ระเบียบการสมคั รเขา้ รับ การประเมนิ เทยี บระดบั การศกึ ษา ครัง้ ที่ 1/2564 กศน.เขตหนองแขม สานักงาน กศน.กทม สานักงาน กศน.
คำนำ กำรประเมินเทียบระดับกำรศึกษำ เป็นวิธีกำรหนึ่งท่ีกระทรวงศึกษำธิกำร ได้เปิดโอกำสให้ผู้มี ควำมรู้และประสบกำรณ์จำกกำรศึกษำนอกระบบ กำรศึกษำตำมอัธยำศัย กำรฝึกอำชีพหรือจำก ประสบกำรณ์กำรทำงำนมำประเมินเพ่ือเทียบระดับกำรศึกษำ โดยหลักของกำรประเมินเพ่ือมุ่งเน้น กำร ประเมินควำมเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ท้ังด้ำนร่ำงกำย จิตใจ และสังคม มำกกว่ำกำรประเมินควำมรู้ใน เน้ือหำวิชำ โดยบูรณำกำรสำระกำรเรียนรู้ที่กำหนดไว้ในหลักสูตรกำรศึกษำนอกระบบระดับกำรศึกษำข้ัน พ้ืนฐำน พุทธศักรำช ๒๕๕๑ และใช้วิธีกำรประเมินท่ีหลำกหลำยท้ังกำรทดสอบควำมรู้ ประสบกำรณ์กำร ประเมินเชงิ ประจักษแ์ ละกำรสมั ภำษณโ์ ดยคณะกรรมกำรประเมนิ กระทรวงศึกษำธิกำร ได้มอบหมำยให้ กศน.เขตหนองแขม เป็นสถำนศึกษำท่ีทำหน้ำที่เทียบระดับ กำรศกึ ษำทร่ี ับผิดชอบกลุ่มเป้ำหมำยที่พลำดโอกำสได้รับกำรศึกษำในระบบโรงเรียน ด้วยสำเหตุมำจำกภำวะ เศรษฐกิจหรือเหตุผลอื่นใดก็ตำม ที่ทำให้ไม่สำมำรถเข้ำศึกษำในโรงเรียน ได้มีโอกำสเข้ำรับกำรศึกษำนอก ระบบหรือรับกำรประเมินเทียบระดับกำรศึกษำในพน้ื ทก่ี รุงเทพมหำนคร กศน.เขตหนองแขมจึงได้จัดทำระเบียบกำรเล่มน้ีขึ้น เพ่ือให้ผู้ประสงค์จะสมัครเข้ำรับกำรประเมิน เทยี บระดับกำรศึกษำได้ศึกษำข้ันตอน กระบวนกำรประเมินเทียบระดับกำรศึกษำ คุณสมบัติของผู้สมัครเข้ำ รับกำรประเมิน ตลอดจนรำยละเอียดของมำตรฐำนให้เข้ำใจ เพื่อตรวจสอบควำมพร้อมของตนเองก่อน ตดั สนิ ใจเข้ำสมัครเข้ำรับกำรประเมินตอ่ ไป ผอู้ ำนวยกำร กศน.เขตหนองแขม
๑ ตอนที่ ๑ บทนา การประเมินเทียบระดับการศึกษา เป็นวิธีการหน่ึงที่กระทรวงศึกษาธิการ ได้เปิดโอกาสให้ ผู้มีความรู้และประสบการณ์จากการศึกษานอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศัย การฝึกอาชีพหรือจาก ประสบการณ์การทางานมาประเมินเพื่อเทียบระดับการศึกษา โดยหลักการของการประเมินจะมุ่งเน้น การประเมินความเป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม มากกว่าการประเมินความรู้ใน เนื้อหาวิชา โดยบูรณาการสาระการเรียนรู้ที่กาหนดไว้ในหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และใช้วิธีการประเมินท่ีหลากหลายทั้งการทดสอบความรู้ ประสบการณ์ การประเมินเชงิ ประจกั ษ์และการสมั ภาษณโ์ ดยคณะกรรมการประเมิน กศน.เขตหนองแขม เป็นสถานศึกษาที่ทาหน้าที่เทียบระดับการศึกษา จึงได้จัดทาระเบียบ การ เพ่ือให้ผู้ประสงค์จะสมัครเข้ารับการประเมินเทียบระดับการศึกษา ได้ศึกษาในรายละเอียดเกี่ยวกับ หลักการตา่ งๆ คณุ สมบัติของผู้สมัครเข้ารับการประเมิน การประเมินในมิติประสบการณ์ การประเมินใน มิติความรู้ความคิด ค่าใช้จ่ายในการประเมิน ตลอดจนเพ่ือให้ผู้ประสงค์จะสมัครได้ตรวจสอบคุณสมบัติ และความพร้อมของตนเองก่อนตัดสินใจเข้ารับการประเมิน ซึ่งผู้ท่ีผ่านกระบวนการประเมินเทียบระดับ การศกึ ษาแล้วจะได้รับวฒุ ิการศึกษาทเ่ี ทียบเทา่ ในระบบโรงเรยี นทีก่ ระทรวงศึกษาธกิ ารรบั รอง วัตถุประสงค์ การเทียบระดบั การศกึ ษา มีวัตถุประสงคด์ งั น้ี ๑. เพอื่ เปดิ โอกาสให้ผ้มู ีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และคุณธรรม จริยธรรม ได้รับ การรับรองคณุ วุฒทิ างการศึกษา ๒. เพื่อสร้างแรงจูงใจให้บุคคลทั่วไป มีความกระตือรือร้นในการท่ีจะแสวงหาความรู้ เพ่ิมทกั ษะและสั่งสมประสบการณ์อยา่ งต่อเน่อื งตลอดชีวติ ๓. เพ่ือตอบสนองความต้องการ การยอมรับความรู้ และประสบการณ์ของผู้เข้ารับการ ประเมินเทยี บระดับการศึกษา ซ่งึ จะทาใหม้ ีความม่ันใจในตนเอง ม่นั ใจในสถานภาพทางสังคม ขอบขา่ ยการประเมนิ เทยี บระดับการศึกษา การประเมินเทียบระดับการศึกษาเป็นการประเมินมวลประสบการณ์และความรู้ท่ีเป็น องค์รวมของบุคคลให้ครอบคลุมคุณลักษณะที่สาคัญท้ังด้านความรู้ ทักษะ กระบวนการ คุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมให้เป็นไปตามมาตรฐานการเรียนรู้ระดับการศึกษาท่ีสอดคล้องกับจุดหมายของ
๒ หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ จึงมีขอบข่ายเนื้อหา การประเมนิ ๔ องคป์ ระกอบ ดงั น้ี ๑. ความรพู้ ื้นฐาน เป็นความรู้ด้านวิชาสามัญ ท่ีจะใช้เป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ของเร่ืองอ่ืนๆ ท่ีสอดคล้องกับมาตรฐานและตัวบ่งชี้ของการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในแต่ละระดับ การศึกษา ได้แก่ ความสามารถในการสื่อสารท้ังภาษาไทย ภาษาอังกฤษ การคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ ตลอดจนความรู้ทางดา้ นคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ๒. ความรแู้ ละทักษะด้านการประกอบอาชีพ เปน็ ความรู้ ทักษะ และความสามารถในการบรหิ ารจดั การการประกอบอาชีพ มีวิสัยทัศน์ใน การวางแผน มีการพัฒนากระบวนการในการประกอบอาชีพ มีการเลือกใช้เทคโนโลยีและเทคโนโลยี สารสนเทศในการประกอบอาชีพ อย่างมคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ๓. ความรแู้ ละทกั ษะด้านการดาเนนิ ชีวติ เป็นความรู้ ทักษะ และความสามารถท่ีสะท้อนให้เห็นว่าเป็นผู้ที่มีความเข้าใจ เห็นคุณค่า และยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเองและครอบครัว มีทักษะในการดาเนินชีวิต การมี สุนทรียภาพทางทัศนศิลป์ ดนตรี และนาฏศิลป์ มีทักษะในการเสริมสร้างสุขภาพท้ังทางกายและจิตใจ สามารถใชช้ ีวิตอยา่ งมีความสขุ ๔. ความรู้และทกั ษะด้านการพฒั นาสังคม เป็นความรู้ ทักษะ และความสามารถในการดาเนินชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข มีความ ภมู ิใจในความเป็นไทย ยึดหลักธรรมตามศาสนาที่ตนนับถือ รวมทั้งนาศักยภาพของตนเองมาช่วยส่งเสริม สนับสนุนกิจกรรมที่เป็นประโยชน์แก่ครอบครัว ชุมชนและสังคม เพ่ือนาไปสู่ความเข้มแข็งของครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ รูปแบบการประเมนิ เทียบระดบั การศึกษา รูปแบบการประเมินเทียบระดับการศึกษา เป็นการประเมินสาหรับผู้ท่ีมีประสบการณ์และมี อาชพี การประเมนิ เทยี บระดบั การศกึ ษา มกี ารประเมนิ ๒ มติ ิ คอื ๑. มติ ปิ ระสบการณ์ เป็นการประเมินตามมาตรฐาน และตัวบ่งชี้ ด้านการพัฒนาอาชีพ ด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิต และด้านการพัฒนาสังคมและชุมชน โดยใช้วิธีประเมินจากสภาพจริงและ สัมภาษณ์โดยคณะกรรมการประเมินเทียบระดับการศึกษาที่มีความรู้และประสบการณ์ในสาขาวิชาของ การศึกษาแต่ละระดับ รวมทั้งต้องมีการบันทึกผลการประเมินตามเกณฑ์การให้คะแนนท่ีกาหนดไว้ ทั้งน้ี เพื่อใหก้ ารประเมนิ ไดม้ าตรฐาน มคี วามยุตธิ รรม โปรง่ ใส ตรวจสอบได้และเปน็ ที่ยอมรับของสังคม ๒. มิติความรคู้ วามคิด เป็นการประเมินสมรรถภาพทางด้านความรู้ความคิด ใน มาตรฐาน ดังนี้ ระเบียบการสมัครเขา้ รบั การประเมินเทยี บระดับการศึกษา กศน.เขตหนองแขม ๒
๓ ๒.๑ ความสามารถในการสื่อสาร ๒.๒ ความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ สงั เคราะหแ์ ละตัดสิน ๒.๓ ความสามารถในการแสวงหาความรู้ และการใชเ้ ทคโนโลยี ๒.๔ ความรู้เกยี่ วกับการดูแลสุขภาพกาย และจิตของตน ๒.๕ ความเป็นไทย สากล และพลเมอื งดี ๒.๖ ความรู้เกีย่ วกับทรพั ยากร สิง่ แวดล้อมและการดารงชวี ิต ทั้งน้ี ให้มุ่งเน้นทดสอบด้านภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ดังนี้ ในระดับประถมศึกษา เน้นอ่านคลอ่ งเขยี นคล่องและใช้ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารแบบง่าย ๆ ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นเน้น อ่านคล่องเขยี นคล่องและใชภ้ าษาอังกฤษในการสื่อสารเร่ืองใกล้ตัวกับบุคคลอื่น ในระดับมัธยมศึกษาตอน ปลายเน้นอ่านคล่องเขียนคล่องและใช้ภาษาอังกฤษในการส่ือสารเก่ียวกับชีวิตประจาวันและอาชีพด้วย ประโยคท่ีซบั ซอ้ นข้นึ เครือ่ งมอื และวธิ ีการประเมินเทยี บระดับการศกึ ษา เคร่ืองมือประเมินเทียบระดับการศึกษา ได้จัดทาข้ึนให้สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ ระดับการศึกษา สามารถวัดความรู้ ความสามารถ ทักษะ ประสบการณ์ คุณธรรม จริยธรรมของผู้เข้ารับ การประเมินเทียบระดับการศึกษา โดยใช้เคร่ืองมือที่หลากหลาย เช่น การทดสอบ การนาเสนอผลงาน ด้วยแฟ้มประมวลประสบการณ์ การสัมภาษณ์ การปฏิบัติจริง การตรวจสอบหลักฐานและการประเมิน เชงิ ประจกั ษ์ เครอื่ งมือและวธิ ีการประเมนิ เทียบระดับการศึกษาของแตล่ ะมิติ มดี งั นี้ ๑. การประเมินมิติประสบการณ์ ผู้เข้ารับการประเมินเทียบระดับการศึกษา ต้องนาเสนอ ขอ้ มูลและหลักฐานตามขอ้ คาถามของแต่ละมาตรฐาน คือ ด้านการพัฒนาอาชีพ ด้านการพัฒนาคุณภาพ ชีวิต และด้านการพัฒนาสังคมและชุมชน ด้วยลายมือตนเองไว้ในแฟ้มประมวลประสบการณ์ เพ่ือให้ คณะกรรมการประเมิน ไดศ้ ึกษาเปน็ ข้อมูลเบือ้ งต้น กอ่ นทจี่ ะประเมนิ เชงิ ประจักษ์ ฉะนั้น ผู้เข้ารับการประเมิน จะต้องนาเสนอข้อมูลความรู้และประสบการณ์ ตามมาตรฐาน ตัวบ่งชท้ี ก่ี าหนดไวอ้ ยา่ งละเอยี ดและสมบูรณ์ท่ีสุด พร้อมมีหลักฐานประกอบ หากผู้เข้ารับ การประเมินมีประสบการณ์ และหลักฐานที่บ่งบอกถึงระดับมาตรฐานที่กาหนดไว้ ผู้เข้ารับการประเมิน อาจจะได้รับการประเมินสูงกว่าระดับการศึกษาท่ียื่นขอรับการประเมินไว้ โดยคณะกรรมการประเมิน เทยี บระดบั การศึกษา จะเป็นผพู้ จิ ารณาตามเกณฑก์ ารประเมนิ ท่ีกาหนด ๒. การประเมินมิตคิ วามรูค้ วามคดิ ประเมินโดยใชแ้ บบทดสอบปรนยั และอัตนัย ระเบียบการสมัครเข้ารบั การประเมนิ เทียบระดบั การศกึ ษา กศน.เขตหนองแขม ๓
๔ เกณฑ์การตดั สินผลการประเมินผ่านระดับการศึกษา การผ่านการประเมินเทยี บระดับการศึกษา จะตอ้ งมคี รบทัง้ ๔ ข้อ ดังตอ่ ไปน้ี ๑. ผู้เข้ารับการประเมิน ต้องเข้ารับการประเมินมิติประสบการณ์ ท้ัง ๓ มาตรฐาน และ ต้องไดค้ ะแนนรวมทกุ มาตรฐาน ตามเกณฑ์การผา่ นของแต่ละระดบั การศกึ ษาที่กาหนด ดงั นี้ ๑.๑ ระดบั ประถมศึกษา ตอ้ งได้ ๖๐ – ๗๘ คะแนน คิดเปน็ ร้อยละ ๕๐-๖๕ ๑.๒ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ ต้องได้ ๗๙ – ๙๖ คะแนน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๖๖-๘๐ ๑.๓ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย ต้องได้ ๙๗ คะแนนข้นึ ไป คดิ เปน็ ร้อยละ ๘๑ ขึ้นไป ๒. ผู้เข้ารับการประเมิน ต้องเข้ารับการประเมินมิติความรู้ความคิด ทั้ง ๖ มาตรฐาน และ ตอ้ งได้คะแนนรวมทุกมาตรฐาน ไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ ๕๐ ๓ ผู้ผา่ นการประเมินทั้ง ๒ มิติ ต้องเขา้ รว่ มสัมมนาวิชาการตามเกณฑท์ ีก่ าหนด ๔. ผู้เข้ารับการประเมินต้องผ่านการประเมินมิติความรู้ความคิด และมิติประสบการณ์ใน ระดับเดยี วกนั จงึ ถอื ว่าผา่ นการประเมินในระดับการศกึ ษานน้ั ๆ การผ่านการประเมินเทยี บระดบั การศกึ ษา จะให้ผลการประเมินเป็น “ผ่าน” หรือ “ไม่ผ่าน” โดยไม่มีระดับคะแนน และไม่มีคะแนนเฉลี่ยสะสม (GPAX) สาหรับผู้ท่ีผ่านการประเมินเทียบระดับการศึกษา แล้ว ใหถ้ ือวา่ มีมาตรฐานการศึกษาเท่าเทียมกันกับผู้ท่ีสาเร็จการศึกษาตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ สามารถนาไปสมัครศึกษาต่อ สมัครเข้าทางานได้เช่นเดียวกับ การศึกษาในระบบ แต่หากผู้ผ่านการประเมินประสงค์จะศึกษาต่อ จะต้องไปศึกษาหาความรู้เพ่ิมเติมในบาง เนื้อหา หลกั ฐานการศกึ ษาทจี่ ะได้รับ เป็นหลักฐานการศึกษา ที่ผู้ผ่านกระบวนการประเมินเทียบระดับการศึกษาแล้วจะได้รับโดย กศน.เขตหนองแขม เปน็ ผู้ออกหลกั ฐานการศกึ ษาตามรูปแบบทกี่ ระทรวงศึกษาธิการกาหนด ดงั น้ี ๑. ระเบียนแสดงผลการประเมินเทียบระดับการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศยั ระดับการศึกษาขนั้ พื้นฐาน (กศน.๑ทศ-) ๒. ประกาศนียบตั ร (กศน.๒ทศ-) ความหมายของคาท่ีเกยี่ วขอ้ ง การเทยี บระดับการศึกษา หมายถึง การนาผลการเรยี น ความรแู้ ละประสบการณ์ที่ได้รับจาก การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบท่ีจัดเป็นหลักสูตรเฉพาะหรือหลักสูตรฝึกอบรม ตามความ ต้องการของกลุ่มเป้าหมายและการศึกษาตามอัธยาศัย การฝึกอาชีพ หรือจากประสบการณ์การทางานมา ประเมนิ เพอื่ เทยี บระดับการศึกษาระดบั ใดระดบั หน่ึง ระเบยี บการสมัครเขา้ รบั การประเมนิ เทียบระดับการศึกษา กศน.เขตหนองแขม ๔
๕ การประเมินเทียบระดับการศึกษา หมายถึง วิธีการ กระบวนการ ในการวัดผลและ ประเมินผลการเรียนรู้ที่ครอบคลุมมาตรฐานและตัวบ่งชี้ทั้งด้านความรู้และประสบการณ์ เพ่ือเป็นข้อมูล สาหรับตดั สินผลการประเมินให้เท่าระดับการศึกษาระดับใดระดับหน่ึง หรือสูงกว่าระดับการศึกษาได้ตาม เกณฑท์ ี่กาหนด มาตรฐาน หมายถงึ ขอ้ กาหนดด้านคณุ ภาพที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับผู้เข้ารับการประเมินทั้งใน ด้านความรู้ ทกั ษะ กระบวนการ คุณธรรม จรยิ ธรรม ตวั บง่ ช้ี หมายถึง ส่งิ ทบี่ ง่ บอกหรือแสดงรายละเอียดของขอ้ มูล เหตุการณ์ต่าง ๆท่ีคณะกรรมการ ประเมนิ ต้องการตรวจสอบ มาตรฐานระดับการศึกษา หมายถึง ความรู้ ความสามารถและคุณลักษณะของบุคคลท่ี ครอบคลุมลกั ษณะที่สาคัญทางด้านความรู้ ทักษะ กระบวนการ คุณธรรม จริยธรรม ตามจุดมุ่งหมายของ หลักสูตรแต่ละระดบั การศึกษา ทส่ี านักงาน กศน. สานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร กาหนด สถานศึกษาท่ีทาหน้าที่เทียบระดับการศึกษา หมายถึง สถานศึกษาที่รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงศึกษาธิการ ประกาศให้ทาหน้าทเ่ี ทียบระดับการศกึ ษา คณะกรรมการประเมินเทียบระดับการศึกษา หมายถึง คณะบุคคลจานวนไม่เกินห้าคนท่ี สถานศึกษาแต่งต้ังโดยพิจารณาจากผู้มีความรู้และประสบการณ์ในสาขาวิชาของการศึกษาระดับน้ัน จานวนไม่น้อยกว่าสามคน และผู้มีความรู้และประสบการณ์ด้านการวัดผลและการประเมินผลจานวน หน่ึงคน ดาเนินการประเมนิ เทยี บระดับการศึกษา การประกอบอาชีพของผู้เขา้ รับการประเมินเทียบระดับการศึกษา หมายถึง ผู้มีอาชีพ ท่ี มีรายได้เลย้ี งตนเอง หรอื ครอบครัวได้ ประสบการณ์การประกอบอาชีพ หมายถึง ความรู้ ความสามารถและประสบการณ์ การประกอบอาชพี ของผูเ้ ขา้ รับการประเมิน ทง้ั อาชพี อสิ ระและอาชีพรับจา้ ง อาชีพอิสระ หมายถึง อาชีพทุกประเภทที่ผู้ประกอบการดาเนินการด้วยตนเองแต่เพียง ผ้เู ดยี ว หรอื เปน็ กลุ่ม อาชพี อิสระเปน็ อาชีพท่ีไม่ต้องใช้คนจานวนมาก แต่หากมีความจาเป็นอาจมีการจ้าง คนอ่ืนมาชว่ ยงานได้ เจ้าของกจิ การเป็นผู้ลงทนุ และจาหนา่ ยเอง คดิ และตัดสินใจด้วยตนเองทกุ เรื่อง อาชีพรับจ้าง หมายถึง อาชีพที่มีผู้อื่นเป็นเจ้าของกิจการ โดยตนเองเป็นผู้รับจ้างทางานให้ และไดร้ บั คา่ ตอบแทนเป็นคา่ จา้ ง หรือเงนิ เดอื น สถานประกอบการ หมายถึง สถานที่หรือบางส่วนของสถานที่ท่ีมีที่ต้ังแน่นอนและมีการ ดาเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจไม่ว่ากิจกรรมนั้นจะดาเนินงานโดยบุคคลที่เป็นเจ้าของหรือควบคุมกิจการ โดยนิติบุคคล แฟ้มประมวลประสบการณ์ หมายถึง เอกสารที่นาเสนอข้อมูลความรู้ ความสามารถและ มวลประสบการณ์ของผู้เขา้ รบั การประเมนิ เทยี บระดับการศึกษา ท่ีเก่ียวข้องกับการพัฒนาอาชีพ การพัฒนา คุณภาพชวี ติ การพัฒนาสังคมและชุมชน ทส่ี อดคลอ้ งกับมาตรฐาน ทสี่ านักงาน กศน. กาหนด ระเบยี บการสมัครเข้ารับการประเมินเทียบระดบั การศึกษา กศน.เขตหนองแขม ๕
๖ การสัมมนาวิชาการ หมายถึง กิจกรรมท่ีส่งเสริมความรู้ ประสบการณ์และสร้างเสริม ความสัมพันธ์ระหว่างผู้เข้ารับการประเมินเทียบระดับการศึกษาด้วยกัน อีกท้ังเป็นเงื่อนไขของเกณฑ์การ ผา่ นการประเมนิ ดว้ ย การประเมินเชิงประจักษ์ หมายถึง การตรวจสอบร่องรอยหลักฐานการปฏิบัติจริงในด้าน การพัฒนาอาชพี การพัฒนาคณุ ภาพชวี ิต การพัฒนาสงั คมและชุมชน ผเู้ ข้ารบั การประเมนิ เทียบระดับการศกึ ษา หมายถึง ผทู้ ีม่ อี ายไุ มน่ อ้ ยกวา่ ๒๐ ปบี รบิ ูรณ์ มี ประสบการณ์ในการประกอบอาชีพที่ขอเทียบระดับการศึกษา และประกอบอาชีพอยู่ในเขตบริการของ สถานศึกษาทที่ าหน้าที่เทียบระดับการศึกษา ไม่น้อยกว่า ๑ ปี นับถึงวันสมัครเข้ารับการประเมิน กรณี บุคคล ที่เข้าเมืองโดยชอบด้วยกฎหมาย ต้องเป็นเจ้าของธุรกิจและมีสถานประกอบการ อยู่ในเขตบริการของ สถานศกึ ษาที่ทาหนา้ ที่เทียบระดับการศึกษา ไม่นอ้ ยกว่า ๓ ปี นบั ถงึ วนั สมคั รเขา้ รับการประเมิน ระเบียบการสมัครเขา้ รบั การประเมินเทยี บระดบั การศกึ ษา กศน.เขตหนองแขม ๖
๗ ตอนที่ ๒ การสมคั รเขา้ รบั การประเมนิ เทยี บระดบั การศกึ ษา การประเมินเทียบระดับการศึกษา เป็นการเปิดโอกาสให้กับบุคคลที่มีความรู้ ประสบการณ์ ในการดารงชีวิต แต่ยังไม่ได้วุฒิการศึกษาระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น หรือระดับ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ใหไ้ ดร้ บั สทิ ธิในการเขา้ รับการประเมิน โดยต้องมีคุณสมบตั ิดังต่อไปนี้ คุณสมบตั ิของผูเ้ ขา้ รับการประเมินเทียบระดับการศกึ ษา กศน.เขตหนองแขม ๑. มสี ญั ชาติไทย หรอื เป็นบคุ คลทีเ่ ข้าเมืองโดยชอบดว้ ยกฎหมาย ๒. มอี ายุไมน่ ้อยกว่า ๒๐ ปีบรบิ รู ณ์ นบั ถงึ วันท่ีสมคั รเขา้ รบั การประเมนิ ๓. ไม่เปน็ นกั เรียนหรือนักศึกษา ซ่ึงกาลังศึกษาอยู่ในสถานศึกษาท่ีจัดการศึกษาในระบบหรือ การศึกษานอกระบบที่แบ่งระดบั เช่นเดียวกับการศึกษาในระบบ ๔. เป็นผู้มีประสบการณ์ในการประกอบอาชีพที่ขอเทียบระดับการศึกษา และประกอบอาชีพ อยใู่ นกรงุ เทพมหานคร มาแล้วไมน่ ้อยกวา่ ๑ ปี นับถึงวนั สมัครเข้ารบั การประเมิน หลักฐานการสมคั รเขา้ รบั การประเมิน ผู้ขอรับการประเมินเทียบระดับการศึกษา ต้องยื่นใบสมัครพร้อมนาหลักฐานมาแสดงต่อ สถานศกึ ษาที่ทาหน้าท่ีเทยี บระดบั การศึกษา ดงั นี้ ๑. รูปถ่ายขนาด ๓ x ๔ ซม. จานวน ๒ รูป หน้าตรง สวมชุดสุภาพ ไม่สวมแว่นตาดา ไม่สวมหมวก (รูปถ่ายไม่เกิน ๖ เดือน และไม่ใช้รูปถ่ายโพลาลอยด์) สาหรับติดใบสมัคร ๑ รูป ติดบัตร ประจาตัวผเู้ ขา้ รับการประเมนิ ๑ รูป ๒. สาเนาทะเบยี นบ้าน พรอ้ มฉบับจริงไปแสดง ๓. สาเนาบัตรประจาตัวประชาชน พร้อมฉบับจริงไปแสดง กรณีเป็นบุคคลท่ีเข้าเมือง โดยชอบดว้ ยกฎหมาย ให้แสดงหลักฐาน หนงั สือเดนิ ทาง ๔. สาเนาวุฒกิ ารศกึ ษา พร้อมฉบบั จรงิ กรณหี ลักฐานตามข้อ ๒. ๓. และ ๔. ไม่ตรงกัน ให้สาเนาเอกสารที่เก่ียวข้องพร้อมฉบับ จริงไปแสดง เชน่ ใบเปลีย่ นชื่อ ช่อื สกุล ใบทะเบียนสมรส ใบสาคัญการหย่า ๕. หลักฐานท่ีแสดงถึงการประกอบอาชีพในเขตบริการของสถานศึกษาท่ีทาหน้าที่เทียบ ระดับการศกึ ษา ไม่น้อยกว่า ๑ ปี นับถงึ วันสมคั รเข้ารบั การประเมิน ๖. แผนทแี่ สดงทีต่ ้ังของสถานทป่ี ระกอบอาชีพ หรือสถานประกอบการ
๘ กรณที ี่เข้ารับการประเมนิ เทียบระดับการศึกษา แต่ยังประเมินไม่ครบตามเง่ือนไข และมี ความจาเป็นต้องย้ายสถานศึกษา จะต้องนาหลักฐานผลการประเมินจากสถานศึกษาเดิมมาแสดง ประกอบการสมัครใหมด่ ว้ ย ผู้เข้ารับการประเมินเทียบระดับการศึกษาต้องรับรองว่าตนเองมีคุณสมบัติครบถ้วน ถูกต้อง เปน็ จรงิ ทกุ ประการ คา่ ใชจ้ า่ ยในการประเมินเทียบระดบั การศกึ ษา ๑. ผู้เข้ารับการประเมินเทียบระดับการศึกษา จะต้องชาระค่าธรรมเนียมการประเมินเทียบ ระดับการศกึ ษา ในอัตราคนละ ๓,๐๐๐ บาทตอ่ ครัง้ ในทกุ ระดับการศกึ ษา อนึ่ง หากผู้เข้ารับการประเมินไม่ผ่านการประเมินมิติใดมิติหนึ่ง และประสงค์จะเข้ารับการ ประเมิน ต้องจ่ายค่าธรรมเนียมการประเมินในอัตราคนละ ๑,๕๐๐ บาทต่อครั้ง ในทุกระดับการศึกษา เช่นกัน ๒. ผู้ผ่านการประเมินเทียบระดับการศึกษา ต้องมีค่าใช้จ่ายในการสัมมนาวิชาการ ซึ่งให้ เป็นไปตามขอ้ ตกลงของคณะกรรมการผู้ผ่านการประเมินเทยี บระดับการศึกษาในรุ่นน้นั ๆ วิธสี มคั รเข้ารบั การประเมินเทียบระดับการศึกษา บคุ คลใดที่พจิ ารณาแล้วเหน็ ว่าเปน็ ผู้ที่มคี ณุ สมบตั ิ และหลักฐานการสมัครเข้ารับการประเมิน ครบถ้วน สามารถสมคั รเขา้ รับการประเมินเทียบระดบั การศกึ ษา ไดด้ ังน้ี ๑. สถานที่สมัคร กศน.เขตหนองแขม โทร ๐๒ – ๔๒๐ ๖๒๗๓ หรือหน่วยบริการท่ี สถานศึกษาจดั ตั้งขนึ้ ตามประกาศของสถานศึกษา ๒. วัน-เวลา กศน.เขตหนองแขม จะประกาศกาหนดการรับสมัคร ซ่ึงมีรายละเอียดกาหนด วัน-เวลาในแต่และปีการศึกษา ซ่ึงผู้ประสงค์จะเข้ารับการประเมินต้องสมัครตาม วัน-เวลา ท่ีสถานศึกษา กาหนดเท่านั้น ท้ังน้ีสามารถติดตามข่าวสารได้ที่เว็บไซต์ Facebook: ครูนกฮูก กศน.เขตหนองแขม หรือ Line: กศน.เขตหนองแขม @768ajjbn ระเบยี บการสมัครเขา้ รับการประเมนิ เทียบระดบั การศึกษา กศน.เขตหนองแขม ๘
๙ กระบวนการ ขนั้ ตอน การประเมนิ เทยี บระดบั การศกึ ษา ๑. ผเู้ ขา้ รับการประเมนิ ศึกษาหาความรู้ ศึกษาเอกสารการประเมนิ และสั่งสมประสบการณเ์ พ่มิ เตมิ เทียบระดบั การศกึ ษา ไมผ่ ่านเกณฑ์การประเมนิ การศกึ ษา ๗. รบั ทราบผล ๒. เขา้ รับการแนะแนว การประเมนิ ๓. สมคั รและชาระ ผา่ นเกณฑก์ ารประเมิน คา่ ธรรมเนียม ๘. เขา้ ร่วมสัมมนาวชิ าการ ๔. เขา้ รับการปฐมนิเทศ ๙. รบั เอกสาร ๕. เตรียมตัว หลกั ฐานการศึกษา หากผา่ นเกณฑ์การประเมนิ เขา้ รบั การประเมิน เฉพาะบางมติ ิ สามารถเก็บ ผลการประเมนิ ไวไ้ ด้ ๕ ปี ๖. เขา้ รับการประเมนิ * มิติประสบการณ์ * มิตคิ วามรคู้ วามคดิ ประถม ม.ตน้ ม.ปลาย ระเบยี บการสมัครเขา้ รบั การประเมินเทยี บระดับการศึกษา กศน.เขตหนองแขม ๙
๑๐ รายละเอยี ด ขน้ั ตอน การประเมนิ เทียบระดบั การศกึ ษา ๑. ผู้เข้าประสงค์จะสมัครเข้ารับการประเมินเทียบระดับการศึกษา ต้องศึกษารายละเอียด ในระเบียบการน้ี เก่ียวกับคุณสมบัติผู้เข้ารับการประเมิน หลักการประเมินเทียบระดับการศึกษา รายละเอียด ขอบข่ายการประเมิน และขั้นตอนการประเมิน เพื่อให้ผู้เข้ารับการประเมินได้ประเมินตนเองว่า มีความรู้ และ ประสบการณเ์ พียงพอสอดคล้องกับมาตรฐาน ตวั บ่งช้ีในการประเมินเทียบระดับการศึกษา แต่ละระดับการศึกษา มากน้อยเพียงใด ๒. ผู้เข้ารับการประเมินท่ีพิจารณาตนเองแล้วว่ามีคุณสมบัติและหลักฐานตามที่กาหนดไว้ สามารถ กรอกใบสมัคร พร้อมนาหลักฐานการสมัครมายื่นให้ครบถ้วน และจ่ายค่าธรรมเนียมในการเข้ารับการประเมิน เทียบระดับการศึกษา ในอัตราคนละ ๓,๐๐๐บาท ของทุกระดับการศึกษา โดย กศน.เขตหนองแขม จะออก ใบเสร็จรบั เงนิ ใหด้ ว้ ย หาก กศน.เขตหนองแขม พิจารณาแล้วว่าผู้สมัครเข้ารับการประเมินเทียบระดับการศึกษามี คุณสมบัติไม่ครบตามท่ีกาหนด ผู้เข้ารับการประเมินควรจะไปสมัครเรียนโดยวิธีเรียนอื่น ๆของการศึกษานอก ระบบ ซึ่งสามารถได้วุฒิการศึกษาระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย เช่นเดียวกัน ๓. การปฐมนิเทศ เป็นขั้นตอนสาคัญอีกขั้นตอนหน่ึงที่ กศน.เขตหนองแขม จะทาการปฐมนิเทศผู้ เข้ารับการประเมิน เพื่อช้ีแจงขั้นตอน กระบวนการ วิธีการประเมิน กาหนดการประเมิน และระยะเวลาท่ีต้อง ปฏิบัติในแตล่ ะขั้นตอนอย่างละเอียด ผู้เข้ารับการประเมินทุกคนตอ้ งเขา้ รับการปฐมนเิ ทศ ๔. การเตรยี มตวั ของผู้เขา้ รบั การประเมนิ มีดังน้ี ๔.๑ ศึกษาระเบียบการเล่มนี้ให้เข้าใจ หากมีข้อสงสัยให้สอบถามเจ้าหน้าท่ีของ กศน.เขต หนองแขม ทท่ี าหนา้ ทเ่ี ทยี บระดบั การศกึ ษา ๔.๒ ศึกษามาตรฐาน ตัวบ่งช้ีการประเมินเทียบระดับการศึกษา โดยวิเคราะห์สาระของแต่ละ มาตรฐานให้เข้าใจอย่างชดั เจน ๔.๓ การจัดทาแฟ้มประมวลประสบการณ์ ผู้เข้ารับการประเมินจะต้องรวบรวมความรู้ ประสบการณ์ ร่องรอยหรือหลักฐาน เช่น วุฒิบัตรผ่านการอบรม ใบเกียรติบัตรท่ีได้รับจากการเข้าร่วมกิจกรรม รปู ถ่ายการเข้าร่วมกิจกรรม หลักฐานการเสียภาษี สมุดบัญชีเงินฝาก เข็มเชิดชูเกียรติ โล่ รางวัล หรืออื่น ๆ ที่ สอดคล้องกับมาตรฐานและตัวบ่งชี้ ซ่ึงเป็นผลงานจริงของผู้เข้ารับการประเมิน ตามประเด็นคาถามท่ีกศน.เขต หนองแขม กาหนด พร้อมจัดทาคาอธิบายรายละเอียดโดยเรียบเรียงเนื้อหา ประสบการณ์ต้องเขียนด้วยลายมือ ตนเองท่ีชัดเจน อ่านง่าย ท้ังด้านการประกอบอาชีพ ด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิต และด้านการพัฒนาสังคมและ ชมุ ชน โดยจัดทาเปน็ แฟ้มเดยี วกนั (ศึกษารายละเอียดในตอนที่ ๔) ๔.๔ ต้องทบทวนความรู้พ้นื ฐานเกย่ี วกับ ๔.๔.๑ ความสามารถในการสื่อสาร (ภาษาองั กฤษและภาษาไทย) ๔.๔.๒ ความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ สงั เคราะหแ์ ละตดั สนิ ๔.๔.๓ ความสามารถในการแสวงหาความรู้ และการใชเ้ ทคโนโลยี ระเบยี บการสมัครเข้ารับการประเมนิ เทยี บระดบั การศกึ ษา กศน.เขตหนองแขม ๑๐
๑๑ ๔.๔.๔ ความรูเ้ กี่ยวกับการดูแลสขุ ภาพกาย และจติ ของตน ๔.๔.๕ ความเป็นไทย สากล และพลเมอื งดี ๔.๔.๖ ความร้เู กี่ยวกับทรพั ยากร ส่งิ แวดล้อมและการดารงชวี ิต ๕. เข้ารบั การประเมิน ๕.๑ มิติประสบการณ์ เป็นการประเมินประสบการณ์ของการประกอบอาชีพการพัฒนา คณุ ภาพชวี ติ และการพัฒนาสังคมและชุมชน โดยคณะกรรมการประเมินเทียบระดับการศึกษา จะเป็นผู้ประเมิน ในลักษณะเชิงประจักษ์ (หมายความว่าจะประเมินในสถานประกอบการ โรงงาน หน่วยงาน การประกอบอาชีพ ฯลฯ) โดยคณะกรรมการประเมนิ จะศกึ ษาข้อมลู จากแฟ้มประมวลประสบการณ์ของผู้เข้ารับการประเมินแต่ละคน ประกอบการประเมินเชิงประจักษ์ด้วย โดยสถานศึกษาที่ทาหน้าที่เทียบระดับการศึกษา จะต้องประสานงาน กับคณะกรรมการประเมินและผู้เข้ารับการประเมิน เพ่ือนัดหมายวัน เวลา และสถานท่ีของการประเมิน ใหช้ ดั เจนดว้ ย ๕.๒ มิติความรู้ความคิด ผู้เข้ารับการประเมินทุกคน จะต้องเข้ารับการประเมินมิติความรู้ ความคิด ตามวัน เวลา และสถานที่ ท่ีสถานศึกษากาหนดและแจ้งให้ทราบก่อนหน้าแล้ว ท้ังนี้ ผู้เข้ารับการ ประเมินจะตอ้ งปฏิบัติตนตามระเบียบ และขอ้ บังคับอย่างเคร่งครัด เช่น ต้องไปถึงสถานท่ีประเมินก่อนเวลาอย่าง น้อย ๑๕ นาที และต้องนาบัตรประจาตัวประชาชน บัตรประจาตัวผู้เข้ารับการประเมินไปแสดงในวันเข้ารับการ ประเมนิ ดว้ ยทกุ ครัง้ พร้อมท้งั จดั เตรยี มอปุ กรณ์ทีจ่ าเปน็ เชน่ ดินสอดาไมน่ อ้ ยกว่า ๒B ปากกา ไม้บรรทัด ยางลบ ไปให้พร้อม แต่งกายสุภาพ เรียบร้อย ปิดเครื่องมือส่ือสารทุกชนิดขณะอยู่ในห้องสอบ หากมีข้อสงสัยประการใด ในแบบทดสอบ ใหส้ อบถามจากกรรมการคมุ ห้องสอบเท่านน้ั ๖. การรับทราบผลการประเมิน สถานศึกษาจะประกาศผลการประเมิน ให้ผู้เข้ารับการประเมิน ทราบด้วยวิธกี ารตา่ ง ๆ เช่น ประกาศของสถานศึกษา จดหมายแจง้ ใหท้ ราบ หรอื ดูจากเวบ็ ไซตข์ องสถานศกึ ษา ๗. การเข้าร่วมสัมมนาวิชาการ ผู้เข้ารับการประเมินที่ผ่านการประเมินเทียบระดับการศึกษาแล้ว ต้องเข้าร่วมสัมมนาวิชาการ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้ผ่านการประเมินมีโอกาสได้แลกเปล่ียนเรียนรู้ ประสบการณ์ท่ีหลากหลายร่วมกัน และเป็นการสร้างเสริมความสัมพันธ์ระหว่างผู้เข้ารับการประเมินในรุ่น เดียวกัน อีกท้ังเพอื่ พัฒนาศกั ยภาพของผูผ้ า่ นการประเมินเทียบระดับการศึกษาด้วย กิจกรรมสัมมนาวิชาการถือว่าเป็นเงื่อนไขของเกณฑ์การผ่านการประเมินเทียบระดับการศึกษา ซ่ึง สถานศึกษาที่ทาหน้าที่เทียบระดับการศึกษาเป็นผู้จัดทาหลักสูตรท่ีสอดคล้องกับความต้องการของผู้ผ่านการ ประเมนิ เทยี บระดับการศึกษา พรอ้ มท้ังออกแบบกจิ กรรมตลอดหลกั สูตร ไม่นอ้ ยกวา่ ๓ วัน ๒ คืน โดยมีเน้ือหา ความรู้ด้านวิชาการไม่น้อยกว่า ๑๕ ช่ัวโมง ท้ังนี้ให้ผู้ผ่านการประเมินเทียบระดับการศึกษา เป็นผู้ออกค่าใช้จ่าย เอง เพราะการจัดกิจกรรมแต่ละครั้งจะมีค่าใช้จ่ายท่ีแตกต่างกันขึ้นอยู่กับกิจกรรม เนื้อหาท่ีคณะกรรมการผู้ผ่าน การประเมนิ เทยี บระดับการศึกษา รว่ มกันวางแผนและกาหนดขนึ้ โดยมีวธิ ีดาเนินงานดังน้ี ๗.๑ สถานศึกษาพัฒนาหลักสูตร กิจกรรม การประเมินผลการจัดกิจกรรมสัมมนาวิชาการไว้ อย่างหลากหลาย เพอื่ ให้ผู้ผา่ นการประเมนิ เลอื กไดต้ ามความสนใจ ระเบียบการสมคั รเขา้ รบั การประเมนิ เทียบระดบั การศกึ ษา กศน.เขตหนองแขม ๑๑
๑๒ ๗.๒ สถานศึกษาสร้างความเข้าใจวัตถุประสงค์ และประโยชน์การเข้าร่วมกิจกรรมสัมมนา วชิ าการใหแ้ ก่กรรมการหรือผูแ้ ทนทผ่ี ่านการประเมิน เพ่ือวางแผน กาหนดรูปแบบกิจกรรม เนื้อหา ค่าใช้จ่าย วัน เวลา และสถานทจ่ี ัดกจิ กรรม อน่ึง การจัดกิจกรรมสัมมนาวิชาการ ให้กรรมการหรือผู้แทนที่ผ่านการประเมิน เป็น ผู้ พิจารณาคานวณ และจัดเก็บค่าใช้จ่าย พร้อมทั้งรายงานผลการจัดกิจกรรมให้สถานศึกษาและผู้เข้าร่วมกิจกรรม รับทราบ ๗.๓ สถานศึกษาทาหน้าที่ให้คาปรึกษา สนับสนุน ส่งเสริมในการจัดกิจกรรมแก่ผู้ผ่านการ ประเมนิ เทยี บระดบั การศกึ ษา ๗.๔ รูปแบบ วิธีการจัดสัมมนาวิชาการ จะใช้วิธีการท่ีหลากหลาย เช่น การฝึกอบรม การ ประชุมปฏิบัติการ การฝึกปฏบิ ตั ิจริงในสถานการณ/์ เหตุการณจ์ รงิ ๗.๕ ผู้ผ่านการประเมินเทียบระดับการศึกษา ต้องเข้าร่วมกิจกรรมสัมมนาวิชาการตลอดระยะเวลา ไม่น้อย กวา่ ร้อยละ ๘๐ ตัวอยา่ ง กรอบเนอื้ หาความรูด้ ้านวิชาการ ๑. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๒. ประชาธปิ ไตย/ความสมานฉนั ท์ ๓. คุณธรรม จรยิ ธรรม ๔. หลักการเรยี นรกู้ ารศึกษาตลอดชีวิต/การศกึ ษานอกโรงเรยี น ๕. การพัฒนาสังคมและชมุ ชน ๖. ความเปน็ ไทย ตัวอย่าง กรอบการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ๑. การสร้างบุคลกิ ภาพ ๒. การทางานเปน็ ทีม ๓. ภาวะผู้นา/ผู้ตาม ๔. คดิ เป็น ๕. การจดั องคค์ วามรู้ ๘. รับเอกสาร หลักฐานการศึกษา ผู้เข้ารับการประเมินท่ีผ่านเกณฑ์การประเมินเทียบระดับ การศึกษาแล้ว กศน.เขตหนองแขม จะออกเอกสาร หลักฐานการศกึ ษาให้ผูผ้ ่านการประเมินไวเ้ ป็นหลกั ฐาน ในกรณีที่ “ไม่ผ่าน” การประเมินมิติใดมิติหนึ่ง สามารถเก็บสะสมผลการประเมินเทียบระดับ การศึกษาท่ผี ่านไว้ไดไ้ ม่เกิน ๕ ปี นับแตว่ นั ท่ีอนุมตั ผิ ลตามคารอ้ งขอเทียบระดับการศึกษาครง้ั แรก หากผ้เู ขา้ รบั การประเมนิ ไม่ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ เทยี บระดับการศึกษา มติ ิใดมิตหิ นง่ึ หรือท้งั สอง มติ ิ ผู้เขา้ รับการประเมินจะต้องศึกษาหาความรู้ และสงั่ สมประสบการณ์เพ่ิมเตมิ แลว้ เตรยี มตัวสมคั รเขา้ รบั การ ประเมนิ เทยี บระดบั การศึกษาใหม่ ระเบียบการสมคั รเขา้ รับการประเมินเทยี บระดับการศึกษา กศน.เขตหนองแขม ๑๒
๑๓ ตอนที่ ๓ มาตรฐาน ตวั บง่ ชี้ การประเมินเทยี บระดบั การศกึ ษา มติ ิที่ ๑ ประเมนิ ประสบการณ์ มมี าตรฐานการประเมนิ จานวน ๓ ดา้ น ๑. มาตรฐานดา้ นการพฒั นาอาชพี ตวั บง่ ชห้ี ลกั ตวั บง่ ชย้ี อ่ ย ๑. การตดั สนิ ใจเข้าสอู่ าชีพทีเ่ ลือก ๑.๑ การวิเคราะห์ตนเอง ในด้าน - ความรู้ ๒. กระบวนการประกอบอาชีพ - ความสามารถ ๓. การบรหิ ารจัดการเก่ียวกบั อาชพี - เจตคติ ๑.๒ การวเิ คราะห์อาชพี ๔. กระบวนการพัฒนาอาชพี ใหย้ ่งั ยนื ๒.๑ ข้นั ตอนและวธิ ีการประกอบอาชีพ ๒.๒ ความปลอดภยั ในการประกอบอาชีพ ๓.๑ การวางแผนการทางานตามลกั ษณะอาชพี ๓.๒ การเสริมสรา้ งความสัมพันธท์ ีด่ กี ับบุคคลทเ่ี กย่ี วข้อง ๓.๓ การใช้วัสดุอปุ กรณใ์ ห้เกิดประโยชนส์ ูงสุด ๓.๔ การจัดทารายรับ-รายจ่าย ๓.๕ การประเมนิ ผลการประกอบอาชพี ๔.๑ การแสวงหาความร้เู กย่ี วกบั อาชีพ ๔.๒ การพัฒนากระบวนการทางานและผลผลิต/ผลงาน ๔.๓ การบริหารความเสยี่ ง ๔.๔ การศึกษาประสิทธิภาพของผลผลิต/ผลงาน (เจา้ หน้าท่ี, ลกู คา้ , รายได,้ ความพึงพอใจ ฯลฯ) ๕. คุณธรรม จริยธรรม ความรับผิดชอบต่อสังคม ๕.๑ คุณธรรม จริยธรรมท่ีใชใ้ นการประกอบอาชพี ใชห้ ลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการ (ความรับผิดชอบต่อหน้าท่ี ความซื่อสัตย์ ความขยัน ความอดทน ประกอบอาชีพ ตรงต่อเวลา เสียสละ การทางานกับผู้อนื่ ได้ดี มีจิตสานึกในการ บรกิ าร) ๕.๒ มคี วามรบั ผิดชอบต่อสังคมและสงิ่ แวดลอ้ ม ๕.๓ นาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาใชใ้ นการประกอบ อาชีพ ระเบยี บการสมคั รเข้ารบั การประเมนิ เทียบระดบั การศึกษา กศน.เขตหนองแขม ๑๓
๑๔ ตวั บง่ ชหี้ ลกั ตวั บง่ ชย้ี อ่ ย ๖. ผลที่เกิดจากการประกอบอาชีพที่มีตอ่ ตนเอง ๖.๑ ผลที่เกดิ กบั ตนเอง ชุมชน และสงั คม ๖.๒ ผลทเ่ี กดิ กบั ชมุ ชน สงั คม ๒. มาตรฐานดา้ นการพฒั นาคุณภาพชวี ติ ตวั บ่งชหี้ ลกั ตวั บ่งชย้ี อ่ ย ๑. การดูแลและสรา้ งเสรมิ สุขภาพกายของ ๑.๑ การดแู ลและสร้างเสริมสุขภาพกายของตนเอง ตนเองและครอบครวั ๑.๒ ความปลอดภัยในการดาเนินชีวิต ๑.๓ การดูแลและสรา้ งเสริมสุขภาพกายของคนในครอบครัว ๒. การดูแลและสรา้ งเสรมิ สุขภาพจติ ของตนเองและ ๒.๑ การดูแลและสรา้ งเสรมิ สุขภาพจิตของตนเอง ครอบครัว ๒.๒ การดแู ลและสรา้ งเสรมิ สุขภาพจติ ของคนในครอบครัว/ เพ่อื น รว่ มงาน ๓. การนาทัศนศลิ ป์ ดนตรี นาฏศลิ ป์ มา ๓.๑ การนาหลกั การของทัศนศลิ ป์ ดนตรี นาฏศลิ ป์ มาประยุกต์ใช้ ประยกุ ต์ใช้ในการดาเนนิ ชีวติ และการประกอบ ในการดาเนนิ ชวี ิต อาชีพ ๓.๒ การนาหลกั การของทัศนศิลป์ ดนตรี นาฏศิลปม์ าประยุกต์ใช้ ในการประกอบอาชีพ ๓.๓ ปฏบิ ัติตนหรอื วิพากษ์ด้านทัศนศลิ ป์ หรือดนตรี หรือนาฏศิลป์ ๓. มาตรฐานดา้ นการพฒั นาสงั คมและชุมชน ตวั บ่งชหี้ ลกั ตวั บ่งชย้ี อ่ ย ๑. การมสี ว่ นร่วมในการพัฒนาสงั คมและชุมชน ๑.๑ ประเภทของกจิ กรรมท่ีเข้าร่วม ๑.๒ ความถี่ของการมสี ่วนร่วม ๑.๓ ระดับความร่วมมือ ๑.๔ ระดับพ้นื ที่ ๑.๕ ผลท่เี กดิ จากการมีสว่ นร่วมในกจิ กรรมพัฒนาสังคมและชมุ ชน ๒. ปฏบิ ตั ิตนตามหลกั ของศาสนาท่ตี นนับถือ ๒.๑ ปฏบิ ตั ิตนเปน็ ศาสนกิ ชนทด่ี ี ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย ๒.๒ แกป้ ญั หาและดาเนนิ ชวี ิตโดยใชห้ ลักธรรมทางศาสนาท่ีตนนับ ถอื ๒.๓ ปฏบิ ตั ติ นเปน็ พลเมืองดีตามวิถปี ระชาธปิ ไตย (เชน่ เสยี ภาษี เลอื กต้งั รบั ราชการทหาร ให้ความรว่ มมือกบั เจ้าหนา้ ทีบ่ า้ นเมอื ง) ๓. จิตสานึกในการอนุรักษ์ ศิลปวฒั นธรรม ๓.๑ การอนุรกั ษ์ศลิ ปวัฒนธรรม ประเพณี ประเพณี ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ๓.๒ การใช้ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม ๓.๓ อนรุ ักษ์และพฒั นาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ระเบยี บการสมคั รเขา้ รบั การประเมินเทยี บระดบั การศกึ ษา กศน.เขตหนองแขม ๑๔
๑๕ มติ ิท่ี ๒ ประเมนิ ความรคู้ วามคดิ มกี ารประเมนิ จานวน ๖ มาตรฐาน คอื ๒.๑ ความสามารถในการสอื่ สาร ๒.๒ ความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ สงั เคราะหแ์ ละตัดสนิ ๒.๓ ความสามารถในการแสวงหาความรู้ และการใช้เทคโนโลยี ๒.๔ ความรเู้ กี่ยวกบั การดูแลสุขภาพกาย และจิตของตน ๒.๕ ความเปน็ ไทย สากล และพลเมืองดี ๒.๖ ความรเู้ กย่ี วกบั ทรัพยากร สง่ิ แวดลอ้ มและการดารงชวี ิต โดยมรี ายละเอียดของมาตรฐานและตัวบง่ ชี้ระดับการศึกษา ดังตอ่ ไปน้ี มาตรฐาน ระดบั ประถมศกึ ษา ตวั บง่ ชี้ ระดบั ม.ปลาย ระดบั ม.ตน้ ๑. ความสามารถในการสือ่ สาร ๑.๑ สรปุ เรอ่ื งต่างๆ ให้ ๑.๑ สรปุ เร่อื งตา่ งๆ ให้ ๑.๑ สรปุ เร่ืองต่างๆ ใหผ้ ู้อน่ื ผู้อื่นเขา้ ใจ (บทความ ผ้อู ื่นเขา้ ใจ (บทความ เข้าใจ (บทความ ข้อมลู สถติ ิ ข้อมลู สถติ )ิ ขอ้ มลู สถติ ิ ยากและ ยากและซับซอ้ นขน้ึ ตาม ซับซอ้ นขึน้ ตามระดบั ) ระดบั ) ๑.๒ อธบิ าย สถานการณ์ ๑.๒ แปลความ และ ๑.๒ แปลความ ตีความ และ เร่อื งตา่ ง ๆ ตีความ เรือ่ งต่างๆ ขยายความเร่ืองตา่ งๆ ๑.๓ วเิ คราะห์ แยกแยะ ๑.๓ แสดงความคิดเหน็ เชงิ ขอ้ เท็จจรงิ และข้อคิดเหน็ วเิ คราะห์ ประเมินคา่ จากสถานการณท์ ่ีกาหนด วิพากษว์ จิ ารณ์และเสนอแนะ ได้ เกี่ยวกับเรอ่ื งต่างๆ ๑.๓ ใชภ้ าษาอังกฤษเพ่ือ ๑.๔ ใชภ้ าษาองั กฤษใน ๑.๔ ใชภ้ าษาองั กฤษในการ การสอื่ สารแบบง่ายๆ การส่ือสารเรื่องใกล้ตัวกับ สื่อสารเกยี่ วกบั ชวี ติ ประจาวนั บุคคลอน่ื และอาชีพดว้ ยประโยคท่ี ซับซ้อนขนึ้ ๒ . ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร คิ ด ๒.๑ ระบปุ ัญหา ๒.๑ ระบุปัญหา ๒.๑ ระบุปัญหา วิเคราะห์ สงั เคราะห์ และตดั สนิ สง่ิ แวดลอ้ ม สภาพแวดล้อมอาชีพและ สภาพแวดล้อมอาชพี และ สภาพแวดลอ้ ม อาชพี สงั คม ในประเทศ สังคม ของโลก และสังคม ภายในทอ้ งถน่ิ ๒.๒ วเิ คราะห์สาเหตุของ ๒.๒ วิเคราะห์สาเหตขุ อง ๒.๒ วเิ คราะหส์ าเหตุของ ปัญหาในท้องถ่ิน ปญั หาสภาพแวดลอ้ มใน ปญั หาส่ิงแวดลอ้ มของโลก ประเทศ ระเบยี บการสมคั รเข้ารับการประเมนิ เทียบระดับการศึกษา กศน.เขตหนองแขม ๑๕
๑๖ มาตรฐาน ตวั บ่งช้ี ระดบั ประถมศกึ ษา ระดบั ม.ตน้ ระดบั ม.ปลาย ๒.๓ แก้ปญั หาโดยใชก้ ระบวนการ ทางวทิ ยาศาสตร์/คณิตศาสตรแ์ ละ ๒.๓ แกป้ ัญหาโดยใช้ ๒.๓ แก้ปัญหาโดยใช้ กระบวนการคิดเปน็ กระบวนการทาง กระบวนการทาง วทิ ยาศาสตร์/คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์/คณิตศาสตร์ และกระบวนการคิดเปน็ และกระบวนการคิดเป็น ๒.๔ นาความรู้เกยี่ วกบั คณติ ศาสตร์ ๒.๔ นาความรู้เกีย่ วกบั ๒.๔ นาความรเู้ กี่ยวกับ พน้ื ฐานไปใชใ้ นชีวิตประจาวันและ คณิตศาสตร์พ้นื ฐานไปใช้ คณติ ศาสตร์พน้ื ฐานไปใช้ใน การประกอบอาชพี ในชีวติ ประจาวนั และการ ชวี ติ ประจาวันและการ ประกอบอาชีพ ประกอบอาชีพ ๒.๕ เสนอแนวทางแก้ไขปญั หา ๒.๕ เสนอแนวทางแก้ไข ท้องถิ่น สภาพแวดล้อมในประเทศ ๒.๕ เสนอแนวทางแก้ไข สภาพแวดลอ้ มของประเทศ ๓. ความสามารถใน ๓.๑ แสวงหาข้อมลู /ความร/ู้ ติดตาม ๓.๑ แสวงหาข้อมูล / และของโลก การแสวงหาความรู้ ความเคล่ือนไหวขา่ วสารจากสอื่ และ ความร/ู้ ติดตามความ ๓.๑ แสวงหาขอ้ มลู /ความรู้/ และการใช้เทคโนโลยี แหล่งเรยี นรู้ต่างๆ เคลือ่ นไหวข่าวสารจากสือ่ ติดตามความเคลื่อนไหว และแหลง่ เรียนรูต้ า่ งๆ ข่าวสารจากส่ือและแหล่ง ๓.๒ จัดเกบ็ ข้อมลู ใหเ้ ป็นหมวดหมู่ ๓.๒ จดั เก็บข้อมูลให้เป็น เรียนรู้ตา่ งๆ เลอื กใช้และมีการแลกเปล่ียนเรยี นรู้ หมวดหมู่ เลอื กใช้ มีการ ๓.๒ จัดเกบ็ ข้อมูลให้เปน็ แลกเปลย่ี นเรียนรู้ และ หมวดหมู่ เลอื กใช้ มีการ นาไปประยุกตใ์ ช้ แลกเปล่ียนเรยี นรู้ นาไป ประยุกตใ์ ชแ้ ละพฒั นาให้ เกิดองคค์ วามรู้ใหม่ ระเบียบการสมัครเขา้ รบั การประเมินเทยี บระดับการศึกษา กศน.เขตหนองแขม ๑๖
๑๗ มาตรฐาน ระดบั ประถมศกึ ษา ตวั บ่งช้ี ระดบั ม.ปลาย ระดบั ม.ตน้ ๔.๑ เสนอแนะวิธกี าร เลือกบรโิ ภคอาหาร ๔. ความรู้เร่ืองการดูแล ๔.๑ เลอื กบรโิ ภค ๔.๑ วิเคราะห์ ข้อดี ข้อด้อย ของอาหารตามหลกั โภชนาการ สุขภาพกายและจิตขใหอถ้งกู อหาลหักาโรภชนาการ ตน ตามหลัก โภชนาการ ๔.๒ แสดงออกทาง ๔.๒ แสดงออกทางอารมณ์ท่ี ๔.๒ แสดงออกทางอารมณ์ท่เี หมาะสมกบั อารมณ์ทีเ่ หมาะสม เหมาะสมกับวุฒภิ าวะและเลือก วุฒภิ าวะและเลอื กแนวทางจัดการอารมณ์ กับวฒุ ภิ าวะและ แนวทางจัดการอารมณ์และ และความเครียดของตนเองและผูอ้ ืน่ เลือกแนวทางจดั การ ความเครยี ดของตนเองและ อารมณ์และ ผู้อ่ืน ความเครยี ดของ ตนเอง ๔.๓ วางแผนและปฏิบัติตน ๔.๓ เสนอแนะแนวทางและปฏิบัติตนใน ๔.๓ อธบิ ายวธิ กี าร เกี่ยวกับการรักษาสุขภาพ การ การรักษาสุขภาพ สร้างเสริมและดารง รกั ษาสขุ ภาพ และ สร้างเสริมและดารงสมรรถภาพ สมรรถภาพทางกายที่ สอดคล้องกับผล การสร้างเสริมและ ทางกายให้ สอดคล้องกับผล การตรวจสุขภาพประจาปี ดารงสมรรถภาพ การตรวจสขุ ภาพประจาปี ทางกาย ๔.๔ อธบิ าย ๔.๔ อธิบาย วิธีการรักษาความ ๔.๔ เสนอแนะและเล่นกีฬาหรือออก ประโยชน์การออก ปลอดภัยในการออกกาลงั กาย หรอื กาลงั กายอยา่ งปลอดภัย กาลังกาย หรอื เลน่ เลน่ กีฬาท่ีสนใจ กีฬา ๔.๕ มคี วามรู้ ๔.๕ อธิบายพัฒนาการและระบุ ๔.๕ นาความรู้เก่ยี วกับ พฒั นาการของ เกีย่ วกับพัฒนาการ ปจั จยั ทส่ี ง่ ผลต่อพัฒนาการของ มนษุ ย์ ไปประยกุ ต์ใชใ้ นการดาเนินชีวิต วยั ตา่ งๆของมนุษย์ มนุษย์ ๔.๖ อธิบาย ๔.๖ วางแผนชีวติ ของครอบครวั ๔.๖ เสนอแนวทางในการจัดการเพื่อให้ บทบาทของตนเอง และส่งเสริม สัมพนั ธภาพที่ดีใน ครอบครวั อบอนุ่ ในการทาให้ ครอบครัว ครอบครวั อบอุ่น มคี วามสุข ระเบียบการสมัครเขา้ รับการประเมนิ เทียบระดับการศึกษา กศน.เขตหนองแขม ๑๗
๑๘ มาตรฐาน ตวั บ่งช้ี ๕. ความเป็นไทย ระดบั ประถมศกึ ษา ระดบั ม.ตน้ ระดบั ม.ปลาย สากล และเปน็ พลเมอื งดี ๔.๗ อธบิ ายการ ๔.๗ หลีกเลย่ี ง ป้องกันตนจาก ๔.๗ เสนอแนวทางและมสี ว่ นร่วม ปอ้ งกนั โรคจาก พฤติกรรมเสย่ี ง การติดโรค ทางเพศ ในการสง่ เสริมความเสมอภาค พฤติกรรมทางเพศ การต้ังครรภ์ท่ีไม่พึงประสงค์ และยา ทางเพศ และป้องกันตนเองจาก และการต้ังครรภท์ ่ไี ม่ เสพตดิ พฤติกรรมเส่ียงการตดิ โรคทาง พึงประสงค์ เพศและการตั้งครรภ์ทีไ่ ม่พึง ประสงค์ ๔.๘ อธบิ ายการปฐม ๔.๘ อธบิ ายการปฐมพยาบาล ๔.๘ อธิบายการปฐมพยาบาล พยาบาลเบือ้ งตน้ และ เบื้องตน้ และดแู ลผอู้ นื่ เมือ่ เจ็บป่วย เบอ้ื งตน้ และดูแลผ้อู น่ื เมอ่ื ดแู ลผูอ้ ่นื เม่ือเจ็บปว่ ย เจ็บปว่ ย ๕.๑ อธิบายเก่ยี วกบั ๕.๑ อธบิ ายเกี่ยวกับภมู ิศาสตร์เอเชีย ๕.๑ อธบิ ายเกยี่ วกบั ภูมิศาสตร์ ภมู ิศาสตรท์ ้องถ่นิ โลก และประเทศไทย ๕.๒ ระบุเหตกุ ารณ์ ๕.๒ อธบิ ายเหตุการณส์ าคัญใน ๕.๒ วิเคราะหเ์ หตกุ ารณส์ าคัญใน สาคัญใน ประวตั ศิ าสตร์ท้องถนิ่ ชาติไทย และ ประวตั ิศาสตร์ชาตไิ ทย เอเชยี ประวัตศิ าสตร์ เอเชียและผลทเ่ี กิดข้ึน และโลกที่มีผลต่อวฒั นธรรม ท้องถิน่ และชาติไทย การเมือง การปกครองเศรษฐกจิ และผลท่ีเกิดข้ึน และสังคม ๕.๓ อธบิ ายเกีย่ วกับ ๕.๓ อธิบายเกยี่ วกับหลัก ๕.๓ อธบิ ายเก่ยี วกบั หลัก หลกั เศรษฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์และนามาปรับใช้ใน เศรษฐศาสตรแ์ ละนามาปรบั ใช้ใน พื้นฐานในการดาเนนิ การดาเนนิ ชวี ิต การดาเนนิ ชวี ิตและการประกอบ ชวี ิต อาชีพ ๕.๔ เห็นคณุ ค่าและ ๕.๔ เหน็ คณุ ค่าและสบื สานมรดก ๕.๔ เหน็ คณุ ค่าและสบื สานมรดก สืบสานมรดกทาง ทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทยและมี ทางวัฒนธรรม ภูมิปญั ญาไทย วัฒนธรรม ภูมปิ ัญญา ความรู้ความเข้าใจวฒั นธรรม ภูมิ และสากลมีความรูค้ วามเข้าใจ ไทย ปญั ญาสากล วฒั นธรรม ภูมิปญั ญาสากล ระเบยี บการสมัครเขา้ รับการประเมินเทียบระดบั การศกึ ษา กศน.เขตหนองแขม ๑๘
๑๙ มาตรฐาน ตวั บ่งช้ี ระดบั ประถมศกึ ษา ระดบั ม.ตน้ ระดบั ม.ปลาย ๕.๕ ชื่นชม เห็นคณุ ค่าความ ๕.๕ ช่นื ชม เหน็ คุณคา่ ความ ๕.๕ ชืน่ ชม เห็นคณุ คา่ ความ งาม ทางทัศนศิลป์ ดนตรแี ละ งาม ทางทัศนศลิ ป์ ดนตรี งาม ทางทัศนศลิ ป์ ดนตรีและ นาฏศิลปพ์ น้ื บา้ น และสามารถ และนาฏศิลป์พน้ื บ้านและ นาฏศลิ ป์ไทยและสากล และ วเิ คราะห์วิพากษ์วจิ ารณ์ไดอ้ ย่าง ไทย และสามารถวิเคราะห์ สามารถวเิ คราะห์ เหมาะสม วิพากษว์ ิจารณ์ได้อยา่ ง วิพากษ์วจิ ารณ์ได้อย่าง เหมาะสม เหมาะสม ๕.๖ นาหลกั ธรรมทางศาสนา ๕.๖ นาหลักธรรมทางศาสนา ๕.๖ นาหลกั ธรรมทางศาสนา และค่านิยมทดี่ งี ามทางสงั คมไป และคา่ นิยมท่ีดงี ามทางสงั คม และคา่ นยิ มท่ีดงี ามทางสงั คมไป ใชใ้ นการพฒั นาตน ให้อยู่ ไปใชใ้ นการพัฒนาตน ท้องถนิ่ ใชใ้ นการพัฒนาตน ทอ้ งถน่ิ รว่ มกันอย่างสนั ตสิ ุข และสงั คม ให้อยูร่ ว่ มกันอยา่ ง และสังคม ให้อยูร่ ว่ มกันอยา่ ง สันติสขุ สนั ตสิ ขุ ๕.๗ อธบิ ายการเมืองการ ๕.๗ อธิบายการเมืองการ ๕.๗ อธิบายการเมอื งการ ปกครองระดับท้องถนิ่ และ ประเทศ กฎหมายรฐั ธรรมนญู ปกครองระดบั ทอ้ งถนิ่ และ ปกครองระดบั ท้องถ่ินและ กฎหมายทใ่ี ชใ้ นชวี ิตประจาวัน กฎระเบียบของชุมชน สังคม ประเทศ กฎหมาย ประเทศ กฎหมายรฐั ธรรมนญู และประเทศ รัฐธรรมนญู กฎหมายที่ใชใ้ น กฎหมายทใ่ี ชใ้ นชวี ิตประจาวัน ๕.๘ อธิบายการ ปฏบิ ัตติ นเป็น พลเมืองดตี ามวิถีประชาธปิ ไตย ชีวติ ประจาวัน กฎระเบียบ กฎระเบียบของชมุ ชน สังคม มจี ติ สาธารณะ ของชุมชน สงั คม ประเทศ ประเทศและประเทศตา่ งๆ ๕.๙ นาหลกั การปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียงมาใช้ใน และประเทศเพ่ือนบ้าน ชวี ิตประจาวัน ๕.๘ อธบิ ายการ ปฏิบตั ิตน ๕.๘ อธบิ ายการ ปฏบิ ตั ติ นเป็น เปน็ พลเมืองดีตามวิถี พลเมืองดตี ามวถิ ีประชาธิปไตย ประชาธปิ ไตย มจี ติ มีจิตสาธารณะ สาธารณะ ๕.๙นาหลักการปรัชญาของ ๕.๙ นาหลักการปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ใน เศรษฐกิจพอเพยี งมาใช้ใน ชีวิต ปร ะจ าวั นแ ละ กา ร ชีวิตประจาวัน และประยกุ ต์ใช้ ประกอบอาชพี ในชมุ ชน ระเบียบการสมคั รเข้ารบั การประเมนิ เทียบระดบั การศึกษา กศน.เขตหนองแขม ๑๙
๒๐ มาตรฐาน ระดบั ประถมศกึ ษา ตวั บ่งช้ี ระดบั ม.ปลาย ระดบั ม.ตน้ ๖.๑ นา ค ว า ม รู้ ท า ง ๖ . ค ว า ม รู้ เ ก่ี ย ว กั บ ๖.๑ นาความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ ๖.๑ นาความรู้ทาง วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยีมา วิทยาศาสตร์ และ ประยุกตใ์ ชใ้ นการดารงชีวติ และ ทรัพยากรสิ่งแวดล้อม และเทคโนโลยมี าประยกุ ตใ์ ช้ใน เทคโนโลยีมาประยุกตใ์ ช้ การประกอบอาชพี และมี ในการดารงชีวิตและการ จิตวิทยาศาสตร์ และการดารงชวี ิต การดารงชวี ติ และการประกอบ ประกอบอาชีพและมี จิตวิทยาศาสตร์ ๖.๒ อธิบายและเหน็ คุณคา่ ของ อาชีพ และมจี ติ วิทยาศาสตร์ ๖.๒ อธิบายและเห็น พลงั งาน ทรัพยากรธรรมชาติ คุณค่าของพลงั งาน และสิง่ แวดล้อมของท้องถ่นิ ๖.๒ อธิบายและเหน็ คุณค่าของ ทรัพยากรธรรมชาติ และ ประเทศ และโลก อนุรักษ์ พลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติ สง่ิ แวดลอ้ มของท้องถิน่ พัฒนา และใช้อยา่ งคุ้มค่า และสง่ิ แวดล้อมของท้องถน่ิ ประเทศ อนรุ กั ษ์ พัฒนา อนรุ กั ษ์ พัฒนา และใชอ้ ยา่ ง และใช้อยา่ งคุม้ คา่ ค้มุ คา่ หมายเหตุ : เนอื้ หา สาระจะแตกต่างกนั ในแตล่ ะตวั บง่ ชี้ ระเบยี บการสมคั รเขา้ รบั การประเมินเทียบระดบั การศึกษา กศน.เขตหนองแขม ๒๐
๒๑ ตอนท่ี ๔ การจดั ทาแฟม้ ประมวลประสบการณ์ แฟ้มประมวลประสบการณ์ หมายถึง เอกสารที่นาเสนอข้อมูลความรู้ ความสามารถและมวล ประสบการณ์ของผู้เข้ารับการประเมินเทียบระดับการศึกษา ที่เก่ียวข้องกับการพัฒนาอาชีพ การพัฒนาคุณภาพ ชีวิต การพฒั นาสังคมและชมุ ชน ทสี่ อดคลอ้ งกบั มาตรฐาน ตวั บง่ ช้ีของการประเมินเทียบระดับการศึกษา ฉะนั้น การนาเสนอข้อมูลความรู้ ประสบการณ์ และร่องรอย หรือหลักฐานต่าง ๆ นั้น ผู้เข้ารับการ ประเมินต้องนาเสนอข้อมูลให้ละเอียด ครบถ้วน เขียนด้วยลายมือที่ชัดเจน อ่านง่าย โดยให้ครอบคลุมงานที่ตนเอง รับผิดชอบ ส่วนประกอบของแฟม้ ประมวลประสบการณ์ เพ่ือให้การจดั ทาแฟ้มประมวลประสบการณ์ เปน็ มาตรฐานเดียวกนั สานักงาน กศน. จงึ ไดก้ าหนด สว่ นประกอบของแฟ้มประมวลประสบการณ์ไว้ดังน้ี ๑. สว่ นนา ประวัตสิ ว่ นตัว ไดแ้ ก่ ประวตั ิการศึกษา ประวัติการทางาน ประวตั กิ ารอบรม สมั มนา การศกึ ษาดงู าน และความรู้ความสามารถพิเศษ ๒. หลักฐานความรแู้ ละประสบการณ์ด้านการพัฒนาอาชีพ พร้อมคาอธบิ ายตามหัวข้อหรอื ประเด็น ทีก่ าหนด ๓. หลักฐานความรูแ้ ละประสบการณ์ด้านการพฒั นาคุณภาพชวี ิต พรอ้ มคาอธิบายตามหัวข้อหรือ ประเดน็ ท่ีกาหนด ๔. หลกั ฐานความรูแ้ ละประสบการณ์ด้านการพฒั นาสงั คมและชมุ ชน พร้อมคาอธิบายตามหัวขอ้ หรือประเด็นทีก่ าหนด องคป์ ระกอบของแฟม้ ประมวลประสบการณ์ มีดังน้ี ๑. ปก ๒. คานา ๓. สารบญั ๔. ประวตั ิผู้เข้ารับการประเมนิ ๕. เน้ือหาสาระ (คอื ส่วนประกอบขอ้ ๒, ๓ และ ๔) โดยนาเสนอใหอ้ ยู่ในแฟม้ เดยี วกนั ๖. การแสดงความคิดเหน็ ๗. ภาคผนวก (หลักฐานตา่ ง ๆ เพ่อื ประกอบการพิจารณา) ระเบยี บการสมคั รเขา้ รบั การประเมินเทยี บระดบั การศกึ ษา กศน.เขตหนองแขม ๒๑
๒๒ ๑. ปก เป็นหน้าแรกของเอกสาร โดยใช้ชื่อว่า “แฟ้มประมวลประสบการณ์” และมีข้อมูลอ่ืน ๆได้แก่ ชอื่ ผจู้ ดั ทา (ผู้เขา้ รบั การประเมินเทียบระดับการศึกษา) ระดับการศึกษาท่ีขอรับการประเมิน (ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย) หมายเลขหรือรหัสประจาตัว ผู้เข้ารับการประเมิน ซ่ึงประกอบด้วยตัวเลข ๑๐ หลัก ท่ีสถานศึกษาออกให้) และส่วนสุดท้ายคือช่ือ ศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอธั ยาศยั เขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร ครั้งท.ี่ .../ปกี ารศึกษา ๒. คานา เปน็ ส่วนหน่ึงของแฟ้มประมวลประสบการณ์ ซึ่งจะแสดงให้คณะกรรมการประเมิน ได้ทราบ เป็นเบ้ืองต้นถึงการดาเนนิ การจัดทาแฟ้มประมวลประสบการณ์ของผ้เู ข้ารบั การประเมนิ โดยทั่วไป ในส่วนคานา นี้จะเขียนอธิบายถึงวัตถุประสงค์ในการจัดทาแฟ้มประมวลประสบการณ์ มีขอบข่ายเน้ือหาอะไรบ้าง และประโยชนท์ เี่ กิดข้นึ จากการจัดทาแฟ้มตลอดจนเร่อื งอืน่ ๆ เชน่ ความเพยี รพยายามในการรวบรวมข้อมูล หรือ ผู้ให้การสนับสนุนในการจัดทา ว่ามีใครให้ความช่วยเหลือบ้าง เป็นต้น (ขอให้อ่านตัวอย่างการเขียนคานาจาก หนงั สอื ต่าง ๆ เพอื่ เป็นแนวในการเขียนของตนเอง) ๓. สารบญั เป็นส่วนที่จะแสดงให้คณะกรรมการประเมินมองเห็นภาพรวมของเอกสารว่า ภายในเล่ม ประกอบด้วยเน้ือหา หรือข้อมูลอะไรบ้าง และเน้ือหาหรือข้อมูลนั้น ๆ จัดอยู่ในหน้าไหนของแฟ้มประมวล ประสบการณ์ ซ่ึงการจัดทาสารบัญ โดยเฉพาะในส่วนของหมายเลขหน้า จะเป็นส่วนท่ีจัดทาในข้ันตอนสุดท้าย หลังจากที่ได้จัดทาเน้ือหาภายในสมบูรณ์แล้วและไม่มีการเปลี่ยนแปลง แก้ไขใด ๆ อีกแล้วจึงกาหนดเลขหน้าใน แฟ้มให้ครบ และทาการตรวจสอบหมายเลขหน้าท่ีระบุไว้ในเนอื้ หากับเลขหน้าทปี่ รากฏในหน้าสารบัญต้องตรงกัน หากไม่ตรงกันจะต้องปรับ แก้ไขให้ถูกต้อง จึงจะถือว่าเป็นแฟ้มประมวลประสบการณ์ที่สมบูรณ์ (นอกจากศึกษา ตัวอย่างการเขียนคานาแล้ว ควรศึกษาการเขียนสารบัญของหนังสือต่าง ๆ เพ่ือจะได้สร้างความเข้าใจที่ชัดเจน มากยง่ิ ขึ้น) ๔. ประวตั ผิ เู้ ขา้ รบั การประเมนิ เป็นส่วนที่เขียนบรรยายว่าผู้เข้าประเมินเทียบระดับการศึกษามีพ้ืนฐานเดิมเป็นอย่างไร โดย บอกว่าเป็นใคร อายุเท่าไร มีภูมิลาเนาอยู่ที่ไหน ประกอบอาชีพอะไร มีประสบการณ์การประกอบอาชีพอะไรมา บ้าง มีความสามารถพิเศษด้านใดบ้าง เพื่อให้คณะกรรมการประเมิน มีความเข้าใจพื้นฐานเดิมของผู้เข้ารับการ ประเมนิ ไดม้ ากและดีที่สุด สามารถเชือ่ มโยงเข้าสู่การสัมภาษณไ์ ดโ้ ดยง่าย ๕. เนื้อหาสาระ ส่วนนี้เป็นส่วนสาคัญที่ผู้เข้ารับการประเมินเทียบระดับการศึกษา จะต้องเขียนอธิบายสิ่งต่าง ๆ ตามคาถามทก่ี าหนดไว้ เพื่อให้คณะกรรมการอา่ นแฟม้ ประมวลประสบการณ์ได้เข้าใจ ซ่ึงผู้เข้ารับการประเมินจะ ได้รับประเด็นคาถามจากสถานศึกษาที่ทาหน้าที่เทียบระดับการศึกษาในวันท่ีเข้ารับการปฐมนิเทศ ดังน้ัน วัน ปฐมนเิ ทศ จงึ เปน็ วนั ทีส่ าคัญอกี วนั หนงึ่ ซึ่งผู้เขา้ รบั การประเมนิ จะขาดไมไ่ ด้ โดยผเู้ ขา้ ประเมนิ จะตอ้ งนาประเดน็ คาถาม แล้วเขียนร่างคาอธิบายในส่ิงท่ีผู้เข้ารับการประเมินได้ดาเนินการหรือปฏิบัติ ประกอบการอ้างอิงจาก ระเบยี บการสมคั รเขา้ รบั การประเมนิ เทยี บระดบั การศึกษา กศน.เขตหนองแขม ๒๒
๒๓ หลักฐานต่าง ๆ แต่บางเรื่องผู้เข้ารับการประเมินอาจจะไม่ได้จัดทาหลักฐานไว้ แต่ขอให้เขียนอธิบายให้ละเอียด ชดั เจน เข้าใจง่าย และครบถ้วนทุกประเด็นคาถาม โดยตรวจสอบกับมาตรฐานและตัวบง่ ช้ี ในส่วนของเน้ือหาสาระน้ีถือว่าเป็นสิ่งสาคัญที่คณะกรรมการประเมินเทียบระดับการศึกษา จะต้องศึกษา ทาความเข้าใจเพ่ือใช้เป็นข้อมูลเบ้ืองต้นประกอบการประเมินเชิงประจักษ์ ฉะน้ัน จึงขอให้ผู้เข้ารับ การประเมิน นาเสนอรายละเอียดของข้อมูลตามข้อคาถามท้ัง ๓ มาตรฐาน คือมาตรฐานด้านการพัฒนาอาชีพ มาตรฐานด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิต มาตรฐานด้านการพัฒนาสังคมและชุมชน ให้สมบูรณ์เป็นจริงท่ีสุด ซึ่ง หลงั จากท่คี ณะกรรมการประเมนิ ทั้ง ๓ คน ศึกษาข้อมูลจากแฟ้มประมวลประสบการณ์และประเมินเชิงประจักษ์ เรียบร้อยแล้ว ผู้เข้ารับการประเมินอาจจะได้รับการประเมินเทียบระดับการศึกษา สูงกว่าระดับการศึกษาที่ย่ืน ขอรบั การประเมนิ ไวก้ ไ็ ด้ ๖. การแสดงความคิดเหน็ เป็นการประมวลหรือการสรุปความคิดเห็น ความรู้สึกท่ีมีต่อการดาเนินการจัดทาแฟ้มประมวล ประสบการณ์ ตลอดจนประโยชน์ท่ีได้รับจากการทาแฟ้มในด้านน้ัน ๆ ของผู้เข้ารับการประเมิน ซ่ึงสามารถ สะท้อนสงิ่ ที่ผู้เขา้ รบั การประเมินไดร้ บั คร้ังน้ี ๗. ภาคผนวก ส่วนนี้เป็นส่วนของการแสดงหลักฐานต่าง ๆ ประกอบการอธิบายที่ผู้เข้ารับการประเมินได้เขียน ระบุหรืออ้างอิงไว้ในส่วนของเน้ือหาสาระตามประเด็นต่าง ๆ เพื่อยืนยันว่าสิ่งท่ีได้เขียนอธิบายไว้น้ันมีความ น่าเช่ือถือและเป็นจริง ต่อคณะกรรมการประเมินในการศึกษาแฟ้มประมวลประสบการณ์และจากการไปศึกษา สภาพจริง (การประเมินเชิงประจักษ์) เช่น หากค้าขาย คณะกรรมการประเมินจะไปประเมินที่ร้านค้าของผู้เข้ารับ การประเมนิ หากเปน็ พนักงานบริษทั หา้ งรา้ น โรงงาน หน่วยงานภาครัฐ ก็เชน่ กัน ฯลฯ ระเบียบการสมคั รเขา้ รับการประเมินเทยี บระดับการศึกษา กศน.เขตหนองแขม ๒๓
๒๕ ตอนที่ ๕ ประเดน็ คาถามในการจดั ทาแฟม้ ประมวลประสบการณ์ มาตรฐานดา้ นการพฒั นาอาชพี ขอ้ ๑ การตัดสนิ ใจเข้าสอู่ าชีพ ๑.๑ มวี ธิ ีคน้ หาความรอู้ ย่างไร จากที่ไหน หรือจากใคร ๑.๒ มคี วามถนัดหรอื ไม่ อยา่ งไร หาแหล่งเงนิ ทุน/วสั ดุ อุปกรณ์จากทไี่ หนบ้าง ๑.๓ อาชีพทที่ าอยู่ชอบหรือ ไมช่ อบ เพราะเหตุใด ๑.๔ ลกั ษณะอาชีพเปน็ อย่างไร มขี อบขา่ ยอาชีพอะไรบา้ ง ๑.๕ ลกั ษณะอาชพี สอดคล้อง/เชือ่ มโยงกับสภาพชุมชนของตนเองหรือสังคม อย่างไร ข้อ ๒ กระบวนการประกอบอาชพี ๒.๑ อธิบายขน้ั ตอนของอาชีพว่ามีกข่ี ้นั ตอน อะไรบา้ ง และแตล่ ะขน้ั ตอนทาอยา่ งไร ๒.๒ อันตรายท่ีเกิดจากการประกอบอาชีพมีอะไรบ้าง และมีวิธีการป้องกันท้ังตนเองและผู้อ่ืน อยา่ งไร ข้อ ๓ การบรหิ ารจดั การเกีย่ วกับอาชพี ๓.๑ อธิบายแผนการทางานหรือการประกอบอาชีพและการปฏบิ ัตติ ามแผน ๓.๒ อธิบายวิธีการช่วยเหลือ แบ่งปัน เพ่ิมเติมความรู้ หรือร่วมกันแก้ปัญหาในการ ทางาน สรา้ งความสมั พันธ์ทด่ี กี บั ผ้ทู ีเ่ ก่ยี วขอ้ งอย่างไร ๓.๓ อธิบายการใช้วัสดุอุปกรณ์ในการทางานได้ตามลักษณะอาชีพอย่างประหยัดและคุ้มค่า อย่างไร ๓.๔ มีการสรุปผลการใช้จ่ายเงินในรอบปีท่ีผ่านมาเพื่อวางแผนการประกอบอาชีพในอนาคต หรือไม่ อย่างไร ๓.๕ แผนการทางาน/ เอกสารท่แี สดงถงึ แผนการทางาน/ปฏทิ นิ การปฏบิ ัตงิ าน/ปา้ ยประกาศ ข้อ ๔ กระบวนการ พัฒนาอาชพี ใหย้ ง่ั ยนื ๔.๑ ท่านติดตามข้อมูลข่าวสารที่เป็นปัจจุบันเกี่ยวกับอาชีพของตนเองหรือไม่ จากแหล่งข้อมูล ใดบา้ ง และสรปุ เป็นสารสนเทศหรอื ความรู้ และปรบั ใช้ในอาชีพอยา่ งไร ๔.๒ บอกกระบวนการทางานในปัจจุบันที่เปลี่ยนแปลงไปจากท่ีผ่านมาอย่างไร เพราะเหตุใด และผลเปน็ อย่างไร ระเบียบการสมัครเข้ารับการประเมินเทยี บระดับการศกึ ษา กศน.เขตหนองแขม ๒๕
๒๖ ๔.๓ ให้ระบุความเส่ียงในการประกอบอาชีพว่ามีอะไรบ้าง และมีแนวทางในการป้องกันความ เส่ียง และจดั การความเสยี่ งนัน้ อย่างไร ๔.๔ ให้อธิบายว่าผลผลิตหรือผลงาน ก่อนและหลังการพัฒนากระบวนการทางานแตกต่างกัน อยา่ งไร เพราะเหตใุ ด และผลผลิตหรือผลงานนน้ั เป็นท่ยี อมรบั มากน้อยเพยี งใด ข้อ ๕ คุณธรรม จริยธรรม ความรับผิดชอบต่อสังคม ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการ ประกอบอาชีพ ๕.๑ ท่านยึดหลักคุณธรรม จริยธรรมและหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงใดบ้างในการ ประกอบอาชีพและสง่ ผลตอ่ ผรู้ ับบรกิ าร สังคม สง่ิ แวดล้อมอยา่ งไร ขอ้ ๖ ผลทีเ่ กิดจากการประกอบอาชพี ทม่ี ีต่อตนเอง ชมุ ชน และสังคม ๖.๑ ท่านมีรายได้พออยู่พอกิน มีการออม และพร้อมที่จะขยายกิจการหรือมีความก้าวหน้าใน การประกอบอาชพี หรอื ไม่ ๖.๒ อาชพี ของทา่ นสามารถช่วยเหลือผรู้ บั บรกิ าร ชมุ ชน สังคมอยา่ งไรบา้ ง มาตรฐานดา้ นการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ขอ้ ๑ การดูแลและสรา้ งเสรมิ สุขภาพกายของตนเองและครอบครวั ๑.๑ ทา่ นมวี ธิ ีการดูแล และสรา้ งเสรมิ สุขภาพกายของตนเองและครอบครัว อย่างไร ๑.๒ ท่านมีวิธกี ารปฏิบตั ิตนและแนะนาบุคคลในครอบครัวใหป้ ลอดภัยจากความเส่ียงในการดาเนินชีวิต อย่างไร ขอ้ ๒ การดแู ลและสรา้ งเสริมสขุ ภาพจติ ของตนเองและครอบครวั ๒.๑ ทา่ นมีวธิ กี ารป้องกนั และผอ่ นคลายความเครยี ดของตนเองและครอบครัว อยา่ งไร ๒.๒ ท่านเคยชักชวนคนในครอบครัวหรือเพ่ือนร่วมงานไปผ่อนคลายความเครียดหรือไม่ มีกิจกรรม อะไรบา้ ง ข้อ ๓ การนาทศั นศลิ ป์ ดนตรี นาฏศลิ ป์ มาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการดาเนนิ ชวี ติ และการประกอบ อาชีพ ๓.๑ ท่านนาหลักการของทัศนศิลป์ หรือดนตรี หรือนาฏศิลป์มาใช้ในการดาเนินชีวิตและการประกอบ อาชีพอยา่ งไร และมกี ารใหค้ าแนะนาผอู้ ่นื หรอื ไม่ อยา่ งไร ๓.๒ ทา่ นมีวิธีการปฏิบตั ติ นหรอื วพิ ากษ์ด้านทัศนศลิ ป์ ศิลปะ หรือดนตรี หรอื นาฎศลิ ป์อย่างๆไร ระเบียบการสมคั รเข้ารับการประเมินเทยี บระดบั การศึกษา กศน.เขตหนองแขม ๒๖
๒๗ มาตรฐานดา้ นการพฒั นาสงั คมและชมุ ชน ข้อ ๑ การมสี ว่ นรว่ มในการพฒั นาสงั คมและชมุ ชน ๑.๑ ในรอบปีที่ผ่านมา ท่านได้เข้าร่วมปฏิบัติกิจกรรมอะไรบ้าง ระดับพื้นท่ีใด (หมู่บ้าน/ชุมชน ตาบล/ แขวง อาเภอ/เขต) มีบทบาทอยา่ งไร บอ่ ยครง้ั แคไ่ หน และผลท่เี กดิ ขึ้นตอ่ ชุมชนเป็นอย่างไร ข้อ ๒ ปฏบิ ัตติ นตามหลกั ของศาสนาทต่ี นนบั ถอื ปฏบิ ตั ติ นเปน็ พลเมืองดตี ามวถิ ปี ระชาธปิ ไตย ๒.๑ ศาสนาที่ท่านนับถือมีหลักธรรมอะไรบ้าง และท่านนาหลักธรรมน้ันมาใช้ในการแก้ปัญหาและ ดาเนนิ ชีวิตของตนเองและครอบครัวอยา่ งไรบ้าง ๒.๒ มีการปฏบิ ัตกิ จิ กรรมในวนั สาคัญทางศาสนา วันใดบา้ งและกิจกรรมอืน่ ๆ ทางศาสนาอะไรบา้ ง ๒.๓ มีการปฏิบัติตนตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวันอะไรบ้าง มีการแนะนาหรือให้ความรู้ เก่ียวกับกฎหมายให้กับคนในครอบครัวหรือบุคคลอ่ืนหรือไม่ อย่างไร และเคยให้ความร่วมมือกับเจ้าหน้าที่ บา้ นเมอื งในการรกั ษากฎหมายอย่างไรบา้ ง ขอ้ ๓ จติ สานกึ ในการอนรุ กั ษ์ ศลิ ปวฒั นธรรม ประเพณี ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม ๓.๑ ท่านและครอบครัวได้ปฏิบัติหรือเข้าร่วมหรือเป็นแบบอย่างในการอนุรักษ์ ศิลปวัฒนธรรม ประเพณอี ย่างไร ๓.๒ ท่านและครอบครัวได้ใช้ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมอย่างประหยัดและคุ้มค่าอย่างไรบ้าง และ กิจกรรมใดบา้ งทีเ่ ปน็ แบบอย่างได้ ระเบยี บการสมคั รเขา้ รับการประเมนิ เทียบระดับการศกึ ษา กศน.เขตหนองแขม ๒๗
ทปี่ รึกษำ คณะผ้จู ัดทำ ๑.นางนิตยา ภนู่ ้อยศกั ด์ิ ๒.นางสาวคณุ ลกั ษณ์ อุชิน ประธานกรรมการสถานศึกษา กศน.เขตหนองแขม ผอู้ านวยการ กศน.เขตหนองแขม คณะทำงำน ๑.นายบญุ ชนะ ลอ้ มสิริอดุ ม ครูชานาญการ ๒.นางสาวศภุ ลกั ษณ์ คาศริ ิ ครูผชู้ ว่ ย ๓.นายพรายเพช็ ร รุง่ เรือง ครูอาสาสมคั ร ๔.นางสาวนุชนารถ ปรางทอง ครู กศน.ตาบล ๕.นายวทิ รู ณ หอมตา ครู กศน.ตาบล ๖.นางสาวสุพชิ ฌาย์ ลาวน้อย ครู กศน.ตาบล ๗.นางสาวณฐั นันท์ วยั สุวรรณ์ ครู กศน.ตาบล ๘.นายวชิ าญ อินทรปลดั ครู กศน.ตาบล ๙.นายทิฐินัย ศิริแตง ครู กศน.ตาบล ๑๐.นางสาวโสภาวรรณ วกิ ล ครู กศน.ตาบล ออกแบบปก / จดั พมิ พ์ ครูชานาญการ ๑.นายบุญชนะ ลอ้ มสิริอดุ ม
Search
Read the Text Version
- 1 - 29
Pages: