Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิถีชีวิตชาวหนองบัวลำภู

วิถีชีวิตชาวหนองบัวลำภู

Published by khotphet.bo, 2020-11-30 14:45:24

Description: วิถีชีวิตชาวหนองบัวลำภู

Search

Read the Text Version

๔๖ ๑.๓ พระรำชศรสี ุมังค์หำยโศก ประดษิ ฐำนที่อโุ บสถวดั หำยโศก บ้ำนลำภู อำเภอเมือง จงั หวดั หนองบวั ลำภู สนั นษิ ฐำนวำ่ เปน็ พระพุทธรูปทสี่ ร้ำงร่นุ เดียวกนั กับ พระไชยเชษฐำ วัดถำ้ สุวรรณคูหำ และวัดศรีคูณเมือง สร้ำง ประมำณปี พ.ศ. ๒๑๐๖ เป็นพระพุทธรูปศักด์สิ ทิ ธิ์ท่เี จำ้ เมืองและชำวเมืองเคำรพนับถอื มำก ใช้เป็น พระประธำนในพิธีถือน้ำพพิ ัฒนส์ ัตยำและ ดม่ื นำ้ สำบำน ๑.๔ พระไชยเชษฐำ วัดถ้ำสุวรรณคหู ำ เป็นพระพุทธรปู ศิลปะลำ้ นช้ำง สร้ำงโดยพระไชยเชษฐำธริ ำช ประมำณปี พ.ศ. ๒๑๐๖ ประดิษฐำนทว่ี ัดสวุ รรณคูหำ อ.สุวรรณคูหำ จ.หนองบัวลำภู นอกจำกพระพทุ ธรปู องคน์ ี้แล้วยังมพี ระ

๔๗ ซ่ึงแกะสลกั จำกหนิ อย่ทู ว่ี ัดถ้ำสวุ รรณคหู ำนจี้ ำนวนมำก มีศิลำจำลกึ อยู่ ๓ หลัก ซง้ึ ไดน้ ำจำรึกไปไวใ้ น เร่ืองภำษำและ วรรณกรรมโดยละเอยี ดแล้ว ๑.๕ พระไชยเชษฐำวดั ศรคี ูณเมือง เป็นพระพทุ ธรูปศิลปะลำ้ นช้ำง ประดิษฐำนในพระธำตุที่มศี ิลปะคล้ำยกับพระธำตศุ รสี องรกั จงั หวัดเลย สนั นษิ ฐำนว่ำพระไชยเชษฐำธิรำชทรงสร้ำงไว้ในรุ่นเดยี วกบั พระไชยเชษฐำวัดถำ้ สุวรรณ คูหำ ปจั จบุ ันวัดศรคี ูณเมอื ง ตำบลลำภู อำเภอเมือง จังหวดั หนองบวั ลำภู ได้สรำ้ งศำลำครอบพระธำตุ ไว้อกี ช้ันหนึ่ง สำหรับวัดศรีคูณเมืองน้ีมซี ำกเทวสถำน และเสมำหนิ ของขอมหนั หน้ำไปทำงประเทศ กำพูชำ ซ่ึงสันนษิ ฐำนว่ำเป็นศนู ย์กลำงของอำณำจกั รในสมัยทส่ี รำ้ งควรทีก่ รมศิลปกรจะมำสำรวจ และขึ้นทะเบยี นไว้เป็นสมบัติของแผ่นดิน ๑.๖ เสมำหินวัดถ้ำสุวรรณคูหำ จำนวน ๓ หลัก อยูท่ ีว่ ัดถ้ำสุวรรณคหู ำ อำเภอสวุ รรณคูหำ จงั หวดั หนองบัวลำภู มี รำยละเอยี ดต่ำงๆ ในเรื่องของจำรกึ แลว้ ๑.๗ เสมำหนิ วัดศรีคูณเมอื ง วัดศรีคูณเมือง อำเภอเอง จงั หวัดหนองบวั ลำภู ตงั้ อยูร่ ำยรอบซำกเทวสถำนวัดศรีคูณเมืองทั้ง ๔ ทิศ ๑.๘ กลุ่มเสมำหนิ วัดภูน้อย วัดสนั ตธิ รรมบรรพต อำเภอนำกลำง จงั หวัดหนองบัวลำภู มีทั้งหมด ๘ กล่มุ วำงไว้ท้ัง ๘ ทิศ

๔๘ แต่ละกลุม่ มีเสมำหินจำนวน ๔ ใบ บำงใบมจี ำรกึ บำงใบมีกำร แกะสลักเป็นรปู พระโพธิสัตว์และรูป คล้ำยเจดยี ์ ใบท่ีพเิ ศษทสี่ ดุ คือ มีรูปลกู ศร ๔-๕ ดอก สันนษิ ฐำนวำ่ กลุ่มเสมำหินเหลำ่ นี้ ฝังอยูร่ ำย รอบเทวสถำนของขอม เหมอื นกับเสมำหินวัดศรคี ูณเมือง ๑.๙ พระพุทธรปู บุเงนิ บุทองและพระพุทธบรรฑูรนิมติ ร วัดถำ้ กลองเพล บริเวณถำ้ ท่ีพบปรำกฏมีวัตถุโบรำณหลำยอย่ำง เชน่ หม้อลำยครำม มีดขวำน กล่องยำสบู มลี วดลำยงำมมำก สำหรับวดั ถ้ำกลองเพลแห่งนนี้ อกจำก จะเปน็ วัดหลวงปู่ขำว อนำลโย พระอรยิ สงฆส์ ำยพระอำจำรย์มัน่ ภูริทัตโต ปรมำจำรยท์ ำงวิปสั สนำกรรมฐำนแล้ว ตำมประวตั ขิ องวดั ในอดีตน้นั เคยเปน็ เทวสถำน ของขอมเหมอื นกับโบรำณสถำนตำ่ ง ๆ ในจงั หวัดหนองบวั ลำภอู ีกด้วย ๒. โบรำณสถำน ๒.๑ วัดศรคี ูณเมอื ง เดิมชื่อ วดั คนชมุ นำ้ ออกบ่อ ปัจจบุ ันนีต้ ง้ั อย่ทู ่ีบำ้ นเหนอื ถนนวรรำชภักดี หมูท่ ี่ ๕ ตำบลลำภู อ.เมือง จ.หนองบัวลำภู สังกัดคณะสงฆ์ฝ่ำย มหำนกิ ำย สร้ำงเมอื ปี พ.ศ. ๒๓๑๐ เดมิ เป็นวดั โบรำณท่ี สรำ้ งในสมยั ที่ดนิ แดนแถบบนน้ีเปน็ ทอ่ี ยูข่ องชำติขอม ละวำ้ และลำว มีซำกอุโบสถเกำ่ แก่ มีใบเสมำ เป็นภเู ขำ ปชู นียวตั ถุมพี ระพุทธรูปอย่ใู นสถูปเรยี กว่ำ \"หลวงพอ่ พระไชยเชษฐำ\" ๒.๒ วัดมหำชัย เดิมชื่อ วัดมหำธำตุไตรยภมู ิ สันนิษฐำนว่ำ มหำธำตุซ่งึ ปจั จุบนั เหลือแตเ่ พยี งกองดินขนำด ใหญ่อยเู่ ย้ืองกบั อุโบสถของวัด เปน็ ทบ่ี รรจุอฐั ิธำตุของเจำ้ ปำงคำ เจำ้ ปงคำ และเจ้ำแท่นคำ อดีตเจ้ำ เมอื งนครเขื่อนขนั ธก์ ำบแก้วบัวบำน ปัจจุบนั นตี้ ง้ั อยู่บ้ำนหัวยเชียง หมู่ท่ี ๓ ตำบลลำภู อำเภอ หนองบวั ลำภู จ.หนองบวั ลำภู สังกดั คระสงฆธ์ รรมยตุ ินกิ ำย สรำ้ งเมอื่ ปี พ.ศ. ๒๔๔๐ เป็นวดั ท่พี ระ อำจำรย์แสง ธมฺมธีโร ฝ่ำยวปิ สั สนำกัมมัฏฐำน รปู แรกของคณะธรรมยตุ ิได้ชักชวนชำวบำ้ น สร้ำง ขน้ึ และได้รบั พระรำชทำนวิสงุ คำมสมี ำ เม่ือวันที่ ๙ กมุ ภำพนั ธ์ พ.ศ.๒๕๐๙ ๒.๓ วัดโพธิ์ชัยสมสะอำด เดิมชอื่ วดั พระเรืองชัยสมสะอำด เรียกตำมช่ือพระประธำนในอุโบสถ ปจั จบุ นั ต้ังอยู่ทบี่ ้ำนจิก หมทู่ ี่ ๓ ตำบลหนองบัว อ.เมืองหนองบวั ลำภู จ.หนองบวั ลำภู สงั กัดคณะสงฆม์ หำนิกำย สร้ำงเม่ือ ปี พ.ศ. ๒๓๑๐ เปน็ วดั ที่รมิ หนองบวั

๔๙ ๒.๔ วดั หำยโศกบ้ำนลำภู เดมิ ชอื่ วดั พระรำชศรีสมุ ังค์หำยโศก ซ่งึ เปน็ ประธำนในพธิ ดี ื่มน้ำพระพิพฒั นส์ ตั ยำและดืม่ น้ำ สำบำนของชำวเมืองนครเข่อื นขนั ธ์กำบแก้วบวั บำนในอดตี ดงั กลำ่ วแลว้ ๒.๕ วัดธำตหุ ำญเทำว์ ปัจจบุ ันตั้งอยูต่ ำบลบำ้ นขำม อำเภอเมืองหนองบัวลำภู สงั กดั คณะสงฆ์มหำนกิ ำยเดิมเป็นวดั ฝ่ำยคณะธรรมยตุ สิ ร้ำงเมอ่ื ปี พ.ศ. ๒๓๒๘ เคยเป็นวดั รำ้ ง ตอ่ มำพระมหำสุตันสุตำโณ ได้มำบรู ณะขึน้ ใหม่ เม่ือปี พ.ศ. ๒๔๖๐ และเปลย่ี นเปน็ วัดฝำ่ ยมหำนิกำยภำยในวัดมีปชู นยี สถำนทีส่ ำคัญ คือพระธำตุ เจดยี ์ รูปแปดเหลี่ยมสนั นษิ ฐำนวำ่ ข้ำงในบรรจุอัฐิธำตขุ องพระอรหันต์ ซง่ึ ชำวจังหวดั หนองบวั ลำภู เคำรพนบั ถอื มำก ๒.๖ เจดีย์โบรำณและซำกอุโบสถโบรำณ วดั พระธำตเุ มืองพิณ ปจั จบุ ันต้งั อย่ทู ่ีบ้ำนโนนธำตุ หมู่ที่ ๗ ตำบลฝงั่ แดง อำเภอนำกลำง จังหวดั หนองบัวลำภู มี เนือ้ ที่ ๒๘ ไร่ ๑ งำน สร้ำงเม่ือวนั ที่ ๕ มีนำคม พ.ศ. ๒๔๖๒ ไดร้ ับพระรำชทำนวิสงุ คำมสีมำ เม่ือวนั ที่ ๙ กุมภำพนั ธ์ พ.ศ.๒๔๙๙ ห่ำงจำกท่วี ่ำกำรอำเภอนำกลำง ๖ กิโลเมตร ๒.๗ รอยพระบำทและกลุ่มเสมำหินในสมัยขอม วดั สันติธรรมบรรพต ปัจจบุ นั ตง้ั อยู่ทบี่ ้ำนภนู อ้ ย ตำบลนำกลำง อำเภอนำกลำง จังหวัดหนองบวั ลำภู มเี นอ้ื ที่ ประมำณ ๑๐๐ ไร่ สร้ำงเม่ือวันท่ี ๕ ธนั วำคม พ.ศ. ๒๕๑๑ ได้รบั พระรำชทำน วสิ ุงคำมสีมำ เมอ่ื วันท่ี ๙ กุมภำพันธ์ พ.ศ. ๒๕๑๖ อยหู่ ำงจำกท่ีว่ำกำรอำเภอนำกลำง ๑.๕ กโิ ลเมตร ปัจจบุ นั หลวงพ่อฤๅษีได้ พัฒนำให้มี ควำมสงบร่มเย็นเหมำะแก่กำรปฏิบตั ธิ รรมจนเป็นวดั พัฒนำตัวอย่ำงของจงั หวัด ๒.๘ วัดปำ่ โนนคำวเิ วก ปจั จุบนั ต้ังอยู่บำ้ นทุ่งสว่ำง ตำบลนำด่ำน อำเภอสุวรรณคหู ำ จงั หวัดหนองบวั ลำภู สังกัดคณะ สงฆฝ์ ่ำยมหำนกิ ำย มีเน้อื ที่ ๑๒ ไร่ สรำ้ งเมอ่ื พ.ศ. ๒๔๗๐ เดิมเป็น วดั โบรำณ ประชำชนเรยี กกนั วำ่ วัดโนนคำน้อย เป็นสถำนที่ศักด์ิสทิ ธชิ์ ำวบ้ำนใหค้ วำมเคำรพนับถอื ต่อกนั มำเปน็ เวลำนำน ภำยในวดั มี ซำกวตั ถโุ บรำณและเจดยี ์อกี ๓ องค์ ๒.๙ วัดถำ้ สุวรรณคูหำ ปัจจุบนั ตงั้ อยู่ท่บี ้ำนคูหำพฒั นำ ตำบลนำสี อำเภอสุวรรณคูหำ จังหวัดหนองบวั ลำภู สังกัด ฝ่ำยมหำนิกำย มเี น้ือท่ี ๑๐๓ ไร่ บูรณะเมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๗ เดิมเป็นวดั ร้ำง ตำมศิลำจำรึกหน้ำถำ้ กล่ำว ไวว้ ำ่ สร้ำงเมื่อ พุทธศกั รำช ๒๑๐๖ โดยพระไชยเชษฐำธริ ำช และได้รับพระรำชธำนวสิ ุงคำมสีมำเมอื่ วันที่ ๓ กุมภำพันธ์ พ.ศ. ๒๕๒๑ มถี ้ำขนำดใหญ่ เล็ก ประมำณ ๔๐ ถ้ำ

๕๐ ๒.๑๐ วัดปำ่ สำมคั คีสริ ิวฒั นำรำม (กุดโพนทัน) เปน็ วดั เกำ่ แก่มำแต่โบรำณกำล มีซำกอุโบสถ และโบรำณวัตถหุ ลำยชิน้ ท่ีโดยอำยสุ นั นษิ ฐำน วำ่ คงจะสร้ำงสมัยเดียวกับเมืองนครเขื่อนขันธ์กำบแกว้ บัวบำน เพรำะซำกอิฐและโบรำณวตั ถมุ ีอำยุรุ่น รำวครำวเดยี วกนั ปจั จบุ นั มีเน้ือทป่ี ระมำณ ๒๐๐ ไร่ มีพื้นที่ปำ่ สมบรู ณ์มำก เป็นสวนยำสมนุ ไพรท่ใี หญ่ ทส่ี ดุ ของจังหวดั หนองบวั ลำภู เปน็ สถำนท่ีวิปสั สนำกรรมฐำน สำยวัดมหำธำตยุ วุ รำชรังสฤษดิ์ กรงุ เทพมหำนคร เป็นศนู ยบ์ ำบดั ผตู้ ิดสุรำและบหุ ร่ี ๒.๑๑ วัดบำ้ นสมสนุก ต้งั อยู่ทบ่ี ้ำนสมสนกุ ตำบลนำกอก อำเภอศรีบุญเรือง จงั หวัดหนองบัวลำภู ประวตั ิไม่ปรำกฏ หลกั ฐำนชัดเจน องคป์ ระกอบได้แก่ ซำกโบรำณสถำนก่อด้วยอฐิ มแี ผนผงั เป็นรูปส่ีเหลยี่ มผนื ผ้ำ ซง่ึ เหลืออยเู่ พียงสว่ นฐำนรำกโดยทำงวัดไดส้ รำ้ งอำคำรไม้ชัว่ ครำวคร่อมทบั โบรำณสถำนอยู่ สำระสำคัญ มีหลักฐำนว่ำบริเวณน้ี เคยมีพระพทุ ธรปู นำคปรก ศลิ ปะขอม จงึ อำจกล่ำวไดว้ ่ำ ในเบือ้ งต้น โบรำณสถำนวัดสมสนกุ น้ีนำ่ จะเคยเป็นศำสนสถำนตั้งแตช่ ่วงพุทธศตวรรษท่ี ๑๖-๑๘ และต่อมำได้มี กำรสร้ำงเสริม หรอื โบสถใ์ นสมัยล้ำนช้ำง คือ ช่วงพุทธศตวรรษที่ ๒๓ -๒๔ จนถงึ ปัจจุบันน้ยี งั ไม่ไดร้ ับ กำรขน้ึ ทะเบยี น ๒.๑๒ สมิ วัดเจริญทรงธรรม ต้ังอย่บู ำ้ นดอนปอ ตำบลหนองบัวใต้ อำเภอศรบี ญุ เรือง จงั หวัดหนองบัวลำภู ทตี่ ง้ั ตำมแผนที่ ทหำร มำตรำส่วน ๑:๕๐,๐๐๐ ลำดบั ชุด L๗๐๑๗ ระหวำ่ ง ๕๔๔๒ รุ้ง ๑๖ ๕๕ เหนือ แวง ๑๐๒ ๒๓ ตะวนั ออก ไมป่ รำกฏหลกั ฐำนชัดเจนวำ่ สรำ้ งในสมัยใด องค์ประกอบทำงโบรำณคดี คือ สิมสรำ้ งดว้ ย ไม้ทั้งหลงั มลี ักษณะ ที่สำคัญคือเปน็ สิมไม้ท่ีมอี ยู่เพยี งแห่งเดียวในจงั หวดั หนองบวั ลำภู ซ่ึงในภำค อีสำนสิมประเภททส่ี ร้ำงดว้ ยไม้เป็นประเภทที่พบค่อนข้ำงน้อย ปัจจุบนั ยงั มิได้ รบั กำรขึน้ ทะเบยี น ซงึ่ น่ำเสยี ดำยถำ้ หำกว่ำปล่อยให้ชำรุดทรุดโทรมไปมำกกวำ่ นี้ เพรำะสิมไม้แห่งนม้ี ีคุณคำ่ ไม่น้อยกว่ำโบสถ์ ไมข้ องพวกไวกิ้งส์ในประเทศสวเี ดน ๓. แหล่งโบรำณคดี ๓.๑ แหลง่ โบรำณคดีโนนพรำ้ ว ตัง้ อยทู่ บี่ ้ำนกุดคอเมย ตำบลกุดดู่ จงั หวัดหนองบวั ลำภู ตำแหน่งตำมแผนท่ีทหำร คือมำตรำ สว่ น ๑:๕๐,๐๐๐ ลำดบั ชดุ L ๗๐๑๗ ระหว่ำง ๕๔๔๒ IV Latitude ๑๖ องศำ ๕๗ ลปิ ดำ ๑๐ ฟิลิป ดำเหนอื Longitude ๑๐๒ องศำ ๓๘ ลปิ ดำ ๓๘ ฟิลิปดำตะวันออก กรมศลิ ปำกรไดท้ ำกำรสำรวจ เมื่อ พ.ศ.๒๕๒๔ และทำกำร ขุดคน้ เม่ือ พ.ศ.๒๕๓๖ ลักษณะของโบรำณสถำน มลี ักษณะเป็นเนิน ดินขนำดเสน้ ผ่ำนศนู ย์กลำง ๑๕๐ เมตร สงู ประมำณ ๒ เมตร จำกท่รี ำบโดยรอบ พบหลักฐำน ต่อเนอ่ื งตง้ั แตส่ มยั ก่อนประวัติศำสตร์ ทวำรวดแี ละลำ้ นชำ้ ง และจำกกำรศึกษำเปรยี บเทียบ

๕๑ โบรำณวัตถุกับแหลง่ โบรำณคดใี กล้เคยี ง สำมำรถกำหนดอำยปุ ระมำณ ๒,๕๐๐ ปีมำแลว้ และ โบรำณวัตถุวัฒนธรรมล้ำนชำ้ งประมำณพุทธศตวรรษท่ี ๒๓ - ๒๔ ๓.๒ แหล่งโบรำณคดีโนนดอนกลำง (โนนป่ำกลว้ ย) ตง้ั อยทู่ บ่ี ำ้ นกดุ กวำงสร้อย ตำบลบำ้ นถ่ิน อำเภอโนนสงั จังหวัดหนองบวั ลำภู ตำแหน่งตำม แผนทท่ี หำร คือ มำตรำส่วน ๑: ๕๐,๐๐๐ ลำดบั ชุด L๗๐๑๗ ๕๔๔๒ IV Latitude ๑๖ องศำ ๕๗ ลิปดำ ๔๐ ฟลิ ิปดำเหนอื Longitude ๑๐๒ องศำ ๓๗ ลิปดำ ๑๕ ฟลิ ปิ ดำตะวันออก ประวัติกำรขดุ ค้นนำยวลิ เลี่ยม โซฟเฟลอร์ ขออนญุ ำต กรมศิลปำกร ขดุ ค้นเมอ่ื พ.ศ.๒๕๑๗ หนว่ ยศลิ ปำกรที่ ๗ ขอนแก่น ขดุ คน้ เม่ือ พ.ศ. ๒๕๓๖ สำนกั งำนโบรำณคดแี ละพิพิธภัณฑ์สถำนแห่งชำตทิ ี ๗ ขอนแกน่ ร่วมกบั สำนกั งำนศึกษำธิกำรจังหวดั หนองบัวลำภู สำรวจเมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๐ ลักษณะของโบรำณสถำน เนินดินขนำด ๑๕๕ X ๒๐๐ เมตร สูงประมำณ ๒- ๓ เมตร จำกทีร่ ำบ โดยรอบพบหลักฐำนต่อเน่อื ง ตั้งแต่สมัยก่อนประวัตศิ ำสตร์ทวำรวดแี ละลำ้ นช้ำงผลจำกกำรขุดค้นสำมำรถกำหนดอำยุ ๒,๕๐๐ ปี มำแลว้ และหลักฐำนทำงโบรำณคดี ลำ้ นชำ้ ง อำยุประมำณพทุ ธศตวรรษที่ ๒๓ - ๒๔ ๓.๓ แหลง่ โบรำณคดโี นนสงั ตงั้ อยทู่ บ่ี ำ้ นกดุ คอเมย ตำบลกดุ ดู่ อำเภอโนนสัง จังหวัดหนองบวั ลำภู ตำแหน่งตำมแผนท่ี ทหำร คอื มำตรำสว่ น ๑: ๕๐,๐๐๐ ลำดับชดุ L ๗๐๑๗ ระหว่ำง ๕๔๔๒ IV Latitude ๑๖ องศำ ๑๗ ๐๖ ฟิลปิ ดำเหนือ Longitude ๑๐๒ องศำ ๒๓ ลปิ ดำ ๐๕ ฟลิ ปิ ดำตะวนั ออก ประวตั ติกำรขดุ ค้น โครงกำรโบรำณคดปี ระเทศไทย (ภำคตะวันออกเฉียงเหนือ) สำรวจเมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๔ ลกั ษณะ โบรำณสถำน เป็นเนินดนิ ทม่ี ีเส้นผ่ำศนู ยก์ ลำงประมำณ ๑๕๐ เมตร ซ่ึงพบหลกั ฐำนทำงโบรำณคดี สมัยก่อนประวัตศิ ำสตร์ หลักฐำนทพ่ี บได้แก่ โครงกระดูกมนุษย์ ภำชนะดินเผำท้ังแบบเรียบและแบบ แตกต่ำงกำรเขียนสีและวำดลวดลำย ตำ่ งๆ แนวดนิ เผำ หนิ บดยำ เครื่องมือเหล็ก และเคร่อื งประดับ สำรดิ อำยุประมำณ ๒,๕๐๐ ปีมำแลว้ ๓.๔ แหลง่ โบรำณคดี ถำ้ เสือตก ตง้ั อยู่ทบี่ ้ำนวังมน ตำบลโคกม่วง อำเภอโนนสงั จังหวดั หนองบวั ลำภู ตำแหน่งตำมแผนที่ ทหำร คือ มำตรำส่วน ๑: ๕๐,๐๐๐ ลำดบั ชดุ L ๗๐๑๗ ระหว่ำง ๕๔๔๒ IV Latitude ๑๖ องศำ ๕๕ ลิปดำ ๐๐ ฟลิ ิปดำเหนือ Longitude ๑๐๒ องศำ ๒๘ ลปิ ดำ ๐๕ ฟลิ ปิ ดำตะวันออก ประวัตกิ ำรขดุ ค้น โครงกำรโบรำณคดปี ระเทศไทย (ภำคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ) สำรวจเม่ือ พ.ศ. ๒๕๒๘ ลักษณะทำง โบรำณคดี ภำพเขียนทำงสีเป็นลำยลำยเสน้ และภำพมือ รวมทง้ั ภำพสลกั เปน็ ภำพลำยเสน้ สนั นิษฐำนว่ำเขยี นและสลกั ข้ึนสมัยกอ่ นประวตั ศิ ำสตร์

๕๒ ๓.๕ แหล่งโบรำณคดี ถำ้ จนั ได ตัง้ อย่ทู บี่ ้ำนวังมน ตำบลโคกม่วง อำเภอโนนสงั จังหวัดหนองบวั ลำภู ตำแหนง่ ตำมแผนที่ ทหำร คือ มำตรำส่วน ๑: ๕๐,๐๐๐ ลำดบั ชดุ L ๗๐๑๗ ระหวำ่ ง ๕๔๔๒ IV Latitude ๑๖ องศำ ๔๖ ลิปดำ ๐๖ ฟลิ ปิ ดำเหนือ Longitude ๑๐๒ องศำ ๒๘ ลิปดำ ๐๐ ฟลิ ปิ ดำตะวนั ออก ประวัติกำรขุด ค้น โครงกำรโบรำณคดปี ระเทศไทย (ภำคตะวันออกเฉียงเหนือ) สำรวจเมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๘ลกั ษณะทำง โบรำณคดี มีลักษณะเป็นก้อนหินรปู ทรงสำมเหลยี่ มที่มีภำพเขียนสบี นพ้นื ผวิ หนิ ลักษณะปลกี ย่อย ภำพเขยี นสดี ้วยสีแดงแบบเงำทึบ เป็นภำพคลำ้ ยหมีและภำพตน้ ข้ำวสันนษิ ฐำนว่ำเขยี นขึ้นในสมัยก่อน ประวัติศำสตร์ ๓.๖ แหล่งโบรำณคดี ถำ้ พลำนไฮ ตั้งอยู่ท่บี ้ำนวังมน ตำบลโคกม่วง อำเภอโนนสงั จงั หวัดหนองบวั ลำภู ตำแหน่งตำมแผนที่ ทหำร คอื มำตรำส่วน ๑: ๕๐,๐๐๐ ลำดับชดุ L ๗๐๑๗ ระหวำ่ ง ๕๔๔๒ IV Latitude ๑๖ องศำ ๕๕ ลปิ ดำ ๐๐ ฟลิ ิปดำเหนือ Longitude ๑๐๒ องศำ ๒๗ ลิปดำ ๐๐ ฟลิ ิปดำตะวนั ออก ประวัติกำรขดุ คน้ คณะโบรำณคดมี หำวทิ ยำลยั ศิลปำกร สำรวจเมอ่ื พ.ศ. ๒๕๑๓ ลกั ษณะทำงโบรำณสถำนเพิง หินท่มี ีภำพเขียนผนังหนิ จำนวน ๓ จุด ลักษณะปลกี ย่อย ภำพสีเป็นภำพมือทำบ และภำพลำยเสน้ สันนิษฐำนว่ำเขียนข้ึนสมยั ก่อนประวตั ิศำสตร์ ๓.๗ แหลง่ โบรำณคดี ถำ้ อำจำรย์สิม ตง้ั อยู่ท่ี วัดพระพุทธบำทภูเก้ำ เขำศิรวิ งกต บ้ำนดกบำก ตำบลนคิ มพฒั นำ อำเภอโนนสัง จ. หนองบวั ลำภู ตำแหนง่ ตำมแผนที่ทหำร คือ มำตรำส่วน ๑:๕๐,๐๐๐ ลำดบั ชุด L ๗๐๑๗ ระหว่ำง

๕๓ ๕๔๔๒ IV Latitude ๑๖ องศำ ๕๔ ลิปดำ ๑๒ ฟลิ ปิ ดำเหนอื Longitude ๑๐๒ องศำ ๒๘ ลิปดำ ๐๑ ฟลิ ปิ ดำตะวันออก ประวัตกิ ำร ขดุ ค้น คณะโบรำณคดีมหำวิทยำลัยศิลปำกร สำรวจเม่อื พ.ศ. ๒๕๑๒ สำนักงำนโบรำณคดีและพพิ ิธภัณฑสถำนแห่งชำติที่ ๗ ขอนแกน่ สำรวจเม่อื พ.ศ. ๒๕๔๐ ลกั ษณะ ทรงโบรำณสถำน เป็นเพิงหินริมหน้ำผำท่มี ีภำพเขียนสบี นผนังหนิ ลักษณะปลกี ยอ่ ย ภำพเขียนสี แบบลำยเส้นโครงร่ำงภำยนอก เป็นภำพคลำ้ ยคนและ ภำพคล้ำยปลำ สันนิษฐำนว่ำเขียนขน้ึ ใน สมยั ก่อนประวัติศำสตร์ ๓.๘ แหลง่ โบรำณคดี ถ้ำม้ึม ต้งั อยูท่ ี่ วดั พระพุทธบำทภเู ก้ำ เขำศิริวงกต บ้ำนดกบำก ตำบลนิคมพฒั นำ อำเภอโนนสัง จ. หนองบัวลำภู ตำแหนง่ ตำมแผนทท่ี หำร คอื มำตรำสว่ น ๑: ๕๐,๐๐๐ ลำดบั ชดุ L ๗๐๑๗ ระหว่ำง ๕๔๔๒ IV Latitude ๑๖ องศำ ๕๔ ลิปดำ ๓๒ ฟลิ ิปดำเหนือ Longitude ๑๐๒ องศำ ๒๘ ลปิ ดำ ๐๐ ฟลิ ิปดำตะวันออก ประวัติกำร ขดุ คน้ กองโบรำณคดี กรมศิลปำกร ร่วมกบั มหำวิทยำลัยฮำวำย สำรวจ เมื่อ พ.ศ.๒๕๑๒ ลกั ษณะทำงโบรำณสถำน เปน็ ถ้ำลึกประมำณ ๔ เมตร ปำกถ้ำกว้ำง ๘ เมตร ตรงเพดำนถ้ำ มีภำพเขียนสีและภำพสลักปะปนกัน ลกั ษณะปลกี ย่อย ภำพเขียนและภำพสลักดังกล่ำว เปน็ ภำพลำยเสน้ และภำพรปู ทรงเรขำคณติ สันนิษฐำน วำ่ เขยี นข้นึ ในสมยั กอ่ นประวตั ศิ ำสตร์ ๔. แหล่งประวตั ศิ ำสตร์ แหล่งประวัติศำสตรข์ องจังหวัดหนองบัวลำภู คอื เส้นทำงเดินทพั ของสมเดจ็ พระนเรศวร มหำรำช พ.ศ. ๒๑๑๗ จำกจังหวัดพษิ ณุโลกผำ่ นอำเภอวังทอง อำเภอดำ่ นซำ้ ย อำเภอเมืองเลย อำเภอ สุวรรณคูหำ ผ่ำนตำบลกุดกะสู้ เขำ้ สู่อำเภอเมืองหนองบัวลำภู และต้งั ทัพ ณ สนำมสมเด็จพระนเรศวร มหำรำช รมิ ฝงั่ หนองบวั บงึ นำ้ จืดขนำดใหญ่ ของจังหวัดหนองบัวลำภู

๕๔ ๕. สถำปตั ยกรรมดีเด่นมหำชยั ๕.๑ หอไตรวดั มหำชัย ต้งั อยู่ท่ีวดั มหำชยั ตำบลหนองบวั อำเภอเมือง จงั หวดั หนองบวั ลำภู เป็นส่งิ ก่อสร้ำงสำหรบั เกบ็ รักษำพระไตรปฏิ กคัมภีรใ์ บลำน หนงั สอื หรอื เอกสำรธรรมะต่ำง ๆ ถือว่ำเปน็ ห้องสมุดสำหรบั พระภกิ ษสุ ำมเณร ลกั ษณะรปู ทรงเปน็ เรอื นไม้ยกพื้นสูง กัน้ ฝำ อำจมีระเบยี ง และลูกกรงก้ัน รอบๆ หลังคำแบบเดมิ จะมุงด้วยแป้นไม้ ก่อสร้ำงอยู่กลำงสระน้ำเพื่อป้องกนั มอดปลวกหรือแมลง ตำ่ งๆ ตดิ ตอ่ กบั ฝัง่ โดยใชส้ ะพำนชกั เพ่ือมใิ หม้ ีส่ิงเชอ่ื มต่อระหวำ่ งฝัง่ กับหอไตร

๕๕ ๕.๒ สมิ ไม้ (โบสถ์ไม้) ตงั้ อยทู่ วี่ ัดเจรญิ ทรงธรรม บำ้ นดอนปอ ตำบลหนองบัวใต้ อำเภอศรีบุญเรอื ง จงั หวัด หนองบวั ลำภู เป็นสิมท่สี รำ้ งด้วยไม้ทัง้ หลัง เขำ้ ใจวำ่ รปู แบบเปน็ กำร สบื ทอดจำกสมิ น้ำ มรี ปู ทรง กะทัดรดั ขนำดกว้ำงยำวไล่เล่ียกันผนงั ตฝี ำไม้กระดำน ฐำนของโบสถ์กอ่ ดว้ ยอฐิ ฉำบปนู มีเสำไมแ้ กน่ จำนวน ๑๒ ตน้ สูงประมำณ ๑๒ เมตร หลงั คำทรงสูงโปร่ง ทำใหบ้ รรยำกำศภำยในเย็นสบำย ศิลปะ กำรแกะสลักรูปพญำครุฑดว้ ยไม้ขนำด กว้ำง ๑ เมตร ยำว ๑ เมตร สูง ๑ เมตร ทรำบวำ่ ในภำค อสี ำนมแี ห่งเดยี วเท่ำน้ัน ควรท่ีกรมศลิ ปำกรจะขนึ้ ทะเบียนไว้ และรีบดำเนนิ กำรบรู ณะปฏสิ นั ขรณโ์ ดย ด่วนกอ่ นทจี่ ะทรุดโทรมมำกไปกว่ำนี้

๕๖ ๕.๓ อำคำรพิพธิ ภณั ฑอ์ ัฐบริขำรหลวงปูข่ ำว อนำลโย ตั้งอยู่ท่ีวัดถ้ำกลองเพล ตำบลโนนทัน อำเภอเมือง จังหวัดหนองบวั ลำภู สร้ำงด้วยหินแกรนติ ทม่ี รี ปู ทรงสถำปัตยกรรมสมยั ใหม่ท่สี วยงำมกลมกลืนกบั ธรรมชำตแิ ละ คุณค่ำทำงศิลปะมำก โดยเฉพำะอำคำรแห่งนี้ พระบำทสมเด็จพระเจำ้ อยูห่ ัวภมู ิพลอดุลยเดช ได้พระรำชทำนพระรำชทรัพย์ ส่วนพระองคเ์ ป็นเงิน ๑ ลำ้ น ๔ แสนบำท เป็นปจั จยั สมทบทนุ ในกำรก่อสร้ำงอำคำรหลังน้จี งึ มีคุณค่ำ ทั้งทำงด้ำนสถำปตั ยกรรม และคณุ คำ่ ทำงด้ำนประวตั ศิ ำสตรอ์ กี ด้วย ๖. อนุสำวรยี ์ รูปป้นั ๖.๑ พระรำชำนุสำวรีย์สมเด็จพระนเรศวรมหำรำช ศำลสมเดจ็ พระนเรศวรมหำรำชเป็นอนสุ ำวรยี ท์ ่สี มเด็จพระนเรศวรมหำรำช เคยเสด็จพักทัพ เม่ือ พ.ศ.๒๑๑๗ ต้งั อยบู่ รเิ วณสวนสำธำรณหนองบวั หน้ำท่ีวำ่ กำรอำเภอ เมืองหนองบัวลำภู จังหวัด หนองบัวลำภู สร้ำงเม่ือเดือนพฤศจิกำยน ๒๕๑๐ โดยกรมศิลปำกร พระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หวั สมเด็จพระนำงเจ้ำบรมรำชินีนำถ เสดจ็ มำทรงเปิด เมอ่ื วนั ท่ี ๒๕ มกรำคม พ.ศ. ๒๕๑๑

๕๗ ๖.๒ รปู ปน้ั และหุน่ ขผ้ี งึ้ หลวงปขู่ ำว อนำลโย อริยสงฆแ์ หง่ วัดถำ้ กลองเพล เปน็ อนุสำวรยี ์สรำ้ งด้วยควำมศรทั ธำของพุทธศำสนิกชนทม่ี ตี ่อ หลวงปขู่ ำว ซงึ่ สมเด็จพระอริยวงศำคตญำณ (วำส วำสโน) สมเด็จพระสงั ฆรำช ได้ทรงลขิ ิตเกีย่ วกบั หลวงป่ขู ำวไวว้ ำ่ \"เปน็ พระเถระฝ่ำยวปิ ัสสนำธรุ ะอรัญวำสี มีจรยิ ำนวุ ัตรหนักแนน่ มัน่ คงในธรรม ปฏบิ ัตทิ ปี่ รำกฏตอ่ ศิษยำนศุ ิษย์ผูเ้ คำรพนับถืออย่ำงสนิทใจวำ่ ท่ำนเปน็ ผูเ้ ห็นธรรมอย่ำงแท้จริง เพรำะ มกี ำย วำจำ ใจ สงบระงบั อยูใ่ นทำนองคลองธรรมเป็นปกติวสิ ยั ไมแ่ สดง อำกำรหว่ันไหวเพรำะ ประสบอำรมณน์ ่ำปรำรถหรือไมน่ ำ่ ปรำรถนำท่ผี ำ่ นเข้ำมำกระทบ คงดำรงอำรมณ์มั่นคงตำม หลกั ธรรม มสี ตสิ ัมปชญั ญะอย่ำงสมบูรณ์ มคี วำมเห็นรู้แจง้ เห็นจรงิ ตรงตำมควำมเป็นจรงิ ปล่อยให้ อำรมณ์ทั้งสองฝำ่ ยนนั้ ผ่ำนไปตำมธรรมดำ ไม่มีกำรยดึ ถือ ดังหยำดนำ้ จำกหตั ถล์ งใบบัว ยอ่ ม กลอกกลิ้งตกไปไม่ซึมซำบติดใบบวั ฉะน้นั \"นำมฉำยำของทำ่ นว่ำ อนำลโยนน้ั นำ่ ชวนใหเ้ ขำ้ ใจวำ่ หมำยถงึ ช่ือตวั คือ ขำวน่นั เอง ทจ่ี ริงคำวำ่ อนำลโย แปลว่ำ ไม่มีอำลัย คือ ไม่มีควำมถือหว่ งใยใน ฐำนะเปน็ เจำ้ ของท้ังในบคุ คล สตั ว์ และพัสดุท้งั หลำย ทำงธรรมถอื ว่ำผู้ยงั ยึดมน่ั ถือมัน่ อยู่ เชน่ นน้ั เป็น ผู้มใี จไม่สะอำดหมดจด เพรำะมัวหมองดว้ ยกำรยึดถือเม่ือหมดยดึ ถอื ปล่อยวำงด้วย รเู้ ทำ่ ทันธรรมดำ เปน็ ควำมเห็นชอบตำมควำมจริง จงึ เชอ่ื ว่ำใจสะอำด บรสิ ทุ ธิเ์ หน็ ปำนนยี้ อ่ มข้ำม พน้ มจั จรุ ำชได้ สมเปน็ ปชู นียะชนั้ ประเสริฐแทจ้ รงิ ศิษยำนุศิษย์รักและเคำรพนับถือ จงึ ควรบชู ำ คณุ ธรรมของท่ำนดว้ ยฝกึ ฝนปฏิบัติตน ตำมปฏิปทำที่ท่ำนมำจนตลอดอำยุขัย เพอ่ื เปน็ สักกำรบูชำ ทำ่ นผทู้ รงคุณควรบชู ำจัดเป็นกตเวทอี ยำ่ งสมควรแท้

๕๘ ๗. สิ่งสำคัญคบู่ ้ำนคเู่ มือง ๗.๑ บ่อนำ้ วัดศรีคณู เมือง เปน็ บ่อนำ้ ก่อดว้ ยอฐิ ขนำดเดียวกับกำแพงเมืองนครเขื่อนขันธ์กำบแกว้ บัวบำน ขนำดเส้นผ่ำน ศูนยก์ ลำง ๒ เมตร ลึกประมำณ ๕๐ เมตร มนี ้ำใสสะอำดตลอดปี สนั นษิ ฐำนว่ำสรำ้ งในสมยั พระเจำ้ ไชยเชษฐำธริ ำช พ.ศ. ๒๑๐๖ ถือว่ำเป็นบ่อน้ำคู่นำ้ คู่เมืองเวลำมพี ระรำชพธิ ีและพิธีสำคัญจะนำน้ำจำก บ่อแทง่ น้ีไปใช้ อำทิ พระรำชพธิ ถี อื น้ำพระพิพัฒน์สตั ยำ ๗.๒ พระรำชศรีสุมงั ค์ พระประธำนในอุโบสถ์วัดศรีสมุ ังค์หำยโศก บำ้ นลำภู เป็นพระพุทธรปู สมัยศลิ ปะลำ้ นชำ้ ง พระเกศสวมมงกฏุ เหมือนกษัตรยิ ์ สนั นิษฐำนว่ำสรำ้ งรนุ่ เดียวกนั กับ วดั ศรคี ณู เมอื งในสมัยพระเจ้ำไชย เชษฐำธิรำช ชำวเมืองถอื ว่ำเป็นพระพทุ ธรปู ศักดิ์สทิ ธใ์ิ หเ้ ปน็ ประธำนในพิธีถือถ้ำพระพิพัฒน์สตั ยำ และดื่มน้ำสำบำน ซึ่งมี ควำมศกั ด์ิสิทธม์ิ ำก ถำ้ ใครผดิ คำสำบำนคนนน้ั จะได้รบั เครำะหก์ รรมตำมท่ีได้ ใหส้ จั จะไว้ ๗.๓ พระไชยเชษฐำวัดถ้ำสวุ รรณคหู ำ พระเจำ้ ไชยเชษฐำเปน็ นำมพระพุทธรปู ประธำนในถ้ำสวุ รรณคหู ำ ซึง่ ให้เป็นสีมำ (อโุ บสถ) และวิหำรประจำ เปน็ พระพทุ ธรูปศลิ ปะลำ้ นชำ้ งขนำดใหญ่ ฐำนกวำ้ งประมำณ ๔ ศอก ปำงมจั ลนิ ท์ คอื พระพทุ ธรปู นำคปรก มนี ำคปรก ๗ เศียร ลักษณะท่ัวไปของนำคมหี นำ้ ตำแบบศลิ ปะล้ำนชำ้ ง พระพทุ ธรปู ไชยเชษฐำ ตัง้ อยู่บนฐำนชกุ ชปี นู ฐำนสงู จำกพ้ืนประมำณ ๑ เมตร ปนู ป้ันพระพุทธรปู เรียกว่ำ ปูนสะทำยเพชร(ปนู สะทำยโบกอีกสตู รหนงึ่ ทใ่ี ชโ้ บกผนงั ท่ัวไป ซ่งึ แข็งตวั ดี สะดวกในกำรใช้ ป้นั ลวดลำย และพระพทุ ธรูป มีส่วนผสม ดังนี้ ปนู ขำว ๒ สว่ น ทรำย ๕ สว่ น น้ำมนั ยำง ๑ ส่วน น้ำ มะขำม ๒ สว่ น) โดยใชอ้ ฐิ เป็นโครงในและ ใชป้ ูนสะทำยเพชรโบกทบั ป้นั แตง่ ใหม้ ีรูปรำ่ งตำมควำม ต้องกำรของฉบับหรือสะบบั (ช่ำง) พระเจำ้ ไชยเชษฐำนี้เปน็ ท่ีเคำรพนับถือของชำวบ้ำนมำก เล่ำกันวำ่ เปน็ พระพุทธรปู ศักด์สิ ิทธิ์ มงี ำนบญุ ปิดทองไหว้พระประจำปใี นเดือนสำม ข้ึน ๑๓-๑๖ คำ่ ทกุ ปี

๕๙ ประชำชนในละแวกใกลเ้ คียงจังหวดั อุดรธำนี และ จ.หนองบัวลำภู จะมำนมัสกำรพระเจ้ำไชเชษฐำ จำนวนมำก ๗.๔ พระมหำธำตุเจดยี ์ ได้กลำ่ วไว้ในศิลำจำลึกหลักท่ี ๒ (สร้ำงเม่ือ พ.ศ. ๒๑๖๙) ที่กลำ่ วว่ำ \"พระยำสรุ เทพเจำ้ ได้ อุทิศขำ้ พระโยมสงฆ์ไว้กบั พระมหำธำตุเจำ้ ๕ ครอบครัว คือ แสนศรีครวั หนึ่ง ทั้งเมียทั้งลกู แสนนนั ท สงครำมครวั หนึ่ง เทพอำสำครัวหน่ึง ท้งั เมยี ทง้ั ลกู นำงกว้ำนกว่ำครวั หน่ึง ทั้งลูกทั้งหลำน อีบวั ครวั หนง่ึ ทั้งนอ้ งทง้ั หลำน\" แสดงให้เหน็ ว่ำพระมหำธำตุทป่ี ระจำอยใู่ นวัดสุวรรณคหู ำนเี้ ป็นพระธำตุเจดยี ์ สำคญั จนมีผเู้ ลือ่ มใสศรทั ธำ อุทศิ ทำสดูแลพระมหำธำตถุ ึง ๕ ครอบครวั เร่ืองพระมหำ ธำตุเจดียใ์ นวดั สวุ รรณคูหำน้ี ชำวบ้ำนและพระสงฆ์ในวัดปจั จุบันยัง ไมท่ รำบวำ่ มีพระมหำธำตุอยใู่ นถำ้ วัดสวุ รรณคูหำ (ตำมที่ศลิ ำจำรกึ ได้กลำ่ วไว้) จำกควำมเห็น ของผู้ เรยี บเรียงเชอ่ื วำ่ \"พระธำตเุ จดยี ข์ นำดยอ่ มท่สี รำ้ งไว้ ในถ้ำสุวรรณคูหำ อยู่ดำ้ นหลงั พระเจ้ำไชยเชษฐำ พระพทุ ธรูปประธำนวิหำรถำ้ สวุ รรณคูหำน่ำจะเป็น \"พระมหำธำต\"ุ ที่กล่ำวไวใ้ นศิลำจำลกึ (พ.ศ. ๒๑๖๙) ก็ได\"้ เพรำะ สร้ำงไว้อยู่ด้ำนหลังพระวหิ ำร (ซ่งึ เป็น ธรรมเนยี มของชำวพุทธจะนิยมสร้ำงพระมหำธำตไุ ว้อยู่ เบอ้ื งหลังรพระวิหำร แต่อย่นู อกอำคำรพระ วิหำร แตใ่ นถ้ำสุวรรณคูหำนเ้ี ปน็ สถำนทศ่ี ักด์ิสทิ ธ์ิ ใช้เป็นพระวิหำร และมสี ถำนที่จำกัด (เพดำนถ้ำไม่ สูงมำกนกั ) จึงจำ เป็นจะต้องสร้ำงพระธำตเุ จดยี ์ขนำดย่อม แตช่ ำวพุทธและพระเถระสมัยโบรำณ ทรำบวำ่ เปน็ พระมหำธำตุ จงึ ได้มีผู้เลือ่ มใสศรทั ธำถวำยขำ้ พระโยมสงฆไ์ ว้ดแู ล ทำ ควำมสะอำดจัด เครอ่ื งบชู ำ และรกั ษำเฝ้ำเวรยำม ไว้ถึง ๕ ครอบครวั ดังปรำกฏรำยละเอียดในศลิ ำจำรึกวัดถ้ำสวุ รรณ คูหำหลักที่ ๒ นั้นแล้ว สว่ นพระธำตุอน่ื ๆ อีก จำนวนมำก ซ่ึงเป็นพระธำตุของพระเถระผ้ใู หญข่ องวัด ถำ้ สุวรรณคูหำ ชำวพุทธก็ไดส้ รำ้ งพระธำตุอฐั เิ ช่นเดียวกนั แตส่ รำ้ งอยเู่ บื้องลำ่ ง หน้ำถ้ำเพิงผำอน่ื ๆ หำได้ สรำ้ งในสถำนท่ศี ักดิส์ ทิ ธ์ิเหมอื นพระธำตุดังกลำ่ ว ๗.๕ ศำลเจำ้ ป่หู ลุบ ตัง้ อยู่บรเิ วณดอนหนั บ้ำนห้วยเชยี ง รมิ ถนนหนองบวั ลำภู - อุดรธำนี ทำงหมำยเลข ๒๑๐ จำกตวั เมืองไปทำงจงั หวัดอดุ รธำนี ประมำณ ๓ กโิ ลเมตร เปน็ สถำนท่ี พักผ่อนหย่อนใจท่ีรม่ รื่นดว้ ยปำ่ ไม้นำนำพนั ธ์ุและโขดหนิ รปู ต่ำง ๆ แปลกตำ บรเิ วณใกล้เคียงมศี ำลเจำ้ \"ปูห่ ลบุ \" ซง่ึ เป็นทเี่ คำรพ และศรทั ธำของประชำชนทั่วไป เวลำขับรถผ่ำนเสน้ ทำงสำยน้ี จะบีบแตรสำมคร้งั เพื่อขอใหเ้ ดนิ ทำง ด้วยควำมปลอดภัยและประสบโชคดี บำงทีมคี นไปบนบำนศำลกลำ่ วเพ่ือขอให้ปหู่ ลบุ ไดช้ ่วย เหลือ

๖๐ เมอ่ื ประสบผลสำเร็จแลว้ กจ็ ะนำเหลำ้ ไหไก่โตหรือไม่กห็ วั หมไู ปถวำยเป็นกำรแก้บน บำงทกี ็นำหมอลำ ซ่ิง หมอลำเพลนิ และภำพยนตรแ์ ก้บนในเวลำกลำงวนั ๗.๖ ปโมทติ เจดีย์ อำคำรพิพธิ ภัณฑ์หลวงปหู่ ลอด ปโมทิตเจดีย์ เปน็ เจดยี ์ ๓ ชัน้ มขี นำดกวำ้ ง ๒๐ เมตร ควำมยำว ๔๒ เมตร ควำมสูง ๓๕ เมตร อยทู่ ่ีวดั ปำ่ ศรีสวำ่ ง ตำบลบำ้ นขำม อำเภอเมือง จ.หนองบวั ลำภู ประกอบด้วยชน้ั ที่ ๑ เป็น ศำลำปฏิบตั ธิ รรมและห้องประชมุ ชน้ั ท่ี ๒ เปน็ อำคำรพิพิธภัณฑข์ องหลวงปูห่ ลอด ปโมทิโต ช้นั ท่ี ๓ เปน็ ที่ประดิษฐำน พระบรมสำรกิ ธำตุ โดยคุณวลั ลภ จตุ ิกุล และคณะไดเ้ ดนิ ทำงไปทปี่ ระเทศเนปำล เพ่ือร่วมเปน็ เจ้ำภำพในพิธมี อบบรมสำริกธำตุ และไดน้ ำมำประดิษฐำน ณ พระเจดยี ์ อำเภอเมอื ง จังหวดั หนองบวั ลำภู และไดน้ ำคณะญำตโิ ยมผศู้ รัทธำไดร้ ่วมกนั สรำ้ งตั้งแต่วนั ท่ี ๒ พฤศจกิ ำยน ๒๕๓๙ เปน็ เวลำ ๖ ปี รวมค่ำก่อสรำ้ ง ๒๐,๑๗๑,๕๓๓.๓๕ บำท เม่ือวนั ที่ ๒๙ มีนำคม พ.ศ.๒๕๔๖ โดยหลวงปหู่ ลอดเป็นประธำนในพธิ ีอัญเชิญพระบรมสำรกิ ธำตุ บรรจุปโมทติ เจดีย์ ทำงวดั เปดิ ให้ ผู้สนใจเขำ้ ชมทุกวนั เวลำ ๐๙.๐๐-๑๖.๐๐ น. สำหรับพระบรมสำรกิ ธำตุ เปิดให้สำธุชนเข้ำสักกำระ เฉพำะวันสำคญั ทำงพระพุทธศำสนำ

๖๑ 7. แหล่งทอ่ งเที่ยว จงั หวดั หนองบัวลำภู มสี ถำนท่ที อ่ งเท่ยี ว ท่ีมีควำมสวยงำมทำงธรรมชำติ ประวตั ศิ ำสตร์ โบรำณคดี ศำสนสถำนและศิลปหตั ถกรรม ที่สำคญั ของจังหวัด คือ 1. ศำลสมเดจ็ พระนเรศวรมหำรำช สรำ้ งเป็นอนสุ รณ์ครั้งสมเด็จพระนเรศวรมหำรำชทรงประชวรและประทบั อยู่บริเวณ ทเี่ ปน็ ทต่ี ้ังอำเภอเมอื งหนองบัวลำภู ระหว่ำงยกทัพไปตีกรุงศรสี ตั ตนำหุต เม่ือปี พ .ศ. 2117 เป็น ศำลรูปเรือนไทยมี พระรูปปัน้ ของสมเดจ็ พระนเรศวรมหำรำชตัง้ ประดษิ ฐำนอยู่ในท่ำประทับยืนพระ หัตถซ์ ้ำยถือ พระแสงดำบ ตั้งอยบู่ ริเวณสวนสำธำรณะหนองบวั หน้ำท่ีว่ำกำรอำเภอเมืองหนองบวั ลำภู มีชื่อเรียกอย่ำงเป็นทำงกำรวำ่ “สนำมนเรศวร” ในสมัยกรุงศรีอยธุ ยำ พ.ศ.2112 สมเดจ็ พระนเรศวร ได้ร่วมเสดจ็ ไปในกองทพั พระรำชบดิ ำ สมเด็จพระมหำธรรมรำชำ สมทบกบั กองทัพพมำ่ ไปตเี มืองเวยี งจนั ทร์ ไดย้ กทัพมำถึง หนองบวั ลำภู เมอื งหน้ำดำ่ นทำงใตข้ องเวียงจันทร์ นำกองทัพพักแรมที่หนองบัวลำภู เน่ืองจำกมี ทัศนยี ภำพท่ีสวยงำม มีดอกบัวหลวงขึ้นเต็มทหี่ นองน้ำสวยงำมมำก และหนองนำ้ มีควำมอุดมสมบูรณ์ เหมำะแกก่ ำรต้ังพักแรม กำรทส่ี มเด็จพระนเรศวรมหำรำช ได้เคยเสด็จมำประทับแรมท่ีเมืองหนองบัวลำภูนัน้ ใหช้ ื่อ เมืองหนองบวั ลำภู ไดจ้ ำรกึ ไว้ในประวัตศิ ำสตร์ไทย เพ่ือเป็นกำรเทิดพระเกียรติ วีรกษัตริย์ไทย พระยำ อุดรธำนี ศรโี ขมสำครเขต (จติ จติ ตยโสธร) อดีตเจำ้ เมืองอดุ รธำนีได้ร่วมใจกับชำวหนองบัวลำภู สร้ำง ศำลสมเด็จพระนเรศวรมหำรำชไว้ ณ ดำ้ นตะวันออกริมฝงั่ หนองบัวลำภู และสร้ำงรปู เหมอื นสมเด็จ พระนเรศวรมหำรำชประทบั ยืน พระหัตถ์ซำ้ ยทรงพระแสงดำบ ออกแบบโดยช่ำงกรมศลิ ปำกร

๖๒ พระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยูห่ ัวภมู พิ ลอดลุ ยเดช ไดเ้ สดจ็ พระรำชดำเนินทรงเปิดพระบรมรำ ชำนุสำวรยี ์แห่งน้ี เม่อื วนั ที่ 25 มกรำคม 2511 หลงั จำกนั้นทุกๆ ปี ชำวจังหวดั หนองบัวลำภู จะจัด งำนพระรำชพธิ ีบวงสรวงดวงพระวญิ ญำณสมเดจ็ พระนเรศวรมหำรำช เพ่อื นอ้ มรำลึกถงึ พระมหำ กรุณำธคิ ณุ ของพระองคท์ ่ำน เรยี กว่ำ “งำนบวงสรวงสมเด็จพระนเรศวรมหำรำช” 2. วดั ถ้ำกลองเพล วัดถ้ำกลองเพลอยูใ่ นเขต อำเภอเมืองหนองบวั ลำภู บนทำงหลวงหมำยเลข 210 เสน้ ทำง หนองบัวลำภู-อุดรธำนี และจัดเปน็ แหลง่ ทอ่ งเทย่ี วประเภทศำสนสถำน เปน็ วดั ปำ่ ทีม่ ชี ่ือเสยี งของ จังหวัด มีถ้ำซึ่งมีกลองโบรำณสองหนำ้ ซ่งึ เปน็ พระพุทธรปู ปำงลลี ำจำหลักในก้อนหนิ เคยเป็นสถำนที่ วปิ ัสสนำกรรมฐำน ของพระ-อำจำรย์หลวงปขู่ ำว อนำลโย พระวิปสั สนำสำยพระอำจำรยห์ ลวงป่มู นั่ ภู ริทัตตะเถระ หลวงปูข่ ำวได้มำจำพรรษำ เมื่อปี พ.ศ. 2501 จนกระทั่งมรณภำพในปพี .ศ. 2526 ปัจจุบันได้สรำ้ งพิพธิ ภณั ฑ์รวบรวมเครื่องอัฐบริขำร และรปู ปนั้ ห่นุ ข้ีผ้ึงของหลวงปขู่ ำว ไว้เป็น ท่รี ะลกึ และสักกำรบชู ำของศำสนกิ ชน บริเวณวดั มคี วำมสวยงำมสอดคล้องกับธรรมชำติ แมห้ ลวงปู่ ขำว อนำลโย ได้มรณภำพไปแล้วนบั สบิ ปี ยงั มีผเู้ ดินทำงไปกรำบไหวบ้ ูชำวัตถุมงคลและอนุสรณ์สถำน แทนหลวงปขู่ ำวมิไดข้ ำด 3. ถำ้ เอรำวณั เปน็ แหลง่ ท่องเท่ยี วธรรมชำติทโ่ี ดดเดน่ ของพืน้ ท่อี ำเภอนำวัง หำ่ งจำกเขตท่ีว่ำกำรอำเภอ 2 กิโลเมตร ตำมเสน้ ทำงหนองบัวลำภู-เลย หรอื เสน้ ทำงหลวงหมำยเลข 210 เป็นจดุ ดงึ ดูดนักทอ่ งเที่ยว ตวั ถำ้ ตง้ั อยู่บนภูเขำ มบี ันไดปูนซีเมนต์ วกวนไปตำมควำมชันของเขำอย่ำงมีศลิ ปะจำนวน 619 ขัน้ ปำกถ้ำมีพระพุทธรูปองค์ใหญ่มนี ำมว่ำ “พระพุทธชยั ศรีมหำมณุ ตี รโี ลกนำถ” ลกั ษณะท่วั ไปภำยในถำ้

๖๓ มีควำมสวยงำม โดยเฉพำะบริเวณถำ้ มีขนำดใหญโ่ ตเหมือนท้องพระโรงใหญ่ มีหนิ งอกหนิ ยอ้ ยรปู รำ่ ง แปลกๆ สวยงำม ทำงด้ำนหลังของถ้ำมีช่องทะลเุ พดำนกวำ้ งประมำณ 3 เมตรเศษ 4. อทุ ยำนแห่งชำตภิ เู ก้ำภูพำนคำ เปน็ แหล่งทอ่ งเทยี่ วธรรมชำติ ตง้ั อยใู่ นเขตอำเภอโนนสัง เหนอื อำ่ งเกบ็ นำ้ เข่ือนอุบลรตั น์ติด กบั จังหวดั ขอนแกน่ กำรเดินทำงไปอุทยำนฯ จำกอำเภอเมืองหนองบัวลำภู ใช้เส้นทำงหมำยเลข 2146 ไปทำงอำเภอโนนสงั แต่แทนทจ่ี ะเข้ำตวั อำเภอใหเ้ ลย้ี วซ้ำยแยกไปตำมทำงแยกบ้ำนโสกจำน อกี 14 กโิ ลเมตร กจ็ ะถึงท่ที ำกำรอทุ ยำน มบี ้ำนพกั ทำงกรมอุทยำนใหบ้ รกิ ำรแกน่ กั ท่องเที่ยวศกึ ษำ ธรรมชำติและประวตั ิศำสตร์ จดั เป็นแหล่งศึกษำโบรำณคดีท่ยี ่งิ ใหญ่แหง่ หนึ่งของประเทศ โดยเฉพำะท่ภี เู ก้ำนนั้ มีรอ่ งรอย ของภำพแกะสลกั และลำยเขียนสีบนผนงั ทม่ี อี ำยุเกำ่ นบั พันปสี มัยกอ่ นประวัตศิ ำสตร์อยู่บริเวณถำ้ มิ้ม ถ้ำอำจำรยส์ มิ ถำ้ พำลำไฮ และถำ้ เสือตก ส่วนควำมงำมทำงธรรมชำตนิ ้ันคอื ควำมงดงำมของแผ่นฟ้ำ บริเวณอ่ำงเก็บน้ำเขื่อนอุบลรตั น์ ซึ่งอุดมสมบรู ณ์ไปดว้ ยปลำมำกมำยหลำยพันธส์ุ ำหรบั ภูเกำ้ นั้นจะมี ภเู ขำซอ้ นกนั ถงึ 9 ลูก คือ ภฝู ำง ภูขุมปนู ภหู นั ภเู มย ภูคอ้ ม้อ ภชู นั ภเู ปรำะภูลวก และภูวัด

๖๔ 5. ภูหนิ ลำดช่อฟำ้ เปน็ อำณำบรเิ วณของป่ำดิบและลำนหนิ กว้ำงใหญ่ท่ียงั อดุ มสมบรู ณ์ ตงั้ อยู่ท่เี ทือกเขำภพู ำน คำ บ้ำนภูพำนคำในเขตตำบลโนนทัน อำเภอเมือง มีควำมงดงำม ของพันธุ์ไม้ป่ำชนิดตำ่ งๆก้อนหิน ขนำดใหญร่ ปู ลกั ษณะแปลกตำเป็นรอ่ งคลำ้ ยถูกน้ำเซำะกัดกร่อนมำเปน็ เวลำนำนจนกอ่ ใหเ้ กิดโขดหนิ รปู ร่ำงคลำ้ ยชอ่ ฟ้ำ และโพรงถ้ำ สำมำรถเดนิ ชมดอกไม้ป่ำท่ีเกำะเก่ยี วกบั ผนังของหนิ ได้สำมำรถ มองเหน็ ทัศนียภำพของตวั จังหวัดหนองบัวลำภู และเขือ่ นหว้ ยหลวง จังหวดั อุดรธำนีไดอ้ ย่ำงชัดเจน เคยเป็นสถำนที่พำนักและศูนย์บัญชำกำรของนสิ ิตนักศกึ ษำ ในกำรตอ่ สูท้ ำงกำรเมอื งเม่ือปี พ.ศ.2519 และมีประวัติเกี่ยวกบั ทับต่ำงๆ ประกอบด้วยทับบนั เทงิ ทับสำมสิบสองอ่ำงทับถ้ำใหญ่ ทบั กกบก ทบั สูงทับโรงแรม ทับวิวฒั น์ ทบั พยำบำล ทบั ซำบก ฯลฯ และยังมีสถำนท่นี ำ่ สนใจอกี หลำย แห่งคือ ลำนตำหมำกฮ็อต ซำนกยูง ลำนกลำงภหู ินลำดชอ่ ฟ้ำ ถ้ำเวที และถำ้ วทิ ยุเอกสำร 6. สสุ ำนหอย 150 ลำ้ นปี (แหลง่ หอยหินโบรำณ) ต้งั อยูท่ ี่บ้ำนห้วยเดื่อ ต.โนนทนั อ.เมือง จงั หวัดหนองบัวลำภู กำรเดินทำงใชเ้ ส้นทำงหลวง หมำยเลข 210 หำ่ งจำกตัวจงั หวัดหนองบวั ลำภู ประมำณ 10 กิโลเมตร บริเวณดังกล่ำวสันนิษฐำน วำ่ อำจเคยเปน็ ทะเล แตเ่ มื่อสภำวะโลกมีกำรเปลี่ยนแปลงยบุ หดตวั ทำใหก้ ลำยเป็นพน้ื ท่ีสูง ไดม้ กี ำร ขุดพบ ซำกฟอสซลิ ของไดโนเสำรป์ ระเภทไซโรพอด (Sauropod) เชน่ กระดูกแผ่นอก กระดูกสะโพก และอ่ืนๆ สภำพเป็นภเู ขำมีหน้ำผำสงู ประมำณ 50 เมตร พบซำกฟอสซลิ ไดโนเสำร์ และหอยหินดึกดำ บรรพ์ยุค “จลู ำสิกตอนปลำย” อำยุประมำณ 145 –15 7 ล้ำนปี ลักษณะเป็นรูปหอยเดน่ ชดั อยู่ใน สภำพที่สมบรู ณ์จำนวนมำก มีทั้งตวั เลก็ ตัวใหญ่ บำงตัวมนี ำ้ หนักประมำณคร่ึงกโิ ลกรัม นับวำ่ มีคุณค่ำ ทำงธรณีวิทยำอย่ำงมำก สุสำนหอยท่วั โลกมีอยู่ 3 แห่ง คอื สหรฐั อเมริกำ ญี่ปนุ่ และประเทศไทย สำหรับประเทศไทย นนั้ พบสสุ ำนหอยที่ชำยฝัง่ ทะเลคอื สุสำนหอยแหลมโพธิ์ จงั หวดั กระบ่ี ซ่งึ เป็นท่เี ดยี วในโลกทีพ่ บ บรเิ วณชำยฝั่ง สว่ นท่พี บบนแผ่นดนิ คอื สสุ ำนหอยแมเ่ มำะจังหวัดลำปำง และสสุ ำนหอย 150 ล้ำนปี

๖๕ จงั หวดั หนองบวั ลำภู ซึ่งปจั จบุ ันได้รบั กำรดูแลโดยองค์กำรบรหิ ำรส่วนตำบล (อบต.) โนนทันอำเภอ เมือง จังหวดั หนองบัวลำภู 7. แหล่งโบรำณคดบี ำ้ นกดุ กวำงสรอ้ ยและกุดคอเมย ต้งั อย่ทู ี่ ต.กดุ ดู่ อ.โนนสัง เดินทำงตำมทำงหลวงหมำยเลข 2146 ระยะทำงประมำณ 36 กโิ ลเมตร ถงึ บำ้ นหนองแวงแล้วเล้ยี วซ้ำยมือประมำณ 5 กิโลเมตร และจำกบ้ำนหนองแวงเลย้ี วขวำมอื ไปประมำณ 7 กโิ ลเมตร ตำมลำดบั เปน็ แหล่งโบรำณคดี ค้นพบส่งิ ของเคร่ืองใช้โบรำณวัตถุ ศลิ ปวตั ถุ ซ่งึ คลำ้ ยคลึงกับหลกั ฐำนโบรำณคดใี นยุควัฒนธรรมบ้ำนเชียง หลักฐำนขดุ พบได้แก่ โครงกระดูกมนุษย์ และเศษภำชนะดินเผำทม่ี ีลักษณะสมบูรณเ์ ต็มใบ ขนำดเล็ก-กลำง ค่อนข้ำงเล็ก สดี ำ หรอื น้ำตำลเข้ม- ดำ สสี ้ม หรอื น้ำตำล - แดง มีกำรตกแต่งผวิ ภำยนอกดว้ ยเทคนคิ กำรทำบเชอื ก และเทคนิคกำรขดู ขีด เปน็ ลำยร้วิ ทำบในแนวทแยง มอี ำยุประมำณ 2,500 ปี 8. วัดถ้ำสวุ รรณคหู ำ ต้งั อยู่ที่วดั ถ้ำสวุ รรณคหู ำ บำ้ นคูหำพัฒนำ หมู่ที่ 7 ต.นำดี อ.สวุ รรณคูหำ สำมำรถเดินทำง โดยรถยนตต์ ำมถนนสำยหนองบวั ลำภู-เลย ถึงแยกบ้ำนนำคำไฮ ให้เลย้ี วขวำไปยังทว่ี ่ำกำร อ.สุวรรณ คหู ำ แล้วเดนิ ทำงต่อไปอกี ประมำณ 5 กโิ ลเมตร จึงถึงวัดถ้ำสุวรรณคูหำภำยในถำ้ มีโบรำณวตั ถุ และ พระพทุ ธรูปปำงนัง่ สมำธิปูนปน้ั สรำ้ งในสมัยพระเจำ้ ไชยเชษฐำธิรำชแห่งเมอื งเวยี งจันทร์ ประดิษฐำน อยภู่ ำยในถำ้ และมีถ้ำซง่ึ ยงั ไม่ไดส้ ำรวจอกี มำกมำยมีโบรำณสถำนวัตถุทลี่ ำ้ คำ่ เช่น หลกั ศิลำจำรกึ ทำ จำกหนิ ทรำยคลำ้ ยในเสมำ พระนำมพระไชย-เชษฐำธิรำช และหลกั ศลิ ำจำรึก พระนำมพระยำสรเทพ เจ้ำ 9. หมู่บ้ำนหัตถกรรมเคร่อื งปัน้ ดนิ เผำบ้ำนโคง้ สวรรค์ บำ้ นโคง้ สวรรคข์ ้ึนอยู่กบั ต.โนนทนั อ .เมอื งหนองบัวลำภู รมิ ทำงหลวงหมำยเลข 210 หำ่ ง จำก จ.อดุ รธำนี 30 กิโลเมตร และอยหู่ ่ำงจำก จ.หนองบวั ลำภู 18 กิโลเมตร เกดิ จำกกำรยำ้ ยถ่ินฐำน ของชำวโครำช ไดน้ ำพำวัฒนธรรมกำรปน้ั หมอ้ มำเผยแพร่ เดิมทเี ปน็ พืน้ ท่ปี ำ่ สภำพท่อี ยู่อำศัยเปน็ พน้ื ทข่ี องกรมทำงหลวง และมีหนองนำ้ สำธำรณะท่ีมีดนิ เหนียวเหมำะแก่กำรป้นั หม้อ บำ้ นโค้งสวรรค์มี พน้ื ทีป่ ระมำณ 2,170 ไร่ กำรปัน้ หมอ้ ของชำวบำ้ นจะเป็นงำนหัตถกรรมที่ใชม้ ือและควำมชำนำญใน กำรทำ เปน็ เอกลักษณ์ทโี่ ดดเด่นเฉพำะในท้องท่เี ครื่องปั้นดินเผำท่สี ำคญั คือ แจกัน แอง่ น้ำ หมอ้ ดนิ หรอื หม้อแกงอ่อม ฯลฯ ปจั จบุ ันชำวบำ้ นโคง้ สวรรค์ ยังวำงจำหนำ่ ยผลติ ภณั ฑ์เครื่องปน้ั ดินเผำ ตำมรมิ ทำงหลวงหมำยเลข 210

๖๖ 10. ปโมหิตะเจดยี ์ พิพิธภณั ฑ์หลวงปู่หลอด ปโมหโิ ต ต้งั อยูท่ ีว่ ดั ป่ำศรีสวำ่ ง ต.บ้ำนขำม อ.เมือง หนองบัวลำ ภู เป็นเจดยี ์ 3 ชน้ั ประกอบดว้ ย ชน้ั ท่ี 1 ศำลำปฏิบัตธิ รรม ช้ันท่ี 2 อำคำรพิพธิ ภณั ฑ์ หลวงป่หู ลอด ปโมทโิ ต ชั้นที่ 3 ประดษิ ฐำน พระบรม สำริกธำตุ ปจั จุบันมีกำรสอนวิปัสสนำปลี ะ 1 ครง้ั และเปิดใหผ้ ูส้ นใจเข้ำชม ทุกวนั เวลำ 09.00- 16.00 น. สำหรับพระบรมสำรกิ ธำตุ เปิดใหส้ ำธุชนเข้ำสักกำระเฉพำะวนั สำคัญทำงพุทธศำสนำ 11. ภูพำนนอ้ ย เทอื กเขำภูพำนน้อย ต้งั อยูท่ ี่ ต.หนองบวั ลำภู บรเิ วณบำ้ นภพู ำนทอง อ.เมืองหนองบัวลำภู เปน็ เทือกเขำทท่ี อดตัวจำกทิศเหนอื ไปทำงทิศใต้ มีอำณำเขตติดต่อกบั ภูฝอยลม เป็นป่ำธรรมชำตทิ ม่ี ี สภำพสมบรู ณ์ เนอื้ ทป่ี ระมำณ 20,000 ไร่ ประกอบดว้ ยเส้นทำงศึกษำธรรมชำติ 2 เสน้ ทำง เสน้ ทำง จกั รยำนเสือภูเขำ 1 เส้นทำง ลำนชมวิว 1 แห่ง ลำนแคมป์ไฟ 2 แหง่ ศำลำเอนกประสงค์ 1 แหง่ รองรับผูเ้ ยี่ยมเยือนได้ประมำณ 100 คน

๖๗ 12. หำดโนนยำว ตง้ั อยทู่ บ่ี ้ำนโนนยำว ต.โคกใหญ่ อ.โนนสงั พนื้ ทเ่ี ป็นเกำะขนำดใหญ่ มีเข่ือนอุบลรัตนฯ์ ล้อมรอบทัง้ สำมด้ำน และเทือกเขำภูพำนคำทอดแนวยำว ทัศนียภำพโดยท่ัวไปสวยงำมในเดอื น เมษำยน อบต.โคกใหญ่ไดจ้ ดั ทำกิจกรรมเทศกำลกินปลำและแขง่ เรือพำยข้ึนและมีกำรแข่งขัน วอลเล่ย์บอลชำยหำดท่ีเกำะโนนยำว นอกจำกน้ยี ังมแี พ เรือท่องเท่ยี วเทศบำลตำบลโนนสัง ซึง่ เปน็ แพ ยนต์ทมี่ คี วำมยำว 14.99 เมตรควำมกวำ้ ง 8 เมตร จุผู้โดยสำรไดป้ ระมำณ 150 คน แพทอ่ งเทีย่ วนี้ เปดิ บริกำรทุกวัน

๖๘ 8. รำ้ นอำหำรยอดนยิ มประจำจงั หวดั หนองบวั ลำภู ตลำดชมุ ชนบ้ำนห้วยเดื่อ ทต่ี ลำดริมทำงชุมชนบำ้ นหว้ ยเด่อื น่เี องท่ีทำใหผ้ มต้องนกึ ถึงของแซบ่ อีสำน...เพรำะตลำดแห่งนจ้ี ะมี ชำวบ้ำน นำผลผลติ ทำงกำรเกษตรมำวำงขำย อีกท้ังอำหำรสด ที่หำตำมท้องไร่ท้องนำ ตำมป่ำตำมเขำ ซึง่ เป็นอำหำรพนื้ บ้ำน ทนี่ บั วันจะหำกนิ ได้ยำกมำวำงขำยด้วยเชน่ กนั อำทิ หน่อไม้ เผือก มนั เห็ดเผำะ ผักหวำน นก หนู ฟำน แมลงตำ่ งๆ ฯลฯ สำธยำยเป็นตัวหนังสือคงไม่หมด ลองไปชมภำพบำงส่วน ท่ี ผมถ่ำยมำใหช้ มกันดีกวำ่ ครับ วำ่ มอี ะไรบ้ำงทเ่ี ป็น...ของแซบ่ อสี ำน รำ้ นอำหำร แม่ยำ่ ลำบเป็ด หนองบัวลำภู แมย่ ำ่ ลำบเป็ด เปน็ รำ้ นอำหำรพื้นบ้ำนไทย-อสี ำน ท่ีมีเมนูเดด็ คอื ลำบเป็ดสตู รคณุ ปู่คุณย่ำที่ ใครได้ลองแล้วเป็นต้องตดิ ใจ

๖๙ เมนแู นะนำ : ลำบเป็ด, เป็ดทอด, ทอดพวงไก่, ปลำน่งึ แจ่ว, ปลำเผำ ทอี่ ยู่ : 227/1 ม.14 อำคำรใกลธ้ นำคำรออมสิน สำขำ นำกลำง, ต.นำกลำง, อ.นำกลำง, หนองบวั ลำภู เบอรโ์ ทรศัพท์ : 042359509 เบอรแ์ ฟกซ์ : 043873480 วันและเวลำเปดิ ปิดทำกำร : เปิดทกุ วัน เวลำ 07.00 - 22.00 น. กำรเดนิ ทำง : จำกจังหวดั อุดรธำนี ใชถ้ นนอุดรธำนี-เลย ม่งุ หนำ้ ไปอำเภอนำกลำง ตรงไปจนถงึ ธนำคำรออม สนิ สำขำนำกลำง ถัดจำกธนำคำรไปประมำณ 500 เมตร จะเห็นรำ้ นอำหำร แม่ยำ่ ลำบเป็ด อยู่ ทำงดำ้ นซ้ำยมือ มีน้ำพแุ ละเป็ดตวั ใหญ่ 2 ตวั ตง้ั อยู่หนำ้ รำ้ น บำ้ นกำแฟเชงิ ภู บรรยำกำศสบำยๆ อยูร่ มิ ถนน เสน้ ทำงหนองบัวลำภไู ปอดุ รธำนี ตวั ร้ำนเปน็ สีแดงภำยในรำ้ น เน้นโทนสขี ำว ตกแตง่ นำ่ รักมำก

๗๐ เมนแู นะนำ : กำรแฟสดเชงิ ภู, เอสเพรสโซ่, คำปชู โิ น่, ชำเขียว ทีอ่ ยู่ บ้ำนกำแฟเชงิ ภู : 156 ม.4 ถ.พระวร-พระตำ, ต.ลำภ,ู อ.เมอื งหนองบวั ลำภู, หนองบวั ลำภู เบอร์โทรศัพท์ บำ้ นกำแฟเชงิ ภู : 0851239435 , 0885620323 เบอรแ์ ฟกซ์ : 043873480 วนั และเวลำเปิดปดิ ทำกำร : เปิดทุกวัน เวลำ 07.00 - 18.30 น. กำรเดนิ ทำง บำ้ นกำแฟเชิงภู : จำกตัวเมอื งหนองบัวลำภเู ล้ียวเขำ้ ถนนพระวร-พระตำ ม่งุ หน้ำไปทำงไกย่ ่ำงเขำสวนกวำง รำ้ นบ้ำนกำแฟเชงิ ภู จะอยู่ใกลก้ ับไก่ยำ่ งเขำสวนกวำง และขนมจนี ชำววัง ลำบเปด็ โนนสมบูรณ์ ลำบเป็ดโนนสมบรู ณ์ ร้ำนลำบเปด็ มชี อื่ ของอำเภอโนนสมบูรณ์ ในบรรยำกำศบำ้ นสองชั้น พร้อมห้องคำรำโอเกะไว้บรกิ ำร เมนูแนะนำ : ลำบเป็ด, กว๋ ยเตยี๋ วเปด็ , อำหำรตำมสง่ั ท่ีอยู่ ลำบเปด็ โนนสมบรู ณ์ : 186 ม.3 อำคำรบ้ำนโนนสมบรู ณ์, ต.นำคำไฮ, อ.เมอื งหนองบัวลำภู, หนองบวั ลำภู

๗๑ เบอรโ์ ทรศัพท์ ลำบเป็ดโนนสมบูรณ์ : 0815079902 เบอร์แฟกซ์ : 043873480 วันและเวลำเปิดปิดทำกำร : เปิดทกุ วนั เวลำ 08.00 - 22.00 น. กำรเดนิ ทำง ลำบเป็ดโนนสมบรู ณ์ : จำกตวั เมืองหนองบวั ลำภู มุ่งหนำ้ ไปจงั หวดั เลย รำ้ นลำบเปด็ โนนสมบรู ณ์ ตั้งอยู่บรเิ วณบ้ำน โนนสมบูรณ์ จะมปี ้ำยช่ือสแี ดงตัง้ อย่ดู ำ้ นหนำ้ ร้ำนชัดเจน

72 บรรณำนกุ รม ควำมเจริญรุง่ เรอื งแหง่ อดตี . (ออนไลน)์ . แหลง่ ท่ีมำ : http://9nongbualamphu.blogspot.com/p/blog-page.html. สบื ค้นเมื่อ 27 สงิ หำคม ๒๕๕9. พัฒนำกำรทำงประวัตศิ ำสตร์ หนองบัวลำภู 2. (ม.ป.ป.). พัฒนำกำรทำงประวัติศำสตร์ หนองบัวลำภ.ู (ออนไลน์). แหล่งทีม่ ำ : http://www.m-culture.in.th/moc_new/ album/108568/พฒั นำกำรทำงประวัตศิ ำสตร์หนองบวั ลำภู/. สืบค้นเมอื่ 27 สงิ หำคม ๒๕๕9. รำวงคองกำ้ . (ออนไลน์). แหล่งทีม่ ำ : http://ich.culture.go.th/index.php/th/ich/performing- arts/236-performance/323-----m-s. สบื คน้ เมอื่ 27 สิงหำคม ๒๕๕9. เลิฟไทยแลนด์ดอทบทิ . (ม.ป.ป.). วถิ ชี ีวติ ในจังหวัดหนองบัวลำภู. (ออนไลน)์ . แหล่งท่มี ำ : http://www.lovethailand.biz/category/ th/47-หนองบวั ลำภู/5-วิถชี ีวิต.html. สืบค้นเม่อื 27 สิงหำคม ๒๕๕9. วกิ พิ ีเดยี . (2559). จังหวัดหนองบัวลำภู. (ออนไลน)์ . แหล่งทม่ี ำ : https://th.wikipedia.org/wiki/จงั หวัดหนองบวั ลำภู. สบื คน้ เมอ่ื 27 สิงหำคม ๒๕๕9. ______. (2555). วิทยำลัยชุมชนหนองบวั ลำภู. (ออนไลน)์ . แหลง่ ที่มำ : https://th.wikipedia.org/wiki/วิทยำลัยชมุ ชนหนองบวั ลำภู. สืบค้นเม่อื 27 สงิ หำคม ๒๕๕9. ______. (2558). วทิ ยำลัยพชิ ญบณั ฑิต. (ออนไลน)์ . แหล่งทีม่ ำ : https://th.wikipedia.org/wiki/วิทยำลยั พชิ ญบัณฑติ . สบื คน้ เม่ือ 27 สงิ หำคม ๒๕๕9. ______. (2559). โรงเรียนหนองบัวพิทยำคำร. (ออนไลน์). แหล่งทีม่ ำ : https://th.wikipedia.org/wiki/โรงเรียนหนองบวั พทิ ยำคำร. สืบคน้ เม่ือ 27 สงิ หำคม ๒๕๕9. ______. (2556). โรงเรียนฝง่ั แดงวิทยำสรรค์. (ออนไลน์). แหล่งทม่ี ำ : https://th.wikipedia.org/wiki/โรงเรยี นฝัง่ แดงวิทยำสรรค์. สบื ค้นเม่ือ 27 สิงหำคม ๒๕๕9. สำนักงำนจงั หวัดหนองบวั ลำภู. (ม.ป.ป.). มรดกทำงวัฒนธรรม จังหวดั หนองบัวลำภู. (ออนไลน์). แหล่งท่ีมำ : http://www.nongbualamphu.go.th/390/index.php/2015-09-10-

73 06-25-23. สบื ค้นเม่ือ 27 สงิ หำคม ๒๕๕9. อีสำนแซบ่ นัว. (ม.ป.ป.). รำ้ นอำหำร แม่ย่ำลำบเปด็ หนองบัวลำภู. (ออนไลน์). แหล่งท่มี ำ : http://i-san.tourismthailand.org/detail/dcpread/381622. สบื ค้นเมื่อ 27 สิงหำคม ๒๕๕9. __________. (ม.ป.ป.). บ้ำนกำแฟเชงิ ภู. (ออนไลน)์ . แหลง่ ท่ีมำ : http://i-san.tourismthailand.org/detail/dcpread/408803. สบื คน้ เมื่อ 27 สงิ หำคม ๒๕๕9. __________. (ม.ป.ป.). ลำบเปด็ โนนสมบรู ณ์. (ออนไลน)์ . แหลง่ ทม่ี ำ : http://i-san.tourismthailand.org/detail/dcpread/406308. สืบค้นเมื่อ 27 สงิ หำคม ๒๕๕9.