Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานผลการดำเนินงานโครงการ U2T จังหวัดระยอง

รายงานผลการดำเนินงานโครงการ U2T จังหวัดระยอง

Published by samapus isegawa, 2022-02-04 03:40:22

Description: รายงานผลการดำเนินงานโครงการ U2T จังหวัดระยอง

Search

Read the Text Version

ตวั ชว้ี ดั ภาพ ปร เวปไซดค0 วามรู2 และกจิ กรรมการดำ โควิค รณรงคก0 ารฉดี วคั ซีน ประสานองค0ความร2ู สือ่ สารสปYู ระช มาตรการควบคมุ Covid week Line official MT-AHS BUU ใหค2 12

ระเดน็ โจทย0 รายละเอยี ด สน้ิ สดุ โครงการ ำเนินการกระต2ุน และเฝาÄ ระวงั การระบาด ชาชน เพ่อื รบั มอื โควคิ คำปรึกษาแปลผลชุดตรวจ 21

ภาพท่ี 2 ผลการวเิ คราะห-ขอ/ มลู ระดบั สถาบนั การศึกษา (USI) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ตะวันออก 122

ภาพที่ 3-1 ผลการวิเคราะห-ข/อมลู ระดบั สถาบนั การศกึ ษา (USI) มหาวทิ ยาลยั บรู พา 123

ภาพที่ 3-2 ผลการวิเคราะห-ขอ/ มูลระดบั สถ 12

ถาบนั การศกึ ษา (USI) มหาวทิ ยาลยั บรู พา 24

ภาพที่ 3-3 ผลการวิเคราะห-ขอ/ มูลระดบั สถ 12

ถาบนั การศกึ ษา (USI) มหาวทิ ยาลยั บรู พา 25

ภาพที่ 3-4 ผลการวิเคราะห-ขอ/ มูลระดบั สถ 12

ถาบนั การศกึ ษา (USI) มหาวทิ ยาลยั บรู พา 26

ส#วนท่ี 3 ข+อมลู Community Big Data ระดบั จงั หวดั 127

รายงานผลการวเิ คราะหข/ อ1 มูล Community Big Data ระดบั จงั หวัดของจังหวดั ระยอง 1. ขอ% มลู สถิติใน CBD Count of Table 1) กลม6ุ ข%อมลู ผ%ทู ยี่ %ายกลับบา% น เนอ่ื งจากสถานการณโE ควิด 61 - จำนวนขอ' มลู ท่บี นั ทกึ 149 รายการ พ้นื ทีท่ ่ีพบการยา' ยบ'าน 30 ทอ่ี ยป6ู Kจจบุ นั 9 ต.วังหว'า อ.แกลง จ.ระยอง 9 ต.ปากน้ำกระแส อ.แกลง จ.ระยอง 7 ต.ทบั มา อ.เมืองระยอง จ.ระยอง 5 ต.มาบขาH อ.นิคมพัฒนา จ.ระยอง 4 ต.หนองละลอก อ.บา' นคHาย จ.ระยอง 3 ต.ทางเกวยี น อ.แกลง จ.ระยอง 3 ต.ปลวกแดง อ.ปลวกแดง จ.ระยอง 2 ต.มาบตาพดุ อ.เมืองระยอง จ.ระยอง 2 ต.หว' ยยาง อ.แกลง จ.ระยอง 2 ต.เขานอ' ย อ.เขาชะเมา จ.ระยอง 1 ต.ปาR ยบุ ใน อ.วังจันทรT จ.ระยอง 1 ต.พลงตาเอยี่ ม อ.วงั จนั ทรT จ.ระยอง 1 ต.กระแสบน อ.แกลง จ.ระยอง 1 ต.กะเฉด อ.เมืองระยอง จ.ระยอง 1 ต.ตะพง อ.เมืองระยอง จ.ระยอง 1 ต.นิคมพัฒนา อ.นิคมพฒั นา จ.ระยอง 1 ต.บา' นคHาย อ.บ'านคHาย จ.ระยอง 1 ต.บ'านฉาง อ.บา' นฉาง จ.ระยอง 1 ต.บ'านนา อ.แกลง จ.ระยอง 1 ต.พลา อ.บ'านฉาง จ.ระยอง 1 ต.ละหาร อ.ปลวกแดง จ.ระยอง 1 ต.สองสลึง อ.แกลง จ.ระยอง 149 ต.หนองตะพาน อ.บา' นคาH ย จ.ระยอง ต.หว' ยโปงR อ.เมืองระยอง จ.ระยอง รวม 128

- สาเหตยุ า' ยมาพรอ' มครอบครวั 45 ราย คดิ เปWน 30% สาเหตุอน่ื 104 ราย คิดเปWน 70% - สาเหตทุ ีย่ า' ยกลบั บ'าน โดยสาเหตหุ ลักสูงสุด 3 อนั ดบั แรก มาจากความกังวลจากการระบาด ของโควิดในพื้นทเี่ ดมิ คิดเปWน 33% รองลงมาอันดบั 2 คอื ตกงาน ปดY กจิ การ ยกเลิกจ'าง คิด เปWน 29% และอนั ดบั 3 ตอ' งการลดคHาใช'จHาย คดิ เปนW 19% สHวนสาเหตอุ ืน่ ๆ เชนH ยา' ยตาม ครอบครวั เรยี นออนไลนT เลกิ รา ฯลฯ คิดเปWน 19% - โดยแผนในชีวติ ทีจ่ ะทำเมอ่ื กลบั มาอยูHบ'าน ยงั ไมมH แี ผน สงู สุด 54 ราย คดิ เปWน 36% คา' ขาย 23 ราย คิดเปนW 15% และรบั จา' งท่วั ไป 19 ราย คิดเปนW 13% - โดยความชHวยเหลือท่ีอยากได'รบั สูงสุด คอื หางานให/' มเี งินเยียวยา อันดับ 2 คอื ตอ' งการ วัคซนี และอันดับ 3 พกั ชำระหน้ี และได'รับประกนั COVID 2) แหลง6 ท6องเที่ยว มกี ารบันทกึ ข'อมลู แหลHงทอH งเทีย่ วจำนวน 880 รายการ จำแนกเปนW แหลHงทอH งเทีย่ วเชิงธรรมชาติ 284 รายการ (55.58%) รองลงมาเปWนแหลHงทHองเทยี่ วเชิงประวตั ิศาสตรT/วัฒนธรรม 191 รายการ (37.38%) และ แหลHงทHองเที่ยวเชงิ สขุ ภาพ 36 รายการ (7.05%) 129

130

131

3) ท่พี กั /โรงแรม มีการบนั ทึกขอ' มูลทพ่ี ัก/โรงแรมจำนวน 818 รายการ โดยจดั เรียงตามความถส่ี งู สุดของขอ' มูล 3 อันดับ ไดแ' กH วิลลHา/รสี อรTท/บังกะโล 328 รายการ (52.56%) รองลงมาเปนW โรงแรม 127 รายการ (20.35%) และโฮสเทล/เกสทTเฮาสT 76 รายการ (12.18%) 4) รา% นอาหารในท%องถนิ่ มกี ารบนั ทกึ ขอ' มูลรา' นอาหารจำนวน 1,707 รายการ จำแนกเปWน อาหารจานเดยี ว 1,300 รายการ (77.39%) รองลงมาเปนW ของหวาน 170 รายการ (10.02%) อาหารทะเล 130 รายการ (10.02%) และ เครอ่ื งดื่ม 87 รายการ (5.01%) 132

5) อาหารทีน่ า6 สนใจประจำถิ่น มีการบนั ทกึ ข'อมูลอาหารทน่ี าH สนใจประจำถิน่ จำนวน 1,235 รายการ จำแนกเปWน อาหารคาว 488 รายการ (78.83%) รองลงมาเปนW อาหารหวาน 124 รายการ (18.76%) และเครื่องดืม่ 49 รายการ (7.41%) ตัวอยา& งชื่ออาหาร จงั หวดั ชื่ออาหาร / เครอื่ งด่ืม ประเภทของอาหาร / เครอ่ื งดืม่ ระยอง ขนมน่มิ นวล อาหารหวาน ตำบล อำเภอ ระยอง มะมHวงพน้ื ทรายมาบตาพดุ อาหารหวาน ห'วยยาง แกลง มาบตาพุด เมอื ง ระยอง ขนมจบี หมเู หด็ หอม อาหารคาว ระยอง ค่ัวไกHไฟมงั กร อาหารคาว มาบตาพุด เมอื ง มาบตาพุด เมือง ระยอง ตม' แซHบ อาหารคาว ระยอง ตม' ยำเหด' อาหารคาว มาบตาพดุ เมือง มาบตาพุด เมือง ระยอง ตีนเปWดนำ้ แดง อาหารคาว ระยอง นำ้ ตกหมู อาหารคาว มาบตาพุด เมอื ง ระยอง เน้อื ปลาเกpานึ่งซอี ิว๋ อาหารคาว มาบตาพดุ เมือง มาบตาพุด เมือง 6) เกษตรกรในทอ% งถ่นิ มีการบนั ทกึ ข'อมูลการทำเกษตรกรรมในท'องถน่ิ จำนวน 698 รายการ จำแนกเปWน ปลกู พืช 593 รายการ (85.00%) รองลงมาเปนW เลี้ยงสัตวT 70 รายการ (10.00%) และทำประมง 35 รายการ (5.00%) - รายได'ของเกษกรสงู สุดมาจากการปลูกพืชสวน เงาะ ขนนุ ทุเรยี น มังคดุ สงู สุดถึง 1,000,000- 21,000,000 บาท ตอH ปt ในเขตพืน้ ที่ ต.ตะพง ต.เนนิ ฆอ' ต.กองดิน จ.ระยอง ใชร' ะบบหรือเทคโนโลยี ทุนH แรง เปWนหลัก และเปดY ใหบคุ คลภายนอกเขา' ชมจากการทHองเทีย่ ว ซึ่งมีความแตกตาH งของรายได' 133

กลมุH อาชีพเกษตร ปลูกพืช พวกหมาก บอนนา ในเขต ต.วงั หวา' ต.ชากโดน อ.แกลง จ.ระยอง ไมHเปดY ใหเ' ข'าชม รายไดห' ลกั 10,000 – 100,0000 บาท - อาชพี การทำประมง สวH นใหญH ทำปมู า' และปลาทะเล ในเขตพนื้ ที่ ต.กรำ่ อ.แกลง จ.ระยอง 134

7) กล6ุมข%อมูลพชื ในทอ% งถน่ิ มกี ารบันทกึ ข'อมลู พชื ในทอ' งถิน่ จำนวน 4,108 รายการ โดยจดั เรียงตามความถส่ี งู สดุ ของข'อมลู 3 อันดบั ได'แกH ยางพารา 178 รายการ (26.77%) รองลงมาเปWนทเุ รยี น 138 รายการ (20.75%) และกลว' ย 125 รายการ (18.80%) 135

136

8) กลุม6 ขอ% มลู สตั วEในทอ% งถิ่น มกี ารบันทึกข'อมลู สตั วใT นทอ' งถิ่นจำนวน 830 รายการ โดยจดั เรยี งตามความถี่สูงสุดของข'อมูล 3 อนั ดบั ไดแ' กH สตั วเT ลย้ี งลูกดว' ยนม 272 รายการ (32.81%) รองลงมาเปนW สัตวนT ้ำ 257 รายการ (31.00%) และ สตั วปT กt 193 รายการ (23.28%) 137

9) ภูมปิ ญK ญาทอ% งถ่ิน มีการบนั ทกึ ข'อมลู ภูมปิ xญญาทอ' งถิ่นจำนวน 456 รายการ โดยจดั เรียงตามความถ่ีสงู สดุ ของข'อมูล 3 อันดบั ไดแ' กH งานหตั ถกรรม 124 รายการ (32.89%) รองลงมาเปนW ประเพณี ความเช่ือ พธิ ีกรรม 63 รายการ (16.71%) และการเก็บรกั ษา/ถนอมอาหาร 46 รายการ (12.20%) ช่อื ภมู ปิ ญ* ญาท.องถ่นิ ประเภทของภมู ปิ *ญญาทอ. งถนิ่ สถานะของภูมปิ ญ* ญาท.องถนิ่ ลกั ษณะเดน= หรือเอกลกั ษณ? ภูมิป*ญญาทอ. งถน่ิ ทีไ่ ดร. ับพฒั นา ของภมู ปิ ญ* ญาท.องถน่ิ บายศรี งานหัตถกรรม และตอ= ยอด ลกู ประคบ การแพทย?และสมุนไพร ภูมิป*ญญาท.องถน่ิ ด้ังเดมิ บายศรี ไมก. วาดจากขวดพลาสตกิ งานหัตถกรรม ลกู ประคบ นวัตกรรมทีค่ ดิ ขน้ึ มาใหม= ใช.วัสดุที่มอี ยใู= นครัวเรอื น ตะกรา. สานสาวน.อย งานหัตถกรรม ภมู ิปญ* ญาทอ. งถิ่นที่ได.รบั พฒั นา งานสานมลี วดลายท่โี ดดเดน= และตอ= ยอด และสวยงาม หลวงปQทู มิ หลวงปQทู ิม หรอื พระครู ประเพณี ความเชื่อ พธิ ีกรรม ภมู ปิ *ญญาทอ. งถิ่นดงั้ เดมิ ภาวนาภิรตั แหง= วดั ละหาร อาหารแปรรูป ไร= อาหารไทยพ้นื บา. น การเก็บรกั ษาและถนอม ภูมปิ ญ* ญาทอ. งถ่ินทไ่ี ดร. ับพัฒนา การนำผลไม.มาแปรรูปเปนW อาหาร และต=อยอด พิธีกรรม (พิธีพราหมณ?) การทำอาหาร ภมู ปิ *ญญาท.องถ่ินดั้งเดิม ผลิตภัณฑ? OTOP วิสาหกจิ ชุมชนสวนเพยี งพอดี ประเพณี ความเชอ่ื พธิ ีกรรม ภมู ิปญ* ญาทอ. งถ่นิ ดั้งเดมิ เปWนอาหารในทอ. งถ่นิ วสิ าหกิจชุมชนเกษตรอนิ ทรยี ห? อม เปนW การทำพิธกี รรมตา= งๆ มะหาด การเกษตรเกย่ี วกับพชื ภมู ปิ *ญญาทอ. งถิ่นที่ไดร. บั พฒั นา ตามความเชือ่ การเกษตรเกี่ยวกบั พืช และตอ= ยอด แปรรปู นำ้ มนั มะพร.าว และ ผลิตภณั ฑต? า= งๆ จาก ภูมปิ *ญญาท.องถิ่นท่ไี ด.รับพฒั นา มะพร.าว และต=อยอด ผลติ ภัณฑโ? ลช่ัน ครีมอาบนำ้ ยาสระผมจากพชึ ทอ. งถิ่น 138

วสิ าหกจิ ชมุ ชนศพก.บ.านฉาง การเกษตรเกยี่ วกับพืช ภมู ปิ ญ* ญาทอ. งถน่ิ ทไ่ี ดร. ับพัฒนา มนั หา. นาทที อดกรอบปรงุ รส และต=อยอด การนำสัตว?ทะเลในท.องถิ่น วสิ าหกิจชุมชนบา. นเนนิ กระปรอก การทำอาหาร มาใชใ. นการทำอาหารเพ่ือ ภูมิปญ* ญาท.องถิน่ ด้ังเดมิ ขายในแหลง= ชมุ ชน วสิ าหกจิ ชุมชนบา. นเนินสำเหร= งานหัตถกรรม สรา. งผลิตภัณฑจ? ากชุมชน ภูมปิ *ญญาท.องถิน่ ด้ังเดมิ เพอ่ื ตนเองและชมุ ชน เพื่อ จกั สาน งานหัตถกรรม ภูมปิ *ญญาท.องถน่ิ ทีไ่ ดร. ับพัฒนา เปWนการลดรายจา= ยและ และต=อยอด สรา. งรายได. ไม.กวาด งานหตั ถกรรม ภูมปิ ญ* ญาทอ. งถิน่ ทไี่ ดร. บั พัฒนา ใช.วัตถุดบิ ธรรมชาตใิ น กระบงุ สาน งานหตั ถกรรม และตอ= ยอด ทอ. งถ่นิ ฆอ. งใส=ปลา งานหตั ถกรรม ภมู ิป*ญญาท.องถ่ินดั้งเดมิ ภมู ปิ *ญญาทอ. งถน่ิ ดั้งเดิม วัตถดุ ิบจากธรรมชาติ เสอ่ื คลา. งานหตั ถกรรม ภมู ปิ *ญญาท.องถิ่นที่ได.รับพัฒนา การสารจากตน. คล.า ผา. เชด็ เท.าจากเศษผ.า งานหัตถกรรม และตอ= ยอด ฆอ. งสานจากตน. คล.า นวัตกรรมท่คี ดิ ขึ้นมาใหม= กระเป_ากระจูด งานหัตถกรรม ภมู ิปญ* ญาท.องถ่ินที่ได.รบั พัฒนา เสือ่ สำหรับปนู ่งั ปูนอน และตอ= ยอด พรมเช็ดเทา. จักสานบ.านกวี งานหตั ถกรรม ภมู ปิ ญ* ญาทอ. งถิ่นทไ่ี ด.รับพัฒนา กระเป_าจากกระจูด สินค.าแปรรปู จากผลผลติ ในชมุ ชน การเก็บรกั ษาและถนอม และต=อยอด มีรปู ทรงทีห่ ลากหลาย และ อาหาร มกี ารพฒั นารูปแบบตลอด ภูมิปญ* ญาท.องถิน่ ดั้งเดิม มสี สี นั ต?ธรรมชาติ แพทย?แผนไทย การแพทยแ? ละสมนุ ไพร สามารถรับประทานได.นาน วิสาหกิจชมุ ชนสละลอยแก.ว การทำอาหาร ภูมปิ ญ* ญาทอ. งถ่ินดง้ั เดมิ มรี สชาตอิ รอ= ย และยงั ขาย ภมู ิป*ญญาท.องถนิ่ ทไ่ี ดร. บั พัฒนา เพ่ิมรายได.ให.กบั ชาวบา. นใน และต=อยอด ชุมชนได. ใช.วธิ ีการรักษาแบบโบราณ สืบทอดกนั มานาน และใช. สมุนไพรไทยทม่ี ใี นทอ. งถน่ิ สละลอยแกว. 10) แหล6งน้ำในท%องถ่ิน มกี ารบนั ทกึ ข'อมลู แหลHงนำ้ ในทอ' งถน่ิ จำนวน 367 รายการโดยจัดเรียงตามความถ่ีสงู สุดของข'อมูล 3 อนั ดับ ไดแ' กH คลอง 168 รายการ (49.56%) รองลงมาเปนW อHางเกบ็ นำ้ 55 รายการ (16.22%) และหนอง 41 รายการ (12.09%) จากการบันทึกข'อมลู ด'านคณุ ภาพน้ำจำนวน 367 รายการ จำแนกเปWน คุณภาพนำ้ น'อย 146 รายการ (43.07%) คณุ ภาพน้ำปานกลาง 133 รายการ (39.23%) คุณภาพนำ้ ดมี าก 47 รายการ (13.86%) และ 139

คณุ ภาพนำ้ เนาH เสยี 13 รายการ (3.83% 140

2. ขอ% เสนอจงั หวดั จากการวเิ คราะหE GAP Analysis เพ่ือต6อยอดงานการพฒั นาจังหวัด เปรียบเทียบ ข'อมูลการทำกิจกรรมใน 5 มิติ (ด'านสุขภาพ ด'านความเปWนอยูH ด'านการศึกษา ด'าน รายได' ด'านการเข'าถึงบริการภาครัฐ) ด'วยการทำกิจกรรม 1) การพัฒนาสัมมาชีพและสร'างอาชีพใหมH 2)การ สร'างและพัฒนา Creative Economy 3) การนำองคTความรู'ไปชHวยบริการชุมชน 4) การสHงเสริมด'าน สิง่ แวดลอ' ม กับทนุ ทางทรัพยากรและทุนทางสงั คมในชมุ ชนจาก CBD A BC D กจิ กรรมท่ที ำใน 5 มิติ ข0อมูลทุนจาก CBD เปรยี บเทียบ A กบั B ขอ0 เสนอตอ< จังหวดั Supply Demand - ดำเนนิ การในมิตใิ ด - มเี รือ่ งท่ีโดดเดน= หรอื - เรื่องทเ่ี ปนW ช=องว=างยงั ทำไม= ขอ0 เสนอ ประกอบด.วย พัฒนาสัมมาชีพและสร.างอาชีพใหม= ศักยภาพ ควรต=อยอดเร่ืองใด ครบถว. น หรือเปนW ปญ* หา - วธิ กี าร/กิจกรรมแก.ป*ญหาหรือ (การยกระดับสินค.า OTOP/อาชีพ - ชมุ ชนในพน้ื ท่ี (pain point) ชอ= งว=างดังกลา= ว คอื พัฒนาเกษตรกร อื่นๆ) คิดเปWนร.อยละ 41.1 การ มอื อาชีพ เพิ่มขีดความสามารถของ ส ร . า ง แ ล ะ พ ั ฒ น า Creative ประกอบอาชพี - การพัฒนา Economy (การยกระดับการ เกษตรกรเปนR สินคาU และ เกษตรกร ไปพรอ. มองคฺความร.ู BCG ท=องเที่ยว) คิดเปWนร.อยละ 23.9 การเกษตรตUน หลัก ทาง อาชีพหลัก ขบั เคลื่อนภาคเกษตร โดยเฉพาะ การนำองค?ความรู.ไปช=วยบริการ ส=งเสรมิ การทอ= งเทยี่ วเชงิ เกษตรและเชงิ - ทรัพยากรอดุ ม ของเกษตรกร นิเวศในท.องถิ่น เพ่ือเพิ่มรายไดอ. กี ชมุ ชน (Health Care/เทคโนโลยี ชอ= งทางหน่งึ ใหก. ับเกษตรกร ด.านต=างๆ) คิดเปWนร.อยละ 21.1 สมบรู ณCใน และ การส=งเสริมด.านสิ่งแวดล.อม/ ทUองถ่นิ พืช เพ่ือเพิม่ มลู คYา - ผ.ูเก่ียวขอ. ง: เกษตรกร Circular Economy (การเพิ่ม และสตั วC และผลิตผล นักท=องเทีย่ ว รายได.หมุนเวียนให.แก=ชุมชน) คิด แหลงY น้ำ ทางการเกษตร - ระยะเวลา: แผนระยะสัน้ ในการ เปWนร.อยละ 14 ตามลำดับ คลอง อาY งเกบ็ - การพัฒนาและ กระต.ุนเศรษฐกิจ 1 ปd และแผนระยะ - ใช.อะไรเปนW เครอื่ งมอื ยาวเพอ่ื ความยงั่ ยืน 3-5 ปd น้ำ ทมี่ ี แปรรูปสนิ คUา - e-commerce คุณภาพ - งบประมาณ: 500,000 - - การตลาดดิจิทลั เกษตรเพือ่ ใหU 1,000,000 บาท/ปd เหมาะสม เกดิ การ (Digital รองรับอาชพี - ผลผลิต/ผลลัพธ? Marketing) หมนุ เวียน รายได.เกษตรกรของครัวเรือนเพ่ิมขนึ้ - การแปรรปู และบรรจุ เกษตรและ เศรษฐกิจ ลดความเหล่ือมล้ำของรายไดใ. นแต=ละ ประมง และ ครวั เรอื น ภัณฑCผลิตภัณฑC สามารถใชเU ปนR - เรอื่ งทีโ่ ดดเด=นหรือ พน้ื ท่ีของจงั หวดั แหลงY ศกั ยภาพ ควรตอ= ยอดเร่ืองใด ทอY งเท่ียวเชิง การพัฒนาและต=อยอดภูมิ ป*ญญาท.องถิ่น ด.านหัตถกรรม นิเวศ แปรรูปเครื่อนสาน และ สมุนไพรท.องถิ่นนำมาใช. ประโยชน?ทางการแพทย? อาหาร 141

QR code สำหรบั ดาวนEโหลดฐานขอ% มูล Community Big Data จงั หวดั ระยอง 142

ส#วนที่ 4 ผลการประเมนิ ผลตอบแทนทางสงั คมจากการลงทนุ (SOCIAL RETURN ON INESTMENT : SROI) 143

1. Key strategic focus 1.กลุHมเปàาหมายการดำเนินงาน มผี ด'ู ำเนนิ โครงการ 5 สภาบนั ไดแ' กH มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตรT มหาวิทยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกล'าธนบุรี มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลตะวันออก มหาวิทยาลยั บูรพา และสถาบนั เทคโนโลยจี ติ รลดา ผรู' วH มดำเนินโครงการรวม 34 ตำบล ลูกจ'างโครงการรวม 680 อตั รา ไดแ' กH ประชาชน 170 อตั รา บณั ฑิต 340 อตั รา และนักศกึ ษา 170 อัตรา ศักยภาพตำบล พบวาH ตำบลสHคู วาม ยงั่ ยนื 6 ตำบล ตำบลมงHุ สูHความพอเพยี ง 20 ตำบล ตำบลที่อยรHู อด 3 ตำบล และตำบลทไี่ มสH ามารถอยHรู อด 2 ตำบล 2. การเสริมความร'ู ทกั ษะ และเพมิ่ ขีดความสามารถ (Capability) มกี ารพัฒนา 4 หลักสูตร ไดแ' กH Digital Literacy , English Literacy , Financial Literacy และ Social Literacy ซึง่ มีผ'เู ขา' รHวมหลักสตู ร ท้ังหมด 3,153 คน และมกี ารพัฒนาตำบล จำนวน 288 กิจกรรม 3. การสานพลังดครือขาH ยความรวH มมอื สร'างเศรษกจิ สังคม (Connectivity) การมสี วH นรวH มของ ประชากรกลHุมเปàาหมายและภาคีเครือขาH ย จำนวน 83 หนวH ยงาน 4. การเสริมสร'างผลงานผลงานผลิตภัณฑเT ทคโนโลยี และนวตั กรรม เพื่อการแกป' ญx หา จำนวน 57 นวัตกรรม เพ่ือการนำไปใชแ' ละกอH ให'เกิดผลดี จำนวน 81 เทคโนโลยี แหลงH เรียนรู'และหลกั สตู รการเรยี นรู' ของชุมชนเพอื่ แก'ปxญหาความยากจน จำนวน 47 แหลงH ผลผลติ ที่เกิดขนึ้ จากการพัฒนาตำบล จำนวน 58 ผลผลติ /บริการ และสงH เสริมการสร'างธรุ กจิ ใหมH จำนวน 45 ธรุ กิจ ภาพท่ี 4 Key strategic focus จงั หวดั ระยอง โครงการ U2T ปt 2564 144

2. มิติการเปลี่ยนแปลง การเปลย่ี นแปลงในมติ ิของแตHละ Stakeholder พบวHา ตำบลเปาà หมาย ภาคเอกชน และมหาวทิ ยาลัย อาจารยT มีการเปลยี่ นแปลงในมิติดา' นสุขภาวะสูงทีส่ ุด อยูทH ีร่ 'อยละ 81.2 83.8 และ 92 ตามลำดับ ลูกจ'างโครงการและครอบครัว มกี ารเปล่ียนแปลงในมติ ิด'านเศรษฐกจิ สูงที่สุด อยHูทีร่ 'อยละ 95.6 เจ'าหนา' ท่ีโครงการมกี ารเปลย่ี นแปลงในมิติด'านสขุ ภาวะและมติ ิภาคเี ครือขHายสูงทส่ี ุด อยูทH ี่รอ' ยละ 86.6 หนHวยงานท'องถน่ิ มกี ารเปลยี่ นแปลงในมิตภิ าคเี คร่ือขHายสงู ที่สดุ อยHูท่ีร'อยละ 84.6 (ภาพที่ 5) ภาพที่ 5 การเปลยี่ นแปลงในมติ ิของแตลH ะ Stakeholder จงั หวดั ระยอง 3. ผลการประเมนิ ผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทนุ (SROI) จากการดำเนนิ โครงการของ U2T ทำให'เกดิ ผลตอบแทนทางเศรษฐกจิ สังคม และสิง่ แวดลอ' ม (SROI) เทาH กับ 9.15 แสดงถึงการลงทุน 1 บาท จะไดร' ับผลตอบแทนจากการลงทุนคร้ังนี้ 9.15 บาท ซง่ึ มมี ลู คาH รวม 337.3 ลา' นบาท โดยมสี ดั สวH นทางเศรษฐกิจ/การเงนิ คิดเปนW ร'อยละ 52.6 หรือ มีมลู คHา 177.3 ลา' น บาท สดั สHวนสุขภาวะ (กาย-ใจ) คิดเปWนร'อยละ 22.5 หรือ มีมลู คHา 76 ล'านบาท สดั สHวนศักยภาพ คดิ เปนW ร'อยละ 14 หรอื มีมลู คาH 47.3 ล'านบาท สดั สHวนการมสี HวนรHวม/ภาคเี ครอื ขHาย คดิ เปWนร'อยละ 10.7 145

หรอื มมี ูลคาH 36.3 ล'านบาท และสดั สวH นสิ่งแวดล'อม คิดเปWนร'อยละ 0.1 หรือ มีมูลคHา 0.5 ล'านบาท ตามลำดบั (ภาพท่ี 6) ภาพที่ 6 ผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุน (SROI) จังหวัดระยอง สถานการณไT วรัสโคโรนา (COVID-19) ตารางท่ี 7 ประเมินสถานการณTไวรัสโคโรนา (COVID-19) จังหวัดระยอง ชอ่ื ตำบล ทีพ่ ักอาศัย สถานท่เี สยี่ ง รวม มาตรการ ตลาด ศาสนสถาน โรงเรยี น มมี าตราการการจดั การโรคอุบตั ิ ชากโดน 77.22% 100% 100% 97.73% 93.74% ใหมทH ี่ดี หนอง 87.02% 94.45% 93.75% 92.05% 91.82% มมี าตราการการจดั การโรคอบุ ัติ ละลอก ใหมHท่ีดี บา' นฉาง 88.60% 88.89% 85.42% 97.16% 90.02% มมี าตราการการจดั การโรคอุบัติ ใหมHที่ดี มาบตาพุด 100% 100% 100% 100% 100% กระแสบน N/A N/A N/A N/A N/A มีมาตราการการจดั การโรคอุบัติ ใหมทH ่ดี ี ไมHมกี ารตอบเเบบสอบถาม 146

ชอ่ื ตำบล ทพ่ี กั อาศัย สถานทีเ่ สย่ี ง รวม มาตรการ ตลาด ศาสนสถาน โรงเรยี น N/A ไมมH กี ารตอบเเบบสอบถาม กองดนิ N/A N/A N/A N/A มีมาตราการการจดั การโรคอบุ ตั ิ คลองปูน 78.26% N/A 87.50% N/A 82.88% ใหมHทีด่ ี มีมาตราการการจัดการโรคอุบตั ิ ทางเกวยี น 97.85% N/A N/A N/A 97.85% ใหมทH ี่ดี ทงุH ควายกิน 99.26% 100% 100% 100% 99.82% มมี าตราการการจดั การโรคอุบตั ิ บา' นนา N/A N/A N/A N/A N/A ใหมHทด่ี ี ไมHมกี ารตอบเเบบสอบถาม ปากน้ำ 91.56% N/A N/A N/A 91.56% มีมาตราการการจดั การโรคอบุ ตั ิ กระแส ใหมทH ี่ดี วังหว'า N/A N/A N/A N/A N/A ไมมH กี ารตอบเเบบสอบถาม ไมมH ีการตอบเเบบสอบถาม หว' ยยาง N/A N/A N/A N/A N/A ไมมH กี ารตอบเเบบสอบถาม มมี าตราการการจัดการโรคอุบัติ เขานอ' ย N/A N/A N/A N/A N/A ใหมHที่ดี หนอง 84.31% N/A 96.88% 93.19% 91.46% มมี าตราการการจัดการโรคอุบัติ ตะพาน ใหมทH ด่ี ี กรำ่ 95% 77.78% 100% 100.00% 93.12% มีมาตราการการจดั การโรคอุบตั ิ ชากพง 99.65% 100% 100% 100% 99.91% ใหมHที่ดี มีมาตราการการจดั การโรคอบุ ัติ เนนิ ฆ'อ 88.29% 100% 100%% 84.09% 92.10% ใหมHทด่ี ี พงั ราด 99.91% 100% 100% 100% 99.98% มีมาตราการการจัดการโรคอบุ ัติ สองสลึง 97.69% 100% 100% 100% 99.42% ใหมHที่ดี มมี าตราการการจัดการโรคอบุ ตั ิ มะขามคูH 90.62% 100% 100% 100% 97.66% ใหมทH ด่ี ี มาบขHา 99.84% 100.00% 91.67% 100.00% 97.88% มีมาตราการการจัดการโรคอุบตั ิ ใหมทH ่ีดี มมี าตราการการจัดการโรคอุบตั ิ ใหมHทด่ี ี 147

ชอื่ ตำบล ท่พี กั อาศัย สถานท่เี สีย่ ง รวม มาตรการ ตลาด ศาสนสถาน โรงเรยี น มีมาตราการการจดั การโรคอุบัติ บา' นคHาย 97.15% 88.89% 96.88% 92.61% 93.88% ใหมทH ี่ดี พลา 96.45% 100% 100% 100% 99.11% มีมาตราการการจัดการโรคอุบัติ ใหมHทด่ี ี สำนักท'อน 74.51% 96.30% 100% 81.82% 88.16% มมี าตราการการจัดการโรคอบุ ัติ ตะพง 99.69% 100% 100% 100% 99.92% ใหมHทีด่ ี ทับมา 99.97% 100% 100% 100% 99.99% มมี าตราการการจัดการโรคอุบัติ ใหมทH ด่ี ี นาตาขวัญ 99.92% 100% 100% 100% 99.87% มีมาตราการการจดั การโรคอบุ ัติ บา' นแลง 99.73% 100% 100% 100% 99.84% ใหมทH ด่ี ี เพ 100% 100% 100% 94.70% 98.68% มมี าตราการการจดั การโรคอบุ ตั ิ ใหมทH ่ดี ี ห'วยโปRง 91.84% 36% 85.00% 93.56% 76.63% มีมาตราการการจัดการโรคอุบัติ ปRายุบใน 97.16% N/A N/A N/A 97.16% ใหมHทด่ี ี ชมุ แสง 92.50% 100% 95% 100% 96.88% มีมาตราการการจัดการโรคอุบตั ิ ใหมHที่ดี พลงตาเอ่ียม 98.61% N/A 100% N/A 99.31% มีมาตราการการจดั การโรคอุบตั ิ *หมายเหตุ ใหมปH านกลาง สีเขียว หมายถงึ มีมาตรการการจัดการโรคอุบตั ใิ หมทY ด่ี ี สเี หลือง หมายถึง มีมาตราการการจัดการโรคอบุ ตั ใิ หมปY านกลาง มมี าตราการการจัดการโรคอุบตั ิ สีเเดง หมายถึง มมี าตรการการจดั การโรคอุบัตใิ หมทY ่ไี มดY ี ใหมHที่ดี สีฟfา หมายถงึ ไมYมีการตอบเเบบสอบถาม มมี าตราการการจัดการโรคอุบตั ิ ใหมHที่ดี มมี าตราการการจัดการโรคอุบตั ิ ใหมHทด่ี ี 148

ภาพรวมการประเมินศักยภาพไวรสั โคโรนา (COVID-19) มาตราการ ตำบล (จำนวน) มีมาตราการจัดการโรคอบุ ัตใิ หมHท่ดี ี 27 (79.41%) มมี าตราการจัดการโรคอบุ ัติใหมHปานกลาง 1 (2.94%) มมี าตราการจัดการโรคอุบตั ใิ หมทH ไ่ี มHดี 0 (0%) ไมHมีการตอบแบบสอบถาม 6 (17.64%) รวม 34 ผลการวิเคราะหT จากการดำเนนิ งานของ U2T เพ่ือเฝาà ระวังการแพรรH ะบาดของโรคโรคติดตHออุบตั ิใหมH (Emerging infectious diseases) มีการประเมนิ ศกั ยภาพไวรัสโคโรนา (COVID-19) ดงั น้ี มาตราการจัดการโรคอบุ ตั ใิ หมH ทด่ี ี คดิ เปWนรอ' ยละ 79.41 ไมHมกี ารตอบแบบสอบถาม คิดเปWนร'อยละ 17.64 และมาตราการจัดการโรคอุบัติ ใหมHปานกลาง ร'อยละ 2.94 ตามลำดับ 149

ส#วนท่ี 5 ขอ+ เสนอระดบั จงั หวดั จากการวเิ คราะห^ Gap Analysis 150

รายงานผลการวเิ คราะหT GAP Analysis เพื่อเสนอแนวทางการพัฒนา จังหวัดระยอง การวเิ คราะหชT HองวHางระหวาH งการพัฒนา (Gap Analysis) เปนW การวิเคราะหคT วามต'องการของตำบลในพืน้ ที่ จังหวดั ระยอง เพ่อื ตรวจสอบถึงปญx หาทเี่ กดิ ขน้ึ ในระดบั ตำบล จากนน้ั จงึ นำผลการดำเนินงานในโครงการ U2T (University to Tumbol) การวิเคราะหทT รพั ยากรธรรมชาติ ธรณวี ิทยา สง่ิ กHอสรา' ง ความหนาแนHนของ ประชากร ประเพณแี ละวฒั นธรรม แหลHงทอH งเท่ียว ตลอดจนถึงทักษะความชำนาญของประชากรในพน้ื ท่ี เพ่ือ นำเสนอแนวทางแก'ไขปxญหาทีย่ ัง่ ยนื ทง้ั ในระดับตำบลและในระดบั จงั หวดั ข้ันตอนในการวเิ คราะหชT อH งวาH งของการพฒั นา จะเร่ิมจากการตรวจสอบและจัดกลุHมตำบลตาม ผลลพั ธจT ากการประมวลผลของระบบบริหารจดั การขอ' มลู คนจนแบบชี้เปาà (Thai Poverty Map and Analytics Platform: TPMAP) 5 ด'าน เชHน ดา' นสขุ ภาพ ดา' นชีวิตความเปWนอยูH ด'านการศกึ ษา ด'านรายได' และด'านการเข'าถึงภาครัฐ ซงึ่ ในจังหวัดระยอง สามารถจดั ประเภทกลุHมตำบลออกเปนW 5 กลุHม ไดแ' ก:H 1. กลมุH A คือกลมHุ ท่ไี มHความต'องการด'านใดเปWนพิเศษ – กลมHุ A เปWนกลมHุ ทมี่ คี วามพรอ' มท้งั 5 ด'าน และมคี วามสมดลุ ในการพฒั นา 2. กลุมH B คอื กลHมุ ท่ีมีความตอ' งการทางด'านสุขภาพและความเปนW อยูHด'านเกษตร 3. กลHุม C-1 คอื กลHมุ ทีม่ ีความต'องการทางดา' นสขุ ภาพและรายได'ด'านการประมง 4. กลุมH C-2 คอื กลHุมท่มี ีความตอ' งการทางดา' นสุขภาพและรายได'ดา' นอตุ สาหกรรม 5. กลุHม D คอื กลมHุ ที่มคี วามต'องการในทกุ ด'าน ยกเวน' การเข'าถึงการบริการภาครัฐ เม่ือจัดกลHมุ ตำบลเสร็จสนิ้ แล'ว จงึ วิเคราะหTปญx หาเพมิ่ เติมและความตอ' งการของชุมชนในพื้นท่ขี องแตH ละตำบลจากผลการสำรวจและสอบถามจากผ'ูท่ีเกยี่ วขอ' ง (Stakeholders) จากนัน้ นำผลการปฏิบัติงานของผู' ดำเนนิ งานในโครงการ U2T มาวิเคราะหTเพ่ือตรวจสอบวHาผลการปฏิบตั ิงานดังกลHาว สHงผลใหแ' ตลH ะตำบลบรรลุ วตั ถุประสงคหT รือบรรลุเปàาหมายทั้ง 16 เปาà หมายตามนยิ ามท่ที างสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศกึ ษา วทิ ยาศาสตรT วิจยั และนวัตกรรม (สป.อว.) ได'ต้ังเกณฑTเอาไว' 1. ตำบลมงHุ สูคH วามย่ังยนื คือตำบลที่บรรลตุ ามเกณฑTท้ังส้นิ 14-16 เปาà หมาย 2. ตำบลมHุงสคูH วามพอเพียง คอื ตำบลทบี่ รรลตุ ามเกณฑทT ้ังส้ิน 11-13 เปàาหมาย 3. ตำบลท่อี ยHูรอด คอื ตำบลทบ่ี รรลตุ ามเกณฑTทั้งสน้ิ 8-10 เปาà หมาย 4. ตำบลท่ีไมสH ามารถอยHรู อด คือตำบลท่บี รรลตุ ามเกณฑTทั้งสนิ้ 0-7 เปาà หมาย โดยรวบรวมและวเิ คราะหTขอ' มูลทรัพยากรทางธรรมชาตทิ สี่ ำคญั ขอ' มูลทางธรณีวิทยา ส่งิ กอH สรา' ง ความ หนาแนนH ของประชากร ประเพณีและวัฒนธรรม แหลงH ทอH งเท่ยี ว และทกั ษะความชำนาญของประชากรใน ตำบลจากข'อมลู Community Big Data (CBD) เพ่อื นำมาวเิ คราะหชT อH งวHางของการพัฒนา (Gap Analysis) 151

ในแตลH ะตำบล อนง่ึ ผลการวเิ คราะหTชHองวาH งในแตลH ะตำบลจะนำไปสกHู ารนำเสนอวิธกี ารในการแก'ไขปxญหา และอดุ ชHองวHางของการพัฒนาดังกลHาวตามระดบั ความสำคญั ท้งั 4 ระดับทั้งในระดบั ตำบลและในระดับจงั หวดั ซ่งึ มีรายละเอยี ดดังตอH ไปนี้ 1. ตำบลท่มี ีความต'องการในการแก'ไขปxญหาอยHางเรHงดHวน (Very High) 2. ตำบลท่ีมคี วามตอ' งการในการแก'ไขปxญหาในระดบั สูง (High) 3. ตำบลทีม่ ีความต'องการในการแก'ไขปxญหาในระดบั ปานกลาง (Medium) 4. ตำบลทีม่ คี วามต'องการในการแก'ไขปxญหาในระดบั ตำ่ (Low) โดยผลการวเิ คราะหTระดับตำบลจะแสดงในหัวขอ' ถดั ไป 152

ตวั อยา& งการ ผลการวิเคราะหช3 อ& งวา& งกับโจทย3วจิ ัยจงั หวดั ระยอง จ การจดั สถานะความ สถานะของตำบล ช&องวา& งขอ กลุม& ตำบล ตอI งการของแต& ภายหลงั U2T พ้นื ทตี่ ำบล ละตำบล A ไมม% คี วามต+องการ ตำบลมุง' สย'ู ัง่ ยนื การพฒั นาดา7 ดา+ นใดเปน5 พิเศษ กอ' ให7เกิดด7าน การจดั การทีเ่ โดยเฉพาะมล อุตสาหกรรม นำ้ เสีย สขุ ภา B ความต+องการดา+ น ตำบลมุง' ส'ูพอเพยี ง ความเหลอื่ มล สุขภาพและความ ความเปนJ อย'ูร เป5นอย%ดู า+ นอาชีพ เชน' ภาคอตุ ส ดา+ นเกษตรกรรม เกษตรกรรม และการกระจ C-1 ความต+องการด+าน ตำบลมุ'งสู'พอเพยี ง การบรหิ ารจัด สขุ ภาพและรายได+ การตลาดสนิ อาชีพด+านประมง วงจรยงั ไม'มปี

จากการทำ Gap Analysis ระดบั ความสำคญั ในการแกไI ข องการพฒั นาใน วิธีการแกIไขปZญหาและนำไปส&ู ปญZ หา ล เปา] หมาย านอุตสาหกรรม เสริมสร7างคุณภาพชีวติ ที่ดี และการมีสว' น Low นสิง่ แวดลอ7 ม และ ร'วมของประชาชนตาม หลกั ปรัชญาของ Medium Medium เหมาะสม เศรษฐกจิ พอเพียง ลพษิ จาก ม ขยะ กากของเสีย าพ เปนJ ตน7 ลำ้ ทางสังคม ชีวติ พัฒนาคุณภาพสินคา7 และผลติ ภัณฑดV า7 น ยระหว'างภาค ตา' งๆ การเกษตร ประมง ปศสุ ตั วV ให7เปนJ ไปตาม สาหกรรมและภาค มาตรฐานสากล ควบคก'ู บั การพฒั นาไปส'ู คา' ครองชพี สูง เกษตรอุตสาหกรรมและเพ่ือการท'องเท่ยี ว จายรายได7ตำ่ ดการเรอ่ื ง พัฒนาศกั ยภาพการท'องเทย่ี วใหเ7 ตบิ โต นค7าเกษตรแบบครบ ควบคู'กบั ภาคการเกษตรและ ประสทิ ธิภาพ ภาคอุตสาหกรรมอย'างมีคณุ ภาพและยง่ั ยนื 153

การจัด สถานะความ สถานะของตำบล ชอ& งว&างขอ กล&มุ ตำบล ตIองการของแต& ภายหลัง U2T พืน้ ทตี่ ำบล ละตำบล C-2 ความต+องการดา+ น ตำบลพน7 ความ ทกั ษะฝXมอื แร สขุ ภาพและรายได+ ยากลำบาก กบั ความตอ7 ง ของดา+ น ตลาดแรงงาน อุตสาหกรรม D ขาดความต+องการ ตำบลท่ยี งั ไม'พน7 จาก ขดี ความสาม พืน้ ฐาน ยกเว+นการ ความยากลำบาก และการเขา7 ถ เขา+ ถงึ บรกิ ารของ ภาครฐั

องการพัฒนาใน วิธกี ารแกIไขปZญหาและนำไปสู& ระดบั ความสำคญั ล เป]าหมาย ในการแกไI ข ปญZ หา รงงานใหส7 อดคลอ7 ง สง' เสรมิ การพัฒนาภาคอตุ สาหกรรมเขา7 ส'ู งการของ อุตสาหกรรมเชิงนิเวศนV ควบคก'ู ับการ High น รบั ผิดชอบตอ' สังคม Very High สร7างระบบและกลไกท่ีสรา7 งความเขม7 แข็ง ให7แก'ผ7ูประกอบการรายย'อย โดยเฉพาะ ผปู7 ระกอบการภาคเกษตรกรรมและภาค การทอ' งเทย่ี ว มารถในการแข'งขนั ปรับทศั นคตขิ องของประชาชนต'อตา7 นการ ถงึ บริการภาครัฐ เปลีย่ นแปลง 154

5.1 ผลการวเิ คราะหช0 อ2 งวา2 งการพัฒนารายตำบล ตำบลกร่ำ อำเภอแกลง จงั หวัดระยอง ตำบลกร่ำ จัดอยู/ในกลุ/ม A ซึ่งความต;องการพื้นฐาน 5 มิติ มีครบทุกด;าน สถานะปHจจุบันของตำบล กร่ำจัดอยู/ในตำบลมุ/งสู/ความยั่งยืนเนื่องจากมีการบรรลุตัวชี้วัดทั้ง 16 เปNาหมาย ซึ่งในพื้นที่ของตำบลกร่ำมีการ ทำเกษตรเปQนหลักจึงมีช/องว/างทางด;านการพัฒนาเกี่ยวกับด;านเกษตรกรรม เดิมประชากรในพื้นที่มีการทำ เกษตรกรรมและมีรายได;หลักจากการทำเกษตรเพียงอย/างเดียว หากมีการพัฒนาสามารถส/งเสริมศักยภาพของ การภาคการเกษตรควบคู/กับภาคการท/องเที่ยวได; โดยจากข;อมูล CBD (Community Big Data) ในตำบลกร่ำ มีแหล/งท/องเที่ยวเชิงธรรมชาติและวัฒนธรรมซึ่งเปQนทรัพยากรที่มีประสิทธิภาพ โดยการฟhiนฟูแหล/งท/องเที่ยว โดยเฉพาะแหล/งท/องเที่ยวที่เกี่ยวเนื่องกับภาคการเกษตร พัฒนาสินค;าและบริการด;านการท/องเที่ยวให;ได; มาตรฐาน เพิ่มขีดความสามารถของบุคลากรด;านการท/องเที่ยวให;มีคุณภาพ โดยการพัฒนานี้สามารถเปQนแหล/ง สรา; งรายไดแ; ละสรา; งมลู คา/ เพิม่ ให;แกช/ ุมชนด;วย ตำบลชากพง อำเภอแกลง จงั หวัดระยอง ตำบลชากพง จัดอยู/ในกลุ/ม A ซึ่งความต;องการพื้นฐาน 5 มิติมีครบทุกด;าน สถานะปHจจุบันของตำบล ชากพงจัดอยู/ในตำบลมุ/งสู/ความพอเพียงเนื่องจากบรรลุตัวชี้วัดทั้ง 13 เปNาหมาย ในพื้นที่ตำบลชากพงมีช/องว/าง การพัฒนาทางด;านประมงมีการทำประมงเปQนอาชีพหลักและมีพื้นที่ติดต/อกับชายฝHnงทะเล สามารถพัฒนา คณุ ภาพสนิ คา; ด;านประมงให;เปQนไปตามมาตรฐานสากลและเพิม่ กำลงั การผลติ ใหม; ากขนึ้ ได; โดยจากข;อมลู CBD (Community Big Data) ตำบลชากพงมีทรัพยากร หนอง คลอง บึง ที่ดีมากสามารถนำมาใช;ในการทำประมง นำ้ จดื เพือ่ แกป; ญH หาสัตวqทะเลเศรษฐกจิ ทีม่ ีปริมาณลดนอ; ยลงได; ตำบลเนนิ ฆอC อำเภอแกลง จังหวดั ระยอง ตำบลเนินฆ;อ จัดอยู/ในกลุ/ม C1 ซึ่งมีความต;องการพื้นฐานด;านสุขภาพและรายได;ด;านการประมง สถานะปHจจุบันของตำบลเนินฆ;อจัดอยู/ในตำบลมุ/งสู/ความยั่งยืนเนื่องจากมีการบรรลุตัวชี้วัดทั้ง 16 เปNาหมาย ในพื้นที่ตำบลเนินฆ;อมีช/องว/างการพัฒนาทางด;านสุขภาพและรายได; โดยตำบลเนินฆ;อมีพื้นที่ติดชายฝHnง มีการ ทำอาชีพประมงเปQนอาชีพหลัก ซึ่งในปHจจุบันอาชีพประมงชายฝHnงหรือประมงเรือเล็กได;รับความเดือดร;อนมาก เนื่องจากสัตวqทะเลเศรษฐกิจ เช/น กุ;ง หอย หมึก ปู ปลา มีปริมาณลดน;อยลงและเกิดการแย/งชิงพื้นที่ประมง ประกอบกับพื้นที่ประมงเดิมมีการเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ ทำให;ต;องออกไปหาไกลขึ้น ต;นทุนสูงข้ึน รายได;ลดลง โดยวิธีการแก;ปHญหาดังกล/าวสามารถใช;ทรัพยากรที่มีอยู/ในตำบล โดยข;อมูลจาก CBD (Community Big Data) พบว/าเนินฆ;อ มีแหล/งท/องเที่ยวเชิงธรรมชาติ เชิงประวัติศาสตรq/วัฒนธรรม โดยทำ การส/งเสริมให;มีการเชื่อมโยงภาคการท/องเที่ยวเพื่อนำไปสู/เกษตรท/องเที่ยว มีการฟhiนฟูทรัพยากรพื้นฐานด;าน การประมงโดยการมีส/วนร/วมของประชาชนในตำบลให;คงอยู/ต/อไป หากมีการพัฒนาด;านประมงควบคุมไปกับ การท/องเท่ียวจะสามารถช/วยเพ่ิมรายได;ใหก; ับชุมชนได; 155

ตำบลพงั ราด อำเภอแกลง จังหวดั ระยอง ตำบลพังราด จัดอยู/ในกลุ/ม A ซึ่งความต;องการพื้นฐาน 5 มิติ มีครบทุกด;าน สถานะปHจจุบันของตำบล พังราดจัดอยู/ในตำบลมุ/งสู/ความพอเพียงเนื่องจากมีการบรรลุตัวชี้วัดทั้ง 11 เปNาหมาย ในพื้นที่ตำบลพังราดมี ช/องว/างการพัฒนาทางด;านการท/องเที่ยว เนื่องจากการท/องเที่ยวได;รับผลกระทบจากหลายปHจจัย เช/น การ ชะลอตัวทางเศรษฐกิจและความเชื่อมั่น โดยการแก;ไขปHญหาดังนั้นกล/าวสามารถใช;ทรัพยากรที่มีประสิทธิภาพ ของตำบลได; โดยจากข;อมูล CBD (Community Big Data) ตำบลพังราด มีแหล/งท/องเที่ยวที่สำคัญ เชิง ธรรมชาติ เชิงประวัติศาสตรq / วัฒนธรรม ควรมีการพัฒนาศักยภาพการท/องเที่ยวให;เติบโตควบคู/กับภาค การเกษตรและภาคอุตสาหกรรมอย/างมีคุณภาพและยั่งยืน โดยการพัฒนาสิ่งอำนวยความสะดวกด;านการ ท/องเที่ยวให;ได;มาตรฐาน เสริมสร;างการปNองกันและรักษาความปลอดภัยให;กับนักท/องเที่ยวเพื่อฟhiนฟู ภาพลักษณqและดึงดูดนกั ท/องเท่ยี วให;เพ่มิ มากขน้ึ ตำบลสองสลงึ อำเภอแกลง จังหวัดระยอง ตำบลสองสลึง จัดอยู/ในกลุ/ม A ซึ่งความต;องการพื้นฐาน 5 มิติ มีครบทุกด;าน สถานะปHจจุบันของ ตำบลสองสลึงจัดอยู/ในตำบลมุ/งสู/ความยั่งยืนเนื่องจากมีการบรรลุตัวชี้วัดทั้ง 15 เปNาหมาย ในพื้นที่ตำบลสอง สลึงมีช/องว/างการพัฒนาทางด;านเกษตรโดยอาชีพส/วนใหญ/เปQนเกษตรกร เมื่อพ;นฤดูเพาะปลูกทำให;เกิดปHญหา ขาดรายได; จึงควรมีการทรัพยากรที่มีอยู/ให;สามารถสร;างรายได;เพิ่มให;แก/ชุมชนได; โดยจากข;อมูล CBD (Community Big Data) พบว/าตำบลสองสลึงมีภูมิปHญญาท;องถิ่นคือการทำการเกษตรเกี่ยวกับพืชและการ ทำอาหาร หากสามารถสง/ เสริมตำบลให;เปQนแหล/งเรยี นรจู; ะสามารถสร;างรายไดเ; พมิ่ ใหแ; ก/ตำบลได; ตำบลมะขามคู2 อำเภอนิคมพฒั นา จังหวดั ระยอง ตำบลมะขามคู/ จัดอยู/ในกลุ/ม D ซึ่งมีความต;องการทุกด;าน ยกเว;นการบริการเข;าถึงภาครัฐ สถานะปHจจุบันของตำบลมะขามค/ูจัดอยู/ในตำบลมุ/งสู/ความยั่งยืนเนื่องจากมีการบรรลุตัวชี้วัดทั้ง 16 เปNาหมาย ในพื้นที่ตำบลมะขามคู/มีช/องว/างการพัฒนาทางด;านสุขภาพ ความเปQนอยู/ การศึกษา และรายได; ซึ่งตำบล มะขามคู/มีอาชีพหลักในทำอุตสาหกรรม ซึ่งการพัฒนาอุตสาหกรรมทำให;เกิดปHญหามลพิษและผลกระทบต/อ สุขภาพ สร;างความขัดแย;งระหว/างภาครัฐ เอกชนและชุมชนเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ การจะพัฒนาพื้นที่ได;จะประสบ ความสำเร็จได;นั้นต;องคำนึงถึงการพัฒนาอย/างยั่งยืน โดยมีความสมดุลของเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล;อม ให; มีความเจริญเติบโตร/วมกันและเกื้อหนุนซึ่งกันและกัน เพื่อให;มีการพัฒนาอย/างมีประสิทธิภาพโดยการใช; ทรัพยากรที่มีอยู/ในตำบล โดยจากข;อมูล CBD (Community Big Data) พบว/าตำบลมะขามคู/ มีแหล/ง ท/องเที่ยวเชิงธรรมชาติ เชิงประวัติศาสตรq / วัฒนธรรม หากมีการอนุรักษq ฟhiนฟูสิ่งแวดล;อมและนำทรัพยากรท่ี มีอยู/ใชอ; ยคู/ ;มุ คา/ จะสามารถช/วยลดช/องดา; นตา/ ง ๆ ได; ตำบลมาบขา2 อำเภอนคิ มพัฒนา จงั หวดั ระยอง 156

ตำบลมาบข/า จัดอยู/ในกลุ/ม A ซึ่งความต;องการพื้นฐาน 5 มิติ มีครบทุกด;าน สถานะปHจจุบันของตำบล มาบข/าจัดอยู/ในตำบลมุ/งสู/ความยั่งยืนเนื่องจากมีการบรรลุตัวชี้วัดทั้ง 15 เปNาหมาย ในพื้นที่ตำบลมาบข/ามี ช/องว/างการพัฒนาทางด;านอุตสาหกรรม การพัฒนาอุตสาหกรรมทำให;เกิดปHญหามลพิษและผลกระทบต/อ สุขภาพ แม;ว/ารัฐบาลได;เพิ่มมาตรการสิ่งแวดล;อมที่เข;มงวดขึ้น โดยมีการแก;ไขปHญหาดังกล/าวดังต/อไปน้ี สนับสนุนการปลูกพืชให;ลดปHญหามลพิษ พัฒนาและส/งเสริมผู;ประกอบการภาคการอุตสาหกรรมให;มี กระบวนการผลิตที่เปQนมิตรต/อสิ่งแวดล;อมและรับผิดชอบต/อสังคม โดยวีการแก;ไขปHญหาดังกล/าวสามารถใช; ทรัพยากรและความชำนาญเฉพาะด;านของประชากรในพื้นที่ ซึ่งจากข;อมูล CBD (Community Big Data) พบว/ามาบข/า มีการปลูกพืชและทำเกษตรหลากหลายชนิด อันจะส/งผลให;การแก;ไขปHญหาดำเนินการอย/างมี ประสทิ ธิภาพ ตำบลบาC นคา2 ย อำเภอบาC นค2าย จงั หวดั ระยอง ตำบลบ;านค/าย จัดอยู/ในกลุ/ม B ซึ่งมีความต;องการพื้นฐานด;านสุขภาพและความเปQนอยู/ด;าน เกษตรกรรม สถานะปHจจุบันของตำบลบ;านค/ายจัดอยู/ในตำบลยากลำบากเนื่องจากมีการบรรลุตัวชี้วัด 7 เปNาหมาย ในพื้นที่ตำบลบ;านค/ายมีช/องว/างการพัฒนาทางด;านสุขภาพและรายได; โดยอาชีพหลักของตำบลคือ การทำเกษตรกรรม ซึ่งในปHจจุบันเกิดปHญหาราคาผลผลิตทางการเกษตรมีราคาตกต่ำ ทำให;ประชาชนมีรายได; น;อย จึงควรมีการแก;ไขปHญหาดังกล/าวโดยการใช;ทรัพยากรในตำบล จากข;อมูล CBD (Community Big Data) พบว/าตำบลบ;านค/าย มีพืชเศรษฐกิจท่ีสำคัญคือ มังคุดและทุเรียน ควรมีส/งเสริมการแปรรูปสินค;าเกษตรเพื่อ เพิ่มมูลค/าเพื่อให;ผลผลิตทางการเกษตรเกิดความหลากหลาย ตามความต;องการของผู;บริโภคและตลาด เพ่ิม ช/องทางการระบายผลผลิตออกสู/ตลาด ส/งเสริมและสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาเพื่อสร;างผลิตภัณฑqใหม/ๆ ให; สอดคล;องกบั แนวโน;มความตอ; งการของผู;บรโิ ภค จะสามารถชว/ ยสร;างรายไดใ; หแ; กต/ ำบลเพม่ิ มากขน้ึ ตำบลพลา อำเภอบาC นฉาง จังหวัดระยอง ตำบลพลา จัดอยู/ในกลุ/ม B ซึ่งมีความต;องการพื้นฐานด;านสุขภาพและความเปQนอยู/ด;านเกษตรกรรม สถานะปHจจุบันของตำบลพลาจัดอยู/ในตำบลที่อยู/รอดเนื่องจากมีการบรรลุตัวชี้วัด 10 เปNาหมาย ในพื้นที่ ตำบลพลามีช/องว/างการพัฒนาทางด;านสุขภาพและรายได; โดยอาชีพหลักของตำบลคือการทำเกษตรกรรม ซึ่ง ในปHจจุบันเกิดปHญหาราคาผลผลิตทางการเกษตรมีราคาตกต่ำ ทำให;ประชาชนมีรายได;น;อย จึงควรมีการแก;ไข ปHญหาดังกล/าวโดยการใช;ทรัพยากรในตำบล จากข;อมูล CBD (Community Big Data) พบว/าตำบลพลามี ทรัพยากรที่สำคัญเปQนแหล/งท/องเที่ยว เชิงธรรมชาติ เชิงสุขภาพ / เชิงกีฬาเชิงประวัติศาสตรq / วัฒนธรรม จึง ควรมีพัฒนาศักยภาพการท/องเที่ยวควบคู/กับการทำเกษตรอย/างมีคุณภาพ โดยการพัฒนาสินค;าและบริการ ด;านการท/องเที่ยวให;ได;มาตรฐานและมีความหลากหลายเพื่อสามารถรายได;เพื่อให;แก/ชุมชนและลดช/องว/าง ดา; นรายได; 157

ตำบลสำนกั ทCอน อำเภอบาC นฉาง จงั หวัดระยอง ตำบลสำนักท;อน จัดอยู/ในกลุ/ม A ซึ่งความต;องการพื้นฐาน 5 มิติ มีครบทุกด;าน สถานะปHจจุบันของ ตำบลสำนักท;อนจัดอยู/ในตำบลมุ/งสู/ความพอเพียงเนื่องจากมีการบรรลุตัวชี้วัดทั้ง 13 เปNาหมาย ในพื้นที่ตำบล สำนักท;อนมีช/องว/างการพัฒนาทางด;านการท/องเที่ยว จากข;อมูล CBD (Community Big Data) พบว/าตำบล สำนักท;อน มีแหล/งท/องเที่ยวเชิงประวัติศาสตรq / วัฒนธรรม เชิงธรรมชาติ, เชิงสุขภาพควรมีการพัฒนา ศักยภาพการท/องเที่ยวให;เติบโตอย/างมีคุณภาพและยั่งยืน โดยการพัฒนาสิ่งอำนวยความสะดวกด;านการ ท/องเที่ยวให;ได;มาตรฐาน เสริมสร;างการปNองกันและรักษาความปลอดภัยให;กับนักท/องเที่ยวเพื่อฟhiนฟู ภาพลกั ษณแq ละดึงดดู นกั ท/องเที่ยวใหเ; พม่ิ มากขน้ึ ตำบลตะพง อำเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง ตำบลตะพง จัดอยู/ในกลุ/ม A ซึ่งความต;องการพื้นฐาน 5 มิติมีครบทุกด;าน สถานะปHจจุบันของตำบลตะพงจัด อยู/ในตำบลมุ/งสู/ความพอเพียงเนื่องจากบรรลุตัวชี้วัดทั้ง 13 เปNาหมาย ในพื้นที่ตำบลตะพงมีช/องว/างการพัฒนา ทางด;านการท/องเที่ยว เนื่องจากการท/องเที่ยวได;รับผลกระทบจากหลายปHจจัย เช/น การชะลอตัวทางเศรษฐกิจ และความเชื่อมั่น ทำให;สามารถพัฒนาได;โดยจากข;อมูล CBD (Community Big Data) ตำบลตะพงพบว/า มี แหล/งท/องเที่ยวเชิงธรรมชาติและเชิงเกษตรที่สำคัญ ทิศใต;ติดกับอ/าวไทย เปQนชายหาดที่สวยงาม จึงสามารถ พัฒนาภาคการท/องเที่ยวได;จากทรัพยากรที่มีอยู/ร/วมกับภาคการเกษตร ประมงและปศุสัตวqเพื่อเชื่อมโยงภาค การท/องเที่ยวได;อย/างลงตัว และสร;างความหลายหลายและความแปลกใหม/ให;แก/การท/องเที่ยว โดยการ ส/งเสริมการตลาด การประชาสัมพันธq การจัดกิจกรรมด;านการท/องเที่ยวเพื่อฟhiนฟูภาพลักษณqและดึงดูด นกั ทอ/ งเทย่ี วให;เพิ่มขึ้น ตำบลทับมา อำเภอเมอื งระยอง จงั หวดั ระยอง ตำบลทับมา จัดอยู/ในกลุ/ม B ซึ่งมีความต;องการพื้นฐานด;านสุขภาพและความเปQนอยู/ด;านเกษตรกรรม สถานะปHจจุบันของตำบลทับมาจัดอยู/ในตำบลมุ/งสู/ความยั่งยืนเนื่องจากมีการบรรลุตัวชี้วัดทั้ง 14 เปNาหมาย ใน พื้นที่ตำบลทับมามีช/องว/างการพัฒนาทางด;านสุขภาพและความเปQนอยู/ โดยอาชีพหลักประกอบอาชีพรับจ;าง ในโรงงานอุตสาหกรรมและมีการพัฒนาอุตสาหกรรมเพิ่มมากขึ้น เกิดปHญหามลพิษและผลกระทบต/อสุขภาพ ตามมา ซึ่งการพัฒนาพื้นที่ต;องมีการคำนึงถึงความยั่งยืนโดยมีความสมดุลของ เศรษฐกิจ สังคม และ สิ่งแวดล;อม โดยมีแนวทางการแก;ปHญหาดังกล/าวคือ ส/งเสริมและพัฒนาผู;ประกอบการภาคอุตสาหกรรมให;มี กระบวนการผลิตที่เปQนมิตรต/อสิ่งแวดล;อม โดยวิธีการแก;ไขปHญหาดังกล/าวสามารถใช;ทรัพยากรที่มีอยู/ในพื้นที่ ได; โดยจากข;อมูล CBD (Community Big Data) พบว/าตำบลทับมา มีคลองเปQนแหล/งน้ำที่สามารถใช;ในการ ทำเกษตรและอุตสาหกรรมได; หากมีพัฒนากระบวนการผลิตและการบำบัดน้ำเสียก/อนปล/อยลงคลอง จะ สามารถลดปHญหามลพิษ สารเจือปน อีกทั้งยังปรับปรุงคุณภาพน้ำให;ดียิ่งขึ้นเพียงพอที่จะนำกลับมาใช;ใหม/และ ลดผลกระทบดา; นสขุ ภาพ 158

ตำบลนาตาขวญั อำเภอเมอื งระยอง จงั หวัดระยอง ตำบลนาตาขวัญ จัดอยู/ในกลุ/ม B ซึ่งมีความต;องการพื้นฐานด;านสุขภาพและความเปQนอยู/ด;าน เกษตรกรรม สถานะปHจจุบันของตำบลนาตาขวัญจัดอยู/ในตำบลมุ/งสู/ความยั่งยืนเนื่องจากมีการบรรลุตัวชี้วัดทั้ง 16 เปNาหมาย ในพื้นที่ตำบลนาตาขวัญมีช/องว/างการพัฒนาทางด;านสุขภาพและความเปQนอยู/ โดยมีอาชีพหลัก เปQนอาชีพเกษตรกรรม มีการเปลี่ยนแปลงการประกอบอาชีพจากเกษตรกรรมเปลี่ยนมารับจ;างทำงานใน โรงงานอุตสาหกรรมเพิ่มมากขึ้น มีการอพยพโยกย;ายของคนในท;องถิ่นอื่นเข;ามาในชุมชนมาก ส/งผลกระทบต/อ การดำเนินชีวิตของประชาชนทำให;ความต;องการบริการของรัฐ ทั้งทางด;านการศึกษา ด;านสาธารณสุขเพิ่มมาก ขึ้น เกินกว/าความสามารถที่จะตอบสนองได;ทันกับความต;องการ เกิดปHญหาตามมาก เช/น อาชญกรรม ยาเสพ ติด สาธารณูปโภค เปQนต;น จึงมีแนวทางแก;ปHญหาดังกล/าวโดยการใช;ทรัพยากรที่มีอยู/ในตำบล จากข;อมูล CBD (Community Big Data) พบว/าตำบลนาตาขวัญ มีภูมิปHญญาท;องถิ่นที่สำคัญคืองานหัตถกรรม หากมีการ ส/งเสริมการเรียนรู;ด;านงานหัตถกรรมภายในตำบลและส/งเสริมการสร;างโอกาสทางเศรษฐกิจฐานรากชุมชนช/วย ใหส; ามารถแกไ; ขปHญหาได;อยา/ งมีประสิทธภิ าพ ตำบลบาC นแลง อำเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง ตำบลบ;านแลง จัดอยู/ในกลุ/ม A ซึ่งความต;องการพื้นฐาน 5 มิติ มีครบทุกด;าน สถานะปHจจุบันของ ตำบลบ;านแลงจัดอยู/ในตำบลมุ/งสู/ความยั่งยืนเนื่องจากมีการบรรลุตัวชี้วัดทั้ง 15 เปNาหมาย ในพื้นที่ตำบลบ;าน แลงมีช/องว/างการพัฒนาทางด;านการท/องเที่ยว เนื่องจากการท/องเที่ยวได;รับผลกระทบจากหลายปHจจัย เช/น การชะลอตัวทางเศรษฐกิจและความเชื่อมั่น ทำให;สามารถพัฒนาได;จากทรัพยากรในตำบลที่มีประสิทธิภาพ โดยจากข;อมูล CBD (Community Big Data) ตำบลบ;านแลงพบว/า มีภูมิปHญหาท;องถิ่นที่สำคัญคือ การ ทำอาหาร การแพทยqสมุนไพร กีฬาและการละเล/นพื้นบ;าน ด;านศิลปกรรม – ช/างไม; อีกทั้งยังมีแหล/งท/องเที่ยว ที่สำคัญเชิงธรรมชาติ, เชิงประวัติศาสตรq / วัฒนธรรม หากมีการพัฒนาเพื่อฟhiนฟูภาพลักษณqเพื่อยกระดับความ เช่ือม่ันให;แกน/ ักทอ/ งเทีย่ วได; จะสามารถเปนQ แหล/งรายไดท; ี่สำคญั ของตำบลบ;านแลง ตำบลเพ อำเภอเมอื งระยอง จังหวดั ระยอง ตำบลเพ จัดอยู/ในกลุ/ม A ซึ่งความต;องการพื้นฐาน 5 มิติ มีครบทุกด;าน สถานะปHจจุบันของตำบลเพ จัดอยู/ในตำบลมุ/งสู/ความยั่งยืนเนื่องจากมีการบรรลุตัวชี้วัดทั้ง 16 เปNาหมาย ในพื้นที่ตำบลเพมีช/องว/างการ พัฒนาทางด;านเกษตรกรรม โดยพื้นที่เกษตรในปHจจุบันมีแนวโน;มลดลงทุกป~ ทำให;รายได;ของลดลงตามไปด;วย จึงควรมีการส/งเสริมและสนับสนุนการทำเกษตรเพิ่มมากขึ้น โดยจากข;อมูล CBD (Community Big Data) พบว/าตำบลเพมีพืชเศรษฐกิจที่สำคัญหลากหลายชนิดไม/ว/าจะเปQน หอมแดง แตงกวา ผักบุ;ง กวางตุ;งฮ/องเต; มะระ มันญี่ปุÄน ผักสลัด มะเขือเทศ ต;นหอม โรสแมร่ี ผักเคลใบหยิก เห็ดนางฟNา ตั้งโอÅ วัว อีกทั้งยังมีความ แตกต/างจากตำบลอื่นๆ หากมีการสนับสนุนการเพาะปลูกและการให;ความรู;เรื่องการเพาะปลูกแก/ประชาชน จะสามารถเปQนชอ/ งทางในการสรา; งรายได;เพม่ิ ใหแ; กช/ ุมชนได; 159

ตำบลหวC ยโปงO อำเภอเมืองระยอง จังหวดั ระยอง ตำบลห;วยโปÄง จัดอยู/ใน C2 ซึ่งมีความต;องการพื้นฐานด;านสุขภาพและรายได;ด;านอุตสาหกรรม สถานะปHจจุบันของตำบลห;วยโปÄงจัดอยู/ในตำบลมุ/งสู/ความยั่งยืนนเนื่องจากมีการบรรลุตัวชี้วัดทั้ง 16 เปNาหมาย ในพื้นที่ตำบลห;วยโปÄงมีช/องว/างการพัฒนาทางด;านการท/องเที่ยว โดยการท/องเที่ยวได;รับผลกระทบจากปHจจัย ต/าง ๆ ในบางช/วง เช/น การชะลอตัวทางเศรษฐกิจและความเชื่อ เพื่อให;มีการพัฒนาตำบลอย/างมีประสิทธิภาพ โดยการใช;ทรัพยากรที่มีอยู/ในตำบล โดยจากข;อมูล CBD (Community Big Data) พบว/าแหล/งท/องเที่ยวเชิง ประวัติศาสตรq / วัฒนธรรม เชิงธรรมชาติ, เชิงสุขภาพ โดยทำการส/งเสริมให;มีการเชื่อมโยงภาคการท/องเที่ยว เพื่อนำไปสู/เกษตรท/องเที่ยว มีการฟhiนฟูทรัพยากรพื้นฐานด;านการประมงโดยการมีส/วนร/วมของประชาชนใน ตำบลให;คงอยู/ต/อไป หากมีการพัฒนาด;านประมงควบคุมไปกับการท/องเที่ยวจะสามารถช/วยเพิ่มรายได;ให;กับ ชุมชนได; ตำบลปาO ยุบใน อำเภอวงั จันทร0 จังหวัดระยอง ตำบลปÄายุบใน จัดอยู/ในกลุ/ม A ซึ่งความต;องการพื้นฐาน 5 มิติ มีครบทุกด;าน สถานะปHจจุบันของ ตำบลปÄายุบในจัดอยู/ในตำบลมุ/งสู/ความยั่งยืนเนื่องจากมีการบรรลุตัวชี้วัดทั้ง 15 เปNาหมาย ในพื้นที่ตำบลปÄายุบ ในมีช/องว/างการพัฒนาทางด;านการเกษตรกรรม โดยพื้นที่เกษตรในปHจจุบันมีแนวโน;มลดลงทุกป~ ทำให;รายได; ของลดลงตามไปด;วย จึงควรมีการส/งเสริมและสนับสนุนการทำเกษตรเพิ่มมากขึ้น โดยจากข;อมูล CBD (Community Big Data) ตำบลปาÄ ยบุ ใน มีการทำเกษตรกรรมทห่ี ลากหลาย ไม/ว/าเปQน ผกั บง;ุ นา ผกั บงุ; แก;ว ผกั สวนครัว ลองกอง มังคุด เงาะ, ยางพารา มะพร;าว มันสำปะหลัง ผักสวนครัว ปาลqม ข;าว ข;าวโพด แมงลัก ถ่ัว ลิสง กะเพรา แตงกวา พริกชี้ฟNา มะเขือเปราะ มะละกอ ทุเรียน ถั่วฝHกยาว กระเจี๊ยบ ยาง ปลา เต/า ซึ่งพืช เหล/านี้เปQนพืชเศรษฐกิจที่สำคัญ จึงควรได;รับการส/งเสริมและพัฒนาให;มีคุณภาพ และมูลค/าเพิ่ม ขยายโอกาส ทางการตลาดไปสู/ภายในและภายนอกประเทศและพัฒนาเปQนเกษตรอุตสาหกรรม เกษตรท/องเที่ยว เพื่อใช; ทรัพยากรทีม่ ีประสิทธิภาพของชมุ ชนให;เกดิ ประโยชนสq ูงสุด 5.2 การวเิ คราะห0ภาพรวมช2องวา2 งการพัฒนาจากตำบลสอู2 ำเภอ จากผลการวิเคราะหqช/องว/างของการพัฒนาในบริบทของตำบล สามารถสรุปภาพรวมได;ว/าตำบลใน จังหวัดระยองมีปHญหาจากการพัฒนาในด;านต/างๆ ได;แก/ ปHญหาการบริหารจัดการน้ำ, ปHญหาการจัดการขยะ มูลฝอย, ปHญหาการไม/สมดุลของการพัฒนาระหว/างพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมและพื้นที่ทางการเกษตร, ปHญหา ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรทางทะเลและชายฝHnง, ปHญหาคุณภาพน้ำ (น้ำเสีย), ปHญหาการบุกรุกที่ดินของรัฐ, ปHญหายาเสพติดและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยqสิน, ปHญหาเศรษฐกิจเนื่องจากการแพร/ระบาดของโรคติด เชื้อไวรัสโคโรน/า และปHญหาราคาผลผลิตทางการเกษตรตกต่ำ ซึ่งแต/ละปHญหามีระดับความรุนแรงที่แตกต/าง กันตามพืน้ ทข่ี องแตล/ ะอำเภอ 160

เนื่องจากปHญหาของแต/ละอำเภอในจังหวัดระยอง สามารถจำแนกตามภูมิศาสตรqที่ตั้งอย/างเห็นได;ชัด จงึ ของสรุปภาพรวมตามกลมุ/ อำเภอ ดังนี้ 1) กลุ/มอำเภอที่อยู/ตามแนวชายฝHnงทะเล เช/น อำเภอเมือง และอำเภอบ;านฉาง มักประสบปHญหา ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรทางทะเลและชายฝHnง ปHญหาการประมงและการลักลอบการจับ สตั วนq ำ้ และปญH หาขยะมลู ฝอยอันเกดิ จากการทอ/ งเทย่ี ว 2) กลุ/มอำเภอที่มีสัดส/วนรายได;จากการท/องเที่ยวในระดับสูง เช/น อำเภอเมืองระยอง และอำเภอ แกลง กลุ/มอำเภอนี้ มักเกิดปHญหาการจัดการคุณภาพน้ำและปHญหาที่เกิดจากความหนาแน/นของ ประชากร เช/น ปHญหายาเสพติด ปHญหาอาชญากรรม และปHญหาความเหลื่อมล้ำของรายได; ระหวา/ งคนรวยและคนจน 3) กลุ/มอำเภอท่ีมีประชากรส/วนใหญ/ประกอบอาชีพเกษตรกรรม เช/น อำเภอวังจันทรq อำเภอเขาชะ เมา อำเภอปลวกแดง และอำเภอบ;านฉาง มักประสบปHญหาราคาสินค;าเกษตรตกต่ำและปHญหา การบุกรุกท่ีดนิ ของรัฐ 4) กลุ/มอำเภอที่มีพื้นที่นิคมอุตสาหกรรม เช/น อำเภอนิคมพัฒนา อำเภอปลวกแดง และอำเภอบ;าน ฉาง ประสบปHญหาการไม/สมดุลของการพัฒนาระหว/างพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมและพื้นที่ทางการ เกษตร ปHญหาพื้นที่เสื่อมโทรม ปHญหาการจัดการขยะและสิ่งปฏิกูลต/างๆ และปHญหาทางสังคมอัน เกดิ ขึ้นจากแรงงานอพยพย;ายถนิ่ 5) กลุ/มอำเภอที่มีประชากรส/วนใหญ/ประกอบอาชีพประมง เช/น อำเภอแกลง อำเภอเมืองวระยอง และบางส/วนของอำเภอบ;านฉาง มักเกิดปHญหาการลักลอบจับสัตวqน้ำในพื้นที่สงวนและปHญหาการ ใช;เครื่องมือจับสัตวqน้ำที่ผิดกฎหมาย ทำให;แหล/งอนุบาลสัตวqน้ำลดน;อยลงและจำนวนสัตวqน้ำ ลดลง ตามลำดับ 5.3 ขอC เสนอระดับจงั หวดั จากการวิเคราะหช0 2องว2างการพัฒนา ข;อเสนอระดับจังหวัดจากการวิเคราะหqช/องว/างการพัฒนา สามารถแบ/งตามปHญหาที่เกิดขึ้นของกลุ/ม อำเภอ ซง่ี สามารถสรปุ ได;ดงั น้ี 1) กลุ/มอำเภอที่อยู/ตามแนวชายฝHnงทะเล – ทางจังหวัดควรวางแนวทางในการบริหารจัดการ ทรัพยากรตามแนวชายฝHnงทะเล โดยอาจเปQนการทำความเข;าใจกับชาวบ;านที่อาศัยอยู/ในพื้นที่และ การออกกฎระเบียบเพื่อควบคุมการลักลอบจับสัตวqน้ำอย/างเปQนรูปธรรม นอกจากนี้ ทางจังหวัด ควรมีการบริหารจัดการขยะอย/างครบวงจร เริ่มจากการมีสถานที่ทิ้งขยะที่เพียงพอ การขนส/งขยะ ที่มปี ระสทิ ธภิ าพ ตลอดจนถงึ การกำจัดขยะทเี่ ปQนมิตรต/อส่งิ แวดลอ; ม 2) กลุ/มอำเภอที่มีสัดส/วนรายได;จากการท/องเที่ยวในระดับสูง – ทางจังหวัดควรวางแผนและจัดทำ นโยบายในการจัดการทรัพยากรทางด;านไฟฟNา ประปา และขยะมูลฝอยอย/างเปQนระบบ เพื่อ รองรับต/อการเพิ่มขึ้นของปริมาณนักท/องเที่ยว สำหรับในเรื่องการแก;ไขปHญหายาเสพติดนั้น ทาง 161

จังหวัดอาจต;องมีการตรวจตราที่เข;มงวด พร;อมทั้งเปÜดช/องทางให;ชาวบ;านร;องเรียนกับทาง เจ;าหนา; ทไ่ี ด;โดยตรง อันเปนQ การส/งเสริมการปNองกนั ยาเสพติดจากประชากรในชมุ ชน 3) กลุ/มอำเภอที่มีประชากรส/วนใหญ/ประกอบอาชีพเกษตรกรรม – ทางจังหวัดควรวางนโยบายใน การสร;างความเข;าใจกับชาวบ;านในพื้นที่ เพื่อให;ทราบถึงเขตพื้นที่อนุรักษqและปÄาสงวนเพื่อปNองกัน การรุกล้ำเข;ามาใช;ที่ดินทำกินของชาวบ;านและการลักลอบจับสัตวqปÄา ในส/วนปHญหาราคมเกษตร ตกต่ำ ทางจังหวัดควรส/งเสริมให;เกษตรกรทำ Farm Contract เพื่อประกันราคาขั้นต่ำของ ผลติ ภัณฑทq างการเกษตร 4) กลุ/มอำเภอที่มีพื้นที่นิคมอุตสาหกรรม – ทางจังหวัดควรจัดทำนโยบายในการส/งเสริมความ ร/วมมือระหว/างนิคมอุตสาหกรรมและชุมชนการเกษตร เพื่อจัดกิจกรรมเชื่อมความสัมพันธqและ ส/งเสริมสนับสนุนซึ่งกันและกัน นอกจากนี้ ยังควรปรับปรุงผังเมืองและการจัดสรรพื้นที่เพ่ือ กำหนดพื้นทก่ี ารพัฒนาที่ชัดเจน พนื้ ทีก่ ำจดั ขยะมลู ฝอย ฯลฯ 5) กลุ/มอำเภอที่มีประชากรส/วนใหญ/ประกอบอาชีพประมง – ทางจังหวัดควรจัดอบรมและให;ความรู; เกี่ยวกับกฎระเบียบที่สำคัญที่เกี่ยวข;องกับการประมงพื้นบ;าน การให;ความรู;เกี่ยวกับ Smart Farming และการสร;างมูลค/าเพิ่มให;กับผลิตภัณฑqประมง เพื่อสร;างอนุรักษqการประมงพื้นบ;าน และสรา; งแหลง/ อนบุ าลสัตวqน้ำที่ยั่งยืน 5.4 ขCอเสนอแนะเชิงปฏิบตั ิ ทางจังหวัดควรสร;างความไว;วางใจและปฏิบัติร/วมกับชุมชนทุกกระบวนการขั้นตอนของการพัฒนา ตั้งแต/การขั้นตอนการวางแผนเชิงพื้นท่ี การเก็บข;อมูลเชิงพื้นท่ี การลงมือปฏิบัติ การติดตามและตรวจสอบผล การพัฒนาพื้นท่ี และสื่อสารความเข;าใจระหว/างผู;ปฎิบัติงาน ชุมชน และผู;มีส/วนได;เสียอย/างถูกต;องตามหลัก วิชาการและต/อเนื่อง เพื่อสามารถขับเคลื่อนโครงการในระดับพื้นท่ีได;อย/างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ ควรประยุกตqใช;ความรู;และเทคโนโลยี และจัดกลุ/มองคqความรู;และเทคโนโลยีตามศักยภาพของ USI ให;สอดคล;องกับความต;องการของพื้นท่ี เช/น กลุ/มองคqความรู;เพื่อพัฒนาชุมชนทางเศรษฐกิจ (การตลาด การท/องเที่ยว การประชาสัมพันธq ฯลฯ) กลุ/มองคqความรู;เพื่อพัฒนาชุมชนทางด;านสังคม (วิทยาศาสตรqสุขภาพ การศึกษา ฯลฯ) กลุ/มองคqความรู;เพื่อพัฒนาชุมชนทางด;านสิ่งแวดล;อม (ภูมิศาสตรq วิศวกรรมสิ่งแวดล;อม ฯลฯ) ทั้งนี้ควรบูรณาการเชื่อมโยงองคqความรู;และเทคโนโลยีอย/างสมดุลเพื่อความยั่งยืนของชุมชน อนึ่ง ทางจังหวัด ควรส/งเสริมความเข;มแข็งของชุมชนด;วยการสร;างเครือข/ายความร/วมมือทุกภาคส/วนทั้งหน/วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม ทั้งภายในและภายนอกเปQนปHจจัยส/งเสริมความเข;มแข็งของชุมชน ทั้งนี้ เครอื ข/ายท้ังระบบตอ; งสามารถสนนั สนนุ ทุกระดับการพัฒนาในหว/ งโซ/อปุ ทานของประเดน็ การพฒั นาของพื้นที่ 162

5.5 ขCอเสนอแนะเพ่มิ เตมิ - ควรมีเกณฑใq นการประเมนิ สถานะของตำบลท่เี หมาะสมตามบริบทของแตล/ ะพนื้ ท่ี - ก/อนเริ่มโครงการ ควรมีกิจกรรมสร;างความเข;าใจให;แก/ผู;ที่จะลงไปปฏิบัติงาน เพื่อให;ทุกคนได; ดำเนนิ การไปในทิศทางเดียวกนั 163

นำเสนอเรือ่ งเล2าความสำเร็จในระดบั จงั หวดั ระยอง เพ่ือเปนW ตนC แบบการดำเนินการระดับจังหวดั สกู2 ารปฏิบตั เิ พื่อนำไปตอ2 ยอดต2อไป ตำบลกรำ่ อำเภอแกลง จังหวดั ระยอง เสน; ทางสคู/ วามสำเร็จของการบูรณาการทั้ง 3 ด;าน ได;แก/ 1. พฒั นาสัมมาชีพ (Creative Economy) ใช;องคคq วามรู;พัฒนาต;นแบบการใช;พลังงานแสงอาทติ ยq สำหรบั ระบบยังชพี สตั วqนำ้ 2. บูรณาการดา; น (Creative Economy)ยกระดบั เส;นทางการท/องเท่ียวในรปู แบบแบบ One Day Trip และ Two Days Trip เชอ่ื มระหวา/ งท/องเท่ียวบนบกและทางทะเล 3. แปรรูปผลติ ภณั ฑปq ระมงจากปลาทะเลเพอ่ื ลดปHญหาราคาปลาและลดคา/ ใชจ; /ายการแชแ/ ข็ง ดเู รอ่ื งราว Success Story ของตำบลกร่ำ ตำบลพลา อำเภอบาC นฉาง จังหวดั ระยอง เสน; ทางสค/ู วามสำเร็จของการบรู ณาการทง้ั 3 ด;าน ได;แก/ 1. พัฒนาสัมมาชีพแปรรูปผลติ ภัณฑqอาหารทะเลพ้ืนบา; น \"กะปคÜ ัว่ \" เมนสู ตู รโบราณ 2. digital marketing จดั ทำโปรโมทการตลาดให;แก/ผลติ ภณั ฑqชุมชน 3. บรู ณาการด;าน Creative Economy ยกระดับเส;นทางการทอ/ งเที่ยวเชงิ นนั ทนาการโดยบรู ณาการ จากทรพั ยากรในพื้นท่ี ดเู ร่อื งราว Success Story ของตำบลพลา 164


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook