ค่มู ือ กำรใช้งำนระบบขอ้ มูลสำรสนเทศ เพื่อกำรตรวจรำชกำร กำรติดตำม ตรวจสอบและประเมินผล กำรจดั กำรศึกษำ ของกระทรวงศึกษำธกิ ำร ประจำปี งบประมำณ พ.ศ. 2566 สำนกั ตรวจรำชกำรและตดิ ตำมประเมนิ ผล สำนกั งำนปลดั กระทรวงศึกษำธิกำร
คำนำ กระทรวงศึกษาธกิ าร ได้กำหนดนโยบายการตรวจราชการและตดิ ตามประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษา ของกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ไว้ 6 นโยบายหลัก เพื่อใช้สำหรับการสื่อสารให้ทุก หน่วยงานในสงั กดั กระทรวงศึกษาธกิ ารไดท้ ราบทศิ ทางหรอื แนวทางการตรวจราชการ และตดิ ตามประเมนิ ผลในระหวา่ ง ปีงบประมาณ โดยแต่ละส่วนราชการในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ จะเสนอแผนงาน/โครงการสำคัญ (Flagship) ที่ตอบสนองนโยบายด้านการศึกษาของรัฐบาลและของกระทรวงศึกษาธิการ ภายใต้นโยบายการตรวจราชการ และตดิ ตามประเมนิ ผล และนำมากำหนดจดุ เนน้ นโยบายการตรวจราชการและตดิ ตามประเมินผล เพ่ือให้การตรวจราชการ ของผู้ตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ และการติดตามประเมินผลการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ในระดับส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และจังหวัด เป็นไปในทิศทางเดียวกัน และสอดรับโครงสร้างการบริหารงาน ของกระทรวงศกึ ษาธิการ สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักตรวจราชการและติดตามประเมินผล มีภารกจิ หน้าที่ เก่ยี วกับการศึกษา วิเคราะห์ ข้อมลู สารสนเทศ เพ่ือสนับสนุนการตรวจราชการ และดำเนินการเก่ยี วกับการตรวจราชการ ของผู้ตรวจราชการกระทรวงในการตรวจราชการ ติดตาม และประเมินผลตามนโยบาย จึงได้พัฒนาระบบข้อมูล สารสนเทศเพื่อการตรวจราชการ การติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ และจัดทำคู่มือการใช้งานระบบข้อมูลสารสนเทศเพ่ือการตรวจราชการ และติดตามประเมินผลการจัดการศึกษา ของกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ร่วมกับคณะทำงาน เพื่อนำมาใช้สนับสนุนการตรวจราชการ ของผ้ตู รวจราชการกระทรวงศกึ ษาธิการ และการตดิ ตามประเมนิ ผลการดำเนนิ งานของหนว่ ยงานในระดับสำนักงาน ศึกษาธิการภาคและสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดและในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ซึ่งได้รับความอนุเคราะห์ ทางด้านข้อมูล ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะ ที่เป็นประโยชน์ต่อการจัดทำคู่มือในทุกขั้นตอน จนทำให้การดำเนินการ เปน็ ไปอย่างเรียบรอ้ ยบรรลุตามที่คณะทำงานกำหนดไว้ สำนักตรวจราชการและติดตามประเมินผลขอขอบคุณทุกส่วนราชการ บุคลากรที่เกี่ยวข้องที่ให้ ความร่วมมือเป็นอย่างดีเสมอมา และหวงั เป็นอย่างยิ่งว่าคู่มือการใช้ระบบขอ้ มูลสารสนเทศเพ่ือการตรวจราชการ การตดิ ตาม ตรวจสอบและประเมินผลการจัดการศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 เลม่ นี้จะเปน็ ประโยชน์ใหก้ บั ผู้ปฏบิ ตั ริ ะดับกระทรวง ระดับภมู ภิ าค ระดับจังหวัด และผทู้ ี่เกี่ยวข้อง เพ่อื นำใชใ้ นการ ปฏิบตั งิ านตามภารกิจหน้าที่ได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ และเกิดผลสำเร็จไดต้ ามความมงุ่ หวงั ตอ่ ไป สำนกั ตรวจราชการและติดตามประเมนิ ผล สำนักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ
3 สารบัญ หนา้ คำนำ สว่ นท่ี 1 บทนำ 1 หลกั การและเหตผุ ล 1 วตั ถุประสงค์ 2 ขอบเขต 2 ประโยชน์ของคู่มือ 2 ส่วนที่ 2 กระบวนงานสนับสนนุ ตรวจราชการ การติดตาม ตรวจสอบและประเมนิ ผลการจดั การศึกษา ของกระทรวงศึกษาธกิ าร 3 สว่ นท่ี 3 กรอบนโยบายตรวจราชการและตดิ ตามประเมนิ ผลการจดั การศึกษาของกระทรวงศึกษาธกิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 8 ส่วนท่ี 4 การจัดเกบ็ ข้อมูลในระบบขอ้ มลู สารสนเทศเพอ่ื การตรวจราชการ การติดตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร E - Inspection ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 25661 10 แบบเก็บข้อมลู ตามกรอบนโยบายการตรวจราชการฯ และจดุ เน้น ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 เพอ่ื นำเขา้ ขอ้ มลู ในระบบสารสนเทศเพอ่ื การตรวจราชการฯ 10 การเข้าใชง้ านระบบขอ้ มลู สารสนเทศเพอื่ การตรวจราชการ การติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลฯ 26 ภาคผนวก สำเนา ประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เร่อื ง นโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 53 สำเนา คำสง่ั กระทรวงศึกษาธกิ าร ท่ี สป. 27/2566 เร่อื ง นโยบายการตรวจราชการและติดตาม ประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 58 สำเนา คำสง่ั กระทรวงศกึ ษาธิการ ท่ี สป. 658/2566 เรอื่ ง มอบหมายใหผ้ ู้ตรวจราชการ กระทรวงศกึ ษาธกิ ารรบั ผดิ ชอบเขตตรวจราชการ 61 สำเนา คำสงั่ สำนักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ท่ี 895/2566 เร่อื ง แตง่ ต้ังคณะทำงานพฒั นา ระบบขอ้ มลู สารสนเทศเพอ่ื การตรวจราชการ และติดตามประเมินผลการจดั การศกึ ษา ของกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 64
ส่วนท่ี 1 บทนำ 1. หลกั การและเหตผุ ล การตรวจราชการเปน็ มาตรการสำคญั ประการหน่งึ ในการบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ ท่จี ะทำใหก้ ารปฏบิ ตั ิ ราชการหรอื การปฏบิ ตั ิภารกจิ ของหน่วยงานของรัฐบรรลเุ ป้าหมาย สอดคลอ้ งกับแผนการบรหิ ารราชการแผ่นดิน และนโยบายของรฐั บาล สามารถแกไ้ ขปัญหาอปุ สรรค และกอ่ ใหเ้ กิดประโยชนส์ ุขแก่ประชาชนด้วยความโปร่งใส เป็นธรรม ประหยัด และมีประสิทธิภาพ ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ บ้านเมอื งท่ดี ี พ.ศ. 2546 มาตรา 6 บัญญัติว่า การบริหารราชการตอ้ งเป็นไปเพอ่ื ประโยชนส์ ุข แกป่ ระชาชนเกิดผล สัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ มีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่าในเชงิ ภารกจิ ของรัฐ โดยประชาชนได้รับการอำนวย ความสะดวกและได้รบั การตอบสนองความต้องการ โดยมีผ้ตู รวจราชการกระทรวงรับผิดชอบและมีอำนาจหน้าที่ ในการตรวจราชการเกี่ยวกับการปฏิบัติราชการของหน่วยงานของรัฐและเจ้าหน้าที่ ของรัฐเฉพาะในขอบเขต อำนาจหนา้ ทีข่ องกระทรวง ในฐานะผู้สอดส่องดูแลแทนรฐั มนตรีว่าการกระทรวงและปลดั กระทรวง ตามท่ีกำหนดไว้ใน ข้อ 9 ของระเบยี บสำนกั นายกรฐั มนตรวี ่าด้วยการตรวจราชการ พ.ศ. 2548 ประกอบกับพระราชบัญญตั ิระเบยี บบริหาร ราชการกระทรวงศึกษาการ พ.ศ. 2546 มาตรา 20 บัญญัติให้กระทรวงศึกษาธิการมีผู้ตรวจราชการของกระทรวง เพื่อทำหน้าที่ในการตรวจราชการ และติดตาม ประเมินผลระดับนโยบาย การนเิ ทศ ให้คำปรึกษา แนะนำ เพื่อการ ปรับปรุงพัฒนาการบริหารจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการประกอบกับคำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบ แห่งชาติ ที่ 19/2560 ข้อ 5(4) ให้สำนักงานศึกษาธิการภาคมีอำนาจหน้าที่สนับสนุนการตรวจราชการ และการติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ของกระทรวงศึกษาธิการในพื้นที่รับผิดชอบ และประกาศสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เรอ่ื ง การแบ่งหน่วยงานภายในสำนกั งานศึกษาธกิ ารภาค สงั กดั สำนักงาน ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ข้อ 2.5 เกี่ยวกับหน้าที่ความรบั ผิดชอบด้านการตรวจราชการและการติดตามประเมินผล ของสำนักงานศึกษาธิการภาค และประกาศสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การแบ่งหน่วยงานภายใน สำนักงานศึกษาธิการจังหวัด สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ข้อ 2.5 เกี่ยวกับหน้าท่ีความรับผิดชอบ ดา้ นการนิเทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลของสำนกั งานศกึ ษาธิการจงั หวดั การตรวจ ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลจึงเป็นภารกิจสำคัญของกระทรวงศึกษาธิการ ที่จะต้องมีการรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และจัดทำข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษาที่ถูกต้อง รวดเร็ว ทันสมัย สามารถเข้าถึงได้ง่าย เพื่อเป็นข้อมูลให้ผู้บริหารกระทรวงศึกษาธิการนำไปพิจารณาถึงสภาพการดำเนินการ จัดการศึกษาของหน่วยงานต่างๆ และนำไปเป็นเครื่องมือในการวางแผน การตัดสินใจกำหนดนโยบายเพื่อการ พัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศให้มีคุณภาพสูงสุด สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการโดยสำนักตรวจราชการ และติดตามประเมินผลได้ร่วมกับคณะทำงานฝ่ายโปรแกรมเมอร์ซึ่งส่วนใหญ่เป็นข้าราชครูและบุคลากรทางการศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จัดทำและพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการตรวจราชการ การตดิ ตามตรวจสอบและประเมินผลการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธกิ ารขึ้นมาต้ังแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 เพื่อนำมาใช้สนับสนุนการตรวจราชการของผู้ตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ และการติดตามประเมินผล การดำเนนิ งานของหน่วยงานในระดบั สำนกั งานศกึ ษาธกิ ารภาคและสำนักงานศึกษาธกิ ารจังหวดั และในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 คณะทำงานได้ร่วมกันพัฒนาระบบสารสนเทศเรียบร้อยแล้ว และได้จัดทำคู่มือการใช้ระบบสารสนเทศ
2 เพ่อื การตรวจราชการ การตดิ ตาม ตรวจสอบและประเมินผลการจัดการศึกษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2566 เพอื่ ให้หนว่ ยงานทเ่ี กี่ยวข้องนำไปใชใ้ นการปฏบิ ัติงานทัง้ ในระดับภาคและจังหวัดตอ่ ไป 2. วตั ถุประสงค์ 1) เพื่อใช้เป็นคู่มือในการจัดเก็บข้อมูลการดำเนินงานตามนโยบายการจัดการศึกษา ของกระทรวงศึกษาธิการ ในการติดตามผลการดำเนินงานตามนโยบายการตรวจราชการและติดตามประเมินผล การจดั การศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 2) เพื่อนำไปใช้สนบั สนุนการปฏิบัตงิ านการตรวจราชการของผู้ตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ และการติดตามประเมินผลการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ของหน่วยงานที่เก่ียวข้องทัง้ ในและนอกสังกัดกระทรวงศึกษาธกิ าร 3. ขอบเขต 1) คู่มือการใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการตรวจราชการ การติดตาม ตรวจสอบและติดตามประเมินผล การจัดการศึกษา ฉบับนี้เป็นคู่มือการปฏิบัติงานในการนำเข้าข้อมูลตามกรอบนโยบาบ จุดเน้นการตรวจราชการ และติดตามประเมินผลการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ทั้งในระดับ ส่วนกลาง ภมู ภิ าค และจังหวัดเท่านั้น 2) คู่มือการใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการตรวจราชการ การติดตาม ตรวจสอบและติดตามประเมินผล การจัดการศึกษา ฉบับน้ีหน่วยงานหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องในการสนับสนุนการตรวจราชการของผู้ตรวจราชการ กระทรวงศึกษาธิการ เช่น หน่วยงานองค์กรหลัก ผู้ช่วยผู้ตรวจราชการ ผู้สนับสนุนการตรวจราชการระดับกระทรวง ระดับสำนักงานศึกษาธิการภาค จำนวน 18 ภาค ระดับสำนักงานศึกษาธิการจังหวัด จำนวน 77 จังหวัด และหน่วยงาน การศกึ ษาทเ่ี ปน็ ผ้รู ับการตรวจสามารถเข้าใชง้ านและสามารถนำขอ้ มูลไปใชเ้ พื่อการรายงานผล 4. ประโยชน์ของคู่มอื ประโยชนท์ ี่คาดวา่ จะไดร้ บั จากการจดั ทำคู่มือการใช้ระบบสารสนเทศเพ่อื การตรวจราชการ การตดิ ตาม ตรวจสอบและตดิ ตามประเมินผลการจัดการศกึ ษาประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 มีดังนี้ 1) กระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานปลัดกระทรวง สำนักผู้ตรวจราชการและสำนักตรวจราชการ และติดตามประเมินผล มีข้อมูลเพื่อสนับสนุนการตรวจราชการฯ ตั้งแต่ขั้นเตรียมการตรวจราชการ การตรวจราชการการ ติดตาม ตรวจสอบและประเมินผล รวมทั้งการรายงานผลการการตรวจราชการฯ ทั้งระดับกระทรวง ระดบั สำนักงานศกึ ษาธิการภาค สำนกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั และผู้รับการตรวจทสี่ อดคลอ้ งเป็นแนวทางเดียวกัน 2) คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ และคณะอนุกรรมการติดตาม ตรวจสอบการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธกิ าร ใช้ระบบสารสนเทศเพ่ือการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการจัดการศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธิการ ตามอำนาจหนา้ ทข่ี องคณะกรรมการฯ 3) สำนักงานศึกษาธิการภาคและสำนักงานศึกษาธิการจังหวัด ที่รับผิดชอบงานสนับสนุน การตรวจราชการฯ ใช้คู่มือการใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการตรวจราชการฯ ประกอบการจัดทำข้อมูลในระดับ หน่วยงานเพื่อใช้สนับสนุนการตรวจราชการฯ ทั้งระดับกระทรวงระดับสำนักงานศึกษาธิการภาคและสำนกั งาน ศึกษาธกิ ารจังหวัด
3 สว่ นท่ี 2 กระบวนการสนบั สนุนตรวจราชการ การตดิ ตาม ตรวจสอบและประเมินผลการจัดการศกึ ษา ของกระทรวงศกึ ษาธิการ 1. อำนาจ หนา้ ท่ี 1.1. คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธิการ คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ มอี ำนาจหนา้ ท่ดี ังต่อไปนี้ (1) กำหนดนโยบาย เกณฑ์มาตรฐาน ระบบการติดตามตรวจสอบประเมินผล และแผนการตรวจราชการ ประจำปี แผนการตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธิการ (2) กำกบั ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ (3) กำกับ ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ สังกดั กระทรวงศึกษาธิการ (4) กำกับ ดูแล ติดตาม ประเมินผล และเสนอแนะการบริหารงบประมาณของส่วนราชการ สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ (5) พิจารณาให้ความเห็นชอบ และให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับรายงานผลการตรวจราชการการ รายงานการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจดั การศกึ ษา (6) ส่งเสริม สนับสนุน การพัฒนาระบบและการศึกษา วิเคราะห์ วิจัยเกี่ยวกับการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธิการi (7) แต่งตั้งคณะอนุกรรมการหรือคณะทำงาน เพื่อดำเนินการใด ๆ ตามที่คณะกรรมการกำหนด (8) ดำเนินการอื่นใดที่เกี่ยวข้องกับการตรวจราชการ การติดตาม ตรวจสอบและประเมินผล การจดั การศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธิการ 1.2 ผตู้ รวจราชการกระทรวง ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการตรวจราชการ พ.ศ. 2548 ข้อ 12 ให้ผู้ตรวจราชการ มอี ำนาจ หนา้ ท่ดี ังต่อไปน้ี (1) สั่งเป็นลายลักษณ์อักษรให้ผูร้ บั การตรวจปฏิบัติในเร่ืองใดเรือ่ งหนึ่งให้ถูกต้องตามกฎหมาย กฎระเบียบขอ้ บังคับ ประกาศ มติของคณะรัฐมนตรีหรอื คำส่ังของนายกรัฐมนตรี (2) ส่งั เปน็ ลายลักษณ์อักษรให้ผรู้ บั การตรวจปฏบิ ัตหิ รืองดเวน้ การปฏบิ ัติในเร่ืองใดๆในระหว่าง การตรวจราชการไว้กอ่ นหากเห็นวา่ จะก่อให้เกดิ ความเสยี หายแก่ทางราชการหรอื ประโยชน์ของประชาชนอย่างรา้ ยแรง และเมอ่ื ไดส้ ัง่ การดังกล่าวแล้วใหร้ ายงานผ้บู งั คับบัญชาเพอ่ื ทราบหรอื พจิ ารณาโดยดว่ น (3) สั่งให้หน่วยงานของรัฐและเจ้าหน้าที่ของรัฐชี้แจงให้ถ้อยคำหรือส่งเอกสารและหลักฐาน เกี่ยวกับการปฏิบตั งิ านเพ่ือประกอบการพิจารณา (4) สอบข้อเท็จจริงสืบสวนสอบสวนหรือสดับตรับฟังเหตุการณ์เมื่อได้รับการร้องเรียน หรือมีเหตุอันสมควรโดยประสานการดำเนินงานกับหน่วยงานตรวจสอบอื่นๆเพื่อแก้ไขปัญหาความเดือดร้อน ของประชาชนหรอื ปัญหาอุปสรรคของหนว่ ยงานของรฐั หรือเจ้าหน้าทีข่ องรฐั
4 (5) ประเมนิ ผลการปฏบิ ัตริ าชการของผรู้ ับการตรวจและรายงานผบู้ ังคับบัญชาเพ่ือทราบ (6) เรียกประชมุ เจ้าหน้าทีข่ องรัฐเพื่อชี้แจงแนะนำหรือปรกึ ษาหารือรว่ มกนั นอกจากนั้น ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการตรวจราชการ การติดตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผลการจัดการศึกษา พ.ศ. 2560 ระบวุ ่าผ้ตู รวจราชการมีหน้าที่ตามระเบียบสำนกั นายกรัฐมนตรีว่าด้วยการ ตรวจราชการพ.ศ. 2548 และใหม้ อี ำนาจหนา้ ทีด่ งั ตอ่ ไปนี้ (1) สั่งเป็นลายลักษณ์อักษร ให้ผู้รับการตรวจปฏิบัติในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ให้ถูกต้องตามกฎหมาย ระเบยี บ ข้อบงั คับ ประกาศ มตขิ องคณะรัฐมนตรี หรอื คำสัง่ ของนายกรัฐมนตรี (2) สั่งเป็นลายลักษณ์อักษรให้ผู้รับการตรวจ ปฏิบัติหรือง ดเว้นการปฏิบัติงานใดๆ ในระหว่างการตรวจราชการไว้ก่อน หากเห็นว่าจะก่อให้เกิดความเสียหายแก่ทางราชการหรือประชาชน อยา่ งรา้ ยแรงและเมอื่ ผตู้ รวจราชการไดส้ ่ังการดังกล่าวแล้วใหร้ ายงานผบู้ งั คับบัญชาเพ่อื ทราบหรือพิจารณาโดยด่วน (3) สั่งให้ผู้รับการตรวจชี้แจง ให้ถ้อยคำ หรือส่งเอกสารและหลักฐานเกี่ยวกับการปฏิบัติงาน เพอ่ื ประกอบการพจิ ารณา (4) สอบข้อเท็จจริง สืบสวนข้อเท็จจริง หรือสดับตรับฟังเหตุการณ์ เมื่อได้รับการร้องเรียน หรือเมื่อมีเหตุอันควร โดยประสานการดำเนินงานกับหน่วยงานตรวจสอบอื่น ๆ เพื่อแก้ไขปัญหา ความเดอื ดร้อนของประชาชนหรือปญั หาอุปสรรคของผรู้ บั การตรวจ (5) ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย ติดตามและประเมินผลระดับนโยบายเพื่อนิเทศให้คำปรึกษาแนะนำ เพือ่ ปรับปรุงพฒั นา (6) แต่งต้งั บุคคลหรือคณะทำงานเพือ่ สนับสนนุ การดำเนนิ งานตามอำนาจหนา้ ทไ่ี ด้ตามความเหมาะสม (7) ปฏิบตั งิ านอ่นื ๆ ตามทผี่ ูบ้ งั คับบัญชามอบหมาย 1.3 ผ้รู ับการตรวจราชการ ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการตรวจราชการ การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษาพ.ศ. 2560 ข้อ 5 ผู้รับการตรวจราชการ ประกอบด้วย หน่วยงานของรัฐ และเจา้ หน้าทข่ี องรัฐซงึ่ ปฏิบัติหน้าทอี่ ยใู่ นหน่วยงานของรฐั ในสังกัด หรือในกำกับของกระทรวงศึกษาธกิ าร รวมทั้ง โรงเรียนเอกชนตามกฎหมายวา่ ด้วยโรงเรยี นเอกชน และขอ้ 15 ให้ผู้รบั การตรวจมีหน้าท่ี ดงั น้ี (1) อำนวยความสะดวกและให้ความร่วมมือในการปฏิบัตงิ านแก่ผู้ตรวจราชการหรอื ผู้ทำหน้าที่ตามท่ี ได้รบั มอบหมาย (2) จัดเตรียมบุคคลเอกสารหลักฐานในการปฏบิ ัติงานให้ครบถ้วนสมบูรณพ์ ร้อมที่จะรบั การตรวจ (3) ชี้แจงหรือตอบคำถามพร้อมทัง้ ใหข้ ้อมูลใดๆอันเปน็ ประโยชนต์ อ่ การตรวจราชการ (4) จัดใหม้ ีสมุดตรวจราชการตามแบบทกี่ ฎหมายหรอื ระเบยี บกำหนด (5) ปฏิบตั หิ รอื งดเวน้ การปฏิบตั งิ านใดๆท่ีผู้ตรวจราชการไดต้ รวจและแนะนำในระหว่างการตรวจราชการ หากไม่สามารถปฏิบัติได้ให้รายงานผู้บังคับบัญชาเพื่อทราบหรือพิจารณาและรายงานให้ผู้ตรวจราชการทราบภายใน สบิ หา้ วัน (6) รายงานความก้าวหน้าความสำเร็จของผลการดำเนินงานตามข้อสั่งการหรือข้อเสนอแนะของ ผตู้ รวจราชการต่อผบู้ งั คบั บัญชาและผู้ตรวจราชการ (7) ดำเนินการอ่ืนใดทเ่ี ปน็ ประโยชน์ในการตรวจราชการ
5 1.4 การติดตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผลการจัดการศึกษาระดบั สว่ นราชการ ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการตรวจราชการ การติดตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษาพ.ศ. 2560 ขอ้ 22 การตดิ ตามตรวจสอบและประเมนิ ผลการจัดการศึกษาระดับ ส่วนราชการเปน็ การตดิ ตามตรวจสอบและประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษาท่ีอย่ใู นอำนาจหนา้ ท่ีของส่วนราชการนั้นๆ ตามภารกจิ และตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธกิ ารโดยให้ส่วนราชการดำเนินการ ดงั น้ี (1) กำหนดแนวทางการติดตามตรวจสอบและประเมินผลการจัดการศึกษาการใช้จ่ายงบประมาณ การจัดการศึกษาใหส้ อดคล้องกบั นโยบายของกระทรวงศกึ ษาธกิ ารและหน่วยงานการศกึ ษาในสังกดั (2) ศึกษาวิเคราะห์สังเคราะห์วิจัยนิเทศติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการศึกษา ของหนว่ ยงานการศกึ ษาในสังกัด (3) รายงานผลการติดตามตรวจสอบและประเมินผลการจัดการศึกษาของหน่วยงานการศกึ ษา ในสงั กดั ไปยงั คณะกรรมการ 1.5 การตดิ ตามตรวจสอบและประเมินผลการจัดการศกึ ษาระดับภาค คำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติท่ี 19/2560 เรื่องการปฏิรูปการศึกษาในภูมิภาค ของกระทรวงศึกษาธิการข้อ 5 (4) ให้มีสำนักงานศึกษาธิการภาคมีอำนาจหน้าที่สนับสนุนการตรวจราชการ และการติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามนโยบายและยุทธศาสตร์ของกระทรวงศึกษาธิการในพื้นที่รับผิดชอบ ประกาศสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การแบ่งหน่วยงานภายในสำนักงานศึกษาธิการภาค สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ โดยข้อ 2.5 หน้าที่ความรับผิดชอบของสำนักงานศึกษาธิการภาค ด้านการ ตรวจราชการและติดตามประเมนิ ผล ดังน้ี (1) วางแผนและจัดระบบการประสานการตรวจราชการ ติดตาม และประเมินผลการปฏบิ ัติงาน ตามนโยบายและแผนการตรวจราชการของกระทรวงศึกษาธิการในพน้ื ท่รี ับผดิ ชอบ (2) ศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตรวจราชการของผู้ตรวจราชการ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร และการตรวจราชการแบบบรู ณาการของผูต้ รวจราชการ สำนกั นายกรฐั มนตรี (3) สนับสนนุ การตรวจราชการของผู้ตรวจราชการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร การตรวจราชการแบบบูรณา การของผู้ตรวจราชการ สำนักนายกรัฐมนตรี การตรวจราชการตามข้อสั่งการของนายกรัฐมนตรีและข้อสั่งการ ของรฐั มนตรวี ่าการกระทรวงศกึ ษาธิการ (4) กำกับ ดูแล เร่งรัด ติดตาม และประเมินผลการดำเนินงานของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัด และการบริหารการจดั การศกึ ษาของหนว่ ยงานการศกึ ษาในสังกดั กระทรวงศึกษาธกิ ารในพ้ืนทร่ี บั ผิเชอบ (5) ดำเนนิ การวิจัยเพ่ือพัฒนาระบบขการตรวจราชการและติดตามประเมินผลในพนื้ ท่ีรับผดิ ชอบ (6) ตดิ ตามและประเมนิ ผลการดำเนินงานตามนโยบายและยทุ ธศาสตรข์ องกระทรวงศึกษาธิการในพืน้ ที่ (7) จัดระบบประสาน สนับสนุน ชว่ ยเหลือ และการรายงานเหตุภยั พิบัติและภาวะวิกฤตทางการศึกษา ในพนื้ ท่รี ับผิดชอบ (8) ปฏบิ ตั ิงานร่วมกับหรอื สนบั สนุนการปฏบิ ัตงิ านของหนว่ ยงานอน่ื ที่เก่ียวขอ้ งหรือท่ไี ดร้ บั มอบหมาย ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการตรวจราชการ การติดตาม ตรวจสอบและประเมินผล การจัดการศึกษา พ.ศ. 2560 ข้อ 23 การตดิ ตามตรวจสอบและประเมนิ ผลการจัดการศึกษาระดับภาคเป็นการตดิ ตาม
6 ตรวจสอบและประเมินผลการจัดการศึกษาที่อยู่ในอำนาจหน้าที่ของสำนักงานศึกษาธิการภาคนั้นๆ ตามภารกจิ และตามนโยบายของกระทรวงศกึ ษาธกิ ารโดยให้สำนักงานศกึ ษาธิการภาคดำเนนิ การ ดงั น้ี (1) กำหนดแนวทางการตดิ ตามตรวจสอบและประเมนิ ผลการจัดการศึกษาการใช้จา่ ยงบประมาณ การจัดการศึกษาใหส้ อดคล้องกับนโยบายของกระทรวงศกึ ษาธิการ (2) ศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์ วิจัย นิเทศ ติดตาม และประเมินผลการบริหารจัดการศึกษา ของหน่วยงานการศกึ ษา (3) ให้คำแนะนำหรือข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงระบบการติดตามประเมินผล การจดั การศกึ ษาและขอ้ เสนอเพ่ือการพฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการศกึ ษาระดับจังหวดั (4) รายงานผลการต ิ ดตามตรวจสอบและประเม ิ นผลการจ ั ดการศ ึ กษาระด ั บภาค ไปยงั คณะกรรมการ (5) ติดตามตรวจสอบเฝ้าระวังเหตุการณ์ต่างๆที่มีผลกระทบ และรายงานผลกระทบ ผลการดำเนนิ การต่อปลัดกระทรวงศึกษาธกิ ารและสว่ นราชการทีเ่ กีย่ วขอ้ ง (6) จัดทำข้อมูลสารสนเทศเพื่อประโยชน์ในการติดตามตรวจสอบและประเมินผล การจดั การศึกษาในระดบั ภาค (7) ปฏบิ ตั งิ านอ่นื ใดตามท่ไี ด้รบั มอบหมาย 1.6 การติดตามตรวจสอบและประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษาระดบั จงั หวัด คำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติที่19/2560 เรื่องการปฏิรูปการศึกษาในภูมิภาค ของกระทรวงศึกษาธิการ (ข้อ 11 (3)) ให้มีสำนักงานศึกษาธิการจังหวัด มีอำนาจหน้าที่สั่งการกำกับดูแลเร่งรัด ติดตามและประเมินผลการปฏบิ ตั ิงานของส่วนราชการหรอื หนว่ ยงานและสถานศกึ ษาในสังกัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ให้เป็นไปตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ และประกาศสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การแบ่ง หน่วยงานภายในสำนกั งานศึกษาธกิ ารจังหวดั สังกดั สำนกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร ขอ้ 2.5 หน้าท่ี ความรับผิดชอบ ของสำนกั งานศึกษาธิการจงั หวัด ดา้ นการนิเทศ ติดตาม และประเมินผล ดังน้ี (1) ขับเคล่ือน ประสานงาน เรง่ รดั กำกับ ติดตาม ตรวยจสอบ และประเมินผลการบรหิ ารการจดั การศกึ ษาของหน่วยงานการศึกษา ในสงั กัดกระทรวงศึกษาธิการ (2) ส่งเสริม สนับสนุน วิจัย และดำเนินการเกี่ยวกับงานด้านวิชาการ การนิเทศ และแนะแนว การศึกษาทุกระดับและทกุ ประเภท รวมทั้งตดิ ตามและประเมนิ ผลระบบบรหิ ารและการจัดการศึกษา (3) ประสานและสนับสนนุ การตรวจราชการของผ้ตู รวจราชการกระทรวงศึกษาธกิ าร (4) ศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการตรวจราชการ จัดทำแผน การรองรับ การตรวจราชการ และดำเนินการเกี่ยวกับการตรวจราชการของผู้ตรวจราชการกระทรวงในการตรวจราชการ ตดิ ตาม และประเมินผลตามนโยบายและแผนการตรวจราชการของกระทรวง (5) สง่ เสริม วิจัย และพัฒนาหลักสตู ร การจดั การเรยี นการสอน กระบวนการเรยี นรู้ แหล่งเรียนรู้ และสอ่ื การเรียนรู้ต่างๆ ท่เี กย่ี วขอ้ งกบั การสรา้ งเสริมคุณภาพชวี ิตทีเ่ ป็นมติ รกับส่งิ แวดลอ้ ม (6) กำกับ ติดตาม ประเมนิ ผล นเิ ทศ และรายงานผลตามนโยบายการตรวจราชการและติดตาม ประเมินผลการปฏิบัติงานของส่วนราชการหรือหน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ และหน่วยงานที่เก่ยี วข้องในระดับจังหวัด ให้เปน็ ไปตามนโยบายของกระทรวงศกึ ษาธิการและยทุ ธศาสตร์ชาติ
7 (7) บูรณาการ การติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษาร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในระดับจงั หวดั (8) จัดทำกรอบการประเมินผลการปฏิบัติงานและกำหนดตัวชี้วัดการดำเนินงานในลักษณะ ตัวชี้วัดร่วมการนิเทศการศึกษาของส่วนราชการหรือหน่วยงาน และสถานศึกษาในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการในจงั หวดั (9) ขบั เคลอ่ื นระบบการประกนั คณุ ภาพการศึกษา (10) ปฏิบตั ิงานรว่ มกับหรอื สนับสนนุ การปฏบิ ตั ิงานของหน่วยงานอน่ื ทเี่ กยี่ วขอ้ งหรอื ทไ่ี ด้รับมอบหมาย ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการตรวจราชการ การติดตาม ตรวจสอบและประเมินผล การจดั การศึกษาพ.ศ. 2560 ข้อ 24 การติดตามตรวจสอบและประเมินผลการจดั การศกึ ษาระดบั จงั หวัดเป็นการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการจัดการศึกษาและการนิเทศการศึกษาที่อยู่ในจังหวัดนั้นๆตามภารกิจ ของกระทรวงศกึ ษาธิการโดยให้สำนกั งานศึกษาธิการจังหวัดดำเนนิ การดังนี้ (1) กำหนดแนวทางการติดตามตรวจสอบและประเมินผลการจัดการศึกษาของหน่วยงาน การศกึ ษาในระดบั จงั หวัด (2) ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย นิเทศ ติดตาม และประเมินผลการบริหารจัดการศึกษาของหน่วยงาน การศกึ ษาในระดับจังหวัด (3) จัดทำข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการติดตามตรวจสอบและประเมินผลการจัด การศึกษาในระดับจังหวดั (4) รวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์ ผลการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการจัดการศึกษา ของหนว่ ยงานการศึกษาในสังกดั และจัดทำรายงานเสนอต่อคณะกรรมการศึกษาธิการจงั หวดั และสำนกั งานศกึ ษาธกิ ารภาค (5) ติดตามตรวจสอบเฝ้าระวังเหตุการณ์ต่างๆที่มีผลกระทบและรายงานต่อผู้ตรวจราชการ ปลัดกระทรวงศึกษาธิการและส่วนราชการทเี่ กีย่ วข้อง (6) ปฏบิ ตั ิงานอน่ื ใดตามทไี่ ดร้ บั มอบหมาย 1.7 การติดตามตรวจสอบและประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษาระดับพื้นท่ี ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการตรวจราชการ การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล การจัดการศึกษาพ.ศ. 2560 ข้อ 25 การติดตามประเมินผลและนิเทศการศึกษาระดับเขตพื้นที่การศึกษา เป็นการศึกษาวิเคราะห์วิจัยนิเทศติดตามและประเมินผลการบริหารและการดำเนินการโดยมุ่งผลสัมฤทธ์ิ ของหน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัดเขตพื้นที่การศึกษาเพื่อเตรียมการรับการนิเทศติดตาม และประเมินผล จากหนว่ ยงานภายนอก และข้อ 27 ให้สำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษาดำเนินการ ดงั นี้ (1) มอบหมายศึกษานิเทศก์หรือข้าราชการอื่นในสังกัดทำหน้าที่ติดตามประเมินผล และนเิ ทศการศกึ ษาในเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษา (2) จัดทำแผนการติดตามประเมินผลและนิเทศการศึกษาประจำปีให้สอดคล้องกับแผนปฏิบัติ ราชการของหนว่ ยงานเสนอขออนมุ ตั ิจากคณะกรรมการติดตามตรวจสอบประเมนิ ผลและนิเทศการศกึ ษาของเขต พน้ื ทกี่ ารศึกษาแล้วแจง้ ให้สถานศกึ ษาในสังกดั ทราบ (3) ศึกษาวิเคราะห์วจิ ัยดำเนินการนิเทศตดิ ตามและประเมินผลการศึกษาการบริหารการศึกษา โดยมงุ่ ผลสมั ฤทธขิ์ องหนว่ ยงานและสถานศกึ ษาในสงั กัดเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาเพอ่ื การเตรียมการรบั การนเิ ทศ ติดตาม และประเมินผลจากหนว่ ยงานภายในและภายนอก (4) รายงานผลการติดตามประเมนิ ผลและนิเทศการศึกษาเสนอผูบ้ ังคับบญั ชาและคณะกรรมการ ตดิ ตามตรวจสอบประเมินผลและนิเทศการศกึ ษาของเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษา (5) ประสานให้หน่วยงานและเจา้ หนา้ ท่เี พื่อชแ้ี จงใหถ้ อ้ ยคำหรอื สง่ เอกสารและหลักฐานเกี่ยวกับการปฏบิ ัติงาน (6) ปฏบิ ัตงิ านอน่ื ใดตามที่ไดร้ บั มอบหมาย
8 สว่ นที่ 3 กรอบนโยบายตรวจราชการและตดิ ตามประเมนิ ผลการจดั การศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 นโยบาย จุดเนน้ การตรวจราชการ หนว่ ยงานท่ีเกี่ยวขอ้ ง 1. การจัดการศกึ ษา 1.1 การดำเนินงานตามแผน/มาตรการดา้ นความปลอดภัยให้แก่ผเู้ รียน ครู สพฐ./สอศ./สป.(สช.) เพอ่ื ความปลอดภัย และบุคลากรในการปอ้ งกันภยั คุกคามรูปแบบใหม่ /สกร. 1.2 การจดั การเรียนรเู้ พอ่ื สง่ เสริมคณุ ลกั ษณะและพฤติกรรมทีพ่ ึงประสงค์ 2. การยกระดับ ของผเู้ รียน สพฐ./สอศ./สป.(สช.) คณุ ภาพการศกึ ษา /สกร. 1.3 การปกป้องคุ้มครองต่อสถานการณ์ทเ่ี กิดขนึ้ กบั ผ้เู รยี น ครู และบคุ ลากร 3. การสรา้ งโอกาส สพฐ./สอศ./สป.(สช.) ความเสมอภาค 2.1 การสง่ เสรมิ สนับสนุนการจัดการเรียนรฐู้ านสมรรถนะของผเู้ รียน /สกร. และความเทา่ เทียม สพฐ./สอศ. ทางการศึกษาทุก 2.2 การพัฒนาผเู้ รยี นใหม้ สี มรรถนะและทกั ษะทจ่ี ำเปน็ ในศตวรรษที่ 21 สพฐ./สอศ./สป.(สช.) ช่วงวัย /สกร.) 2.3 การพฒั นาครใู นด้านการวัดและประเมนิ ผลเพ่ือพฒั นาการเรยี นรู้ สพฐ./สอศ./สป.(สช.) ของผ้เู รียน (Assessment for Learning) /สกร. สพฐ./สอศ./สป.(สช.) 2.4 การจดั การเรียนรู้ดว้ ยการลงมือปฏบิ ัตจิ ริง (Active Learning) /สกร. สพฐ./สอศ./สป.(สช.) 2.5 การพฒั นาทกั ษะดจิ ิทลั และภาษาคอมพิวเตอร์ (Coding) ของผู้เรยี น /สกร. สพฐ./สอศ./สป.(สช.) 2.6 การพฒั นารูปแบบการจดั การเรียนการสอนประวตั ิศาสตร์ หน้าท่ี /สกร. พลเมอื ง ศลี ธรรม และการเสรมิ สร้างวิถชี วี ิตของความเป็นพลเมอื ง ท่ที ันสมัย นา่ สนใจ และเหมาะสมกบั วัยของผเู้ รยี น สพฐ./สอศ./สป.(สช.) 2.7 การส่งเสรมิ การให้ความรูแ้ ละทกั ษะดา้ นการเงินและการออม /สกร. (Financial Literacy) ให้กบั ผเู้ รียน สพฐ./สอศ./สป.(สช.) 2.8 การพัฒนาระบบการประเมนิ คณุ ภาพสถานศกึ ษาทเ่ี นน้ สมรรถนะ /สกร. และผลลพั ธ์ทตี่ ัวผูเ้ รยี น สพฐ. 2.9 โครงการโรงเรียนคุณภาพ สพฐ./สอศ./สป.(สช.) 3.1 การสง่ เสริมสนบั สนุนการดำเนินการเพอ่ื ปอ้ งกันเดก็ ตกหลน่ และเดก็ /สกร. ออกกลางคนั 3.2 การสง่ เสรมิ สนับสนุนใหเ้ ดก็ ปฐมวัยทุกคนไดร้ บั การพฒั นาการสมวยั สพฐ./สป.(สช.) อย่างมคี ณุ ภาพ 3.3 การส่งเสรมิ สนบั สนุนใหผ้ ้เู รียนกลุ่มเป้าหมายพเิ ศษ และกลมุ่ เปราะบาง สพฐ./สอศ./สป.(สช.) รวมทั้งกลุ่ม NEETs ได้รับการศกึ ษา ทเี่ หมาะสม ตามความจำเป็นตามศกั ยภาพ /สกร.
9 นโยบาย จดุ เนน้ การตรวจราชการ หน่วยงานท่เี ก่ียวขอ้ ง สพฐ./สอศ./สป.(สช.) 3.4 การจัดการศึกษาในรปู แบบทีห่ ลากหลาย เพื่อให้ทุกกลุ่มเข้าถึงการศึกษา /สกร. สอศ. การเรียนรแู้ ละการฝกึ อาชพี สพฐ./สอศ. สอศ. 3.5 โครงการอาชวี ะอยปู่ ระจำ เรยี นฟรี มอี าชีพ สอศ. 3.6 การขับเคลอื่ นโครงการทวิศกึ ษาแนวใหม่ สอศ. 3.7 การจัดการอาชวี ศกึ ษา รปู แบบการศึกษานอกระบบ สอศ./สกร. 4. การศึกษาเพื่อ 4.1 การพัฒนาการจดั การอาชีวศึกษาทวิภาคีอย่างมคี ณุ ภาพ โดยสง่ เสรมิ สพฐ./สอศ./สกร. พัฒนาทกั ษะอาชพี ใหเ้ กิดความรว่ มมือกบั ภาคีเครอื ข่ายและสถานประกอบการ สพฐ./สอศ./สป.(สช.) /สกร. และเพมิ่ ขีด 4.2 การพัฒนาขับเคลอ่ื นความเปน็ เลศิ ทางการอาชีวศกึ ษา (Excellent Center) สพฐ./สอศ./สป.(สช.) ความสามารถในการ โดยความร่วมมอื กบั ภาคเอกชนและสถานประกอบการ /สกร. แข่งขนั 4.3 การพัฒนาสมรรถนะอาชีพ โดยการ Re-skill , Up-skill และ New skill สพฐ./สอศ./สป.(สช.) /สกร. ในทุกกลมุ่ เป้าหมาย รวมทั้งผสู้ งู อายุ สพฐ./สอศ./สป.(สช.) /สกร. 5. การส่งเสริม 5.1 การส่งเสรมิ สนบั สนนุ การดำเนนิ การตามหลักเกณฑ์ การประเมนิ สนบั สนนุ วชิ าชีพครู วทิ ยฐานะแนวใหม่ (หลกั เกณฑ์ PA) และบคุ ลากร 5.2 การพัฒนาสมรรถนะของครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ทางด้าน ทางการศกึ ษาและ เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั และสมรรถนะทส่ี อดคลอ้ งกบั วิถชี ีวิตแบบ New Normal บุคลากรสังกดั กระทรวงศึกษาธิการ 5.3 การแก้ไขปญั หาหนส้ี นิ ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา 6. การพฒั นาระบบ 6.1 การนำเทคโนโลยีมาใช้ในการบรหิ ารจัดการและการใหบ้ ริการ ราชการ และการ 6.2 การทำงานแบบบรู ณาการ การมสี ่วนร่วมกับชมุ ชน หนว่ ยงาน บริการภาครฐั ยุค องคก์ รอืน่ ๆ ทง้ั ในพ้นื ท่แี ละหนว่ ยงานอื่น ๆ ทเี่ กย่ี วข้อง ดจิ ิทลั
10 ส่วนที่ 4 การจดั เกบ็ ขอ้ มลู ในระบบข้อมลู สารสนเทศเพอ่ื การตรวจราชการ การติดตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผลการจดั การศึกษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร E-Inspection ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 คำชแี้ จง การจัดเก็บข้อมูลตามแบบติดตามการดำเนินงานตามนโยบายการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ใช้เพื่อติดตามผลการดำเนินงานตามนโยบายการตรวจราชการและติดตามประเมินผลการจัดการศึกษา ของกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 จะดำเนินการจัดเก็บข้อมูลสถานศึกษา สังกัดกระทรวงศึกษาธิการผ่านระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อการตรวจราชการ การติดตาม ตรวจสอบและประเมินผล การจดั การศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธกิ าร (e-Inspection) สว่ นที่ 1 ขอ้ มูลทั่วไป สถานศึกษา สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ (สพป./สพม./สศศ./สอศ./สช./สกร.) …………………………………… (กรอก moe code สถานศกึ ษา 10 หลัก) สว่ นที่ 2 สภาพการดำเนินงานตามนโยบายการจดั การศึกษาของกระทรวงศกึ ษาธิการ คำช้แี จง โปรดทำเคร่ืองหมาย √ ในชอ่ งท่ที ่านเหน็ วา่ ตรงกบั ระดับการปฏบิ ตั ิ/สภาพความเป็นจริง 5 หมายถงึ สถานศกึ ษามีการปฏิบัติอยใู่ นระดบั มากท่สี ดุ 4 หมายถึง สถานศกึ ษามกี ารปฏิบัตอิ ยใู่ นระดบั มาก 3 หมายถึง สถานศกึ ษามีการปฏบิ ตั ิอยใู่ นระดบั ปานกลาง 2 หมายถงึ สถานศึกษามีการปฏิบตั ิอยู่ในระดับนอ้ ย 1 หมายถึง สถานศกึ ษามกี ารปฏบิ ัติอยใู่ นระดับนอ้ ยท่ีสุด นโยบายท่ี 1 การจัดการศกึ ษาเพอื่ ความปลอดภยั สถานศึกษาผใู้ หข้ อ้ มลู ทกุ สังกดั สพป., สพม., สศศ., สอศ., สช., สกร. 1) สภาพการดำเนนิ งาน ที่ รายการ ระดับการปฏบิ ตั ิ 1 5432 1 สถานศึกษามกี ารประเมินปัจจัยเสีย่ งดา้ นความปลอดภัยของสถานศึกษา และจัดทำแผนความปลอดภัยสถานศกึ ษา 2 สถานศกึ ษามกี ารจดั สภาพแวดลอ้ มและบรรยากาศทม่ี คี วามปลอดภยั มกี าร กำหนดพ้ืนทค่ี วบคมุ ความปลอดภยั ปา้ ยสญั ลกั ษณ์ และอปุ กรณท์ ่ี เหมาะสม 3 สถานศกึ ษามีการจดั ระบบคดั กรองและดแู ลช่วยเหลอื นักเรยี น นักศึกษา 4 สถานศึกษามกี ารจัดระบบข้อมูลความปลอดภัยสถานศึกษา 5 สถานศกึ ษามกี ารจัดระบบช่องทางสือ่ สารดา้ นความปลอดภยั สถานศึกษา
11 6 สถานศึกษามีการสร้างภาคเี ครือข่ายความร่วมมือด้านความปลอดภยั ของ สถานศกึ ษา 7 สถานศึกษามีหลักสตู รความปลอดภยั สถานศึกษา และจดั ทำคมู่ อื / แนวทางวา่ ดว้ ยความปลอดภัยในสถานศึกษา 8 สถานศกึ ษามกี ารจดั กจิ กรรมเสรมิ สร้างความรู้ ความเข้าใจดา้ นความ ปลอดภัยในสถานศกึ ษาใหน้ กั เรียน ครู บุคลากรทางการศึกษา ผปู้ กครอง และชุมชน 9 สถานศกึ ษามกี ารจดั กจิ กรรมเสรมิ ทกั ษะ ประสบการณ์ และสมรรถนะดา้ น ความปลอดภัยให้แก่นกั เรยี น นกั ศกึ ษา 10 สถานศกึ ษามรี ะบบ MOE Safety Center เพอื่ ดำเนินการแกไ้ ขปัญหา ด้านความไมป่ ลอดภัยในสถานศกึ ษา 11 สถานศึกษามรี ะบบ ขั้นตอนการช่วยเหลือ เยียวยา ฟืน้ ฟู จติ ใจผู้ประสบเหตุ ความไม่ปลอดภยั ในสถานศกึ ษา โดยใหไ้ ด้รับความคุ้มครองตามที่กฎหมาย กำหนด 12 สถานศกึ ษามกี ารกำกบั ติดตามและประเมนิ ผล การดำเนนิ งานสถานศึกษา ปลอดภยั 13 สถานศกึ ษามีการจดั ทำแผน/มาตรการ/แนวปฏบิ ตั ิ ท่ีครอบคลุมองค์ประกอบ ขอบข่ายความปลอดภยั ของสถานศกึ ษา (ได้แก่ ภัยท่ีเกิดจากอุบัตเิ หตุ ภยั ที่เกิดจากการใช้ความรนุ แรงของมนุษย์ ภัยท่เี กิดจากการถูกละเมิดสทิ ธิ และภัยที่เกดิ จากผลกระทบจากสุขภาวะทางกายและจติ ใจ) 2) ปญั หาอุปสรรค และข้อเสนอแนะเพิม่ เติม (ตอบไดม้ ากกวา่ 1 รายการ) ไม่มบี ุคลากรที่รับผดิ ชอบภารกิจดา้ นสถานศกึ ษาปลอดภยั เปน็ การเฉพาะ ระบบ MOE Safety Center ไมเ่ สถียร เขา้ ถงึ การใช้งานไดย้ าก ครผู ู้สอนขาดองค์ความรู้ด้านความปลอดภยั ในสถานศกึ ษา ขาดแคลนงบประมาณในการปรับปรุง ซอ่ มแซม และจดั สภาพแวดลอ้ มในสถานศึกษาให้มี ความปลอดภยั อน่ื ๆ โปรดระบุ ................................................................................................................ 3) ขอ้ เสนอแนะเพมิ่ เติม .......................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ...............................................................................................................................................................................
12 นโยบายท่ี 2 การยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษา สถานศึกษาผ้ใู หข้ อ้ มูล ทกุ สงั กัด สพป., สพม., สศศ., สอศ., สช., สกร. 1) สภาพการดำเนินงาน ที่ รายการ 5 ระดับการปฏบิ ตั ิ 1 432 1 สถานศกึ ษามีการจัดการเรียนการสอนโดยใช้เทคนิค/วิธีการจดั การเรยี นรู้ สอ่ื นวตั กรรมต่าง ๆ ในการพฒั นาผ้เู รยี นให้มที ักษะการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21 (3R+8C) 2 สถานศึกษามีการถอดบทเรียน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ คัดเลือกวิธีปฏิบัติที่ดี เกี่ยวกับการเรียนการสอน ในการพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะการเรียนรู้ใน ศตวรรษท่ี 21 3 สถานศึกษาได้สง่ เสริมให้มีการพัฒนาครผู สู้ อน เพ่อื ใหผ้ ้เู รยี นเกดิ การเรยี นรู้ และพฒั นาผ้เู รียนให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลกั สตู รท่กี ำหนด 4 สถานศึกษาได้สนับสนุนส่งเสริมให้มีการพัฒนาครูด้านการวัดและ ประเมินผลเพ่ือพฒั นาการเรยี นรู้ของผู้เรยี น (Assessment for Learning) 5 สถานศกึ ษาไดม้ ีการจัดการเรียนรูแ้ บบ Active Learning ด้วยวิธีการสอน ทีห่ ลากหลาย โดยคำนงึ ถงึ ความแตกตา่ งของแตล่ ะบุคคล ให้ผู้เรียนมีส่วน ร่วม ในการเรยี นรู้ เปน็ ผู้ปฏบิ ตั ิ และสร้างองคค์ วามรูด้ ้วยตนเอง 6 ครผู ู้สอนจัดกจิ กรรมการเรยี นรทู้ ีส่ ง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รียนมีความรบั ผิดชอบ มวี นิ ัย สรา้ งบรรยากาศของการมีสว่ นร่วม และส่งเสรมิ ให้ผเู้ รยี นมปี ฏสิ มั พันธท์ ี่ดี กบั เพือ่ นในชั้นเรยี น 7 ครูผู้สอนใช้นวัตกรรม เทคโนโลยีและแหล่งเรียนรู้ เพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียน ประสบความสำเร็จในการเรียนรู้ 8 สถานศึกษามีการสร้างเครือข่าย หรือร่วมเป็นเครือข่ายกับสถานศึกษาท่ี สามารถจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning และมีการสร้างชุมชนแห่ง การเรียนรู้ (Professional Learning Community : PLC) 9 ผ้เู รยี นไดร้ ับการพฒั นาให้มคี วามเขา้ ใจและใชแ้ นวคดิ เชงิ คำนวณในการ แก้ปัญหา ท่พี บอยา่ งเป็นขนั้ ตอนและเป็นระบบ 10 ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ สื่อดิจิทัล เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในการแก้ปัญหาในชีวิตจริง อย่าง ปลอดภยั รูเ้ ท่าทัน มีความรับผดิ ชอบ มจี ริยธรรม 11 ผู้เรียนมีทักษะในการค้นหาข้อมูลหรือสารสนเทศ ประเมิน จัดการ วิเคราะห์สงั เคราะหแ์ ละนำสารสนเทศไปใชใ้ นการแก้ปัญหา 12 สถานศึกษามีการพัฒนาและส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ด้วยสื่อเทคโนโลยี ดิจิทลั 13 สถานศึกษามีการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ หน้าที่ พลเมือง ศีลธรรม ที่หลากหลาย ทันสมัยและเหมาะสมกับวัยของผู้เรียน ตามสภาพพนื้ ท่ี
13 14 ครูผู้สอนได้จัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมือง ศีลธรรม โดยใชส้ ่ือ แหลง่ เรยี นรู้ในท้องถิน่ ปราชญ์ หรอื ผ้เู ช่ยี วชาญเฉพาะด้าน 15 สถานศึกษามีการส่งเสริมสนับสนุน และกำหนดเป้าหมายการทดสอบ ทางการศกึ ษาระดับชาติ ของผเู้ รียน (ไดแ้ ก่ O-NET หรอื V-NET หรอื N-NET) 16 สถานศึกษามีการนิเทศ กำกับ ติดตาม ประเมินผล ด้านคุณภาพ การศึกษาอยา่ งสมำ่ เสมอ 17 สถานศึกษามี การประเมิ นคุณภาพภายใน (Internal Quality Assessment) ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และรายงานผล การประเมนิ ตนเอง (Self Assessment Report : SAR) 18 สถานศกึ ษามกี ารใหค้ วามรู้ ทกั ษะด้านการเงนิ และการออมให้กับผ้เู รยี น 2) การขับเคล่อื นโครงการโรงเรียนคุณภาพ * สถานศึกษาผู้ใหข้ อ้ มูล เฉพาะที่เป็นโรงเรยี นคณุ ภาพ ที่ รายการ ระดับการปฏิบตั ิ 5 4 3 21 1 สถานศึกษามจี ำนวนครูครบช้ันและครบวิชาเอก 2 สถานศึกษามีจำนวนนกั เรยี นท่เี หมาะสม 3 สถานศึกษาได้รับการจัดสรรงบประมาณเพยี งพอในการบริหารจัดการ อย่างมคี ณุ ภาพ 4 สถานศึกษามีอาคารสถานที่ ครภุ ัณฑ์ อุปกรณ์ ระบบอินเทอรเ์ นต็ ท่ีเออ้ื ตอ่ การเรียนรูแ้ ละทันสมยั 5 สถานศึกษาได้ส่งเสรมิ สนับสนุนการเพม่ิ โอการทางการศึกษา ลดความเหล่อื มล้ำและลดอัตราการแข่งขัน 3) ปญั หาอุปสรรค และขอ้ เสนอแนะเพ่ิมเติม (ตอบได้มากกวา่ 1 รายการ) ครผู ู้สอนไมเ่ พียงพอ ขาดแคลนครูในสาขาวชิ าเอกที่สถานศกึ ษาตอ้ งการ ขาดแคลนอุปกรณ์ สื่อการเรียนการสอน และการจดั สภาพแวดลอ้ มให้เอ้ือต่อการเรยี นรู้ ปญั หาพฤติกรรมของผเู้ รยี นและค่านยิ มทางสังคมไมเ่ หมาะสม (เชน่ ติดเกมออนไลน์ ยาเสพติด การมเี พศสัมพนั ธก์ อ่ นวัยอนั ควร ปญั หาครอบครวั เป็นต้น) ครูผ้สู อนมีภาระงานอ่นื เป็นจำนวนมาก ไมม่ เี วลาเตรยี มการสอน และศึกษาองคค์ วามรใู้ หม่ ๆ เพือ่ ถา่ ยทอดให้กบั ผู้เรยี น อ่นื ๆ โปรดระบุ ................................................................................................................. 4) ข้อเสนอแนะเพ่มิ เตมิ ................................................................................................................................................... ........................................................................................................... ................................................................... ............................................................................................................................. ..................................................
14 นโยบายที่ 3 การสรา้ งโอกาส ความเสมอภาค และความเทา่ เทียมทางการศึกษาทุกช่วงวัย 3.1 การสง่ เสรมิ สนบั สนนุ การดำเนินการเพื่อป้องกันเดก็ ตกหล่นและเดก็ ออกกลางคนั สถานศกึ ษาผ้ใู หข้ ้อมลู ทกุ สงั กัด สพป., สพม., สศศ., สอศ., สช., สกร. 1) สภาพการดำเนนิ งาน ท่ี รายการ ระดับการปฏิบัติ 1 5432 1 สถานศึกษามีการดำเนินงานตามแนวทาง/มาตรการป้องกันเด็กตก หลน่ เดก็ ออกกลางคันและเด็กหลดุ ออกจากระบบ 2 สถานศึกษามีการพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียนเป็น รายบุคคลเป็นฐานข้อมูลในการป้องกันเด็กตกหล่นและเด็กออก กลางคันและการปรบั ปรุงจัดทำฐานขอ้ มลู ใหเ้ ปน็ ปัจจบุ ัน 3 สถานศึกษามีการบูรณาการและเชื่อมโยงข้อมูลกับหน่วยงานที่ เก่ียวขอ้ ง เพ่ือดแู ลและปอ้ งกนั ไม่ให้ผ้เู รยี นออกจากระบการศกึ ษา 4 สถานศกึ ษามีการใช้ระบบดูแลช่วยเหลอื นักเรยี นเพือ่ ดแู ลและป้องกัน ไม่ใหผ้ เู้ รียนออกจากระบบการศกึ ษา 5 สถานศึกษามีการดำเนินการในการส่งต่อ ติดตาม และค้นหา เพื่อ ช่วยเหลือเด็กตกหล่นและเด็กออกกลางคันให้กลับเข้าสู่ระบบ การศึกษา 6 สถานศึกษามีการกำหนดแนวทางและกระบวนการส่งต่อนักเรียนให้ ไดร้ บั การศึกษาในระดับทส่ี ูงขน้ึ หรอื มีทักษะอาชีพดำรงชวี ิต 2) ปญั หาและอปุ สรรค ............................................................................................................................. ...................... ........................................................................................................... ................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. 3) ขอ้ เสนอแนะเพม่ิ เตมิ ............................................................................................................................. ...................... .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. .................................................
15 3.2 การสง่ เสริมสนบั สนนุ ใหเ้ ดก็ ปฐมวัยทกุ คนไดร้ บั การพฒั นาการสมวัยอยา่ งมีคณุ ภาพ สถานศกึ ษาผใู้ หข้ ้อมลู เฉพาะสงั กัด สพป., สศศ., สช. 1) สภาพการดำเนินงาน ที่ รายการ ระดับการปฏิบตั ิ 5 4 3 21 1 ครูผสู้ อน ผบู้ ริหาร ศกึ ษานิเทศก์ และผู้ปกครอง ไดร้ ับการพัฒนาองค์ ความรู้ ในการส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กปฐมวัยทุกคนไดร้ ับการพัฒนา อย่างสมวัย 2 สถานศึกษามแี ผนงาน/โครงการ/กจิ กรรม เพ่ือดำเนินการจดั การศึกษา ปฐมวัยอยา่ งมคี ุณภาพ 3 สถานศึกษามีการขับเคลื่อนและดำเนินการตามแผนงาน/โครงการ/ กจิ กรรม เพอ่ื ดำเนินการจัดการศกึ ษาปฐมวยั อยา่ งมีคณุ ภาพ 4 สถานศกึ ษานำข้อมูลการประเมนิ พัฒนาการนักเรยี นปฐมวัยท้งั 4 ดา้ น มาวางแผนการจัดประสบการณ์การเรยี นรู้ของเดก็ เปน็ รายบุคคล กลุม่ ยอ่ ย และ/หรอื กลุม่ ใหญ่ 5 สถานศึกษานำนวัตกรรมการศึกษาปฐมวัยมาใช้ในการพัฒนาตาม บริบท 6 สถานศึกษามีการนิเทศ กำกับ ติดตาม การดำเนินการจัดการศึกษา ปฐมวัยอย่างมคี ณุ ภาพ 2) ปัญหาและอปุ สรรค (ตอบไดม้ ากกว่า 1 ข้อ) ขาดแคลนครูวิชาเอกปฐมวัย ครูผสู้ อนระดับปฐมวยั สอนไมต่ รงวิชาเอก ครูไม่ครบชนั้ (ครู 1 คน สอน 2 ระดับชั้น) อน่ื ๆ ระบ.ุ .......................................... 3) ขอ้ เสนอแนะเพม่ิ เตมิ ............................................................................................................................. ...................... ..................................................................................................................................................... ......................... ........................................................................................................ ...................................................... ................
16 3.3 การส่งเสริมสนบั สนุนใหผ้ ู้เรยี นกลุ่มเปา้ หมายพเิ ศษ และกลมุ่ เปราะบาง รวมท้ังกลุม่ NEETs ได้รบั การศกึ ษา ท่เี หมาะสม ตามความจำเป็นตามศักยภาพ สถานศกึ ษาผใู้ หข้ ้อมูล ทุกสังกัด สพป., สพม., สศศ., สอศ., สช., สกร. 1) สภาพการดำเนินงาน ที่ รายการ ระดบั การปฏบิ ตั ิ 5 4 3 21 1 สถานศึกษามีแนวทางในการส่งเสริมเด็กพิการและเด็กด้อยโอกาส ให้ไดร้ ับการศึกษาท่ีมีคุณภาพ 2 สถานศึกษามีการดำเนินการท่ีส่งเสริมเด็กพิการและเด็กด้อยโอกาส ให้มีทักษะชีวิต ทักษะวิชาการ และทักษะวิชาชีพ สอดคล้องกับความ จำเป็นและพ่งึ พาตวั เองได้ 3 สถานศึกษามีการส่งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษาแบบเรียนรวม ใหม้ ีคณุ ภาพ 4 สถานศึกษามีการบูรณาการการทำงานร่วมกันระหว่างหน่วยงานท่ี เกี่ยวข้อง ในการจัดการศึกษาให้กับผู้เรียนกลุ่มเป้าหมายพิเศษ และกลมุ่ เปราะบาง รวมทงั้ กลมุ่ NEETs 5 สถานศึกษามีการจัดการศึกษาทางเลือกและการศึกษาตลอดชีวิตท่ี หลากหลายใหก้ ับผเู้ รียนกลุม่ เป้าหมายพิเศษ และกล่มุ เปราะบาง 6 สถานศึกษามกี ารพฒั นาเด็กพกิ าร หรอื ประสาทสัมผสั ส่วนท่ีเหลือ ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ 2) ปญั หาและอปุ สรรค ............................................................................................................................. ...................... ........................................................................................................... ................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. 3) ขอ้ เสนอแนะเพม่ิ เตมิ ............................................................................................................................. ...................... .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. .................................................
17 3.4 การจัดการศึกษาในรูปแบบที่หลากหลาย เพื่อให้ทุกกลุ่มเข้าถึงการศึกษา การเรียนรู้ และการฝึกอาชพี สถานศกึ ษาผ้ใู หข้ อ้ มลู ทุกสงั กัด สพป., สพม., สศศ., สอศ., สช., สกร. 1) สภาพการดำเนินงาน ที่ รายการ ระดับการปฏบิ ัติ 5 4 3 21 1 สถานศึกษามีความพร้อมที่สามารถออกแบบหลักสูตรท่ีเหมาะสมกับ ความตอ้ งการและบริบท 2 ผู้เรียนได้รับการพัฒนาให้มีสรรถนะสำหรับการศึกษาต่อ และการ ประกอบอาชพี สำหรับครอบครัวและพ้นื ท่ี 3 สถานศึกษามีการสนับสนุนให้มีเทคโนโลยีดิจิทัลหรือนวัตกรรม เพือ่ สรา้ งโอกาสทางการศกึ ษาให้ผเู้ รยี นทกุ คน 4 สถานศึกษามีการจัดการศึกษาให้ผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษ ไดร้ บั โอกาสในการพฒั นาอย่างเต็มศกั ยภาพ 2) ปัญหาและอปุ สรรค ............................................................................................................................. ...................... ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. 3) ข้อเสนอแนะเพม่ิ เตมิ ............................................................................................................................. ...................... ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. .................................................
18 3.7 การจัดการอาชวี ศกึ ษา รูปแบบการศึกษานอกระบบ สถานศึกษาผใู้ ห้ข้อมลู เฉพาะสงั กดั สอศ. 1) สภาพการดำเนินงาน ข้อ รายการท่ีดำเนินการ ระดบั การปฏิบตั ิ 54321 การขับเคลือ่ นโครงการอาชีวะสรา้ งชา่ งฝมี ือตามแนวทางโรงเรียนพระดาบส 1 สถานศึกษามกี ารสง่ เสริมให้ครูได้รบั การพฒั นาตามโครงการ อาชีวะสร้างชา่ งฝมี ือตามแนวทางโรงเรียนพระดาบส 2 ความพรอ้ มของสถานท่ีใชฝ้ ึกภาคปฏิบัติด้านการประกอบอาชพี 3 สถานศึกษามีการส่งเสริมสรา้ งรายไดใ้ ห้แก่ผเู้ รยี น 4 สถานศึกษามีการขับเคลื่อนโครงการอาชีวะสร้างช่างฝีมือ ตามแนวทางโรงเรยี นพระดาบสตามหลกั สตู ร การจดั ฝึกอบรมและพฒั นาวชิ าชีพระยะสน้ั 5 สถานศึกษามีการพัฒนาหลักสูตรอาชีวศึกษาและหลักสูตร วชิ าชีพระยะส้นั 6 สถานศึกษามีการบูรณาการวิชาสามัญและวิชาชีพไว้ในชุด วิชาชพี เดียวกัน 7 สถานศึกษามีการจัดการเรียนรู้แบบต่อเนื่องเพื่อสะสมหน่วย การเรียนรู้และเทยี บโอนหน่วยการเรยี นรู้ 8 สถานศึกษามีความร่วมมือกับสถานประกอบการในการจัดการ อาชวี ศกึ ษาอยา่ งเข้มข้นเพอื่ การมีงานทำ 2) ปัญหาและอปุ สรรค ............................................................................................................................. ...................... ........................................................................................................... ................................................................... ............................................................................................................................. ................................................ 3) ขอ้ เสนอแนะเพม่ิ เตมิ ............................................................................................................................. ...................... .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. .................................................
19 นโยบายท่ี 4 ด้านการศึกษาเพ่ือพฒั นาทักษะอาชีพและเพม่ิ ขดี ความสามารถในการแข่งขัน 4.1 การพัฒนาการจัดการอาชีวศึกษาทวิภาคีอย่างมีคุณภาพ โดยส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือ กับภาคีเครือข่ายและสถานประกอบการ สถานศกึ ษาผู้ให้ขอ้ มูล เฉพาะสงั กดั สอศ. 1) สภาพการดำเนินงาน ขอ้ รายการทีด่ ำเนนิ การ ระดบั การปฏบิ ตั ิ 54321 1 สถานศึกษามีการถ่ายทอด/ ชี้แจงนโยบายฯ เพื่อนำไปสู่ การปฏิบตั ิให้แก่หนว่ ยงานและสถานศึกษาในพ้ืนท่ี 2 สถานศึกษามกี ารพฒั นาผูเ้ รียนทวิภาคีใหม้ ีคุณภาพสูง 3 ผู้เรียนมีทักษะด้านวิชาชีพ ด้านภาษา และด้านดิจิทัล ตามมาตรฐานสากล 4 สถานศึกษามีการส่งเสริมและสนับสนุนให้ครูเข้ารับการฝึก ประสบการณว์ ชิ าชีพจากสถานประกอบการช้ันนำ 5 ครทู เี่ ขา้ รบั การฝกึ ประสบการณ์วิชาชีพมีทักษะวชิ าชพี สงู ขึ้น 6 สถานศกึ ษามภี าคเี ครอื ขา่ ยที่หลากหลาย 7 สถานศึกษามีการส่งเสริมและสนับสนุนความร่วมมือกับสถาน ประกอบการ 8 สถานประกอบการให้ความร่วมมือในการพัฒนาทักษะวิชาชีพ เปน็ อย่างดี 9 สถานศกึ ษามกี ารติดตามประเมินผลการดำเนนิ งานตามนโยบายใน ทุก ๆ ดา้ น 2) ปญั หาและอปุ สรรค ............................................................................................................................. ...................... ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. 3) ข้อเสนอแนะเพมิ่ เตมิ ............................................................................................................................. ...................... ............................................................................................................................. ................................................. ..............................................................................................................................................................................
20 4.3 การพัฒนาสมรรถนะอาชีพ โดยการ Re-skill , Up-skill และ New skill ในทุกกลุ่มเป้าหมาย รวมทง้ั ผสู้ งู อายุ สถานศึกษาผใู้ ห้ข้อมูล เฉพาะสังกัด สอศ., สกร. 1) สภาพการดำเนนิ งาน ขอ้ รายการทีด่ ำเนนิ การ ระดับการปฏบิ ตั ิ 54321 1 สถานศึกษามีการถ่ายทอด/ ชี้แจงนโยบายฯ เพื่อนำไปสู่ การปฏบิ ัตใิ หแ้ ก่หนว่ ยงานและสถานศึกษาในพนื้ ที่ 2 สถานศึกษามีการพัฒนาสมรรถนะอาชีพ โดยการ Reskill, Upskill และ New skills ในทุกกลมุ่ เปา้ หมาย 3 ส ถ า น ศ ึ ก ษ า ม ี ก า ร พ ั ฒ น า ท ั ก ษ ะ แ ล ะ ส ม ร ร ถ น ะ อ า ช ี พ ใ ห้ กลมุ่ ผ้สู ูงอายุ 4 ส ถ า น ศ ึ ก ษ า ม ี ก า ร พ ั ฒ น า ท ั ก ษ ะ แ ล ะ ส ม ร ร ถ น ะ อ า ชี พ กลมุ่ เกษตรกรอจั ฉรยิ ะ (Smart Farmer) 5 สถานศึกษามีการพฒั นาทกั ษะและสมรรถนะอาชีพกลุ่ม ยุวเกษตรกรอจั ฉรยิ ะ (Young Smart Farmer) 6 สถานศึกษามีการพัฒนาอาชีพและการเป็นผู้ประกอบการ แก่ผู้เรียนอาชวี ศึกษาและประชาชนทั่วไป 2) ปญั หาและอปุ สรรค ............................................................................................................................. ...................... ........................................................................................................... ................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. 3) ขอ้ เสนอแนะเพมิ่ เตมิ ............................................................................................................................. ...................... .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................
21 นโยบายท่ี 5 การส่งเสรมิ สนับสนุนวิชาชีพครูและบคุ ลากรทางการศึกษาและบคุ ลากรสังกดั กระทรวง ศกึ ษาธิการ 5.1 การส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินการตามหลักเกณฑ์การประเมินเลื่อนวิทยฐานะแนวใหม่ (หลักเกณฑ์ PA) สถานศึกษาผูใ้ ห้ข้อมูล เฉพาะสังกดั สพป., สพม., สศศ., สอศ., สกร. 1) สภาพการดำเนินงาน ขอ้ รายการที่ดำเนนิ การ ระดับการปฏิบัติ 54321 สถานศึกษามกี ารเสริมสรา้ งความรู้ ความเขา้ ใจเกีย่ วกบั 1 การดำเนนิ การตามมาตรฐานตำแหนง่ และมาตรฐานวิทยฐานะฯ ใหแ้ ก่ ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา 2 สถานศึกษามีการดำเนนิ การตามหลกั เกณฑ์ การประเมินให้มแี ละเลือ่ นวทิ ยฐานะ (หลักเกณฑ์ PA) ครูและบุคลากรทางการศกึ ษา หน่วยงานการศึกษา ผทู้ ่เี กีย่ วข้อง 3 สามารถดำเนินการตามหลักเกณฑ์การประเมินให้มีและเลื่อน วทิ ยฐานะ (หลกั เกณฑ์ PA) ไดถ้ ูกต้อง เป็นมาตรฐานเดียวกัน 2) ปัญหาและอปุ สรรค (เลอื กไดม้ ากกว่า 1 ขอ้ ) ครูและบุคลากรทางการศึกษาบางส่วนยังยังเข้าไม่ถึงข้อมูลในเรื่องของหลักเกณฑ์ และวิธีการประเมนิ ใหม้ แี ละเล่ือนวิทยฐานะ (หลักเกณฑ์ PA) การจัดทำขอ้ ตกลงการพัฒนางานมขี อบเขตท่กี ว้างเกนิ ไปส่งผลให้การปฏบิ ัติงาน ไมต่ รงกับขอ้ ตกลงการพัฒนางานทีท่ ำไว้ ดา้ นประเมนิ วิทยฐานะ ครูและบคุ ลากรทางการศึกษาบางส่วนขาดทกั ษะดา้ นการใช้เทคโนโลยี (เน่อื งจากการ ยืน่ คำขอมวี ทิ ยฐานะหรือเลือ่ นวทิ ยฐานะตอ้ งใชร้ ะบบ DPA ซง่ึ เป็นระบบดิจทิ ัลทใ่ี ช้ ประเมินในทุกขน้ั ตอน) อ่ืน ๆ ระบ.ุ .......................................... 3) ข้อเสนอแนะเพม่ิ เตมิ ............................................................................................................................. ...................... ............................................................................................................................. ................................................. ..............................................................................................................................................................................
22 5.2 การพัฒนาสมรรถนะของครูและบุคลากรทางการศึกษา ทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัล และสมรรถนะท่ีสอดคลอ้ งกับวถิ ีชีวิตแบบ New Normal สถานศึกษาผู้ให้ข้อมูล ทุกสังกดั สพป., สพม., สศศ., สอศ., สช., สกร. 1) สภาพการดำเนนิ งาน ข้อ รายการที่ดำเนินการ ระดบั การปฏบิ ัติ 54321 ส ถ า น ศ ึ ก ษ า ม ี ก า ร ด ำ เ น ิ น ก า ร พ ั ฒ น า ส ม ร ร ถ น ะ ข อ ง ค รู 1 และบุคลากรทางการศึกษา ทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัล ตามกรอบระดับสมรรถนะดิจทิ ัล (Digital Competency) ส ถ า น ศ ึ ก ษ า ม ี ก า ร ด ำ เ น ิ น ก า ร พ ั ฒ น า ส ม ร ร ถ น ะ ข อ ง ค รู 2 และบุคลากรทางการศึกษาที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตแบบ New Normal ครูและบุคลากรทางการศึกษามีการนำความรู้ด้านเทคโนโลยี 3 ดิจิทัลไปพัฒนานวัตกรรมการศึกษา การจัดการเรียนการสอน และการปฏิบตั ิงาน (1) รายการทักษะด้านเทคโนโลยีดิจิทัลและสมรรถนะที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตแบบ New Normal ทค่ี รูและบุคลากรทางการศึกษาไดร้ ับการพัฒนา ไดแ้ ก่ (เลือกได้มากกวา่ 1 ขอ้ ) การใชค้ อมพิวเตอร์ การใช้งานอนิ เทอร์เน็ต การใชง้ านเพือ่ ความมัน่ คงปลอดภยั เชน่ การจดั หาโปรแกรมป้องกันการโจมตที างไซเบอร์ การใชโ้ ปรแกรมประมวลคำ การใช้โปรแกรมตารางคำนวณ การใช้โปรแกรมการนำเสนองาน การใช้โปรแกรมสรา้ งสอื่ ดจิ ิทลั การทำงานร่วมกนั แบบออนไลน์ การใชด้ ิจทิ ัลเพ่อื ความมัน่ คงปลอดภยั เชน่ การสแกนลายน้ิวมอื อ่นื ๆ ระบุ....................... (2) การนำองค์ความรู้ด้านเทคโนโลยีดิจิทัลไปพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนการสอน และการปฏบิ ัตงิ าน (เลอื กได้มากกว่า 1 ขอ้ ) สามารถใชส้ อ่ื เทคโนโลยี ประกอบการจัดการเรยี นการสอนใหม้ ีประสิทธภิ าพ ไดม้ ากขน้ึ สรา้ งและพัฒนาสอ่ื การเรียนการสอนใหม้ คี วามทนั สมยั หลากหลาย สร้างสรรค์ เพ่ือให้ความรกู้ บั ผเู้ รยี นไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
23 มที ักษะในการคน้ ควา้ หาความรู้และติดตามขา่ วสารทางสื่อดิจทิ ัล ถา่ ยทอดความรู้ด้านดจิ ทิ ลั ใหก้ ับครผู ้สู อน นักเรยี น ประชาชน และผสู้ นใจ อำนวยความสะดวกในการจัดการเรยี นการสอน ลดภาระงานเอกสาร อืน่ ๆ ระบุ ....................... 2) ปญั หาและอปุ สรรค (เลือกไดม้ ากกวา่ 1 ข้อ) ครูและบุคลากรทางการศึกษาบางส่วนยังขาดความรู้และทักษะการใช้เทคโนโลยี และอุปกรณ์สมัยใหม่ ยงั ไมส่ ามารถเรยี นร้เู ทคโนโลยที มี่ ีการเปลี่ยนแปลงรวดเร็ว ครูและบุคลากรทางการศึกษามีภาระงานมาก ด้วยภาระหน้าที่และภาระงาน ดา้ นอ่นื ๆ ทำใหไ้ ม่สะดวกในการเข้ารับการพฒั นา/อบรม หน่วยงานการศกึ ษาทจี่ ัดพฒั นา/อบรมครู ขาดแคลนวทิ ยากรในพน้ื ท่ี ซึ่งเปน็ ผู้มคี วามเชี่ยวชาญทางด้านทกั ษะดิจิทัล ส่อื และอปุ กรณเ์ ทคโนโลยไี ม่ทันสมยั และไมเ่ พียงพอต่อการใชง้ าน ระบบอนิ เตอร์เนต็ ไมเ่ สถียร หรือเครือขา่ ยอินเตอรเ์ นต็ ไม่ครอบคลุม อื่น ๆ ระบุ........................................... 3) ขอ้ เสนอแนะเพม่ิ เตมิ ............................................................................................................................. ...................... ........................................................................................................... ................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. 5.3 การแกไ้ ขปญั หาหน้ีสนิ ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา สถานศึกษาผ้ใู ห้ขอ้ มลู ทุกสังกดั สพป., สพม., สศศ., สอศ., สช., สกร. 1) สภาพการดำเนินงาน ข้อ รายการทดี่ ำเนินการ 5 ระดับการปฏิบตั ิ 1 432 1 ครูและบุคลากรทางการศึกษาเข้าถึงข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับ การแก้ไขปัญหาหน้ีสนิ ครู ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการปฏิบัติ/ดำเนินการ ตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการหักเงินเดือน เงิน 2 บำเหนจ็ บำนาญข้าราชการเพอ่ื การชำระหน้เี งนิ กใู้ ห้แก่สวสั ดกิ าร ภายในส่วนราชการ พ.ศ.2551 (เงินเดือนหลังหักชำระหนี้แล้ว เหลอื สทุ ธไิ ม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 30) 3 ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาได้รบั การอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับ วนิ ยั ในการบรหิ ารการเงินทมี่ ีประสิทธิภาพ 4 ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาได้รบั การแกไ้ ขปัญหาหนี้สนิ
24 2) ปญั หาและอปุ สรรค ............................................................................................................................. ...................... ........................................................................................................... ................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. 3) ข้อเสนอแนะเพม่ิ เตมิ ............................................................................................................................. ...................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. นโยบายท่ี 6 การพัฒนาระบบราชการและการบรกิ ารภาครัฐยคุ ดิจทิ ลั สถานศึกษาผ้ใู หข้ อ้ มลู ทกุ สังกดั สพป., สพม., สศศ., สอศ., สช., สกร. 1) สภาพการดำเนินงาน ขอ้ รายการทด่ี ำเนนิ การ ระดับการปฏบิ ัติ 1 5432 การนำเทคโนโลยมี าใช้ในการบรหิ ารจัดการและการให้บรกิ าร 1 สถานศึกษามีสร้างการรับรู้และกระตุ้นให้ครูและบุคลากร ทางการศกึ ษาเกดิ ความสนใจในการพฒั นาทักษะดา้ นเทคโนโลยี 2 สถานศึกษามีการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้มี ทกั ษะความเขา้ ใจและใช้เทคโนโลยีในการปฏิบตั งิ าน 3 สถานศึกษามีการใช้เทคโนโลยีช่วยในการบริหาร และประชาสัมพนั ธ์โครงการ 4 สถานศึกษามีการจัดเก็บข้อมูลเกี่ยวกับการศึกษาไว้เป็น หมวดหม่ใู นระบบฐานขอ้ มลู ทำให้ง่ายตอ่ การสบื คน้ สถานศึกษาใช้เทคโนโลยีต่าง ๆ ในการติดต่อสื่อสารระหว่าง 5 นักเรียนกับนักเรียนและระหว่างครูกับนักเรียนในการ แลกเปลยี่ นเรียนรู้ได้ สถานศึกษามีการประยุกต์ใช้สารสนเทศเป็นองค์ประกอบ 6 พ้ืนฐานของการตดั สินใจในเรอ่ื งต่าง ๆ ทีเ่ ก่ยี วขอ้ งกับการศึกษา สำหรบั ผ้บู ริหาร
25 ขอ้ รายการทีด่ ำเนินการ ระดบั การปฏบิ ตั ิ 54321 การทำงานแบบบรู ณาการ การมสี ่วนร่วมกบั ชุมชน หนว่ ยงาน องค์กรอน่ื ๆ ทง้ั ในพน้ื ทแ่ี ละหน่วยงานอน่ื ๆ ทเ่ี กี่ยวข้อง สถานศึกษามีการบูรณาการยุทธศาสตร์ แผนงาน โครงการ 7 และทรัพยากรที่มี และประสานความร่วมมือกับทุกภาคส่วน อย่างมที ศิ ทางและเป้าหมายร่วมกนั 8 สถานศึกษามีการติดต่อ สนับสนุนให้มีการแลกเปลี่ยนข้อมูล ขา่ วสารระหวา่ งกันด้วยความสมคั รใจ 9 สถานศึกษามีการจัดโครงสร้าง ความเชื่อมโยงของการทำงาน แบบบรู ณาการ/เครอื ข่าย 10 สถานศกึ ษามกี ารประสานความร่วมมือกับผเู้ กี่ยวข้อง ทกุ ภาคส่วน สถานศึกษาเปิดโอกาสหรือมีชอ่ งทางให้ชุมชนมีส่วนร่วม แสดง 11 ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะ/ตรวจสอบความโปร่งใสในการ ทำงาน 12 ส ถ า น ศ ึ ก ษ า มี ภ า ค ี เ ค ร ื อ ข ่ า ย ท ี ่ ช ่ ว ย ใ น ก า ร ก ำ ก ั บ ต ิ ด ต า ม และประเมนิ ผล 2) ปญั หาและอปุ สรรค (เลอื กไดม้ ากกว่า 1 ขอ้ ) ครแู ละบคุ ลากรมภี าระงานอนื่ ๆ มาก ไมม่ ีเวลาในการพฒั นาตนเอง ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาขาดทกั ษะดา้ นเทคโนโลยดี ิจิทลั ไม่มคี วามชำนาญ ในการใช้เทคโนโลยเี พ่ือการทำงาน ขาดงบประมาณในการพฒั นาเทคโนโลยีให้ทนั สมัยและเพียงพอตอ่ การใช้งาน ส่อื และอปุ กรณเ์ ทคโนโลยีไมท่ ันสมัยและไมเ่ พยี งพอตอ่ การใช้งาน ระบบอินเตอรเ์ น็ตไม่เสถียร หรือเครอื ขา่ ยอินเตอรเ์ น็ตไมค่ รอบคลุม อ่ืน ๆ ระบุ........................................... 3) ขอ้ เสนอแนะเพม่ิ เตมิ 3) ขอ้ เสนอแนะเพมิ่ เตมิ ............................................................................................................................. ...................... ........................................................................................................... ................................................................... ..............................................................................................................................................................................
26 การเขา้ ใชง้ านระบบขอ้ มูลสารสนเทศเพือ่ การตรวจราชการ การติดตาม ตรวจสอบและประเมินผล การจัดการศึกษาของกระทรวงศกึ ษาธิการ e-Inspection 1. ระดับผใู้ ช้งาน รองรบั การใช้งานประกอบดว้ ย สถานศึกษา สำนักงานศกึ ษาธกิ ารจงั หวัด สำนกั งานศกึ ษาธิการภาค ผ้ตู รวจราชการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร บคุ คลทั่วไป ผดู้ ูแลระบบ (admin) 1) สถานศึกษา : สถานศกึ ษาดำเนนิ การเป็นผ้นู ำเข้าขอ้ มลู /บนั ทกึ ข้อมลู - ประเดน็ นโยบายการตรวจ - แบบติดตามผลสถานศึกษา ปี พ.ศ. 2566 2) สำนกั งานศึกษาธิการจงั หวัด: ดำเนินการบนั ทกึ ข้อมลู /เขา้ ใช้งาน ดำเนนิ การ - แจง้ สถานศกึ ษา สังกัดกระทรวงศึกษาธิการในจงั หวัด นำเขา้ ข้อมูลการดำเนินงานตามนโยบาย การจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ทางระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อการตรวจราชการฯ (e-Inspection) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ผ่านช่องทาง sp.moe.go.th โดยกำหนดให้สถานศกึ ษาสามารถใช้ รห ั สสถานศึ กษา 10 หล ั ก ( moe code) เพ ื ่ อเข้ าบ ั นท ึ กข้ อม ู ลตามนโยบายการจ ั ดการศ ึ ก ษา ของกระทรวงศึกษาธิการ ได้ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไปจนถึงวันที่ 31 สิงหาคม 2566 จะปิดระบบการรายงานข้อมูล เพ่อื ประมวลผล - ติดตามการดำเนนิ งานตามนโยบายการจัดการศึกษาฯ ของสถานศึกษาสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ในจงั หวัด ใหน้ ำเข้าขอ้ มูลทางระบบข้อมูลสารสนเทศเพ่ือการตรวจราชการฯ (e-Inspection) ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 ผ่านช่องทาง sp.moe.go.th บนั ทกึ ข้อมลู /เขา้ ใช้งาน - บันทึกสรุปผลการตรวจราชการ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัด ตามแบบ รต. 66 โดยรวบรวม ข้อมูลจากหน่วยงานการศึกษาในจังหวัด การลงพื้นที่ตรวจราชการ และจัดทำรายงาน สรุปผลในภาพรวม ของจงั หวัด (แนบไฟล์เข้าส่รู ะบบ) - เขา้ ใชง้ าน ประกอบด้วย 2 ส่วน (1) ข้อมูลพืน้ ฐานทางการศึกษา โดยเชอื่ มโยงข้อมลู จากระบบศูนย์การแลกเปล่ียนข้อมูลการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ เพอื่ อำนวยความสะดวกในการสบื ค้นขอ้ มลู (2) เพื่อศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลนโยบายการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปี งบประมาณ พ.ศ.2566 ในภาพรวมระดบั ประเทศ ภาค จงั หวัด 3) สำนกั งานศกึ ษาธกิ ารภาค: ดำเนนิ การบนั ทกึ ขอ้ มลู /เข้าใชง้ าน ดำเนินการ - กำกับ ติดตาม การดำเนินงานตามนโยบายการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ของสถานศึกษา สังกัดกระทรวงศึกษาธิการในพื้นที่รับผิดชอบ ให้นำเข้าข้อมูลการดำเนินงานตามนโยบายการจัด การศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ผา่ นชอ่ งทาง sp.moe.go.th โดยกำหนดให้สถานศึกษาสามารถใช้รหัสสถานศึกษา 10 หลัก (moe code) เพื่อเข้าบันทกึ ขอ้ มูลตามนโยบายการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการไดต้ ั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป จนถึงวันท่ี 31 สงิ หาคม 2566 จะปดิ ระบบการรายงานขอ้ มลู เพอ่ื ประมวลผล และการจัดทำรายงานเสนอผบู้ ริหารต่อไป
27 - กำกับ ติดตามสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดในพื้นที่รับผิดชอบ แจ้งสถานศึกษา สงั กดั กระทรวงศึกษาธกิ าร นำเข้าขอ้ มลู การดำเนินงานตามนโยบายฯ ทางระบบข้อมลู สารสนเทศเพื่อการตรวจราชการฯ (e-Inspection) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ผา่ นช่องทาง sp.moe.go.th บันทึกข้อมูล/เขา้ ใชง้ าน - สรุปรายงานผลการตรวจราชการ สำนักงานศกึ ษาธิการภาค ตามแบบ รต. 66 โดยรวบรวม ข้อมูลจากสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดในพื้นที่รับผดิ ชอบ การลงพื้นที่ตรวจราชการ และจัดทำรายงานสรุปผล ในภาพรวมของภาค (แนบไฟลเ์ ขา้ สูร่ ะบบ) - เขา้ ใชง้ าน ประกอบดว้ ย 2 ส่วน (1) ขอ้ มูลพืน้ ฐานทางการศึกษา โดยเช่อื มโยงข้อมูลจากระบบศนู ยก์ ารแลกเปลี่ยนข้อมลู การศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ เพอื่ อำนวยความสะดวกในการสบื ค้นขอ้ มูล (2) เพื่อศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลนโยบายการจดั การศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปี งบประมาณ พ.ศ.2566 ในภาพรวมระดบั ประเทศ ภาค จังหวดั 5) บุคคลทั่วไป : สามารถเข้าถึงข้อมูลผลการดำเนินงานตามนโยบายการตรวจราชการของ กระทรวงศึกษาธิการ และใช้ประโยชน์ในส่วนที่เกี่ยวข้อง รวมถึงหน่วยงานภาครัฐ/เอกชน สามารถใช้งานข้อมลู จากระบบ e-Inspection ในการประกอบการจัดทำแผนพัฒนาท่ีเกีย่ วขอ้ งกบั การศึกษาไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ 6) ระดับผู้ดูแลระบบ (admin) : ดำเนินการดแู ล และจัดการระบบ ตอบคำถาม ดูแลเซริ ์ฟเวอร์ บำรงุ รักษาบญั ชีผใู้ ช้ 2. การเขา้ สู่ระบบ e-Inspection การเขา้ ส่รู ะบบ พิมพ์ https://sp.moe.go.th แลว้ ทำการเลอื กประจำปีท่ตี ้องการทำงาน โดยเลือก ดังรูป 2
28 เมื่อเลอื ก แล้วจะพบหน้า login เข้าสู่ระบบเพื่อทำการจดั กระทำข้อมูลในแตล่ ะระดับ ซึ่งระบบ กำหนดประกอบดว้ ย - ระดับสถานศกึ ษา - ระดบั ศึกษาธกิ ารจงั หวดั - ระดบั ศึกษาธกิ ารภาค - ระดบั ผ้ดู แู ลระบบ (admin) Username ระดับศึกษาธกิ ารจงั หวดั , ระดับศกึ ษาธกิ ารภาค, ระดบั ผดู้ แู ลระบบ (admin) Password ระดบั ศึกษาธกิ ารจงั หวดั , ระดับศกึ ษาธกิ ารภาค, ระดบั ผดู้ แู ลระบบ (admin) ระดับสถานศึกษา ชอ่ งทางติดต่อสอบถาม แตล่ ะระดบั จะมี Username และ Password ทสี่ ว่ นกลางกำหนดให้ เพอ่ื ใช้ในการเข้าสู่ระบบ ซง่ึ มี บทบาทหนา้ ที่ และการทำงานตามสิทธ์ิ และหน้าที่ ทก่ี ำหนดให้ การเขา้ ถึงขอ้ มูลระดับสถานศึกษา สถานศกึ ษา สามารถเข้าสูร่ ะบบ โดยระบรุ หสั สถานศกึ ษา (MOECode) xxxxxxxxxx เพื่อเข้า บันทึก/นำเขา้ ข้อมลู
29 จะปรากฏ 1. ชอื่ สถานศึกษา (ผูใ้ ชง้ านระบบระดบั สถานศึกษา) 2. ขอ้ มลู สถานศกึ ษา, ประเดน็ นโยบายการตรวจ, ข้อมลู สารสนเทศ/คู่มอื และออกจากระบบ (Logout) 1 2
30 1. ขอ้ มลู พนื้ ฐานสถานศกึ ษา ข้อมลู ประกอบด้วย รหสั สถานศกึ ษา (MOE code) 10 หลกั ช่อื สถานศึกษา พรอ้ มสงั กัดและจงั หวดั 2. ประเดน็ นโยบายการตรวจ จะประกอบไปด้วยแบบรายงานการตรวจซ่ึงมีรายละเอียด ดังนี้ 2.1 แบบติดตามผล 66 1. เลอื กประเดน็ นโยบายการตรวจราชการ จะแสดงรายงาน การติดตามประเมินผลการ ขับเคลือ่ นนโยบายการจดั การศึกษา ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
31 2. การบนั ทึกข้อมลู การตรวจราชการรายนโยบาย เปน็ การบนั ทึกแบบตดิ ตามผล จะแสดงรายงานการ ตดิ ตามประเมินผลการขบั เคลอ่ื นนโยบายการจดั การศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธิการ ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2566 ตามประเด็นนโยบายการตรวจราชการ มที งั้ ส้ิน 6 นโยบาย แตล่ ะนโยบายจะประกอบด้วย 3 หวั ข้อดังน้ี สภาพการดำเนนิ งาน ปัญหาและอปุ สรรค ข้อเสนอแนะเพม่ิ เตมิ 2.1 สภาพการดำเนินงาน เป็นการตอบแบบสำรวจตามสภาพจรงิ โดยใหเ้ ลือกระดบั การปฏบิ ัตทิ ่ี สถานศกึ ษาได้ดำเนนิ การในรอบปี พ.ศ. 2566 2.2 ปญั หาและอุปสรรค เปน็ การเลือกสภาพปัญหาทเ่ี กิดขน้ึ จรงิ ซงึ่ สถานศึกษาสามารถเลอื กได้ มากกวา่ 1 ข้อและยงั สามารถเลอื ก อื่นๆ แลว้ ระบปุ ัญหาทีเ่ กิดขึน้ เพมิ่ เตมิ ได้
32 2.3 ข้อเสนอแนะเพิ่มเตมิ สถานศึกษาสามารถเขียนข้อเสนอแนะเพม่ิ เตมิ ไดต้ ามความเหมาะสม แล้วกดปุ่ม ในกรณีทมี่ บี างนโยบายทสี่ ถานศกึ ษาไม่มสี ว่ นเกี่ยวขอ้ งระบบจะปิดในส่วนนั้น ดังภาพ หมายเหตุ สถานศกึ ษาตอ้ งดำเนนิ การตอบแบบสำรวจให้ครบทกุ ข้อ ในประเดน็ นโนยายท่เี กี่ยวข้อง ระบบจงึ จะ บันทึกข้อมลู ให้ในแตล่ ะนโยบาย
33 การเขา้ ถึงขอ้ มูลระดบั ศกึ ษาธกิ ารจงั หวัด เขา้ ส่รู ะบบดว้ ยUsername : moeXX Password : xxxxxx 1 ระบบจะแสดง ช่ือผ้ใู ชง้ านในแตล่ ะระดบั เช่น สำนักงานศึกษาธกิ ารจงั หวดั กาฬสินธุ์ เปน็ ต้น 2 เมนกู ารทำงาน ซึง่ จะประกอบดว้ ย 1. แบบรายงาน รต.66 2. แบบฟรอ์ ม รต.66 3. คูม่ อื การใช้งาน
34 การบันทึกข้อมูล (แบบรายงาน รต.66) เป็นการบันทึกรายงานสรุประดับจังหวัดตามแบบติดตามผล การขับเคล่ือนนโยบายการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธกิ าร ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2566 ตามประเด็น นโยบายการตรวจราชการและติดตามประเมินผลฯ มีทั้งสิ้น 6 นโยบาย มาสรุปภาพรวมของจังหวัด แล้วบันทึก ในระบบ ดงั น้ี เลอื ก ปมุ่ จะพบให้กรอกข้อมลู ดงั น้ี 1. ชื่อหน่วยงาน 7 2. ปี พ.ศ. 3. วนั ที่บันทกึ 2 4. หัวข้อสรปุ 5. เอกสารแนบ 6. ผู้บันทกึ 7. ปมุ่ บนั ทกึ
35 การเขา้ ถงึ ข้อมลู ระดบั ศกึ ษาธกิ ารภาค เข้าสู่ระบบด้วย Username : moeXX Password : xxxxxx 1 ระบบจะแสดง ช่อื ผ้ใู ชง้ านในแต่ละระดบั เชน่ สำนักงานศึกษาธิการภาค 14 เปน็ ต้น 2 เมนูการทำงาน ซ่งึ จะประกอบดว้ ย 1. แบบรายงาน รต.66 2. แบบฟร์อม รต.66 3. คมู่ อื การใช้งาน
36 การบันทึกข้อมูล (แบบรายงาน รต.66) เป็นการบันทึกรายงานสรุประดับภาคตามแบบติดตามผล การขบั เคลือ่ นนโยบายการจดั การศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธิการ ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2566 ตามประเด็น นโยบายการตรวจราชการ และติดตามประเมินผลฯ มีทั้งสิ้น 6 นโยบาย มาสรุปภาพรวมของภาค แล้วบนั ทึกในระบบ ดังนี้ เลือก ปุ่ม จะพบให้กรอกขอ้ มลู ดังน้ี 1. ชอ่ื หน่วยงาน 7 2. ปี พ.ศ. 2 3. วันทีบ่ ันทึก 4. หัวขอ้ สรปุ 5. เอกสารแนบ 6. ผู้บนั ทกึ 7. ปุ่มบันทกึ
37 ระบบแสดงผล จะเป็นการแสดงผลสรุปสถานศึกษาที่ให้ข้อมูลและการดำเนินงานตามนโยบายการจัดการศึกษาของ กระทรวงศึกษาธิการของสถานศึกษา สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ในระดับประเทศ ภาค จังหวัด ตามประเด็น นโยบายการตรวจราชการและติดตามประเมินผลฯ มีท้ังส้ิน 6 นโยบาย ระบบจะแสดงผลเมนู ดงั น้ี 1.สรปุ ภาพรวม ระดบั ประเทศ 2. เลือกภาคทต่ี ้องการ 3. เลอื กจังหวดั ทีต่ อ้ งการ 4. รายงานผลการตรวจราชการ 5 ข้อมูลพื้นฐาน 6 ระบบบนั ทกึ ข้อมลู 4 1 23 5 6 2 2-3 2
38 ระดบั ประเทศ เพื่อดูผลการรายงานการดำเนินงานตามนโยบายของสถานศึกษา สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ในภาพรวมระดับประเทศ 1) เลือก ระบบจะแสดงผลสถานศึกษาในภาพรวมทั้งหมด ระดบั ประเทศทเ่ี ข้ามาให้ขอ้ มูลในระบบ 2) เลอื ก ระบบจะแสดงขอ้ มลู รายนโยบาย 3) เลือกที่เมนูแต่ละนโยบายที่… ระบบจะแสดงผลในแต่ละนโยบายตามที่ผู้ใช้ต้องการ เช่น เลือกนโยบายท่ี 1 ระบบจะแสดงผล 2 สว่ น ดังนี้ สว่ นท่ี 1 ข้อมูลทว่ั ไป - จะแสดงตารางและร้อยละของสถานศกึ ษาทง้ั หมดและสถานศกึ ษาทใ่ี หข้ อ้ มลู - จะแสดงภาพรอ้ ยละของสถานศกึ ษาท่ีใหข้ อ้ มูล สว่ นท่ี 2 สภาพการดำเนนิ งานตามนโยบายการจัดการศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธกิ าร - จะแสดงตารางและรอ้ ยละของสถานศึกษาการปฏบิ ัตติ ามนโยบาย - จะแสดงภาพรอ้ ยละของสถานศึกษาท่ีการปฏบิ ตั ติ ามนโยบาย 1 แสดงสถานศกึ ษา สงั กัด ศธ. ในภาพรวมระดบั ประเทศทท่ีให้ขอ้ มลู 2 2
39 2 แสดงผลนโยบายที่ 1 ส่วนที่ 1 22 แสดงผลนโยบายที่ 1 สว่ นที่ 1
40 แสดงผลนโยบายท่ี 1 ส่วนท่ี 2 แสดงผลนโยบายที่ 1 ส่วนที่ 2 แสดงผลนโยบายท่ี 1 ส่วนที่ 2
41 ระดับภาค เพื่อดูผลการรายงานการดำเนินงานตามนโยบายของสถานศึกษา สังกัดกระทรวงศึกษาธิการใน ภาพรวมระดบั ภาค โดยเข้ามาทหี่ น้าหลกั 1) เลือก ระบบจะแสดงผลสถานศึกษาในภาพรวม ทั้งหมดระดับภาคท่ีเข้ามาให้ขอ้ มลู ในระบบ 2) เลอื ก ระบบจะแสดงข้อมูลรายนโยบาย 3) เลือกที่เมนูแต่ละนโยบายที่ผู้ใช้ต้องการ และเลือกภาคที่ต้องการแสดง ระบบจะแสดงผล ในนโยบายตามทีผ่ ู้ใชต้ ้องการ เช่น เลอื กนโยบายที่ 1 ศึกษาธกิ ารภาค 14 ระบบจะแสดงผล 2 ส่วน ดังน้ี ส่วนท่ี 1 ข้อมลู ทว่ั ไป - จะแสดงตารางและรอ้ ยละของสถานศกึ ษาทง้ั หมดและสถานศึกษาทใ่ี ห้ข้อมูล - จะแสดงภาพร้อยละของสถานศกึ ษาทใ่ี ห้ขอ้ มลู ส่วนท่ี 2 สภาพการดำเนินงานตามนโยบายการจัดการศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธิการ - จะแสดงตารางและร้อยละของสถานศกึ ษาการปฏบิ ตั ติ ามนโยบาย - จะแสดงภาพร้อยละของสถานศึกษาที่การปฏบิ ตั ิตามนโยบาย 1 2
2 42 3 แสดงสถานศกึ ษา สงั กัด ศธ. ในภาพรวมระดับภาคทใ่ี หข้ อ้ มลู 2
43 แสดงผลนโยบายท่ี 1 ส่วนท่ี 1
44 แสดงผลนโยบายท่ี 1 ส่วนท่ี 2
45 แสดงผลนโยบายที่ 1 ส่วนที่ 2 ระดบั จังหวดั เพื่อดูผลการรายงานการดำเนินงานตามนโยบายของสถานศึกษา สังกัด กระทรวงศึกษาธิการระดับจังหวดั โดยเข้ามาทีห่ น้าหลัก 1) เลือก ระบบจะแสดงผลสถานศึกษาใน ภาพรวมทง้ั หมดระดับจังหวัดท่ีเขา้ มาให้ข้อมลู ในระบบ 2) เลอื ก ระบบจะแสดงขอ้ มลู รายนโยบาย 3) เลือกที่เมนูแต่ละนโยบาย และเลือกจังหวัดที่ต้องการแสดง ระบบจะแสดงผลใน นโยบายตามทีผ่ ู้ใชต้ ้องการ เช่น เลอื กนโยบายที่ 1 จังหวดั อุบลราชธานี ระบบจะแสดงผล 2 สว่ น ดังน้ี ส่วนท่ี 1 ข้อมลู ท่วั ไป - จะแสดงตารางและร้อยละของสถานศกึ ษาทัง้ หมดและสถานศกึ ษาทใ่ี หข้ อ้ มูล - จะแสดงภาพรอ้ ยละของสถานศกึ ษาท่ใี หข้ ้อมูล ส่วนท่ี 2 สภาพการดำเนนิ งานตามนโยบายการจัดการศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร - จะแสดงตารางและร้อยละของสถานศกึ ษาการปฏบิ ตั ติ ามนโยบาย - จะแสดงภาพรอ้ ยละของสถานศกึ ษาทกี่ ารปฏิบตั ติ ามนโยบาย
46 1 2 2 3 แสดงสถานศกึ ษา สงั กัด ศธ.ในภาพรวมจังหวัดท่ีให้ขอ้ มูล 2
Search