
79 2. การผกู ลูกด้วยแรงสูง 2.1 การผูกลูกถว้ ยแรงสูง สำหรับสายหุ้มฉนวน รปู ท่ี 6.17 การผกู ลูกถ้วยแรงสงู สำหรบั สายหมุ้ ฉนวน 2.2 การผูกลกู ถ้วยเดีย่ วสำหรับสายเปลอื ย ใช้อะลมู เิ นยี มแบน รปู ท่ี 6.18 การผูกลูกถ้วยเด่ียวสำหรบั สายเปลือย ใช้อะลูมิเนยี มแบน
80 2.3 การผกู ลกู ถ้วยคู่สำหรับสายเปลอื ยโดยใชป้ รฟี อรม์ ไลน์การ์ด รปู ที่ 6.19 การผกู ลกู ถว้ ยคู่สำหรบั สายเปลอื ยโดยใชป้ รีฟอร์มไลน์การด์ 5. กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ 5.1 การนำเข้าส่บู ทเรยี น 5.1.1 แจง้ ใหผ้ ู้เรียนทราบถงึ เนื้อหาสาระวชิ า จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรแู้ ละกจิ กรรมท่ีใชใ้ นการจัดการ เรียนการสอน 5.1.2 ครูผู้สอนอธิบายวธิ กี ารใช้ เครื่องมือในการดึงสาย พร้อมใช้คำถามกระตุ้นซักถามกับผู้เรยี น เพือ่ กระตุน้ ความสนใจให้กบั ผ้เู รียน 5.2 การเรยี นรู้ 5.2.1 ผู้เรียนและครูผู้สอนร่วมกันอภิปรายกิจกรรมการเรียนรู้ การดึงสาย โดยให้บันทึกผลตาม รูปแบบ 5.2.2 ครผู ้สู อนอธบิ ายหลกั การใช้เครื่องมอื ในการดึงสาย 5.2.3 ต้งั คำถามใหผ้ เู้ รียนเสนอขอ้ มูลจากประสบการณ์ของตนในการการดึงสาย 5.2.4 ผู้เรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับการดึงสายทีร่ วบรวมได้จากการศึกษาค้นคว้า โดยแบ่งกลุ่ม (4-5คน/กล่มุ ) เพือ่ ระดมความคดิ ของสมาชิกในกลุ่มตามหัวข้อที่กำหนด โดยมคี รเู ป็นผ้ใู ห้คำแนะนำ 5.2.5 ผเู้ รียนแต่ละกลุ่มออกแบบหรอื หาวธิ นี ำเสนอใหผ้ ู้อ่ืนรับรู้และส่อื สารไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ 5.2.6 ให้ผู้เรียนทำแบบฝึกหัดคำถามท้ายบท และแบบประเมินผลการเรียนรู้ พร้อมกับร่วมกัน อภิปรายคำตอบท่ีถูกตอ้ ง 5.2.7 เชื่อมโยงความคล้ายคลึง/แตกต่างของข้อมูลที่นำมาอภิปรายและร่วมกันสรุปความรู้ตาม หวั ขอ้ ทศ่ี กึ ษา จากนั้นบันทกึ ผลข้อสรุปเปน็ ความเขา้ ใจของกลุ่มและรายบคุ คล
81 5.3 การสรปุ 5.3.1 ครูผู้สอนซักถามและสรุปเนอื้ หาบทเรยี นเกี่ยวกบั การดึงสาย 5.3.2 ครูผสู้ อนไดส้ อดแทรกคุณธรรมจรยิ ธรรมและจรรยาวิชาชพี ในเรอ่ื ง ความมีวนิ ัย ใฝ่เรียนรู้ มุง่ มั่นการทำงาน มจี ติ สาธารณะและอยอู่ ยา่ งพอเพียง 5.4 การวดั และประเมินผล 5.4.1 สังเกตพฤตกิ รรมการปฏบิ ัติงานรายบคุ คล 5.4.2 การสังเกตและประเมินผลพฤติกรรมดา้ นคุณธรรมจริยธรรมและคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 5.4.3 ตรวจแบบฝกึ หดั และแบบประเมินผลการเรียนรู้ 6. สือ่ การเรียนรู้ / แหล่งการเรียนรู้ 6.1 ส่ือส่ิงพิมพ์ อนุสรณ์ โคกกลาง. การตดิ ตงั้ ไฟฟ้านอกอาคาร. กรงุ เทพฯ. ศูนยส์ ่งเสรมิ อาชวี ะ ศสอ. 2562. ธวัชชัย จารุจิตร์. การตดิ ตง้ั ไฟฟา้ นอกอาคาร. กรงุ เทพฯ. สำนกั พิมพ์ วงั อักษร. 2553. 6.2 สื่อโสตทัศน์ (ถ้าม)ี 6.2.1 Power Point เรือ่ ง การดงึ สาย 6.2.2 YouTube เรื่อง การดึงสาย 6.3 หุ่นจำลองหรือของจรงิ (ถ้ามี) 6.4 อน่ื ๆ (ถ้าม)ี 7. เอกสารประกอบการจดั การเรียนรู้ (ใบความรู้ ใบงาน แบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบ หลงั เรียน แบบถาม-ตอบ (ระหวา่ งเรียน) แบบตรวจสอบทกั ษะ ฯลฯ) 7.1 ใบความรู้ เรือ่ ง การดงึ สาย 7.2 ใบงาน เร่อื ง การดึงสาย 7.3 แบบทดสอบกอ่ นเรียน การดึงสาย 7.4 แบบทดสอบหลงั เรยี น เรื่อง การดึงสาย 8. การบรู ณาการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง แสดงออกดา้ นความสนใจใฝร่ ู้ การตรงตอ่ เวลา ความซื่อสัตย์ สจุ รติ ความมีนำ้ ใจและแบง่ ปัน ความรว่ มมือ/ยอมรับความคดิ เห็นสว่ นใหญ่
82 9. การสอดแทรกแนวคดิ /กิจกรรมต่อต้านการทจุ รติ (กจิ กรรมสง่ เสรมิ คุณธรรม จริยธรรม และ ธรรมมาภบิ าล) 9.1 การอย่รู ว่ มกับผอู้ ื่นอย่างมคี วามสุข การแบ่งกลุ่ม ชว่ ยเหลอื กันและร่วมงานกบั ผู้อืน่ ได้ 9.2 สนทนากบั นักเรียน ดา้ นคณุ ธรรมจริยธรรม ก่อนและหลงั การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ 9.3 ความรู้การใชภ้ าษาไทย การสรุป อภิปรายโดยใชภ้ าษาสื่อสารทถี่ ูกตอ้ ง 9.4 ความรเู้ ก่ยี วกับการใชอ้ นิ เตอรเ์ นต็ (Internet)ในการศึกษาคน้ ควา้ 9.5 สอดแทรกความรูแ้ ละโทษของยาเสพติด 10. การบรู ณาการ / ความสัมพนั ธก์ บั วิชาอ่นื 10.1 มเี น้ือหาบรู ณาการสอดคล้องกบั วิชา การตดิ ตัง้ ไฟฟ้าในอาคาร 10.2 มีเน้ือหาบรู ณาการสอดคล้องกับวิชา การออกแบบและประมาณราคา 10.2 มเี น้อื หาบรู ณาการสอดคล้องกับวชิ า การเขียนแบบไฟฟ้าเบ้ืองต้น 11. การวัดและประเมินผล 11.1 กอ่ นเรยี น วธิ ีการวดั ผล ทำแบบทดสอบกอ่ นเรียน เครื่องมอื วัด แบบทดสอบก่อนเรยี น จำนวน 10 ข้อ 11.2 ขณะเรียน วธิ ีการวัดผล ถาม-ตอบและทักษะการทดลอง เครื่องมอื วดั คำถามจากบทเรยี นและการรายงานผลการทดลอง 11.3 หลังเรยี น วธิ กี ารวดั ผล ทำแบบทดสอบหลังเรยี น เครื่องมือวัด แบบทดสอบหลงั เรียน จำนวน 10 ข้อ แบบฝึกหัด หนว่ ยการเรียน ท่ี 6 การดงึ สาย 1. ข้อใดคืองานทีต่ ้องทำก่อนการดึงสาย ก. การยึดโยง ข. การพาดสาย ค. กำรผูกลูกถว้ ยแรงต่ำ ง. ถกู ทุกข้อ 2. ระยะที่สำคัญที่สุดในการดึงสายที่ต้องเป็นไปตำมมำตรฐาน คอื ข้อใด ก. ระยะห่างของเสา ข. ระยะการติดตั้งแร็ก ค. ระยะตกท้องช้าง ง. ระยะห่างจากชมุ ชน 3. ข้อใด ไม่ใช่ วธิ กี ารดงึ ไฟฟ้าให้ตงึ ก. การดึงสายโดยใช้แจค็ สลงิ ข. การดึงสายโดยใช้คนลาก ค. การดึงสายโดยใชร้ ถวนิ ช์ ง. การดึงสายโดยใช้แมแ่ รงดึงสาย
83 4. ระยะ ต่ำสดุ ของสำยไฟฟำ้ ในระบบ 11 kvท่ี พาดตำมแนวถนนบรเิ วณเมืองควรมคี วามสงู เท่าใด ก. 8.10 เมตร ข. 7.50 เมตร ค. 6.10 เมตร ง. 5.50 เมตร 5. วธิ กี ารผูกลกู ถ้วยแรงต่ำมี 2 แบบ คอื อะไร ก. แบบใตห้ ลังคา, แบบบนหวั เสา ข. แบบใต้ชายคา, แบบบนหวั เสา ค. แบบใตห้ ัวเสา, แบบหวั เสา ง. แบบหวั เสา, แบบใตห้ ลงั คา 6. กำรผกู ลูกดว้ ยรอบแรงต่ำ แบบใต้ชายคา ต้องทำการพนั สายไฟฟา้ จำนวนกีร่ อบใด ก. 3 – 5 รอบ ข. 4 – 7 รอบ ค. 5-10 รอบ ง. 10 -12 รอบ 7. การผูกลูกด้วยลกู รอกแรงต่ำ แบบบนหวั เสา ต้องทำการพนั สายฟา้ จำนวนกีร่ อบใด ก. 3 – 5 รอบ ข. 4 – 7 รอบ ค. 5-10 รอบ ง. 10 -12 รอบ 8. ในการเขา้ ปลายสายอะลมู ิเนยี มเปลือยโดยใชล้ วดอะลูมิเนยี มกลม ข้อใดคือจำนวนรอบของลวดที่ ใช้พนั สาย ก. 15 5 5 5 10 ข. 15 5 10 5 10 ค. 15 10 5 5 10 ง. 13 5 10 5 10 9.ในการเขา้ ปลายสายอะลูมเิ นียมหุ้มฉนวนโดยใชล้ วดอะลูมเิ นยี มกลมขอ้ ใดคือจำนวนรอบของลวดท่ีใช้พันสาย ก. 15 5 5 5 10 ข. 15 5 10 5 10 ค. 15 10 5 5 10 ง. 13 5 10 5 10 10. ขอ้ ใดคือผลจากการผกู ลูกถ้วยลกู รอกไม่แน่น ก. สายไฟฟ้าหย่อนและแกรง่ ข. อาจเกิดความเสียหายกับระบบไฟฟ้า ค. อาจเกดิ อนั ตรายกบั ผู้อยู่อาศัยในชุมชนนน้ั ๆ ง.ถูกทุกข้อ เฉลย 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ขคขคขกงขง ง แบบทดสอบออนไลน์ หนว่ ยการเรียน ที่ 6 การดึงสาย http://gg.gg/uoh6a
84 12. บันทกึ หลงั สอน (เขยี นแนบไวด้ า้ นหลงั แผนการจดั การเรยี นร้ตู ามแบบฟอรม์ ของวิทยาลยั ) 12.1 ผลการใชแ้ ผนการจดั การเรียนรู้ 12.2 ผลการเรยี นรู้ของนกั เรียน – นกั ศึกษา 11.3 แนวทางการพฒั นาคุณภาพการเรยี นรู้
85 แผนการจดั การเรยี นรู้ หน่วยที่ 7 มงุ่ เนน้ สมรรถนะอาชพี บรู ณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง วชิ า การติดต้ังไฟฟ้านอกอาคาร สปั ดาหท์ ่ี 9 รหสั วชิ า 20104-2106 ชอื่ หน่วย การติดต้งั หมอ้ แปลงไฟฟา้ ช่ัวโมงรวม 63 ช่ัวโมง จำนวนช่วั โมง 7 ชั่วโมง 1. สาระสำคัญ หม้อแปลงไฟฟ้าเป็นเครื่องกลไฟฟ้าชนิดหนึ่ง มีหน้าที่เปลี่ยนแปลงระดับแรงดัน ไฟฟ้า แรงดันตํ่าให้ สูงขึ้น หรือกำลังตามตอ้ งการ ในระบบจำหนา่ ยของการไฟฟ้าจะแปลงแรงดันไฟฟ้าท่ีสูงมาเป็นแรงดันไฟฟ้าตา่ํ โดยทั่วไปมีการติดตั้งอยู่ 3 แบบคือ บนเสาไฟฟ้า บนคานนั่งร้าน และบนลานคอนกรีต การดูแลรักษาหม้อ แปลงไฟฟา้ ควรตรวจ สอบทุกปเี พ่อื ให้มีประสิทธภิ าพในการทำงานที่ดี และเปน็ การยืดอายกุ ารใช้งานดว้ ย 2. สมรรถนะประจำหน่วย 2.1 แสดงความรเู้ กีย่ วกบั หลักการตดิ ตัง้ หม้อแปลงไฟฟา้ 2.2 ปฏบิ ตั ิงานบํารุงรกั ษาและตรวจสอบสภาพหม้อแปลงไฟฟา้ 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ดา้ นความรู้ 3.1.1 อธิบายบอกชนิดชนิดของหม้อแปลงไฟฟา้ ได้ได้ 3.1.2 อธบิ ายลกั ษณะของหม้อแปลงระบบจําหน่ายได้ 3.1.3 บอกข้อควรปฏบิ ัติในการติดตัง้ หม้อแปลงไฟฟ้าได้ 3.1.4 บอกหลกั การปฏิบตั ิสาํ หรับการบํารงุ รักษาหม้อแปลงไฟฟ้าได้ 3.2 ดา้ นทักษะ 3.2.1 ปฏิบัตกิ ารตรวจสอบสภาพหมอ้ แปลงไฟฟา้ 3.2.2 ปฏบิ ัตกิ ารบํารงุ รักษาหม้อแปลงไฟฟา้ 3.2.3 ปฏิบัตใิ นการตดิ ต้ังหม้อแปลงไฟฟ้า 3.3 ดา้ นคณุ ลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ 3.3.1 มวี นิ ยั 3.3.2 ใฝ่เรยี นรู้ 3.3.3 มุ่งมัน่ ในการทำงาน 3.3.4 มีจิตสาธารณะ 3.3.5 มหี ลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 4. เน้อื หาสาระการเรียนรู้ 4.1 ชนดิ ของหม้อแปลงไฟฟ้า 4.2 หมอ้ แปลงระบบจำหน่าย
86 4.3 ข้อควรปฏิบัติในการตดิ ต้ังหม้อแปลงไฟฟ้า 4.4 การบาลานซโ์ หลดหม้อแปลง 4.5 หลกั ปฏิบตั สิ ำหรบั การบำรุงรกั ษาหม้อแปลงไฟฟา้ ชนดิ ของหมอ้ แปลงไฟฟ้า หม้อแปลงไฟฟ้าที่ใช้ในการติดตั้งไฟฟ้าภายนอกอาคาร โดยส่วนมาก จะมีขนาดที่ใหญ่และมีน้ำหนัก มาก ผู้ปฏิบัติงานจะต้องติดตั้งให้ถูกต้องและตรงตามข้อกำหนด ซึ่งแต่ละชนิดก็มีคุณสมบัติแตกต่างกันไป โดยทวั่ ไปแบ่งเปน็ 4 ชนดิ คือ - หม้อแปลงไฟฟา้ กำลัง (Power Transformer) รูปที่ 7.1 หมอ้ แปลงไฟฟ้ากำลงั - หมอ้ แปลงจำหน่าย (Distribution Transformer) รปู ที่ 7.2 หม้อแปลงจำหนา่ ย - หมอ้ แปลงสำหรับเครอ่ื งมอื วดั (Instrument Transformer)
87 รปู ท่ี 7.3 หม้อแปลงสำหรบั เครือ่ งมือวัด - หมอ้ แปลงสำหรับความถ่สี ูง (High frequency Transformer) รปู ที่ 7.4 หมอ้ แปลงสำหรบั ความถส่ี ูง หมอ้ แปลงระบบจำหนา่ ย สำหรับหม้อแปลงที่ใช้ในระบบจำหน่ายของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค จะมีขนาดพิกัด kVA ดังนี้ 30, 50, 100, 160, 200, 315, 400, 500, 630, 800, 1,000, 1,250, 1,500, และ 2000 kVAเป็นต้น ซึ่งหม้อแปลง ไฟฟา้ ในระบบจำหน่าย มีด้วยกนั 2 ชนดิ คอื สำหรบั ยกระดับแรงดันใหส้ ูงขึ้น (step up) และลดระดับแรงดัน ให้ตาํ่ ลง (step down) การตดิ ตง้ั หมอ้ แปลงระบบจำหนา่ ย แบ่งตามลกั ษณะการตดิ ตงั้ ได้ 3 ลกั ษณะดังนี้ 1. แบบติดตั้งมากับเสา หรือเรียกว่าหม้อแปลงแบบแขวน มีลักษณะตัวถังกลม ส่วนใหญ่เป็นหม้อ แปลงไฟฟา้ 1 เฟส มีขนาด 10 – 160 kVA ใชต้ ดิ ต้งั ในชุมชนขนาดเลก็ รปู ท่ี 7.5 แบบตดิ ตงั้ มากับเสา 2. แบบติดตงั้ บนนั่งรา้ นคอนกรีต ใชส้ ำหรบั การตดิ ตัง้ หมอ้ แปลงชนดิ 3 เฟส พกิ ัดkVA สงู เชน่ 500 kVA มีนา้ํ หนักไมเ่ กิน 3,000 กโิ ลกรมั จ่ายโหลดใหก้ บั ชมุ ชนขนาดใหญ่ โรงงานขนาดกลาง
88 รูปที่ 7.6 แบบติดตง้ั บนนง่ั ร้านคอนกรีต 3. แบบตั้งพื้น ใช้สำหรับหม้อแปลงชนิด 3 เฟส ขนาดใหญ่ มีนํ้าหนักมาก จ่ายโหลดให้กับโรงงาน อุตสาหกรรมหรือชุมชนขนาดใหญ่มีขนาดตั้งแต่ 315 – 2,000 kVA บริเวณพื้นลานคอนกรีตต้องแข็งแรง สามารถรบั น้ำหนักของหมอ้ แปลงได้ รปู ท่ี 7.7 แบบต้งั พ้ืน ใช้สำหรับหมอ้ แปลงชนิด 3 เฟส ขนาดใหญ่ ข้อควรปฏิบัติในการติดตงั้ หม้อแปลงไฟฟา้ 1. ตอ้ งตดิ ตงั้ หมอ้ แปลงให้ไดร้ ะดบั บนฐานรองรับท่มี ่ันคงแขง็ แรง 2. จุดต่อต่าง ๆ ควรให้น้อยที่สุด หน้าสัมผัสของจุดต่อควรขัดทำควรสะอาดด้วยแปรงลวดเพื่อขจัด ออกไซด์และควรใช้คอมปาวด์ (Compound) ทาให้ทั่วผวิ หน้าสัมผสั กอ่ นที่จะตอ่ สายเข้าขว้ั ตา่ ง ๆ 3. การทำความสะอาดบุชช่งิ ใหใ้ ช้ผ้านมิ่ สะอาด 4. ปรับตำแหน่งของ Tap Changer ตามความต้องการโดยการขยับไปมาเพื่อให้หน้าสัมผัสสนิทกันดี ยิ่งข้นึ 5. ตรวจสอบการติดตั้งฟิวส์ ล่อฟ้าและการต่อสายดินร่วมระหว่างล่อฟ้าแรงสูงกับถังหม้อแปลง และ การต่อลงดินของสายนวิ ตรอนแรงต่ำ 6. วดั ค่าความตา้ นทานของดนิ สายตอ่ ลงดนิ ตอ้ งมีค่าไมเ่ กนิ 5 โอห์ม 7. ตรวจสอบระดบั น้ำมันหมอ้ แปลงและตรวจความชืน้ ของน้ำมนั หม้อแปลง โดยดจู ากสขี อง Silica gel สภาพปกติดีจะเปน็ สนี า้ํ เงิน สำหรบั silica gel ทด่ี ดู อมความชนื้ หรือเส่อื มสภาพจะเป็นสชี มพู
89 8. ก่อนจ่ายไฟควรใช้เมกเกอร์ (Megger) วัดค่าความต้านทานของฉนวน ระหว่างขดลวดแรงสูงกับ แรงตำ่ และระหวา่ งขดลวดทงั้ สองกบั หม้อแปลง ค่าทวี่ ดั ได้ไมค่ วรตำ่ กวา่ ตัวเลข 9. ขณะทดลองจ่ายโหลด ควรวดั กระแสและแรงดนั (ด้านแรงต่ํา) และวัดกระแสขณะโหลดสงู สดุ ดว้ ย 10. นำตัวอยา่ งนํ้ามันไปวัดค่าฉนวนน้ํามันดังน้ีสำหรบั ระบบ 3 เฟส พกิ ัด 100 kVA ขึ้นไป ทุก 6 เดือน ค่าฉนวนของนํ้ามันหม้อแปลงต้องไม่ตํ่ากว่าค่าจากตารางที่ 7.2 และถ้าหากพบว่ามีนํ้าและตะกอนปนอยู่ด้วย ค่าฉนวนจะตํ่ากวา่ ทีก่ ำหนดจะตอ้ งสบั เปลย่ี นหม้อแปลงลกู ใหม่ 11. บนั ทึกการตรวจสอบขา้ งตน้ และเกบ็ รกั ษาไว้เพือ่ ประโยชน์ในการซอ่ มบำรุงในอนาคต การบาลานซโ์ หลดหม้อแปลง การบาลานซ์โหลดหมอ้ แปลงเป็นการเฉลี่ยโหลดแต่ละเฟสให้มีค่าเท่ากันหรอื ใกล้เคียงซึ่งทำให้กระแส ในแต่ละเฟสใกล้เคียงกันดว้ ย ถ้าหากโหลดไม่สมดลุ จะเกิดผลเสยี ต่อระบบดงั น้ี - เกิดการสญู เสยี และแรงดันปลายสายตกมาก - Voltage Regulation ไมด่ ี คอื แรงดันไฟฟ้าในแตล่ ะเฟสไม่เท่ากัน - ความสามารถในการจ่ายโหลดของหมอ้ แปลงลดลง 1. การบาลานซโ์ หลดของหมอ้ แปลง 1 เฟส 3 สาย 2. การบาลานซโ์ หลดของหมอ้ แปลง 3 เฟส 4 สาย หลกั ปฏบิ ัตสิ ำหรับการบำรงุ รักษาหมอ้ แปลงไฟฟ้า หม้อแปลงไฟฟ้านับว่าเป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าชนิดหนึ่งที่จะต้องทำการตรวจเช็คและบำรุงรักษาอย่างสมํ่า เสมอและต่อเน่ือง โดยปกตทิ ่ัวไปควรตรวจเช็คทุก ๆ 6 เดือน หรอื อย่างน้อยปีละ 1 ครั้งเพ่อื ประสิทธิภาพและ ยดื อายกุ ารใช้งานของหม้อแปลงไฟฟ้า ซึง่ หัวข้อรายการทคี่ วรตรวจเช็ค มีดังนี้ 1. ตวั ถงั หม้อแปลงไฟฟ้า (Main Tank) 1.1 ตรวจรอยรัว่ ซึมของนาํ้ มัน, คราบนาํ้ มนั 1.2 ตรวจคราบสกปรก, ฝ่นุ และขยะที่เกาะติด 1.3 ตรวจดวู ่าเกิดสนมิ หรอื การกัดกร่อนของตัวถงั 2. การรัว่ ซึมรอบนอกของหม้อแปลงไฟฟา้ 2.1 ตรวจดูปะเกน็ /ซีลยางต่าง ๆ 2.2 ตรวจดวู าวลถ์ า่ ยน้ํามัน (Drain Valve) 2.3 ตรวจดวู าวล์ท้ิงนา้ํ มัน (Drain Plug) 3. ชดุ กรองความชน้ื (Dehydrating Breather) 3.1 ตรวจสอบการเปลี่ยนสีของซิลิก้า เจล (Silica gel) จาก สีนํ้าเงินเข้มเป็นสีชมพูไป 3/4 ของ กระบอกกรองความชื้น (ควรแกไ้ ข) 3.2 ตรวจสอบระดับน้ำมันในถว้ ยใต้กระบอกกรองความชื้น ว่ามีอยู่ในระดับ ทม่ี าตรฐาน 3.3 ตรวจสอบซีลยางและนอ๊ ตสกูรต้องไม่มีคราบนำ้ มนั ซมึ และซลี ยางไมแ่ ตกระแหงมผี วิ เรียบ 3.4 ตอ้ งดึงแผ่นอลูมเิ นยี มออกก่อนติดตัง้ และจ่ายไฟ
90 4. การตรวจวดั คา่ (Insulation Resistance) 2000 MegaOhm - 5000MegaOhm 4.1 H. V. – L.V. ต้องไม่ตำ่ กว่า 1000 MegaOhm 4.2 H.V. – Ground ต้องไมต่ ่ำกวา่ 1000 MegaOhm 4.3 L.V. – Ground ตอ้ งไม่ต่ำกวา่ 1000 MegaOhm 5. บุชช่ิงแรงสูง - แรงต่ํา (Bushing) 5.1 ตรวจสภาพผวิ (คราบนํ้ามัน, รอยอาคท์ (Arc), ครบี บ่นิ แตก) 5.2 ตรวจความสะอาดของบุชช่ิง 5.3 ตรวจดรู อยรว่ั ซมึ ของคราบน้าํ มนั , สภาพซลี ยาง (Seal) 5.4 ตรวจ Bolt & Nut ของบุชช่ิงแรงสงู -แรงต่าํ 6. ข้ัวต่อสายไฟเข้า – ออก ด้านแรงสูงและแรงตํา่ (Terminal Connector H.V., L.V.) 6.1 ตรวจ ดูรอยอารก์ (Arc) หรือ Overheat 6.2 ตรวจ Bolt & Nut ของ Terminal Connector ใหแ้ นน่ 6.3 ตรวจสอบความสะอาดและทำ Compound เพื่อช่วยเคลือบคลุมรอยสัมผัสไว้เป็นการกัน ความชื้นและออกซิเจนในอากาศ 7. ชดุ ปรบั แรงดันไฟฟา้ (Off Load Tap Changer) 7.1 ตรวจสภาพของ Handle และ Tap Changer ตรงล็อกหรอื ไม่ 7.2 ตรวจสอบรอยรั่วซึมของน้ํามนั และซีลยาง (Seal) 7.3 ตรวจสอบการอาร์ก (Arc) หรือเชอ่ื มติดของ Tap Changer โดยการหมนุ ไป - มา4-5 ครง้ั 8. ทวี่ ดั ระดับนํา้ มันหม้อแปลงไฟฟา้ (ถา้ ม)ี 8.1 สงั เกตการขยบั ตวั ของเข็มวัดระดบั (ถ้ามี) 8.2 ตรวจดูระดับนา้ํ มันอยใู่ นเกณฑ์มาตรฐาน (20 Celsius) หรอื ไม่ 8.3 ตรวจขนั น๊อต สกูรใหแ้ นน่ 8.4 ตรวจสอบรอยรั่วซมึ น้าํ มนั และซีลยาง (Seal) 8.5 ตรวจสอบ กระจก/พลาสตกิ วา่ แตกชำรดุ หรอื ไม่ 9. เทอรโ์ มมเิ ตอร์ (ถา้ มี) 9.1 ตรวจสอบกระจก/พลาสติกหน้าปทั มแ์ ตกชำรดุ หรอื ไม่ 9.2 ตรวจสอบรอยรั่วซมึ คราบน้าํ มัน 9.3 ตรวจสอบค่าทวี่ ดั อุณหภูมิ Top oil เกนิ ค่าท่ีกำหนด ที่ 60 องศา-เซลเซียส 9.4 ตรวจสอบการทำงานของอณุ หภมู ิถูกต้องหรือไม่ 10. อุปกรณ์ความดัน (Pressure Relief Device) (ถ้าม)ี 10.1 ตรวจสอบรอยรัว่ ซึมคราบนํ้ามนั 11. บชุ โฮรีเลย์ (Buchholz Relay) (ถา้ ม)ี 11.1 ตรวจสอบกระจก/หน้าปทั มแ์ ตกชำรดุ หรือไม่ 11.2 ตรวจสอบมี Gas สะสมมากผิดปกตหิ รือไม่
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175